การจ ายเง นช วยเหล อเบ องต น ม.41 powerpoint

งานวจิ ัยเชิงปฏิบตั กิ าร และวิจยั เชิงปฏิบัติการแบบมสี ่วนรว่ ม

เสนอ พระมหาไกรวรรณ์ ชนิ ทตตฺ โิ ย, ดร.

ดร.ขัตติยา ด้วงสาราญ

จัดทาโดย นางสาวจารณุ ี สอนใจ รหสั นักศึกษา 6430140432005

รายงานน้ีเปน็ สว่ นหนึ่งของรายวชิ า การวิจัยทางการบริหารการศกึ ษา ตามหลักสตู รศกึ ษาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา

คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

คานา

รายงานฉบับน้ี สาเร็จได้เนื่องจากบุคคลหลายฝ่ายที่ได้ช่วยเหลือในคร้ังน้ี ผู้จัดทารายงาน ใคร่ขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย และผู้เป็นเจ้าของบทความหรืองานวิจัย ทเ่ี ก่ยี วข้อง ซงึ่ เป็นส่วนชว่ ยในการจดั ทารายงานประสบผลสาเร็จ

ขอกราบขอบพระคณุ พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย ดร., ดร.ขัตติยา ด้วงสาราญ ที่ให้ความ อนุเคราะหร์ ับเป็นอาจารยส์ อนหลกั ที่ได้ใหค้ าปรึกษาตลอดจนตรวจสอบข้อบกพร่องต่าง ๆ พร้อมทั้ง ใหข้ อ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุงแก้ไขเนอ้ื หาของวจิ ยั ฉบบั น้ี จนสาเร็จลุลว่ งได้เป็นอย่างดียง่ิ

รายงานฉบับน้ี ได้กล่าวถึงงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในแต่ละด้าน เพื่อให้ท่านได้เข้าใจย่ิงข้ึน ในลักษณะงานของการวจิ ยั เชิงปฏิบัติการ

คุณความดีและประโยชน์อันเกิดจากรายงานฉบับน้ี ผู้จัดทารายงานขอใช้เป็นเครื่อง สักการะบูชาคุณพระรัตนตรัย พระคุณของมารดา บิดา ครูอาจารย์ท่ีประสิทธิ์ประสาทความรู้ ท่มี คี ุณค่ายิง่ และขอแผค่ ณุ ความดนี ี้ ใหแ้ กเ่ พ่ือนมนษุ ย์และสรรพสตั ว์ทกุ รูปทกุ นาม พร้อมทงั้ เจ้ากรรม นายเวรในทกุ ภพทุกชาติด้วย

ผู้รวบรวมรายงานฉบับน้ีหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับน้ีคงจะอานวยประโยชน์แก่ท่าน ผู้อ่านทุกทา่ น หากมีขอ้ ผดิ พลาดประการใดผ้จู ัดทาขออภัย ณ ท่นี ี้ดว้ ย

จารณุ ี สอนใจ ผู้จัดทา

สารบญั

หน้า คานา....................................................................................................................................................ก สารบัญ.................................................................................................................................................ข การวิจยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Research)…………………………………………………………………….1

ความหมายและพัฒนาการของการวิจยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร...........................................................1 ความเช่อื พน้ื ฐานของการวิจัยเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร…………………………………………………………………3 ลกั ษณะของการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั ิการทางการศึกษา………………………………………………………….4 จดุ มงุ่ หมายของการวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ตั ิการ…………………………………………………………………………8 กระบวนการดาเนินการวิจัยเชงิ ปฏิบตั กิ าร……………………………………………………………………8 ขน้ั ตอนของการวจิ ยั เชงิ ปฏิบตั ิการ……………………………………………………………………………..14 การเก็บรวบรวมข้อมูลของการวิจยั เชงิ ปฏบิ ตั ิการ………………………………………………………..16 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลของการวิจยั เชิงปฏิบัตกิ าร…………………………………………………………….16 การวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั ิการแบบมสี ่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR)……………….17 ความหมายของการวิจัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมีส่วนร่วม………………………………………………….17 หลักการสาคญั ของการวจิ ยั เชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมีส่วนรว่ ม…………………………………………….18 วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจยั เชิงปฏบิ ตั ิการแบบมีสว่ นรว่ ม………………………………………………..19 ลักษณะสาคัญของการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่วม……………………………………………..20 ขั้นตอนการวจิ ยั เชิงปฏบิ ตั ิการแบบมีสว่ นร่วม…………………………………………………………….26 เทคนคิ หรือเครือ่ งมอื การศกึ ษาชมุ ชนอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม…………………………………………………33 ตวั อย่างงานวิจยั เชงิ ปฏบิ ัติการแบบมสี ่วนรว่ ม……………………………………………………………….38 1.การพฒั นางานวิชาการดวยหลักการบรู ณาการในโรงเรียนขนาดเล็ก:การวิจัยเชิง

ปฏิบตั ิการแบบมสี วนรวม……………………………………………………….................................38 2.การพัฒนากจิ กรรมการเรียนรู้ในโรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรมศรีจันทรว์ ิทยา : การวิจยั

เชิงปฏบิ ัติการแบบมีส่วนร่วม……………………………………………………………………………….82 บรรณานกุ รม……………………………………………………………………………………………………………………100 ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………………………………..102

PowerPoint การวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารและการวิจัยเชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมีส่วนรว่ ม……………102

การวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารและการวิจยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม

การวจิ ยั เชงิ ปฏิบัตกิ าร (Action Research) ความหมายและพัฒนาการของการวจิ ยั เชิงปฏบิ ตั กิ าร

ในปัจจุบันน้ีการวิจัยเชิงปฏิบัติการได้เป็นที่รู้จักและได้รับการกล่าว ถึงกันอย่างกว้างขวาง และย่งิ ไปกว่าน้นั ยงั ได้ถูกนําไปใชเ้ ป็นเครื่องมือสําหรับการพัฒนาในชุมชน สถานศึกษา สถาบัน หรือ องค์กรต่าง ๆ ทั้งในภาครัฐและ เอกชนของประเทศไทยมากย่ิงขึ้นเป็นลําดับ ซ่ึงได้มีนักวิชาการให้ ความหมาย ของการวิจยั เชงิ ปฏบิ ตั ิการไว้ดังตอ่ ไปน้ี

จอห์นสัน (Johnson, 2008 : 28) ให้ความหมายการวิจัยเชิงปฏิบัติ การว่าเป็นการวิจัย ระหว่างการปฏิบัติงานเพื่อแก้ปัญหาที่ผู้ปฏิบัติงานกําลังเผชิญอยู่ โดยเป็นกระบวนการศึกษาสภาพ หรือสถานการณ์ที่เป็นจริงของสถาน ศึกษาเพื่อทําความเข้าใจและพัฒนา ปรับปรุงคุณภาพของ การปฏิบตั ิงาน

เคมมิสและแมคทากกาท (Kemmis & McTaggart, 1988 : 10) กล่าวว่า การวิจัย เชิงปฏิบัติการเป็นรูปแบบหนึ่งของการวิจัยท่ีไม่ได้แตกต่าง ไปจากการวิจัยอื่น ๆ ในเชิงเทคนิค แตแ่ ตกต่างในดา้ นวิธกี าร ซง่ึ วิธีการของ การวจิ ัยเชิงปฏิบตั ิการคอื การทํางานทเ่ี ป็นการสะท้อนผลการ ปฏิบัติงานของ ตนเองที่เป็นวงจรแบบขดลวด (Spiral of self-reflecting) โดยเร่ิมต้นท่ีข้ันตอน การวางแผน (planning) การปฏิบัติ (action) การสังเกต (observing) และการสะท้อนกลับ (reflecting) เป็นการวิจัยท่ีจําเป็นต้องอาศัยผู้มีส่วนร่วม ในกระบวนการสะท้อนกลับเก่ียวกับการ ปฏบิ ตั ิเพอ่ื ให้เกดิ การพฒั นาปรับปรุง การทํางานใหด้ ขี ึน้

องอาจ นยั พฒั น์ (2548 : 338) กลา่ ววา่ การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็นการวิจัยที่ทําโดยนักวิจัย และคณะบคุ คลท่ีเป็นผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงาน องค์กร หรือชุมชน โดยมีจุดมุ่งหมายหลัก เพื่อนําผล การศกึ ษาวจิ ัย ทค่ี ้นพบหรือสรรคส์ ร้างขน้ึ ไปใชป้ รับปรงุ แก้ปญั หา หรือพัฒนาคุณภาพการ ปฏิบัติงาน ได้อย่างทันต่อเหตุการณ์ สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่ต้องการแก้ไข รวมทั้งกลมกลืนกับโครงสร้าง การบริหารงาน ตลอดจนบริบททางด้านสังคม และวัฒนธรรม และด้านอื่น ๆ ท่ีแวดล้อมหรือเกิดข้ึน ในสถานทเ่ี หล่านน้ั

จากท่ีกล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็นการศึกษา รวบรวมหรือการ แส ว ง ห า ข้ อเ ท็ จจ ริ ง โด ย ใช้ ก ร ะ บ ว น ก า ร ทา ง วิ ทย า ศา ส ต ร์ เ พื่ อใ ห้ ไ ด้ม า ซ่ึง ข้ อ สรุ ป อัน จ ะ นํา ไ ป สู่ การแก้ปัญหาท่ีเผชิญอยู่ท้ังในด้านประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของงานในขอบข่ายท่ีรับผิดชอบ โดยผูว้ จิ ยั สามารถดาํ เนินการ ไดห้ ลาย ๆ คร้งั จนกระทั่งผลการปฏิบัติงานนั้นบรรลุวัตถุประสงค์หรือ

การวจิ ยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารและการวจิ ยั เชิงปฏิบัตกิ ารแบบมสี ่วนร่วม 1

แกไ้ ข ปญั หาทปี่ ระสบอยู่ไดส้ ําเร็จ โดยกาํ หนดขนั้ ตอนของการวิจัยประกอบด้วย การวางแผน (plan) การปฏิบตั ิ (action) การสังเกต (observation) และการ สะทอ้ นกลบั (reflection)

การวิจัยเชิงปฏิบัติการมีจุดกําเนิดมาจากการแสวงหาแนวทางแก้ไข ปัญหาสังคมของเลวิน (Kurt Lewin) นักจิตวิทยาสังคมชาวอเมริกา ที่ต้องการ จะศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ เพื่อปรับปรุงคุณภาพของความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์โดยอาศัยแนวความคิดสําคัญ 2 ประการ คือ การร่วมกันตัดสินใจของกลุ่ม และความต้ังใจท่ีจะทําการปรับปรุง ในส่วนของวงการศึกษาน้ัน อาจกล่าวได้ว่า คอร์ร่ี (Stephen M. Corey) จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เป็นผู้นํา การวิจัยเชิงปฏิบัติการมาใช้กับการจัดการการศึกษาเป็น บุคคลแรก ในลักษณะของการปรับปรุง หลักสูตรและการจดั การเรียนการสอน

ค.ศ. 1967-1972 สเต็นเฮาส์ (Lawrence Stenhouse) แห่งมหาวิทยาลัย East Anglia ซ่ึง เป็นผู้อํานวยการโครงการ Humanities Curricuเum Project ได้กระตุ้นให้ครูผู้สอนนําวิธีการวิจัย เชงิ ปฏบิ ตั ิการมาใชก้ ับการจดั การศึกษา มงุ่ เปล่ยี นสภาพของครูจากการเป็นผู้สอนตามปกติให้เป็นครู ในฐานะนักวิจยั

