2 resister ค ออะไร ม หน าท อย างไร

  • 1. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร วิชา ว 40204 ฟสิกส 4 ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6 เรื่อง ไฟฟาและแมเหล็ก 1 เลม 2 กฎของโอหมและความตานทาน นายบุญยะ บุญสนองสุภา โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ฉะเชิงเทรา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1
  • 2. คํานํา เอกสารประกอบการเรียนชุดนี้จัดทําขึ้นเพื่อพัฒนาการเรียนรูกลุมสาระ การเรียนรูวิทยาศาสตร วิชา ว 40204 ฟสิกส 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ประกอบดวย เอกสารประกอบการเรียนจํานวน 16 เลม ดังนี้ เลม 1 กระแสไฟฟาในตัวนํา เลม 2 กฎของโอหมและความตานทาน เลม 3 สภาพตานทานไฟฟาและสภาพนําไฟฟา เลม 4 อิทธิพลของอุณหภูมิที่มีตอความตานทาน เลม 5 พลังงานในวงจรไฟฟา เลม 6 การตอตัวตานทาน เลม 7 การตอตัวตานทานและตัวแบงศักย เลม 8 การตอแบตเตอรี่และการวิเคราะหวงจรไฟฟา เลม 9 แอมมิเตอร เลม 10 โวลตมิเตอรและโอหมมิเตอร เลม 11 แมเหล็กและสนามแมเหล็ก เลม 12 การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟาในสนามแมเหล็ก เลม 13 กระแสไฟฟาทําใหเกิดสนามแมเหล็ก เลม 14 แรงกระทําตอลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟาผานและอยูในสนามแมเหล็ก เลม 15 แรงระหวางลวดตัวนําสองเสนที่ขนานกันและมีกระแสไฟฟาผาน เลม 16 แกลแวนอมิเตอร มอเตอรไฟฟากระแสตรง ขอใหนกเรียนตั้งใจศึกษาดวยตนเอง ั บุญยะ บุญสนองสุภา
  • 3. สารบัญ หนา คําชี้แจงในการใชเอกสารประกอบการเรียน 1 จุดประสงคการเรียนรู 2 กฎของโอหมและความตานทาน 3 กิจกรรมทายบทเรียน กิจกรรม 1 9 คําถามทายบทเรียน 11 บรรณานุกรม 13 ภาคผนวก 14 - แบบทดสอบกอนเรียน 15 - แบบทดสอบหลังเรียน 17 - เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน 19 - แนวการตอบคําถามทายบทเรียน 20
  • 4. คําชี้แจง ในการใชเอกสารประกอบการเรียน เอกสารประกอบการเรียนเลมนี้ สรางขึ้นเพื่อใหนักเรียนไดศึกษาดวยตนเอง โดยนักเรียนจะไดประโยชนจากเอกสารประกอบการเรียนตามจุดประสงคที่ตั้งไว ดวย การปฏิบัติตามคําแนะนําตอไปนี้อยางเครงครัด 1. นักเรียนอานจุดประสงคการเรียนรูกอนลงมือศึกษาเอกสารประกอบการเรียน 2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนการศึกษาบทเรียนแลวตรวจคําตอบจากเฉลย แลวจึงศึกษาบทเรียนตอไปจนจบ 3. นักเรียนจะตองอานเนื้อเรื่องไปตามลําดับ โดยไมเวนหนา หามเปดขาม เพราะจะทําใหการเรียนในบทเรียนไมตอเนื่องกัน 4. ถามีคําสั่ง หรือคําถามอยางไร ตองปฏิบัติตามทุกอยาง 5. การทําแบบทดสอบกอนและหลังการศึกษาบทเรียน หรือตอบคําถามใน หนวยการเรียน ใหใชกระดาษคําตอบที่จัดเตรียมไวให และอยาขีดเขียนสิ่ง ตาง ๆ ลงในบทเรียน 6. บทเรียนนี้จะเสนอเนื้อหาเปนหนวยการเรียน แตละหนวยจะมีคําถามให