ค.ศ. 1973-1975 แอนเลียร์ทและอเดนแมน (John Eliott & Clem Adelman) ได้นํา วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการมาใช้ในโครงการ Ford Teaching Project โดยให้ครูได้พัฒนาการจัดการ เรียนการสอนในช้ันเรียนแล้วนําผล การปฏิบัติงานมาแลกเปล่ียนประสบการณ์กับคนอื่น ๆ โดยใช้ วิธีการติดตาม ผลการกระทําท่ีเกิดจากช่องว่างระหว่างความคาดหวังกับการปฏิบัติงานจริงของครู สําหรับเป็นแนวทางช่วยเหลือครูให้ได้ทําการพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และ สืบสวนสอบสวนในชั้นเรียน และเน้นการปฏิบัติงาน ด้วยการควบคุมตนเองหรือด้วยกลุ่มมากกว่า การใชผ้ ้คู วบคุมคุณภาพท่ีมาจาก ภายนอก

ค.ศ. 1982 เคมมิส คาร์และแมคทากกาท (Stephen Kemmis, Wilf Carr & Robin McTaggart) ได้เสนอกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ที่สมบูรณ์แบบมากยิ่งข้ึน และเป็นท่ียอมรับกัน อย่างแพร่หลายในรูปของวงจร การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (the action research spiral) ประกอบด้วย 4 ขน้ั ตอน คือ การวางแผน (plan) การปฏิบัติ (act) การสังเกต (observe) และการ สะท้อนผลการ ปฏิบัติ (reflect) ซึ่งเม่ือครบวงจรหนึ่ง ๆ จะพิจารณาปรับปรุง แผน (replaning) เพ่ือนําไปปฏิบัติ ในวงจรต่อไปจนกวา่ จะบรรลคุ วามสําเร็จ ตามวัตถุประสงค์ของการปฏบิ ัติงาน

องอาจ นัยพัฒน์ (2548 : 334) ไดช้ ้ีให้เห็นถงึ สาเหตทุ ่ีทาํ ใหก้ ารวจิ ยั เชงิ ปฏิบัติการได้รับความ สนใจมากขน้ึ ในปัจจุบันนี้น่าจะมาจากปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้

1. กระแสเรยี กร้องจากบุคคลหรือกลมุ่ บุคคลท่เี ปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิอยูใ่ น ชมุ ชนหรือองค์กรระดับ ท้องถ่ินต้องการมีบทบาทในการทําวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับประเด็นปัญหาที่เกิดข้ึนในชุมชนของตนเอง มากข้ึน

การวจิ ัยเชิงปฏบิ ัติการและการวจิ ัยเชิงปฏิบตั กิ ารแบบมีสว่ นร่วม 2

2. ผลของการศกึ ษาวจิ ัยตามรูปแบบดัง้ เดิมที่มลี ักษณะมุ่งเนน้ วชิ าการ ดําเนินการโดยนักวิจัย จากภายนอกแตเ่ พียงฝุายเดียว มีความสอดคลอ้ งกลมกลืนกับบริบทและสภาพปัญหาทีเ่ กิดข้ึนใน

ชุมชนน้อย ยิ่งไปกว่านั้นยังมีลักษณะ ท่ียากต่อการทําความเข้าใจและการนําไปใช้ในการ แกป้ ัญหาของผูป้ ฏบิ ัติงาน ในระดับล่างได้น้อย

3. ความเคลื่อนไหวเก่ียวกับแนวคิดในการพัฒนานวัตกรรมหรือ การปฏิรูปใด ๆ โดย อิงองค์กรหรือชุมชนเป็นรากฐานสําคัญ ซึ่งเน้นหนักใน การบูรณาการเชื่อมโยงระหว่างแนวคิดเชิง ทฤษฎีและการปฏิบัติได้จริงในชีวิต ประจําวันของนักเรียน ครู และผู้บริหารการศึกษาในโรงเรียน หรือประชาชน ในชุมชน ในปัจจุบันแนวคิดดังกล่าวนี้กําลังได้รับความสนใจจากนักวิชาการ และ สาธารณชนมากขึน้

4. การตอบสนองต่อกระแสเรียกร้องของสาธารณชนท่ีต้องการให้มี การตรวจสอบผลการ ปฏิบัติงานตามพันธภาระรับผิดชอบ (accountability) ของผู้ปฏิบัติงานแต่ละระดับของหน่วยงาน หรอื องค์กรตา่ ง ๆ วา่ มคี ุณภาพ มากน้อยเพียงใด กระแสเรียกร้องดังกล่าวเป็นแรงผลักดันสําคัญท่ีทํา ให้ผู้ปฏิบัติ งานแต่ละคนหรือกลุ่มจะต้องมีบทบาทในการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพผลการ ปฏิบัติงานที่ตนรับผิดชอบอย่างต่อเนื่องในลักษณะการใคร่ครวญ ตรวจสอบ หรือ สะท้อนผลการ ปฏบิ ตั ิงานด้วยตนเองอยา่ งสม่าํ เสมอเพือ่ แก้ไขปญั หาท่เี กดิ ขึ้น

5. การเกิดข้ึนของวิธีวิทยาการแสวงหาความรู้ความจริงตามแนวคิด ท่ีเป็นคล่ืนลูกใหม่ (new wave) ทนี่ าํ มาใช้ในวงการวจิ ัยและการประเมิน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ วธิ ีการพฒั นามาจากฐานคติ เชิงปรัชญาตามกระบวนทัศน์ แบบตีความ/สร้างสรรค์นิยม ( interpretavist/constructivist) ท่ีมุ่งเน้น การตีความหมายข้อค้นพบ ซึ่งได้รับจากการแสวงหาเพ่ือให้เกิดความเข้าใจ ปรากฏการณ์ ใด ๆ ทีน่ กั วิจยั มคี วามสนใจใคร่รู้

ความเชอื่ พ้นื ฐานของการวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ัติการ การวิจยั เชงิ ปฏิบัตกิ ารมคี วามเช่อื พื้นฐาน (basic assumptions) อยู่ 4 ประการ คือ 1. วธิ ีการแก้ปัญหาที่ได้มาจากการศึกษาค้นคว้าจะมีประสิทธิภาพ และเช่ือถือได้มากกว่าวิธี

แกป้ ญั หาท่ไี ดม้ าจากการสัง่ การของผมู้ ีอํานาจหรือ ผู้บริหาร โดยการแก้ปัญหาแบบส่ังการน้ันมักเกิด มาจากการส่ังสมประสบการณ์ และการใช้สามัญสํานึกเป็นหลัก ซึ่งมักจะขาดข้อมูลและหลักฐานที่ จะใช้ ประกอบการตดั สนิ ใจ

2. การวจิ ัยเพ่อื การแก้ไขปัญหาของผู้ปฏิบัติงานท่ีดําเนินการเองโดยผู้ปฏิบัติงานจะมีโอกาส แก้ปัญหาของเขาไดส้ ําเร็จมากกว่าการวิจัยเพ่ือการแก้ไข ปญั หาท่ที ําโดยบคุ คลอน่ื

3. การวิจัยเป็นเร่ืองของการวิเคราะห์ปัญหา การค้นหาแนวทางแก้ไข ปัญหา การทดสอบ และการประเมินผลวิธีการแก้ปัญหา การวิจัยเป็นทักษะท่ี สามารถเรียนรู้และพัฒนาได้โดย ผปู้ ฏบิ ัติงานทุกคน การวิจัยไมไ่ ดเ้ ป็นสทิ ธพิ ิเศษ ของผเู้ ชี่ยวชาญคนใดคนหน่ึงหรือกลุ่มใดกลุม่ หน่ึง

การวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ัติการและการวจิ ยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมีส่วนรว่ ม 3

4. การพฒั นาความสามารถของบุคคลโดยการฝึกหัด ถือว่าเป็น รากฐานของการพัฒนาการ ปฏบิ ัตงิ าน ลกั ษณะของการวจิ ัยเชิงปฏิบตั กิ ารทางการศึกษา

ยาใจ พงษ์บริบูรณ์ (2537 : 12) ได้เสนอกรอบลักษณะของ การวิจัยเชิงปฏิบัติการทาง การศกึ ษา (action research in education) อย่างนา่ สนใจดงั ต่อไปน้ี

1. เป็นการวิจัยแบบมีส่วนร่วมและมีการร่วมมือ (participation and collaboration) ใช้ การทํางานเป็นกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีส่วนสําคัญและมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกกระบวนการของ การวิจัย ท้งั การเสนอความคิดเชิง ทฤษฎี การปฏิบตั ิ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจยั

2. เน้นการปฏิบัติการ (action orientation) การวิจัยชนิดน้ี ใช้การปฏิบัติเป็นสิ่งทําให้เกิด การเปล่ียนแปลง และศกึ ษาผลของการปฏิบตั ิ เพือ่ มงุ่ ให้เกิดการพฒั นา

3. ใช้การวิเคราะห์วิจารณ์ (Critical function) กิจกรรมการวิเคราะห์การปฏิบัติอย่างลึกซ้ึง จากสงิ่ ที่สังเกตได้ จะนําไปส่กู ารตดั สนิ ใจท่สี มเหตสุ มผล เพอ่ื การปรับแผนการปฏิบตั ิการ

4. ใช้วงจรการปฏิบัติการ (the action research spiral) ตามแนวคิดของเคมมิสและแมค ทากกาท (Kemmis & McTaggart) คือ การวางแผน (planning) ตลอดจนการปรับปรุงผล (re-planning) เพอ่ื นําไปปฏบิ ัติในวงจร ตอ่ ไปจนกว่าจะไดร้ ปู แบบของการปฏิบัติงานท่ีเป็นท่ีพึงพอใจ และได้เสนอ เชงิ ทฤษฎีเพอื่ เผยแพร่ตอ่ ไป

องอาจ นัยพัฒน์ (2548 : 335) ได้อธิบายเก่ียวกับลักษณะสําคัญของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ไวเ้ ป็น 8 ประการ ดงั ต่อไปนี้

1. เกีย่ วข้องกบั ปญั หาทางด้านการปฏบิ ตั ิงาน (practical problem) ที่ผ้ปู ฏิบตั งิ านระดับล่าง มักจะประสบในขณะทํางานอยู่ประจําหรือปฏิบัติหน้าที่ อ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละวัน มากกว่า การเกีย่ วข้องกับปัญหาทางด้านทฤษฎี (theoretical problem) ซึ่งได้รับการนิยามหรือกล่าวถึงโดย นกั วจิ ยั บริสุทธ์ิ ในสาขาวชิ าความร้ใู ด ๆ โดยเฉพาะ

2. มีจุดมุ่งหมายหลักเพ่ือการทําความเข้าใจ (understanding) ต่อ สภาพปัญหาท่ีเกี่ยวกับ การปฏบิ ัตงิ านของครู ผู้บริหารการศึกษาอย่างลุ่มลึกและ กระจ่างชัด ภายใต้กระบวนการใคร่ครวญ ตรวจสอบในลกั ษณะสะท้อนกลบั ของ ยุทธวิธปี ฏิบตั ิทนี่ ักวจิ ัยเชิงปฏิบตั ิการได้ลงมือกระทําลงไปอย่าง วิพากษ์วิจารณ์ (Critically) อันจะนําไปสู่การได้แนวทางปฏิบัติการสําหรับใช้แก้ปัญหาได้ อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทแวดล้อมมากย่ิงขึ้นสําหรับการดําเนินงาน ในลําดับต่อไป

นอกจากนั้นยังมีจุดมุ่งหมายเพ่ือการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงาน รวมท้ังสภาวการณ์เง่ือนไข ต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการปฏิบัติงาน มากกว่าการมี จุดมุ่งหมายเพื่อการสร้างสรรค์องค์ความรู้ เชงิ วชิ าการอย่างใดอย่างหนงึ่ เปน็ การเฉพาะ