นักเรียนตอบ เมื่อตอบแลวจึงตรวจสอบจากเฉลย 7. อยาเปดเฉลยกอนที่จะใชความสามารถตอบคําถามดวยตนเอง เพราะถาทํา เชนนั้นจะไมชวยใหนักเรียนมีความรูขึ้นมาไดเลย 8. เมื่อศึกษาดวยตนเอง จนครบทุกหนวยการเรียนแลว ใหนักเรียนทํา แบบทดสอบหลังการศึกษาบทเรียน แลวจึงตรวจสอบจากเฉลย 9. ถานักเรียนสงสัยหรือไมเขาใจในเนื้อหาใหทบทวนใหม ถายังไมเขาใจให สอบถามจากผูสอน 10. สงคืนเอกสารประกอบการเรียนนี้ตามกําหนดเวลาและตองรักษาใหอยูใน สภาพดีและไมสูญหาย
  • 5. จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคปลายทาง ทําการทดลองและสรุปกฎของโอหมไดวา เมื่ออุณหภูมคงตัวกระแสไฟฟาในตัวนําโลหะ ิ แปรผันตรงกับความตางศักยระหวางจุด 2 จุดในตัวนําโลหะ จุดประสงคนําทาง 1. ทําการทดลองหาความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักยในตัวนําโลหะ และบอกไดวาความสัมพันธเปนไปตามกฎของโอหม 2. อธิบายความหมายของความตานทานได 3. อานคาความตานทานจากแถบสีบนตัวตานทานได 4. บอกสมบัติเกียวกับความตานทานของไดโอดที่ทําจากสารกึ่งตัวนําได ่
  • 6. กฎของโอหมและความตานทาน กฎของโอหมและความตานทาน เมื่อทําใหปลายทั้งสองของลวดโลหะมีความตางศักยไฟฟา จะมีกระแสไฟฟาผานลวด โลหะนี้ ซึ่งจากการทดลองจะไดความสัมพันธของกระแสไฟฟาและความตางศักยไฟฟา ดังรูป 2.1 I V รูป 2.1 กราฟระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักยของลวดโลหะ จากกราฟ รูป 2.1 จะไดวากระแสไฟฟาที่ผานลวดโลหะมีคาแปรผันตรงกับความตาง ศักยไฟฟาระหวางปลายทั้งสองของลวดโลหะ จึงเขียนความสัมพันธไดวา I ∝ V ดังนั้น I = kV เมื่อ k เปนคาคงตัวของการแปรผัน หรือ V = 1 I k ถาให 1 = R k จะได V = R .... (2.1) I
  • 7. คา R นี้เรียกวา ความตานทาน (resistance) ของลวด มีหนวยโวลตตอแอมแปร หรือ เรียกวา โอหม (ohm) แทนดวยสัญลักษณ Ω โดยกฎของโอหมมีใจความวา ถาอุณหภูมิคงตัว กระแสไฟฟาที่ผานตัวนําจะแปรผันตรง  กับความตางศักยระหวางปลายของตัวนํานัน ้ เมื่อศึกษาความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักยในตัวนําไฟฟาชนิดอื่น ๆ ไดแก โลหะ หลอดไดโอด อิเล็กโทรไลต และสารกึ่งตัวนําที่อุณหภูมิคงตัว จะไดดังรูป 2.2 จะเห็น วา ตัวนําไฟฟาที่เปนโลหะจะมีความตานทานคงตัว และเปนไปตามกฎของโอหม ตัวนําไฟฟาอื่น ไมเปนไปตามกฎของโอหม I I I I V V V V ก. โลหะ ข. หลอดไดโอด ค. อิเล็กโทรไลต ง. สารกึ่งตัวนํา รูป 2.2 กราฟระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักยของตัวนําไฟฟาชนิดตาง ๆ 1. ตัวตานทาน ตัวตานทาน เปนอุปกรณทชวยปรับความตานทานใหกบวงจร เพื่อชวยปรับ ี่ ั ใหกระแสไฟฟา หรือ ความตางศักยไฟฟาพอเหมาะกับวงจรนั้น ๆ ชนิดของตัวตานทานแบงไดเปน 2 แบบ คือ 1.1 ตัวตานทานคาคงตัว (fixed resistor) เขียนแทนดวยสัญลักษณ และ ใชแถบสีบอกความตานทาน ดังรูป 2.3 การอานความตานทานจากแถบสีบนตัวตานทาน รูป 2.3 ตัวตานทานคาคงตัว และสัญลักษณ