การวิจัยเชงิ ปฏบิ ัติการและการวจิ ยั เชิงปฏิบัตกิ ารแบบมีสว่ นร่วม 4

3. ม่งุ เนน้ การตคี วามหมายเหตุการณ์ หรือสภาวการณ์ของปัญหา ท่ีเกิดขึ้นตามความคิดเห็น หรือทัศนะของผู้ปฏิบัติงานหรือผู้มีส่วนเก่ียวข้อง โดยตรงกับเหตุการณ์หรือสภาวการณ์ของปัญหา ดงั กลา่ ว มากกวา่ การอาศัย แนวคดิ ทฤษฎี กฎหรอื หลักการของวทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติ ทั้งนี้เพราะเชื่อ ว่า ท่าทาง การกระทํา การติดต่อส่ือสารหรือพฤติกรรมใด ๆ ของมนุษย์ ทั้งท่ีปรากฏให้เห็นเด่นชัด หรือไม่เห็นเด่นชัดในเหตุการณ์หรือสภาวการณ์ของปัญหาหนึ่ง ๆ สามารถตีความหมายได้โดยการ สรุปอ้างอิง (inference) จากแรงจูงใจ ความเชื่อ เจตนา หรือจุดมุ่งหมายของผู้แสดงพฤติกรรม ประกอบเข้ากับบริบท แวดล้อมที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมหรือการกระทําเหล่านั้นข้ึน เช่น บรรทัดฐาน ค่านิยม และกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ทางสังคมเป็นสําคัญ โดยนัยดังกล่าวนี้แสดงว่า นักวิจัยไม่สามารถ ตีความหมายพฤติกรรมหรือการกระทําของบุคคลใด ๆ ได้เลย ถ้าปราศจากการพิจารณาบริบท แวดลอ้ มพฤตกิ รรมน้ัน ๆ มาประกอบดว้ ย

4. เสนอผลการวิจัยในรูปแบบเรียบง่าย การเสนอรายงานผล การศึกษาวิจัยในรูปแบบด้วย การเลือกใช้ถ้อยคําสํานวนในระดับเดียวกับ ผู้ปฏิบัติงาน โดยพยายามหลีกเลี่ยงคําศัพท์เฉพาะ สาขาวิชา (technical term) และภาษาที่มีลักษณะค่อนข้างเป็นนามธรรม เพ่ือทําให้ง่ายต่อการ ติดตาม ทําความเข้าใจของผู้ปฏิบัติงาน นอกจากนี้คําอธิบ ายเก่ียวกับผลการวิจัยตลอด จนกระบวนการวจิ ยั อน่ื ๆ สามารถตรวจสอบความตรง (validity) ได้จากการสนทนาแบบเป็นกันเอง กบั ผู้ปฏิบัติงานหรอื ผู้มีส่วนร่วมหรอื เกย่ี วขอ้ งในทกุ ระยะของกระบวนการวิจัย

5. เน้นการมีส่วนร่วมในกระบวนการวิจัย การดําเนินงานวิจัยเชิง ปฏิบัติการในทุกข้ันตอน จะต้องอย่ภู ายใตบ้ รรยากาศการมสี ว่ นร่วม การร่วมมือ ร่วมใจ การเชื่อถือและไว้วางใจ การเป็นมิตร รวมทัง้ ความเป็นอิสระและความ เสมอภาคในการแสดงความคดิ เห็น

6. ผ่อนคลายความเข้มงวดเก่ียวกับระเบียบวิธีการศึกษาวิจัยการดําเนินงานวิจัย เชิงปฏิบัติการไม่ยึดติดอยู่ภายใต้กรอบการจัดกระทําทางการทดลองและการควบคุมตัวแปร แทรกซ้อนอย่างเคร่งครัดแบบตายตัวด้วย แบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง (experimental research design) หรือวิธีการทางสถิติใด ๆ (statistical control) แนวคิดพ้ืนฐานดังกล่าวนี้ไม่ได้ หมายความ ว่าการวิจยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารละเลยหรือมองข้ามความสําคัญของการ ศึกษาค้นคว้าด้วยการอาศัยวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ หากแต่ปรับวิธีการศึกษา ค้นคว้าด้วยวิธีการดังกล่าวให้กลมกลืนหรือสอดคล้องกับ ลักษณะของปัญหา สภาวการณ์ต่าง ๆ รวมทั้งบริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่แวดล้อมปัญหา ที่ต้องการแสวงหาความรู้ความจริง ด้วยเหตุนี้การวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยท่ัวไป อาจเลือกใช้รูปแบบ การวิจัยเชิงปริมาณท่ีอาศัยแบบการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi experimental design) หรือการวิจัย เชงิ คณุ ภาพ

7. ไม่เน้นการสรุปอ้างอิงผลการศึกษาวิจัยข้ามไปยังบริบทอ่ืน การสรุปอ้างผลการวิจัยหรือ การขยายผลการวิจัยให้ครอบคลุมไปยังห้องเรียน หรือ โรงเรียนท่ีมีทําเลที่ต้ังหรือบริบทอ่ืน ๆ

การวจิ ยั เชิงปฏบิ ัตกิ ารและการวิจัยเชิงปฏิบตั กิ ารแบบมีส่วนรว่ ม 5

แตกต่างไปจากทาํ เลหรือบริบททีท่ ําการ วจิ ยั จรงิ มีลักษณะคอ่ นข้างจํากัดกว่าการวิจัยเชิงทดลองทาง วิทยาศาสตร์ ท้ังนี้ การสรุปอ้างอิงผลของการวิจัยที่ได้จากการวิจัยเชิงปฏิบัติการไม่ สามารถอาศัย กฎของความครอบคลุม (Covering law) ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ท่ีตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของ ความสัมพันธ์หรือการอ้างอิงเชิงสาเหตุ (causal relationships) ดังนั้นในทางปฏิบัติโดยท่ัวไป การสรุปอ้างอิงผลของการวิจัยที่ได้จากการวิจัย เชิงปฏิบัติการ จึงมีแนวโน้มกระทําได้เฉพาะใน ขอบเขตของสถานที่ บุคคล และเวลาที่ทําการศึกษาวิจัย อย่างไรก็ตาม ถ้าต้องการขยายผลของการ วจิ ัย ให้ครอบคลมุ ข้ามไปยงั ขอบเขตอ่ืนทน่ี อกเหนอื กส็ ามารถกระทาํ ได้ ถ้าปัจจัย ที่เก่ียวข้องในบริบท เหล่านน้ั มลี ักษณะคลา้ ยคลงึ หรืออยู่ในสภาวการณ์ที่ใกล้ เคียงกัน รวมทั้งได้รับการยืนยันจากผลการ ศึกษาวิจัยทเ่ี กีย่ วขอ้ งอ่นื ๆ ประกอบ ดว้ ย

8. สร้างดุลยภาพและความเสมอภาคระหว่างทัศนะของบุคคลภายใน และบุคคลภายนอก นักวิจัยเชิงปฏิบัติการที่เป็นบุคคลภายใน (insider) และ บุคคลภายนอก (outsider) ของสถานที่ ทําการศึกษาวิจยั มบี ทบาทสําคญั 2 ประการ คือ บคุ คลภายในมีบทบาทเปน็ ท้ังผู้ปฏิบัติงานตามหน้าท่ี ปกตแิ ละ เปน็ นกั วิจยั ปฏบิ ตั กิ ารในสถานที่ทํางานของตนเอง ในขณะที่บุคคลภายนอก มีบทบาทเป็น ผู้เชีย่ วชาญ ผใู้ ห้คําปรกึ ษาทางวชิ าการให้กบั บคุ คลภายในและเป็น นักวิจัยเชิงปฏิบัติการเช่นเดียวกับ บคุ คลภายใน นกั วจิ ัยเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารทงั้ ทเี่ ป็น บุคคลภายในและบคุ คลภายนอกจะต้องปรับบทบาทของ ตนเองให้มีดุลยภาพทาง แนวความคิด ความเชื่อ และการปฏิบัติอยู่เสมอในแต่ละสภาวการณ์ นอกจาก น้จี ะตอ้ งสรา้ งความเสมอภาคทางความคดิ เห็นต่าง ๆ ท่เี กี่ยวข้องกับการดําเนินกิจกรรมการ วจิ ยั เพื่อปูองกนั ไมใ่ หเ้ กิดความขดั แยง้ ทางความคดิ หรอื ความสับสน ระหว่างบทบาทเหล่านั้นในขณะ ปฏบิ ัตงิ านวิจัย

จากท่ีกล่าวมาจะเห็นได้ว่าการวิจัยเชิงปฏิบัติการพัฒนาขึ้นมา จากฐานคติความเชื่อ (assumption) สําคัญท่ีว่า การสร้างสรรค์และการใช้ ความรู้เชิงปฏิบัติการ (action or practical knowledge) สําหรับการแก้ไข ปัญหาหรือการพัฒนาใด ๆ ในองค์กร ชุมชน หรือสังคมหนึ่ง ๆ จะต้องตั้งอยู่บนหลักการพื้นฐานของความเป็นประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความสันติสุข และ ความสอดคล้องกลมกลืนกับบริบททางด้านวฒั นธรรมและสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติ รวมทั้งอยู่ใต้ บรรยากาศของความเอื้ออาทร หรือเป็นแบบกัลยาณมิตร ท่ีนักวิจัยและผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับ กระบวนการวิจัยมีการเรียนรู้ร่วมกัน รวมท้ัง ยอมรับฟังความคิดเห็นและให้เกียรติซ่ึงกันและกัน ความรเู้ ชิงปฏบิ ัติการทีเ่ ปน็ ผลผลิตอันเกิดจากความรว่ มมอื รว่ มใจระหวา่ งนกั วิจัยกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง หรือ ผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสีย (Stakeholders) โดยผู้ปฏิบัติงานซง่ึ มีความใกล้ชิดกบั ปัญหา ไดเ้ กิดความรู้สึก ในการเป็นเจ้าของความรู้ จึงเปน็ ปจั จยั ผลกั ดนั สําคญั ตอ่ แนวโน้ม การนําความรู้นั้น ๆ ไปใช้ประโยชน์ ในการแก้ปัญหา หรือปรับปรุงเปล่ียนแปลง ใด ๆ ในองค์กร ชุมชน หรือสังคมให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป

การวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารและการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมีส่วนร่วม 6

ซ่ึงลักษณะของการวิจัยเชิง ปฏิบัติการโดยทั่วไปจะมีความแตกต่างจากการวิจัยเชิงวิชาการ

(academic research) ดงั รายละเอยี ดปรากฏในตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 ความแตกตา่ งระหวา่ งการวิจัยเชิงวิชาการและการวจิ ัยเชิงปฏบิ ัตกิ าร

ประเดน็ พิจารณา การวจิ ยั เชงิ วิชาการ การวจิ ยั เชิงปฏบิ ัติการ

โอกาสในการทาํ วจิ ยั เปน็ โครงการวจิ ัย วทิ ยานพิ นธ์ เกดิ จากความสนใจของนกั วจิ ัย

รายงานท่ีไดร้ ับเงินทุนสนบั สนุน บางครัง้ อาจเป็นโครงการศึกษา วิจัย

การทําวิจยั ตามความสนใจของ ทไ่ี ดร้ บั การสนับสนุน

นักวจิ ัยหรอื แหลง่ ทนุ

บทบาทของผวู้ ิจัย มีสว่ นเกย่ี วขอ้ ง มสี ว่ นเก่ียวขอ้ ง จากแหล่งทุน มีการควบคุม ดาํ เนิน

ทงั้ หมดในการ ในการดาํ เนนิ งาน งานวิจัย และมีความรู้ ในเรอ่ื งนน้ั

บางสว่ นหรือ เปน็ อยา่ งดี

ทั้งหมดและอาจมีความรู้ในเรอื่ ง ท่ี

ทาํ วิจัยหรอื ไมก่ ็ได้

จดุ มุ่งหมาย เพื่อพัฒนาทฤษฎีทางการศกึ ษาและ นาํ ผลทีไ่ ด้ไปใชใ้ นการตดั สินใจ

การปฏบิ ัตติ อบสนองความตอ้ งการ เกี่ยวกับการปฏิบตั งิ านในวิชาชพี

ทางวชิ าการ บางคร้งั อาจตอบสนองเงอ่ื นไขทาง

วิชาการ

แบบแผนการวจิ ยั การวิจัยมีการจัดกระทําตวั แปรและ มกี ารจัดกระทาํ ตัวแปร แต่ใน

ใชต้ วั แปรน้นั จนส้นิ สุดการทดลอง ระหว่างการทดลองนั้นสามารถ

เนน้ การควบคุมสภาวการณต์ ่าง ๆ เปล่ยี นแปลงได้ และต้องพยายาม ไม่

เพื่อปอู งกนั ความลาํ เอยี ง รบกวนสภาวการณ์ปกติที่เป็นอยู่จรงิ

ในสนามการวจิ ัย

เคร่อื งมอื และวธิ กี าร จะตอ้ งเหมาะสมและสอดคลอ้ ง กบั ใช้เคร่ืองมอื เช่นเดยี วกับการวิจัยเชิง