  • 8. แถบสีที่คาดไวบนตัวตานทาน มีความหมายดังนี้ - แถบสีที่ 1 บอกเลขตัวแรก - แถบสีที่ 2 บอกตัวเลขตัวที่ 2 - แถบสีที่ 3 บอกเลขยกกําลังของสิบที่ตองนําไปคูณกับเลขสองตัวแรก - แถบสีที่ 4 บอกเลขความคลาดเคลื่อนเปนรอยละ สีตาง ๆ ที่ใชบอกคาความตานทานแสดงในตาราง 2.1 แถบที่ 1 แถบที่ 2 แถบที่ 3 แถบที่ 4 แถบสี แทนเลข แทนเลข คูณดวย ความคลาดเคลื่อน ดํา 0 0 1 น้ําตาล = ±1 % น้ําตาล 1 1 101 แดง = ±2 % แดง 2 2 102 ทอง = ±5 % สม 3 3 103 เงิน = ±10 % เหลือง 4 4 104 ไมมีสี = ±20 % เขียว 5 5 105 น้ําเงิน 6 6 106 มวง 7 7 107 เทา 8 8 108 ขาว 9 9 109 ทอง - - 10-1 เงิน - - 10-2
  • 9. 1.2 ตัวตานทานแปรคาได (variable resistor) เปนตัวตานทานที่สามารถปรับคาความตานทาน มาก นอยได เพื่อประโยชนในการควบคุมปริมาณกระแสในวงจรไฟฟา สัญลักษณ และวงจร ดังรูป 2.4 . 1 3 1 3 A 2 2 ก. ตัวตานทานแปรคา ข. สัญลักษณ ค. วงจร เมื่อเลื่อนหนาสัมผัสของตัวตานทานแปรคาในวงจรดังรูป 2.4 ค ในทิศ รูป 2.4 ตัวตานทานแปรคา ตามเข็มนาฬิกา ความตานทานจะเพิ่มขึ้น ดังนั้นกระแสในวงจรจะลดลง ถา เลื่อนหนาสัมผัสในทิศตรงขาม ทําใหความตานทานลดลง และกระแสไฟฟา สูงขึ้น ตัวตานทานแปรคาทีทําหนาที่ควบคุมกระแสไฟฟาในวงจร เรียกวา ่ ตัวควบคุมกระแส 2. แอลดีอาร (light dependent resistor, LDR) แอลดีอาร เปนตัวตานทานทีมีความตานทานขึ้นกับความสวางของแสงที่ตก ่ กระทบแอลดีอาร มีความตานทานสูงในทีมืด แตมีความตานทานต่ําในที่สวาง จึงเปน ่ ตัวรับรูความสวาง (light sensor) ในวงจรอิเล็กทรอนิกสสําหรับควบคุมการเปด - ปด สวิตซดวยแสง I สวาง มืด V แอลดีอารและสัญลักษณ กราฟ V และ I ของแอลดีอารในที่มืดและสวาง รูป 2.5 แอลดีอาร
  • 10. เทอรมีสเตอรเปนตัวตานทานที่ความตานทานขึ้นกับอุณหภูมิของ สภาพแวดลอม เทอรมีสเตอรแบบ NTC (negative temperature coefficient) มี ความตานทานสูง เมื่ออุณหภูมิต่ํา แตมีความตานทานต่ําเมื่ออุณหภูมิสูง เทอรมีสเตอร จึงเปนตัวรับรูอุณหภูมิ (temperature sensor) ในเทอรมอมิเตอรบางชนิด I อุณหภูมิสูง อุณหภูมิต่ํา V T กราฟV และ I ของเทอรมีสเตอรในที่ เทอรมีสเตอรและสัญลักษณ อุณหภูมิตางกัน รูป 2.6 เทอรมีสเตอร 4. ไดโอด (diode) ไดโอดทําจากสารกึ่งตัวนํา มีลักษณะและสัญลักษณ ดังรูป 2.7 ไดโอดมี ขั้วไฟฟาบวกและขั้วไฟฟาลบ เมื่อนําไดโอด แบตเตอรี่ และแอมมิเตอร มาตอเปน วงจรโดยตอขั้วบวกและขัวลบของแบตเตอรี่กับขั้วไฟฟาบวกและขั้วไฟฟาลบของ ้ ไดโอด ตามลําดับ ดังรูป 2.8 ก จะพบวามีกระแสไฟฟาในวงจร การตอลักษณะนี้ เรียกวา ไบแอสตรง เมื่อสลับขั้วของไดโอด จะพบวาไมมีกระแสไฟฟาในวงจร การตอ ลักษณะนี้เรียกวา ไบแอสกลับ ดังรูป 2.8 ข รูป 2.7 ไดโอดและสัญลักษณ
  • 11. + - - + I A I=0 A ก. ไบแอสตรง ข. ไบแอสกลับ รูป 2.8 การตอไดโอดในวงจรไฟฟา จะเห็นวา ขณะไบแอสตรง มีกระแสไฟฟาในวงจร แสดงวาไดโอดมี ความตานทานนอย แตขณะไบแอสกลับ ไมมีกระแสไฟฟาในวงจรแสดงวาไดโอดมี ความตานทานสูงมาก ดังนั้นจึงกลาวไดวา ไดโอดยอมใหกระแสไฟฟาผานไดทิศเดียว จากสมบัตินี้จงใชไดโอดแปลงไฟฟากระแสสลับเปนกระแสตรง ึ
  • 12. กิจกรรมทายบทเรียน กิจกรรม 1 ความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักย จุดประสงค เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักยระหวางปลายของ ลวดโลหะ วิธีทดลอง 1. ตอวงจรไฟฟาประกอบดวยลวดนิโครมและแบตเตอรี่ 1 กอน ดังรูป 2.9 ก 2. ตอแอมมิเตอร เพื่อวัดกระแสไฟฟาในวงจร ดังรูป 2.9 ข 3. จากนั้นตอโวลตมิเตอรเพื่อวัดความตางศักยระหวางปลายของลวดนิโครม ดังรูป 2.9 ค 4. อานและบันทึกกระแสไฟฟาและความตางศักย ทดลองซ้ําโดยเพิ่มแบตเตอรี่เปน 2, 3 และ 4 กอน นําขอมูลที่ไดไปเขียนกราฟ โดยใหกระแสไฟฟาเปนแอมแปร อยูบนแกนยืน และความ ตางศักยเปนโวลต อยูบนแกนนอน 0-15 V + - ลวดนิโครม 0-500 mA V + - A ก. ข. ค. รูป 2.9 วงจรไฟฟาเพือศึกษาความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักย ่
  • 13. จํานวนถานไฟฉาย ความตางศักยไฟฟา กระแสไฟฟา (V) (A) 1 กอน 2 กอน 3 กอน 4 กอน เมื่อนําผลที่ไดจากการทํากิจกรรมไปเขียนกราฟระหวางกระแสไฟฟา และความตางศักยไฟฟา จะไดกราฟ ดังรูป กระแสไฟฟา (A) ความตางศักยไฟฟา (V) รูป 2.10 กราฟระหวางกระแสไฟฟา และความตางศักยจากผลของกิจกรรม 1 อภิปรายหลังทํากิจกรรม ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… คําถามหลังกิจกรรม 1. กราฟระหวางกระแสไฟฟากับความตางศักยมีลักษณะอยางไร ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… 2. จากกราฟทีได กระแสไฟฟาและความตางศักยมีความสัมพันธกันอยางไร ่ ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………
  • 14. คําถามทายบทเรียน วิชา ว 40204 ฟสิกส 4 เรื่อง กฎของโอหมและความตานทาน ชื่อ …………………………………………………… ชั้น ม. 6/ …… เลขที่ ……… คําชี้แจง ใหนกเรียนตอบคําถามหรือแสดงวิธีการคํานวณใหถกตอง (รวม 8 คะแนน) ั ู 1. ตัวนําใดบางทีมีความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักยไฟฟาบนตัวนํานั้นเปนไป ่ ตามกฎของโอหม (เขียนกราฟประกอบดวย) ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… 2. ตัวตานทานคาคงตัวในวงจรมีอิทธิพลอยางไรตอกระแสไฟฟาในวงจร R A ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… 3. ตัวตานทาน R1 , R2 และ R3 ซึ่งมีแถบสีตาง ๆ แสดงไวในตาราง มีความตานทานเทาไร แถบสีที่ ตัวตานทาน ความตานทาน (โอหม) 1 2 3 4 R1 แดง ดํา สม ทอง R2 น้ําตาล เทา เขียว เงิน R3 เขียว น้ําเงิน เหลือง - 4. ตัวตานทาน (resistor) มีกี่ชนิด และทําหนาที่อะไร ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................