เก็บรวบรวมข้อมูล ตวั แปรทีศ่ กึ ษา วิชาการ แต่สามารถ เปล่ียนแปลงได้

ในขณะดาํ เนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

การเลือกตวั อยา่ ง อิงทฤษฎคี วามน่าจะเปน็ คํานงึ ถงึ จดุ มุง่ หมายและความ

จากประชากร สะดวก กลมุ่ ตวั อย่างอาจจะเป็น

ตัวแทนของประชากร หรืออาจมี

กลุ่มตัวอย่างเพยี งกลมุ่ เดยี วหรือ

หน่วยเดียวกไ็ ด้

การวจิ ยั เชิงปฏิบัติการและการวจิ ยั เชิงปฏิบัตกิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม 7

ประเด็นพจิ ารณา การวจิ ัยเชงิ วิชาการ การวิจัยเชงิ ปฏิบตั ิการ การกาํ หนดตวั อย่าง เข้ากลมุ่ ศกึ ษาวจิ ยั ใชว้ ิธีการส่มุ หน่วยตวั อย่าง ไมจ่ าํ เป็นตอ้ งใช้วิธกี ารสมุ่ หนว่ ย การรวบรวมขอ้ มูล เข้ากลุม่ ทศี่ กึ ษาวจิ ัย ตวั อย่างเขา้ กลุ่มที่ศกึ ษาวิจัย การวิเคราะหข์ อ้ มูล จะตอ้ งใช้เครือ่ งมือท่มี ีความตรง ควรใชว้ ธิ ีการที่มคี วามไวว้ างใจและ

และความเท่ียงรวมทั้งปราศจาก เชื่อถอื ได้ และให้ตระหนักต่อความ

ค่านยิ มหรอื ความลาํ เอียงใด ๆ ลําเอยี งจากแหลง่ ตา่ ง ๆ

แอบแฝง

ใชว้ ธิ กี ารทางสถติ ิที่เหมาะสมโดย ใช้การวเิ คราะหเ์ นือ้ หา วธิ ีการทาง

ปกติจะใช้สถิติเชิงอนุมานหน่วยที่ สถิติง่าย ๆ หรือหลายวิธี รวมกัน

ใชใ้ นการวเิ คราะห์มักเป็นกลมุ่ หรือ หนว่ ยที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ อาจเป็น

บางครั้งอาจเป็นกลุ่มย่อย กลุ่ม รายบคุ คล หรือ

กล่มุ ย่อย

จดุ มงุ่ หมายของการวิจัยเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร จุดมุ่งหมายของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อจะปรับปรุงประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของ

การปฏิบตั งิ านประจําให้ดีข้ึน โดยนําเอางานท่ีปฏิบัติอยู่ มาวิเคราะห์สภาพปัญหาอันเป็นเหตุให้งาน น้ันไม่ประสบผลสําเร็จเท่าที่ควร นอกจากน้ันต้องใช้แนวคิดทางทฤษฎีและประสบการณ์จากการ ปฏิบัติงาน ท่ีผ่านมา เสาะหาข้อมูลและวิธีการที่คาดว่าจะแก้ปัญหาดังกล่าวได้ แล้วสะท้อน วิธีการ ดงั กล่าวไปทดลองใช้กับกลมุ่ ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั ปญั หานนั้ ๆ

กระบวนการดําเนนิ การวิจัยเชิงปฏิบตั กิ าร เนอ่ื งจากการวจิ ัยเชิงปฏิบัติการพัฒนามาจากฐานคติความเช่ือท่ีมุ่ง เน้นบูรณาการเช่ือมโยง

ความร้หู รือทฤษฎีเชิงปฏิบัติการที่ได้จากการทําวิจัย กับการปฏิบัติงานท่ีเกิดข้ึนจริง ๆ ในสนามหรือ สถานทีป่ ฏิบัตงิ านผสมผสาน เข้าด้วยกนั โดยอาศยั การสะท้อนความคิดใคร่ครวญไปมาในเชิงวิพากษ์ ผลการ ปฏิบัติงานท่ีได้ลงมือกระทําไปตามแผนการที่วางไว้ว่าสามารถแก้ไขปัญหาได้ สําเร็จหรือไม่ อย่างไร รวมทั้งมีปัจจัยเก้ือหนุนและขัดขวางความสําเร็จในการ แก้ปัญหาอะไรบ้าง และจะต้อง ดําเนินการอย่างไร จึงจะทําให้เข้าสู่สภาวการณ์ ท่ีนําความสําเร็จนั้นมา ดังนั้น กระบวนการวิจัย เชิงปฏิบัติการจึงประกอบด้วย ขั้นตอนการดําเนินงานวิจัยท่ีมีลักษณะเป็นเกลียวเวียนหรือวงจร ต่อเน่ืองกนั ไป (Spiral of steps)

การวจิ ัยเชิงปฏบิ ัติการและการวิจยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมีสว่ นร่วม 8

กระบวนการดําเนนิ งานวจิ ยั เชงิ ปฏิบัตกิ ารตามแนวคิดของ Kemmis & McTaggart (1988) กระบวนการดําเนินงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการตามแนวคิดของ Kemmis & McTaggart

(1988: 11) ประกอบด้วยกิจกรรมการวิจัยท่ีสําคัญ 4 ข้ันตอนหลัก คือ 1) การวางแผนเพ่ือไปสู่การ เปล่ียนแปลงที่ดีขึ้น (planning) 2) ลงมือปฏิบัติการตามแผน (action) 3) สังเกตการณ์ (observation) และ 4) สะท้อนกลับ (reflection) กระบวนการและผลของการเปลี่ยนแปลง ทเี่ กดิ ข้ึน และปรับปรุงแผนการปฏิบัติงาน (re-planning) โดยดําเนินการเช่น นี้ต่อไปเร่ือย ๆ แสดง รายละเอียดตามภาพท่ี 1.1

ภาพที่ 1.1 วงจรของการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารตามแนวคิดของ Kemmis & McTaggart ทม่ี า : Kemmis & McTaggart, 1988: 11.

ความสมั พันธ์ระหว่างกิจกรรมการวิจยั หลักท่หี มุนเคลอื่ นไปเป็น วฏั จักรของกระบวนการวิจัย ดังกล่าว จึงเป็นเสมือนแหล่งท่ีก่อให้เกิดความรู้ เชิงปฏิบัติการและกลไกการนําความรู้ที่ได้รับไปใช้ แกไ้ ขปัญหาอยา่ งตอ่ เนือ่ งกลา่ วอกี นยั หน่ึงคือ เป็นการดาํ เนนิ งานวิจัยทีไ่ ม่แยกกิจกรรมการสืบค้นหา : ความรคู้ วามจริงออกจากกิจกรรมการพัฒนา (องอาจ นัยพัฒน์, 2548 : 343) กิจกรรมการวิจัยหลัก แต่ละขน้ั ตอนมรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้

การวิจยั เชงิ ปฏิบตั ิการและการวิจยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม 9

1. การวางแผน (planning) เป็นการกําหนดแนวทางปฏิบัติการ ไว้ก่อนล่วงหน้า โดยอาศัย การคาดคะเนแนวโน้มของผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้น จากการปฏิบัติตามแผนท่ีวางไว้ ประกอบกับการ ระลึกถึงเหตุการณ์หรือเรื่อง ราวในอดีตท่ีเก่ียวข้องกับประเด็นปัญหาท่ีต้องการแก้ไข ตามประสบการณ์ทั้ง ทางตรงและทางอ้อมของผู้วางแผน ภายใต้การไตร่ตรองถึงปัจจัยสนับสนุน ขัดขวางความสําเร็จในการแก้ไข ปัญหาการต่อต้าน รวมทั้งสภาวการณ์เง่ือนไข อ่ืน ๆ ท่ีแวดล้อม ปัญหาอยู่ในเวลาน้ัน โดยท่ัวไปการวางแผนจะต้องคํานึงถึงความยืดหยุ่น ทั้งนี้เพื่อจะสามารถ ปรบั เปลี่ยนให้เข้ากบั เหตุการณท์ เี่ กิดขน้ึ ในอนาคต

2. การปฏิบัติการ (action) เป็นการลงมือดําเนินงานตามแผนท่ีกําหนดไว้อย่างระมัดระวัง และควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามท่ีระบุไว้ใน แผ่น อย่างไรก็ตามในความเป็นจริงการปฏิบัติ ตามแผนท่ีกําหนดไว้มีโอกาสแปรเปล่ียนไปตามเงื่อนไขและข้อจํากัดของสภาวการณ์เวลานั้นได้ ด้วยเหตุน้ีแผนปฏิบัติการท่ีดีจะต้องมีลักษณะเป็นเพียงแผนชั่วคราว ซึ่งเปิดช่องให้ผู้ปฏิบัติการ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามเงื่อนไขและปัจจัยที่เป็นอยู่ในขณะน้ัน การปฏิบัติ การท่ีดีจะต้องดําเนิน ไปอย่างตอ่ เน่อื งเป็นพลวัตภายใต้การใชด้ ลุ ยพินิจในการตดั สนิ ใจ

3. การสังเกตการณ์ (observation) เป็นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เก่ยี วกบั กระบวนการและผล ที่เกิดขึ้นจากการ ปฏิบัติง านที่ได้ลงมือกระทําลง ไป รวมท้ังสังเกตการณ์ปัจจัยสนับสนุนและปัจจั ย อปุ สรรคการดําเนนิ งานตามแผน ทีว่ างไว้ ตลอดจนประเด็นปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนระหว่างปฏิบัติการ ตามแผนว่ามีสภาพหรอื ลักษณะเป็นอย่างไร การสงั เกตการณ์ที่ดีจะตอ้ งมกี ารวางแผน ไว้กอ่ นล่วงหน้า อย่างคร่าว ๆ โดยจะต้องมีขอบเขตไม่แคบหรือจํากัดจนเกินไป เพื่อจะได้เป็นแนวทางสํ าหรับ การสะทอ้ นกลบั กระบวนการและผลการปฏบิ ตั ิ ท่ีจะเกดิ ขนึ้ ตามมา

4. การสะท้อนกลับ (reflection) เป็นการให้ข้อมูลถึงการกระทําตามท่ีบันทึกข้อมูลไว้จาก การสงั เกตในเชิงวิพากษ์กระบวนการและผลการปฏิบัติงานตามที่วางแผนไว้ ตลอดจนการวิเคราะห์ เกย่ี วกบั ปจั จยั สนับสนนุ และปจั จยั อุปสรรคการพัฒนา รวมทั้งประเด็นปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นว่าเป็น ไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ การสะท้อนกลับโดยอาศัยกระบวนการกลุ่มใน ลักษณะวิพากษ์วิจารณ์ หรือประเมินผลการปฏิบัติงานระหว่างบุคคลที่มีส่วน ร่วมในการวิจัยจะเป็นวิธีการปรับปรุงวิธีการ ปฏิบัติงานตามแนวทางด้ังเดิม ไปเป็นการปฏิบัติงานตามวิธีการใหม่ ซ่ึงใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานสําหรับ การทบทวน และปรับปรุงวางแผนปฏบิ ัติการในวงจรกระบวนการวิจยั ในรอบหรอื เกลยี วต่อไป

การวิจัยเชงิ ปฏบิ ัติการและการวจิ ัยเชิงปฏิบตั กิ ารแบบมสี ว่ นร่วม 10

กระบวนการดาํ เนนิ งานวจิ ัยเชงิ ปฏิบตั กิ ารตามแนวคดิ ของ Stringer (1999) Stringer (1999: 19) ไดแ้ บ่งกระบวนการดําเนินงานวิจัยเชิง ปฏิบัติการออกเป็น 3 ขั้นตอน

หลัก ได้แก่ 1) การพินิจพิเคราะห์ (มอง) 2) การคิดวิเคราะห์ (คิด) และ 3) การปฏิบัติการ ปฏิบัติ) ซ่งึ เป็นไปตามภาพท่ี 1.2

ภาพท่ี 1.2 วงจรการวจิ ัยเชิงปฏิบตั ิการตามแนวคิดของ Stringer ที่มา : Stringer, 1999:19.

กิจกรรมหลักทั้ง 3 ขั้นตอนน้ี เกิดขน้ึ อย่างตอ่ เน่อื งเป็นวัฏจักร กันหลายรอบ (recycling set of activities) การดําเนินกิจกรรมการวิจัยใน ขั้นตอนแรกมีจุดมุ่งหมายสําคัญ เพื่อช่วยให้บุคคล ทุกฝุายท่ีมีส่วนร่วมใน กระบวนการวิจัยได้เข้าใจสภาพปัญหา ปัจจัยสนับสนุนและปัจจัยอุปสรรค การปรับปรงุ แกไ้ ขปัญหาและบริบทอื่น ๆ ท่ีแวดล้อมปัญหาท่ีต้องการแก้ไขอย่าง ถ่องแท้และชัดเจน เพื่อที่จะได้คิดหาหนทางท่ีจะนําไปสู่การบรรลุจุดมุ่งหมาย ดังกล่าวน้ี นักวิจัยที่เป็นบุคคลภายนอก จะเป็นผู้คอยให้ความช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกในการทําการวิจัย บุคคลภายในองค์กรหรือ ชมุ ชนทาํ หนา้ ท่ี นิยามปญั หาที่เกิดข้นึ ตลอดจนพรรณนารายละเอียดเก่ียวกับบริบทแวดล้อม องค์กร หรอื ชมุ ชนและสภาวการณ์เง่ือนไขที่เก่ียวข้องกับปัญหา นอกจากน้ี ยังร่วมมือกันเก็บรวบรวมข้อมูล ตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหาและบริบทแวดล้อมโดยใช้วิธีการสังเกตการณ์ สัมภาษณ์ หรือการศึกษา เอกสาร ส่วนการดําเนินกจิ กรรม ในขัน้ ตอนที่ 2 ได้แก่ การตีความและวิเคราะห์ข้อมูลท่ีเก็บรวบรวม มาไดจ้ าก ขัน้ ตอนแรก โดยมจี ุดมงุ่ หมายเพอื่ สร้างความชัดเจนและขยายความเข้าใจ เก่ียวกับประเด็น ปัญหาทีต่ ้องการแกไ้ ขมากยง่ิ ขน้ึ รวมทั้งการกําหนดรายละเอยี ด เก่ียวกบั ลําดับข้ันตอนการปฏิบัติงาน ในขั้นตอนท่ี 3 ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อลงมือ ปฏิบัติการแก้ไขปัญหาให้สําเร็จลุล่วงไปตามท่ีได้คิด วิเคราะหไ์ ว้ โดยมกี ารประเมิน ผลการปฏบิ ัติงานเปน็ กลยุทธส์ ําคัญ เพ่ือการระบุความสําเร็จของการ แก้ไขปัญหา ว่าอยู่ในระดับใด มปี ระเด็นใดบา้ งที่จะตอ้ งทําการแกไ้ ขในวงจรรอบต่อไป

การวจิ ยั เชิงปฏบิ ตั ิการและการวจิ ยั เชิงปฏิบตั กิ ารแบบมีสว่ นร่วม 11

กระบวนการวิจยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารตามแนวคดิ ของ Coghlan & Brannick (2001) ตามแนวคิดของ Coghlan & Brannick (2001: 19) ได้แบ่งกระบวนการ วิจัยเชิงปฏิบัติการ

เป็นขั้นตอนเบ้ืองต้น 1 ข้ันตอน คือ การทําความเข้าใจ บริบทของปัญหาที่ต้องการแก้ไขและการ กําหนดจุดมงุ่ หมายการปฏบิ ตั ิการ และ มขี ั้นตอนหลกั 4 ข้นั ตอน ได้แก่ 1) การวินิจฉัย (diagnosing)

  1. การวางแผน ปฏิบัติการ (planning) 3) การลงมือปฏิบัติการ (taking action) และ
  2. การประเมนิ ผลการปฏิบัตกิ าร (evaluation action) ซึ่งกระบวนการวิจยั เป็นไปตามภาพที่ 1.3

ภาพที่ 1.3 วงจรของการวิจัยเชิงปฏิบตั กิ ารตามแนวคิด ของ Coghlan & Brannick ท่ีมา : Cognian & Brannick, 2001: 19. กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการประกอบด้วย 4 ข้ันตอนหลัก เร่ิมต้น จากการวินิจฉัย สภาวการณ์ของปัญหาท่ีจําเป็นต้องแก้ไข รวมท้ังการระบุกรอบ แนวคิดทฤษฎีและหลักการพ้ืนฐาน สําหรับใช้รองรับการปฏิบัติงาน จากน้ันจึง ทําการวางแผนปฏิบัติการตามจุดมุ่งหมายของการ แกป้ ญั หาหรือโครงการพัฒนา ท่กี ําหนดไวโ้ ดยอาศยั ขอ้ มลู จากผลการวนิ จิ ฉยั ในขั้นตอนแรกและความ ร่วมมือ ร่วมใจของบุคลากรฝุายต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการประเมิน แล้วจึงลงมือปฏิบัติ การตาม แผนการที่วางไว้ทลี ะขั้นตอน เสร็จแล้วจึงทําการประเมินผลการปฏิบัติ งานทั้งที่เกิดขึ้นโดยตั้งใจและ ไม่ต้งั ใจ เพอ่ื ตรวจสอบดคู วามถกู ตอ้ งและความ เหมาะสมของการวินจิ ฉยั และการปฏิบัติการตามแผน สารสนเทศท่ีได้จาก การประเมินผลในขั้นตอนน้ีจะนําไปสู่การดําเนินงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในวงจร รอบต่อไป

การวจิ ยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารและการวิจัยเชิงปฏบิ ตั กิ ารแบบมีสว่ นร่วม 12

กระบวนการวจิ ยั เชงิ ปฏิบัติการตามแนวคดิ ของ องอาจ นัยพฒั น์ (2548) องอาจ นยั พฒั น์ (2548 : 346) ได้สรปุ กระบวนการของกิจกรรมการ วิจัยเชิงปฏิบัติการเป็น

ขัน้ ตอนยอ่ ย ๆ ไว้ 10 ข้นั ตอน ดังต่อไปน้ี 1. ระบุแนวคดิ และนยิ ามปญั หาอย่างชัดเจน 2. รวบรวมขอ้ มูลพ้ืนฐานที่เกี่ยวข้องเพ่ืออธิบายข้อเท็จจริงของ สภาวการณ์ที่เป็นปัญหา ซ่ึง

ตอ้ งไดร้ บั การแกไ้ ขปรบั ปรงุ หรือพัฒนา 3. วางแผนเพ่อื กําหนดยทุ ธวธิ ีปฏบิ ตั ิการแก้ไขปญั หา 4. นํายุทธวธิ ีปฏิบัตทิ ว่ี างไว้ไปลงมอื ปฏิบัติจรงิ 5. สังเกตการณ์ ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามยุทธวิธีปฏิบัติท่ีได้ลง

มอื กระทาํ ไปแลว้ 6. สะท้อนกลับผลของการนํายุทธวิธีปฏิบัติท่ีได้ลงมือปฏิบัติแล้ว โดยอาศัยการคิดในเชิง

วิพากษ์ด้วยทัศนะอันหลากหลายจากนักวิจัยเชิงปฏิบัติ การและผู้มีส่วนร่วมในการวิจัย บนพ้ืนฐาน ของขอ้ มลู หลักฐานรอ่ งรอยต่าง ๆ ท่ไี ดร้ บั จากขัน้ ตอนที่ 5

7. ทบทวนและปรับปรงุ แผนยุทธวิธปี ฏิบตั ิการแกไ้ ขปญั หา 8. นาํ แผนยุทธวิธีปฏบิ ัตทิ ป่ี รับแล้วไปลงมือปฏิบตั ิจรงิ 9. สะท้อนกลับผลของการนาํ ยุทธวธิ ีปฏบิ ัติที่ปรับและลงมอื ปฏิบัติแล้ว 10. ดําเนินการเช่นนี้ต่อไปเร่ือย ๆ จนกระทั่งนักวิจัยเชิงปฏิบัติการ และผู้มีส่วนร่วมในการ วิจยั มีความเหน็ ร่วมกนั อยา่ งสอดคลอ้ งว่า สถานการณ์ ที่เป็นปัญหาน้ันได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนอยู่ ในระดับที่พอใจ ภายใต้ข้อจาํ กัด ทางดา้ นเวลาและทรพั ยากรของการวิจัย จากแนวคิดที่เกี่ยวกับกระบวนการหรือขั้นตอนของการวิจัยเชิงปฏิบัติ การดังท่ีกล่าวมา เม่ือนํามาประยุกต์ใช้กับการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียน การสอน และการบริหารจัดการ การศกึ ษา สามารถสรุปเปน็ ขัน้ ตอนทีส่ ําคัญ ไดด้ งั น้ี 1. การตระหนักถงึ ความสําคัญของการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการ เรียนการสอน การบริหาร จัดการ ซึ่งถือได้ว่าเป็นข้ันตอนที่สําคัญท่ีสุดของ กระบวนการ เน่ืองจากเป็นจุดเริ่มต้นของการ ดําเนินงาน ถ้าผู้วิจัยขาดความ ตระหนักในความสําคัญของการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการ สอน และ การบรหิ ารจดั การแล้ว กระบวนการวิจยั เชงิ ปฏิบัตกิ ารจะไม่สามารถเกดิ ขนึ้ 2. การศึกษา สํารวจ วิเคราะห์สภาพการปฏิบัติงาน เพ่ือกําหนดจุดที่จะพัฒนา ผู้วิจัยจะ ดําเนนิ การศกึ ษาสภาพปญั หาหรือประเด็นท่คี ดิ ว่า ควรจะได้รับการพัฒนา ขั้นตอนน้ีผู้วิจัยสามารถใช้ เครื่องมือต่าง ๆ มาทําการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ เช่น การสังเกต สัมภาษณ์ บันทึกเหตุการณ์ ตรวจ สอบเอกสาร การทดสอบ ฯลฯ

การวิจยั เชิงปฏบิ ตั ิการและการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม 13

3. นําสภาพปัญหาหรือจุดที่จะพัฒนาไปปรึกษากับกลุ่ม เนื่องจาก หลักการสําคัญประการ หนง่ึ ของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ คอื การดําเนินงานร่วม กันของกลุ่ม ดังน้ันเม่ือผู้วิจัยสามารถกําหนด ปัญหาหรือจดุ ทจี่ ะพฒั นาได้แล้ว ก็นาํ ไปใหก้ ลมุ่ ได้พจิ ารณาความเหมาะสมและความเปน็ ไปได้รว่ มกนั

4. การวางแผนเพ่ือแก้ปัญหาหรือเพ่ือการพัฒนา ข้ันตอนนี้ผู้วิจัย กําหนดแผนงานท่ีจะ นําไปใช้ ซึ่งประกอบด้วยวตั ถปุ ระสงค์ของแผน ขัน้ ตอน วธิ กี าร เครอื่ งมอื ในการแกป้ ญั หา/พัฒนาและ วิธกี ารประเมินผลความก้าวหนา้