  • 15. dependent resistor : L D R ) คือ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 6. เทอรมีสเตอร (thermistor) คือ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 7. ไดโอด (diode) คือ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 8. ความตานทานของไดโอดกรณีไบแอสตรงและไบแอสกลับ มีคาเทากันหรือไม อยางไร ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................
  • 16. บรรณานุกรม กฤตนัย จันทรจตุรงค. (2546). ฟสิกส O-NET & A-NET ชวงชั้นที่ 4 (ม.4-5-6) สอบเขา มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: SCIENCE CENTER. กองกัญจน ภัทรากาญจน และธนกาญจน ภัทรากาญจน. (2530). ฟสิกสมหาวิทยาลัย เลม 2. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. นิรันดร สุวรัตน. (2548). ฟสิกส ม. 6 เทอม 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพเพิ่มทรัพยการพิมพ. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2535). คูมือครูวิชาฟสิกส เลม 4 ว 023 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. _______. (2548). คูมือสาระการเรียนรูพนฐาน และเพิมเติม ฟสิกส เลม 3 กลุมสาระการเรียนรู ื้ ่ วิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. _______. (2543). หนังสือเรียนวิชาฟสิกส เลม 4 ว 023 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. _______. (2548). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน และเพิ่มเติม ฟสิกส เลม 3 กลุมสาระ การเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัดอุดมศึกษา. 
  • 17. ภาคผนวก - แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง กฎของโอหมและความตานทาน จํานวน 5 ขอ - แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กฎของโอหมและความตานทาน จํานวน 5 ขอ - เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน – หลังเรียน - แนวการตอบคําถามทายบทเรียน
  • 18. แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง กฎของโอหมและความตานทาน จํานวน 5 ขอ ใชเวลา 10 นาที คําชี้แจง ใหนกเรียนพิจารณาวาคําตอบขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองที่สุด แลวกากบาท (x) ลงใน ั กระดาษคําตอบที่แจกใหตรงกับขอนั้น ๆ 1. กราฟในขอใดที่แสดงความสัมพันธระหวางความตางศักยไฟฟากับกระแสไฟฟาในวงจรของ โลหะตัวนํา I I ก. V ข. V I I ค. V ง. V 2. ความตานทานตัวหนึ่งแสดงไวดวยแถบสีบนตัวตานทาน  ดํา เขียว แดง เงิน ความตานทานตัวนี้มีคากี่โอหม ก. 25 โอหม ±10 % 5 ข. 2 x 10 โอหม ±10 % ค. 52 โอหม ±10 % ง. 25 โอหม ± 5 % 3. รูปสัญลักษณในวงจรของไดโอดคือขอใด ก. ข. T
  • 19. ค. ง. 4. การตอไดโอดในวงจรไฟฟาเพื่ออะไร ก. ปรับแรงเคลื่อนไฟฟาในวงจร ข. ควบคุมอุณหภูมิในวงจร ค. ปรับปริมาณกระแสไฟฟาไหลในวงจร ง. บังคับทิศทางการไหลของกระแสไฟฟาในวงจร 5. จากกฎของโอหม ความสัมพันธระหวางความตางศักยไฟฟา (V) กระแสไฟฟา (I) และความ ตานทาน (R) เปนไปตามขอใด ก. V = IR ข. I = VR ค. R = IV ง. V = R I
  • 20. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กฎของโอหมและความตานทาน จํานวน 5 ขอ ใชเวลา 10 นาที คําชี้แจง ใหนกเรียนพิจารณาวาคําตอบขอใดเปนคําตอบที่ถูกตองที่สุด แลวกากบาท (x) ลงใน ั กระดาษคําตอบที่แจกใหตรงกับขอนั้น ๆ 1. ความตานทานตัวหนึ่งแสดงไวดวยแถบสีบนตัวตานทาน  ดํา เขียว แดง เงิน ความตานทานตัวนี้มีคากี่โอหม ก. 25 โอหม ±10 % ข. 2 x 105 โอหม ±10 % ค. 52 โอหม ±10 % ง. 25 โอหม ± 5 % 2. กราฟในขอใดที่แสดงความสัมพันธระหวางความตางศักยไฟฟากับกระแสไฟฟาในวงจรของ โลหะตัวนํา I I ก. V ข. V I I ค. V 3. การตอไดโอดในวงจรไฟฟาเพื่ออะไร ง. V ก. ปรับแรงเคลื่อนไฟฟาในวงจร ข. ควบคุมอุณหภูมิในวงจร
  • 21. ค. ปรับปริมาณกระแสไฟฟาไหลในวงจร ง. บังคับทิศทางการไหลของกระแสไฟฟาในวงจร 4. จากกฎของโอหม ความสัมพันธระหวางความตางศักยไฟฟา (V) กระแสไฟฟา (I) และความ ตานทาน (R) เปนไปตามขอใด ก. V = IR ข. I = VR ค. R = IV ง. V = R I 5. รูปสัญลักษณในวงจรของไดโอดคือขอใด ก. ข. T ค. ง.
  • 22. – หลังเรียน เรื่อง กฎของโอหมและความตานทาน กอนเรียน หลังเรียน 1. ค 1. ข 2. ข 2. ค 3. ค 3. ง 4. ง 4. ก 5. ก 5. ค
  • 23. แนวการตอบคําถามทายบทเรียน เรื่อง กฎของโอหมและความตานทาน 1. ตัวนําไฟฟาที่เปนโลหะจะมีความตานทานคงตัว และเปนไปตามกฎของโอหม มีกราฟดังรูป I V 2. พิจารณาวงจรที่ประกอบดวยความตานทานที่ทราบคากับแบตเตอรี่ และวัดกระแสไฟฟาใน วงจร เปลี่ยนตัวตานทานเปนคาอื่น บันทึกไฟฟาทุกครั้ง จะพบวาเมื่อตัวตานทานมีคาเพิ่มขึ้น กระแสไฟฟาที่วัดไดมีคาลดลง จากความสัมพันธ R = V เมื่อ V คงตัว I อาจกลาวไดวา ตัวตานทานทําหนาที่จากัดคาของกระแสไฟฟาในวงจร  ํ 3. R1 = 20 KΩ ± 5 % R2 = 1.8 MΩ ± 10 % R3 = 560 KΩ ± 20 % 4. ตัวตานทานมี 2 ชนิด คือ 4.1 ตัวตานทานคงตัว (fixed resistor) เขียนแทนดวยสัญลักษณ 4.2 ตัวตานทานแปรคา (variable resistor) เขียนแทนดวยสัญลักษณ หรือ 5. แอลดีอาร เปนตัวตานทานทีความตานทานขึ้นกับความสวางของแสงทีตกกระทบ แอลดีอารมี ่ ่ ความตานทานสูงในที่มืด แตมีความตานทานต่ําในที่สวาง จึงเปนตัวรับรูความสวาง (light sensor) ในวงจรอิเล็กทรอนิกส สําหรับควบคุมการปด – เปดสวิตซดวยแสง  6. เทอรมีสเตอร เปนตัวตานทานที่มีความตานทานขึ้นอยูกบอุณหภูมิของสภาพแวดลอม เทอรมี ั สเตอรแบบ NTC (negative temperature coefficient) มีความตานทานสูง เมื่ออุณหภูมิตา แตมี ่ํ ความตานทานต่ําเมื่ออุณหภูมิสูง เทอรมีสเตอรจึงเปนตัวรับรูอุณหภูมิ (temperature sensor) ใน เทอรมอมิเตอรบางชนิด
  • 24. ทําจากสารกึงตัวนํา เชน ซิลิกอน เจอรเมเนียม แกรไฟต ไดโอดมีขั้วไฟฟาบวก ่ และขั้วไฟฟาลบ ไดโอดยอมใหกระแสไฟฟาผานไดทิศเดียว จากสมบัตินี้จึงใชไดโอดแปลง ไฟฟากระแสสลับเปนกระแสตรง 8. เมื่อนําไดโอด แบตเตอรี่ และแอมมิเตอร มาตอเปนวงจรโดยตอขั้วบวกและขั้วลบของแบตเตอรี่ เขากับขั้วไฟฟาบวกและขั้วไฟฟาลบของไดโอด ตามลําดับ จะพบวามีกระแสไฟฟาในวงจร การตอลักษณะนี้เรียกวา ไบแอสตรง เมื่อสลับขั้วของไดโอด จะพบวาไมมีกระแสในวงจร การ ตอลักษณะนี้เรียกวา ไบแอสกลับ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