5. นําแผนงานไปปรึกษากับกล่มุ เพ่ือวิเคราะหจ์ ุดเดน่ จุดด้อย รวมทั้งคําแนะนําเพ่ือนําไปใช้ สาํ หรบั การปรบั ปรงุ แกไ้ ขแผนงานใหส้ มบรู ณ์ย่ิงขน้ึ

6. การปรับปรงุ แก้ไข ผวู้ ิจัยนําข้อเสนอแนะที่ได้จากกลมุ่ ตามขั้นตอนที่ 5 ไปปรับปรุงแก้ไข แผนงาน

7. การปฏิบัติงานตามแผนงาน ผู้วิจัยนําแผนงานท่ีจัดทําข้ึนไปปฏิบัติ ในสถานการณ์ที่ ประสบอยู่

8. การประเมินผล เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลในระหว่างและภาย หลังการดําเนินการตาม แผน วิธีการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลน้ันอาจจะ ใช้วิธีการให้ได้มาซึ่งข้อมูลในเชิงปริมาณ เช่น การใชแ้ บบสอบถาม แบบสํารวจ แบบทดสอบ หรือข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ ฯลฯ ก็ได้ ทั้งนี้เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์มากที่สุดเพ่ือใช้ในการประเมินผลการดําเนินงานหลังจากท่ี ผู้วิจัยทําการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนดไว้แล้ว ผู้วิจัยสามารถดําเนินการได้ใน 2 ลักษณะ คือ 1) ในกรณีท่ีแผนงานน้ัน สามารถแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาในสิ่งที่ต้องการได้สําเร็จ ก็ยุติได้ และ 2) ในกรณี ท่ีแผนงานน้ันไม่สามารถแก้ไขปัญหาหรือพัฒนางานได้ตามวัตถุประสงค์ ผวู้ จิ ยั ต้องยอ้ นกลับไปเรม่ิ ต้นดําเนินการศกึ ษาวิจยั ใหม่ต้ังแต่ข้นั ตอนที่ 2 อีกครั้ง

ขนั้ ตอนของการวจิ ัยเชิงปฏิบัตกิ าร กระบวนการวิจัยนี้ เม่ือกล่าวในเชิงการนําไปใช้เพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการปฏิบัติงาน

ในโรงเรยี น สามารถอธบิ ายวธิ ีการดําเนินการตามวงจร ของการวิจัยเชงิ ปฏบิ ัติการได้ดงั นี้ 1. การจําแนกหรือพิจารณาปัญหาท่ีประสงค์จะศึกษา ผู้วิจัยและ กลุ่มที่ทําการวิจัยจะต้อง

ศึกษารายละเอียดของปัญหาที่จะศึกษาอย่างชัดแจ้ง ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในโรงเรียนท่ีจะทําการวิจัยเชิง ปฏิบัติการจะต้องศกึ ษาค้นคว้า แสวงหาหลกั การและทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับปัญหาน้ัน ๆ ให้กว้างขวาง พอสมควร

2. เลือกปัญหาสําคัญที่เป็นสาระควรแก่การศึกษาวิจัย โดยอาศัย พื้นฐานจากหลักการและ ทฤษฎมี าใช้ในการวิเคราะห์ลกั ษณะของปัญหา แล้ว สร้างวัตถุประสงค์และสมมติฐานของการวิจัยใน รูปแบบของขอ้ ความท่แี สดง ให้เห็นความสมั พนั ธ์ของปัญหากบั หลักการหรอื ทฤษฎีที่เกยี่ วขอ้ ง

การวิจยั เชิงปฏบิ ตั กิ ารและการวจิ ัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมีสว่ นรว่ ม 14

3. เลือกเครือ่ งมอื ดําเนนิ การวจิ ัยที่จะชว่ ยให้ได้คาํ ตอบของปัญหา ตามสมมติฐานท่ีตั้งไว้ โดย เครอ่ื งมอื ทจ่ี ะใชใ้ นการวจิ ยั มีอยู่ 2 ลักษณะ คอื เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการทดลองปฏิบัติหรือการฝึกหัดตาม วิธีการ และเคร่ืองมือ ที่ใช้สําหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นผลจากการปฏิบัติการ เช่น แบบทดสอบ แบบสังเกตพฤติกรรม

4. บนั ทึกเหตุการณ์อยา่ งละเอียดในแต่ละขั้นตอนของการวิจัย ทั้ง ส่วนที่เป็นความก้าวหน้า และท่ีเปน็ อปุ สรรคตามวงจรของการปฏิบัติการ ทั้ง 4 ขั้นตอน โดยจะต้องเก็บสะสมข้อบันทึกต่าง ๆ ไวเ้ พ่ือใชใ้ นการปรับปรุง วงจรปฏบิ ัตใิ นรอบต่อไป และเพื่อเป็นการรวบรวมข้อมูลสําหรับใช้วิเคราะห์ หาคาํ ตอบของสมมตฐิ าน

4.1 ข้ันวางแผน (planning) เร่ิมด้วยการสํารวจปัญหาร่วมกัน ระหว่างบุคลากรภายใน โรงเรียน เพือ่ ใหไ้ ด้ปัญหาทสี่ าํ คัญทต่ี อ้ งการให้แกไ้ ข ตลอดจนการแยกแยะรายละเอียดของปัญหานั้น เก่ียวกบั ลักษณะของปัญหา เกย่ี วข้องกบั ใคร แนวทางแก้ไขอย่างไร และจะต้องปฏิบัติอย่างไร

4.2 ข้ันปฏิบัติการ (action) เป็นการนําแนวคิดที่กําหนดเป็น กิจกรรมในข้ันวางแผนมา ดําเนินการโดยวิเคราะห์วิจารณ์ปัญหาอุปสรรค์ ที่เกิดขึ้นร่วมกันของทีมงานประกอบไปด้วยเพ่ือทํา การแกไ้ ขปรบั ปรงุ แผน ฉะน้ันแผนทก่ี าํ หนดควรจะมคี วามยดื หยนุ่ ปรบั ได้

4.3 ข้ันสังเกตการณ์ (observation) เป็นการศึกษาความ เปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นด้วยความ รอบคอบซึ่งอาจเป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนท้ังที่คาดหวังและไม่คาดหวัง โดยต้องอาศัยเคร่ืองมือในการเก็บ รวบรวมขอ้ มูลต่าง ๆ เข้าชว่ ย

4.4 ขั้นสะท้อนผลการปฏิบัติการ (reflection) ซ่ึงเป็นข้ันสุดท้าย ของวงจรการทําการวิจัย เชิงปฏบิ ัติการ โดยทาํ การประเมินหรือตรวจสอบ กระบวนการแก้ปัญหาหรือสิ่งที่เป็นข้อจํากัดที่เป็น อุปสรรคต่อการปฏิบัติการ ผู้วิจัยร่วมกับกลุ่มผู้เกี่ยวข้องจะต้องตรวจสอบปัญหาที่เกิดข้ึนในแง่มุม ต่าง ๆ ท่สี ัมพันธ์กบั สภาพสังคม สิง่ แวดล้อม และระบบการศกึ ษาของโรงเรียน ท่ี ประกอบกันอยู่โดย ผ่านการร่วมอภิปรายปัญหาและการประเมินโดยกล่มุ จะทําให้ได้แนวทางของการพัฒนาและขั้นตอน การดําเนนิ กิจกรรมเพื่อจะไดใ้ ช้ เปน็ ข้อมูลพน้ื ฐานทีน่ ําไปสกู่ ารปรับปรงุ และวางแผนการปฏิบตั ิต่อไป

5. วเิ คราะหค์ วามสมั พันธใ์ นด้านต่าง ๆ ของข้อมูลท่ีได้รวบรวมไว้ ส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลเชิง คุณภาพ ทําการตรวจสอบรายละเอียดของข้อมูล เพื่อให้มั่นใจในความถูกต้อง แสดงรายละเอียดใน การอธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ จัดหมวดหมู่และแยกประเภทของกลุ่มข้อมูลตามหัวข้อท่ีเหมาะสม เปรียบเทียบ ข้อแตกต่างและความคล้ายคลึงของข้อมูลแต่ละประเภทโดยการวิเคราะห์อย่าง ลึกซ้ึง รว่ มกบั กลุ่มผู้วจิ ัย

6. ตรวจสอบข้อมูลที่กลุ่มวิจัยได้ร่วมกันพิจารณาไว้แล้วอีกคร้ังหน่ึง เพ่ือ สรุปหาคําตอบที่ เป็นสาเหตุ วิธีการแก้ปัญหา และผลท่ีได้รับ ตามวัตถุประสงค์ ของการวิจัยที่ได้กําหนดไว้ จะ ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดหากผู้วิจัยสามารถ ทําการประมวลและสรุปเป็นหลักการ (principle)

การวิจยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารและการวจิ ยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมีสว่ นร่วม 15

รูปแบบ (model) ของการ ปฏิบัติ ข้อเสนอเชิงทฤษฎี (proposition) หรือทฤษฎี (theory) ของ ปฏบิ ัติการ แกป้ ญั หานัน้ ๆ ได้ ท้ังน้ีต้องอาศัยหลักตรรกวิทยาโดยวิธีอุปนัย (induction) และความรู้ เชิงทฤษฎขี องผูว้ จิ ยั เปน็ สําคัญ

การเก็บรวบรวมขอ้ มูลของการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร หลกั การสําคญั ของการวจิ ยั เชิงปฏิบัติการท่ีต้องตระหนักอยู่เสมอ คือ กลุ่มบุคคลท่ีเก่ียวข้อง

มีความสําคญั ต่อกระบวนการดําเนินการวจิ ัย น่ันคอื การวจิ ัยชนิดน้ีไม่ควรจะทําตามลําพังและควรใช้ วงจรของกระบวนการวิจัย ซ่ึงประกอบด้วยการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล การ ปฏิบัติ เพื่อนํามาปรับปรุงแผนงานแล้วดําเนินกิจกรรมที่ปรับปรุงใหม่ วงจร ของทั้ง 4 ข้ันตอน ดังกล่าวจะมีลักษณะการดําเนินการเป็นบันไดเวียน (spiral) กระทําํซ้าตามวงจร จนกว่าจะได้ผล ปฏิบตั กิ ารใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลง พร้อมกับต้องบนั ทกึ ผลในทุก ๆ ข้นั ตอนที่สําคัญ นั่นคอื

1. บนั ทึกผลของการเปล่ยี นแปลงกจิ กรรมและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ 2. บันทึกผลของการเปล่ียนแปลงการใช้ภาษาและการสื่อสาร ในห้องเรียนหรือหน่วยงาน และกบั บคุ คลท่เี ก่ยี วขอ้ งกับปญั หาท่ตี ้องการแกไ้ ข 3. บนั ทึกผลของการเปล่ียนแปลงการสัมพันธภาพทางสังคมและ การจัดระบบองค์กรที่ช่วย ลดอุปสรรคต่อการฝกึ ปฏิบัติ 4. บันทกึ ผลของการพัฒนาการทเ่ี ปน็ ขอ้ ค้นพบที่สําคญั ของการวิจัย

การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ การวิเคราะหข์ อ้ มลู ของการวิจัยเชงิ ปฏิบัติการจะใช้วิธีการของการ วิจัยเชิงคุณภาพหรือการ

แจกแจงข้อค้นพบที่สําคัญเชิงอธิบายความ ซ่ึงจะนํา ไปสู่การสรุปเป็นผลงานวิจัย และแสดงให้เห็น แนวทางหรือรปู แบบการปฏิบัติ ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ เพอ่ื การแกไ้ ขปัญหาของส่ิงทีศ่ ึกษานั้น กล่าวโดยสรปุ การวิจยั เชิงปฏบิ ตั ิการ (action research) เป็นวิธี การแสวงหาความรคู้ วามจรงิ โดยการ นํากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ใน การแสวงหาข้อมูล ข้อเท็จจริง หรือข้อสรุปที่ต้องการ จากน้ันจงึ นําผลการวจิ ัยทไี่ ด้ไปใช้ในการแกป้ ัญหาหรือพัฒนางานท่ีปฏิบัติอยู่ ซ่ึงมีวัตถุประสงค์สําคัญ คือ การลดช่องว่างระหว่างการนําทฤษฎีไปใช้ในการปฏิบัติงานในสถานการณ์ ท่ีเป็นจริง รวมท้ังมุ่ง พัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบตั ิงานท่หี น่วยงานหรือ บุคลากรนัน้ ๆ ได้รบั ผิดชอบอยู่ ขนั้ ตอนการวิจัยเชิงปฏิบัติการมีลักษณะเช่นเดียวกับกระบวนการ วิจัยประเภทอ่ืนๆ โดยมีข้ันตอนที่ สาํ คัญ คอื เร่มิ ต้นด้วยการวางแผน การนํา แผนไปปฏิบตั ิ และการประเมินผล แต่ส่ิงที่จะกล่าวได้ว่ามี ความแตกต่างกับ การวิจัยแบบอื่น ๆ คือ ผู้วิจัยจะดําเนินการวิจัยด้วยการใช้รูปแบบบันไดเวียน (Spiral) เพอ่ื ใหเ้ กิดความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ น่ันคือ ถ้าผลการวิจัย

การวจิ ยั เชิงปฏบิ ัติการและการวจิ ัยเชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมีส่วนรว่ ม 16

สามารถแก้ไขปญั หาหรอื พฒั นาหน่วยงาน ผลผลิตได้ตาม ที่ต้องการก็ถือว่าสิ้นสุดข้ันตอนการวิจัย แต่ ถา้ ผลการวิจัยยังไม่สามารถแก้ไข ปัญหาหรือพัฒนาส่ิงท่ีต้องการได้ ผู้วิจัยสามารถนําข้อมูลท่ีได้จาก การประเมิน ผลไปใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการวางแผนใหม่ นอกจากน้ีขณะดําเนินการวิจัย ผู้วิจัย สามารถปรับปรงุ แกไ้ ขแผนงานไดต้ ลอดเวลา เพื่อให้แผนงานมีความ เหมาะสมกับสภาพจริงของการ ปฏบิ ตั ิงาน

การวิจยั เชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม (Participatory Action Research: PAR) เป็นระเบียบวิธีการวิจัยแนวใหม่ที่ได้รับความสนใจในการนํามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา

ประเทศมากขึ้น นักวิชาการบางท่านได้กล่าวว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเป็นการวิจัยท่ี ผสมผสานการวิจัยแบบมีส่วนร่วม (participatory research) กับการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) รวมทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) เข้าไว้ด้วยกัน ท้ังนี้เพื่อให้ ไดม้ าซง่ึ องคค์ วามรู้ใหม่ในการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นโดยการลงมือปฏิบัติ ควบคู่กับการวิจัย และ ตลอดกระบวนการในการศึกษาปัญหา วิเคราะห์ปัญหา วางแผนปฏิบัติ และติดตามประเมินผล จะต้องคํานึงถึงการสร้างการมีส่วนร่วม ระหว่างนักวิจัย ผู้เช่ียวชาญ ชุมชน ประชาชน และองค์กร ท่ีเก่ียวข้องให้เป็น เครือข่ายแห่งการร่วมมือในทุกขั้นตอนของการวิจัย การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบ มีส่วนร่วมจะเป็นเครื่องมือใหม่ที่สําคัญในการพัฒนาประเทศ ท่ีเป็นการพัฒนา ประชาชนในระดับ รากหญา้ ของสังคมให้เข้มแข็งอยา่ งแทจ้ ริง

ความหมายของการวิจัยเชิงปฏิบตั กิ ารแบบมีส่วนร่วม สุภางค์ จันทวานิช (2548 : 67-68) กล่าวไว้ว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติ การแบบมีส่วนร่วม

หมายถงึ วธิ ีการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์โดยอาศัยการมี ส่วนร่วมอย่างแข็งขันจากทุกฝุายที่เก่ียวข้อง ในกิจกรรมการวิจัย นับตั้งแต่การ ระบุปัญหา การดําเนินการการติดตามผล จนกระทั่งถึงข้ัน ประเมินผล

อุทัย ดุลยเกษม (2545 : 131) กล่าวว่า การทําวิจัยแบบมีส่วนร่วม หรือการวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม หรือ PAR น้ัน เน้นท่ีผู้เข้ามามีส่วน ร่วมทุกข้ันตอนตั้งแต่ต้นจนจบ กระบวนการ กระบวนการน้ีชาวบ้านจะเรียนรู้ โดยไม่ต้องเขียน ข้ึนอยู่กับจุดยืนของผู้วิจัย เป็นการ สร้างความเข้มแขง็ ใหก้ ับคน ธรรมดาทว่ั ๆ ไป เพ่ือจะนาํ ไปต่อรองกบั บุคคลอ่ืน ๆ ได้มากขึน้

สมโภชน์ อเนกสุข (2548 : 18) กล่าวว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติ ปี การแบบมีส่วนร่วมเป็น รูปแบบของการวิจัยท่ีนักวิจัยมีความเกี่ยวข้องในฐานะ ว่า ผู้มีส่วนร่วมในกิจกรรมส่วนหนึ่งของ องค์การและเป็นนักวิจัย เป็นการนําแนวคิดและวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพมาศึกษา โดยผู้มีส่วนร่วมใน กระบวนการวิจัยชว่ ย - กนั แสวงหารูปแบบของการพัฒนาหรอื หาวธิ กี ารแก้ปญั หา มีการพฒั นาความ

การวิจัยเชิงปฏิบตั ิการและการวจิ ัยเชิงปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม 17

สาํ นกึ ในการวเิ คราะห์วิจารณ์ของผเู้ ก่ยี วข้อง เพื่อปรับปรุงสภาวะความเป็นอยู่ และวิถีชีวิต ตลอดจน การเปลี่ยนแปลงสภาพโครงสร้างความสัมพันธ์พื้นฐาน ในสงั คมของตนเอง

นิตยา เงินประเสริฐศรี (2544 : 61-62) กล่าวว่า การวิจัย 1 เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เป็นกลยุทธ์ท่ีสะท้อนให้เห็นถึงการเดินทางไปสู่การพัฒนา โดยมีการเปล่ียนแปลงจากสิ่งท่ีเป็นอยู่ไป สสู่ ่งิ ทีส่ ามารถเป็นไปได้ ทั้งในระดับปัจเจกชนและระดับสังคม โดยหัวใจสําคัญของการเปล่ียนแปลง อยู่ ที่กระบวนการวิจัย ซ่ึงใช้แนวทางความร่วมมือ (collaborative approach) ระหว่างนักวิจัยกับ กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholders) ทั้งน้ีกระบวนการ วิจัยจะต้องเป็นประชาธิปไตย ยุติธรรม มีอิสระ และส่งเสริมคุณค่าของชีวิต โดยกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะเข้าร่วมสังเกต ตรวจสอบ สถานการณ์ต่าง ๆ สะท้อนความคิดเห็นและความต้องการของตน ทรัพยากรท่ีมีอยู่ อุปสรรคและ ปัญหาที่ปรากฏอยู่ ตรวจสอบทางเลือกที่เป็นไปได้ และมีการเปล่ียนแปลงอย่าง มีจิตสํานึกไปสู่การ เปลีย่ นแปลงใหม่

เคมมิสและแมคทากกาท (Kemmis & McTaggart, 1988: 10) ให้ความหมายของการวิจัย เชิงปฏบิ ตั กิ ารแบบมีสว่ นร่วมวา่ เป็นการวิจัยทีก่ ลมุ่ สะท้อนตนเอง สืบค้นและดําเนินการ โดยผู้มีส่วน ร่วมในสังคม เพื่อปรับปรุง ความเป็นธรรมและความมีเหตุมีผลของการปฏิบัติในสังคมของตนเอง ดังนั้น การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมจึงเป็นการวิจัยท่ี ผู้เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการ เรยี นรู้ การแกป้ ญั หา พฒั นาองค์การตัง้ แต่ ต้นจนจบกระบวนการวจิ ยั

หลักการสําคัญของการวิจัยเชิงปฏิบตั กิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม การวิจัยเชงิ ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนรว่ มเป็นรปู แบบของการวิจยั ที่ ประกอบไปด้วยกระบวนการ

ค้นคว้าทางสังคม (Social investigation) การ ให้การศึกษา (education) และการกระทําหรือการ ปฏิบัติการ (action) เพ่ือท่ี จะให้กลุ่มผู้ถูกกดข่ีหรือด้อยโอกาสในสังคมได้มีส่วนร่วมในการสร้าง ความรู้และ ทําความเข้าใจกับสภาพการณ์ท่ีปรากฏอยู่ รวมท้ังเปิดพ้ืนที่ให้เรียนรู้และแก้ไข ปัญหา ร่วมกันระหว่างหลายฝุาย อันเป็นการสร้างความรู้ให้กับสังคมอย่างเป็น รูปธรรม พันธ์ุทิพย์ รามสตู (2540 : 3-35) อธิบายไว้ว่า การวิจยั เชิงปฏบิ ตั ิการ แบบมสี ่วนร่วมมีหลักการสําคัญท่ีให้ความ เคารพต่อภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ท้องถิ่น ตลอดจนระบบการสร้างความรู้ซึ่งแตกต่างไปจาก นักวิชาการ โดย ประกอบดว้ ย

1. ปรับปรุงความสามารถและพัฒนาศักยภาพของชาวบ้าน ด้วย การส่งเสริมยกระดับ การศึกษาและพัฒนาความเชื่อม่ันให้เกิดการวิเคราะห์/ สังเคราะห์สถานการณ์ปัญหาของเขาเอง ซง่ึ เปน็ การนาํ เอาศกั ยภาพเหลา่ นี้มา ใช้ประโยชน์

การวจิ ยั เชงิ ปฏิบตั ิการและการวิจัยเชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมีส่วนรว่ ม 18

2. ให้ความร้ทู เี่ หมาะสมแก่ชาวบา้ น ตลอดจนมกี ารนาํ ไปใชอ้ ย่างเหมาะสม 3. สนใจปริทัศน์ของชาวบ้าน โดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วน ร่วมจะช่วยเปิดเผยให้ เหน็ คาํ ถามท่ตี รงกับประเดน็ ปญั หา 4. การปลดปล่อยแนวความคดิ เพ่อื ให้ชาวบ้านและคนยากจนด้อยโอกาส สามารถมองความ คิดเห็นของตนเองได้อย่างเสรี มองสภาพการณ์และ ปัญหาของตนเองวิเคราะห์วิจารณ์ ตรวจสอบ สภาพข้อเทจ็ จริงต่าง ๆ ท่ีเกิดข้นึ

วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัยเชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมีส่วนร่วม สํานักมาตรฐานการศึกษา สํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ กระทรวง ศึกษาธิการ และ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2545 : 241) ได้กล่าว ถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิง ปฏบิ ัติการแบบมีสว่ นร่วมไวด้ ังนี้

1. เพ่อื เปดิ โอกาสให้ประชาชนในชุมชนท้องถิ่นแต่ละแห่งเข้ามาร่วม ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล รวมทั้งการหาประเด็นปัญหาเชิงพัฒนา และวรรณกรรม เพ่ือแก้ไขปัญหาของชุมชนตนเอง มิใช่รอ คอยแตน่ ักวิจัยและนกั พัฒนามาดาํ เนิน การให้

2. เพื่อให้ได้ข้อมูลความเป็นจริง แนวทางการพัฒนาท่ีเหมาะสม หรือมีความพอดีกับบริบท ของชุมชนท้องถ่ินนั้น

3. เพ่ือให้มีการขับเคล่ือนมวลสมาชิกเข้าด้วยกัน เป็นกระบวนการ ของผู้มีความรับผิดชอบ ร่วมกัน เรียนรู้ด้วยกัน และแก้ไขปัญหาไปพร้อม ๆ กัน สตริงเจอร์ (Stringer, 1999 cited in Creswell, 2002: 609) กล่าวว่า การวิจัย ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีจุดมุ่งหมายเพ่ือปรับปรุง คุณภาพองค์การประชาชน ชุมชนและชีวิตครอบครัว โดยมีสาระที่สําคัญ คือการใช้กระบวนการวิจัย เพ่ือ ส่งเสริมจุดมุ่งหมายของความเสมอภาค และมีความเป็นประชาธิปไตย ทําให้ ผู้มีส่วนร่วม ในการวจิ ัยเกิดความร่วมมือในการตดั สินใจ มีความเหน็ ร่วมกนั ในฐานะผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับองค์การ และเปน็ ผู้ร่วมกระทาํ กจิ กรรมการวิจยั บนพืน้ ฐานของความเทา่ เทยี มกนั

วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั เชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมีส่วนร่วม คือ เพื่อการปรับปรุงคุณภาพของคน ในองคก์ ร ชมุ ชนและชวี ติ ความเป็นอยู่ของครอบครัว

(Stringer, 1999) แม้ว่าหลายประเด็นจะเหมือนกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการของ ครูหรือของ สถานศึกษา แต่ประเด็นท่ีแตกต่างกันออกไปก็คือการมีส่วนร่วมกัน ของบุคคลต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องใน ความพยายามปรับปรงุ พฒั นา และการมอบอํานาจให้กับบุคลากรและองค์กรทางการศึกษา การวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมี ส่วนร่วมมีจุดเน้นที่การปรับปรุงพัฒนางานให้ดีข้ึน และการสร้างพลังอํานาจ ให้กับบุคคลแต่ละคนในสถานศึกษา การจัดระบบการศึกษาและชุมชนรอบ ๆ สถานศึกษา นอกจากนนั้ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมยังมีพื้นฐาน ความคิดท่ีชัดเจนในการปรับแนวทาง

การวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารและการวจิ ยั เชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมสี ว่ นร่วม 19

ของกระบวนการ สบื หาขอ้ เทจ็ จริงของ ผู้วิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรวบรวมข้อมูล ในวัตถุประสงค์ และผลกระทบ ทเ่ี กดิ ขึ้นกับการสืบหาขอ้ เท็จจริง

กล่าวโดยสรุป วัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ( participatory action research: PAR) คอื

1. เพือ่ ให้บุคคลทีอ่ ยใู่ นองคก์ รหรือชุมชนแต่ละแหง่ เข้ามารว่ มศึกษา ปัญหา ค้นคว้าหาข้อมูล และสาเหตุของปญั หา รวมทงั้ การแสวงหาแนวทางใน การพัฒนาองคก์ รหรอื ชมุ ชนของตนท่ีเหมาะสม กับบรบิ ท รว่ มกับนักวิจัยและ นกั พฒั นา

2. เพอื่ การพฒั นาองคก์ รหรือชมุ ชนให้ดีข้ึน โดยการสรา้ งพลงั อํานาจ ให้กบั บุคคลแต่ละคนใน องคก์ รหรือชมุ ชน ให้มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา และก่อให้เกิดการพัฒนาแบบย่ังยืน หลังจากที่ นักวิจัยและนักพัฒนาออกไป แล้ว

3. เพ่ือให้มีการขับเคล่ือนสมาชิกในองค์กรหรือชุมชน ให้เป็นผู้ท่ีมี ความรับผิดชอบร่วมกัน เกิดการเรยี นรู้ และแกไ้ ขปญั หาไปพร้อมกัน

ลกั ษณะสาํ คัญของการวิจยั เชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมีส่วนร่วม เคมมสิ และวลิ คนิ สนั (Kemmis & Wilkinson, 1988 cited in Creswell, 2002: 609-610)

ไดส้ รุปลกั ษณะท่สี าํ คัญของการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั ิ การแบบมีส่วนร่วมไว้ 6 ประการ ดงั น้ี 1. เป็นกระบวนการทางสังคมที่นักวิจัยมีเจตนาขยายความสัมพันธ์ ของบุคคลแต่ละคนกับ

บุคคลอืน่ ๆ เพื่อทาํ ความเข้าใจว่าแต่ละบุคคลสร้าง ความสัมพันธ์หรือพฤติกรรมผ่านปฏิสัมพันธ์ทาง สังคมอยา่ งไร

2. รูปแบบของการวจิ ยั เน้นการมสี ว่ นร่วม หมายความวา่ แต่ละคน จะเกิดความเข้าใจในส่ิงท่ี ตนทําแลว้ เสนอความรู้ความคิดเห็นสบู่ ุคคลอน่ื รวม ทัง้ ผลักดนั ใหเ้ กดิ การกระทาํ ร่วมกัน

3. เป็นความร่วมมือในการปฏบิ ัตริ ่วมกนั เพราะการวิจัยจะมีความ สมบูรณ์ต้องเกิดจากการ กระทําของผู้ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง มกี ารปฏบิ ัติเพ่อื ขยายผลไป สู่ชมุ ชน หรือสร้างความรู้ให้กับองค์กรทางสังคม เพื่อลดความไม่สมเหตุสมผล ความล้มเหลว และความไม่ยตุ ธิ รรม ในการปฏบิ ัติหรือปฏิสมั พันธ์ท่ีไม่น่า พึงพอใจ

4. การดาํ เนินงานไมม่ กี ารบังคบั ทุกคนเปน็ อสิ ระจากกฎเกณฑ์ที่ ไม่มเี หตุผลและโครงสร้างท่ี ไมย่ ุติธรรม ซึ่งเปน็ ขอ้ จาํ กดั ในการพัฒนาตนเอง

5. ชว่ ยใหท้ ุกคนท่ีเกีย่ วข้องมีความเปน็ อสิ ระในตนเอง จากข้อกําหนด ต่าง ๆ เช่น ส่ือ ภาษา และกระบวนการทํางาน

การวิจัยเชงิ ปฏบิ ัติการและการวจิ ยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมสี ว่ นร่วม 20

6. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมสามารถเกิดขึ้นํซ้ากันได้อีก โดยพิจารณาผลท่ี สะท้อนกลบั และเหตุผลที่เหมาะสม เพราะเป็นกระบวนการ ที่มีจุดมุ่งหมายเพ่ือนําการเปล่ียนแปลง ไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ

เครสเวลล์ (Creswell, 2002. 614) ได้สรุปลักษณะสําคัญของการ วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมี สว่ นรว่ มไวด้ งั ต่อไปน้ี

1. มจี ดุ เน้นไปสกู่ ารนําไปปฏบิ ัติ 2. การดาํ เนินการวจิ ัยมีการปฏบิ ตั ิร่วมกนั ระหวา่ งนกั วิจยั และผทู้ ี่ เกยี่ วข้อง 3. เป็นความร่วมมือกนั ระหวา่ งนักวจิ ยั กับผเู้ ขา้ รว่ มวิจยั 4. เป็นกระบวนการที่เป็นพลวัต (dynamic process) ของเกลียว ปฏิสัมพันธ์ที่มี กระบวนการย้อนกลบั และนําไปสู่การพฒั นาขั้นต่อไป (back and forth) จากผลสะท้อนของสิ่งท่ีเป็น ปัญหา การเกบ็ รวบรวมข้อมูล และ การปฏบิ ัติ 5. การพฒั นาผลการดาํ เนินงานต้องสามารถปฏิบัติได้ 6. มีการนําเสนอผลการวิจัยต่อผู้เก่ียวข้อง เช่น โรงเรียนในท้องถ่ิน ชุมชน และบุคลากร ทางการศึกษา เปน็ ต้น สมโภชน์ อเนกสุข (2548 : 18) สรุปว่า ลักษณะของการวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วยการวางแผน การปฏบิ ัติ การสังเกต การสะทอ้ นผลการปฏบิ ัติ และการปรับปรุงแผนเพ่ือ นําไปปฏิบัติในวงจรช่วง ต่อไป จนกว่าจะได้รูปแบบของการปฏิบัติงานท่ีพึงพอใจ กระบวนการวิจัย ต้อง มีความยืดหยุ่นสูง มีความเป็นพลวัต ไม่จําเป็นต้องดําเนินงานเป็นเชิงเส้นตรง สามารถทําการ วิจัยํซ้ากันได้อีก โดยพิจารณาจากผลสะท้อนกลับ ซึ่งจะเป็น ข้อมูลสําหรับการพัฒนาแผนงาน และ กระบวนการวจิ ยั ลําดบั ตอ่ ไป ผอ่ งพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุภาพ ฉัตรากรณ์ (2549: 265 อ้างถึง ใน Deshler & Ewert, 1995: 9; Smith, 1997: 177-178) กล่าวไว้ถึงความ เช่ือพ้ืนฐานของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมี ส่วนรว่ ม ดงั นี้ 1. ปัจเจกชนทุกคน แม้ว่าจะอยู่ในสถานะของความด้อยโอกาสใด ๆ ย่อมมีศักยภาพในการ รว่ มคิดร่วมทําเพอื่ เปล่ยี นแปลง สรา้ งสรรค์ส่ิงทด่ี กี วา่ ในสงั คมด้วยตนเอง 2. การสรา้ งและใช้ความรู้ต้องเป็นไปตามครรลองประชาธิปไตย ท้ังนี้ ความรู้ ความชํานาญ และทรัพยากรต่าง ๆ ในสังคมจะต้องมีการแบ่งปัน อย่างเท่าเทียมกัน เพ่ือให้เกิดการกระจายและ เกอื้ หนุนโครงสรา้ งของสงั คม ที่เปน็ ธรรม 3. ความมุ่งม่ันร่วมใจอย่างแท้จริงจากท้ังคนในและคนนอกสังคม เป็นส่ิงจําเป็นท่ีจะนําไปสู่ การเปลีย่ นแปลง จะไมม่ นี กั วจิ ัยภายนอกทีท่ ํางาน โดยลาํ พังกลุ่มเดียวเพ่ือนําการเปลี่ยนแปลง แต่จะ เปน็ การร่วมมอื รว่ มใจ บนพ้นื ฐานทเ่ี ทา่ เทียม และยอมรับในผลทเ่ี กดิ ขึน้ รว่ มกัน

การวิจัยเชงิ ปฏิบตั ิการและการวิจยั เชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมีส่วนร่วม 21

4. การเปล่ียนแปลงที่มุ่งหวังต้องเป็นไปอย่างสันติวิธี โดยมีดุลยภาพ ระหว่างสังคมและ ธรรมชาติ

ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ (2543 : 388-389) กล่าวว่า การวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมี สว่ นร่วมเชอ่ื ในปรชั ญาที่ว่า ชาวบา้ นเป็นผูอ้ ยู่กับขอ้ มูล อยู่กับความจริง เป็นผู้ที่รู้ดีเท่ากับนักวิจัยหรือ อาจจะมากกว่าด้วยํซ้าไป และ การเลือกปฏิบัติการใด ๆ ก็ตามที่จะนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต ปญั หา ของการวิจัยจงึ ตอ้ งเริ่มจากชาวบา้ นด้วย ไม่ใช่จากสมมติฐานของผู้วิจัยหรือ นักพัฒนาแต่ฝุาย เดยี ว และเหน็ ว่าผูท้ เ่ี กี่ยวขอ้ งฝาุ ยต่าง ๆ ทั้งชาวบ้าน นักวิจัย และนกั พัฒนา ควรมีบทบาทในการร่วม กําหนดปญั หาและเลือกแนวทางปฏิบัติ การ เพ่ือนําไปสู่การเปลี่ยนแปลง และพัฒนาบทบาทของท้ัง สามฝาุ ยตา่ งก็มี ความเท่าเทียมกัน จะเห็นได้ว่าการวิจัยลักษณะนี้เป็นการเรียนรู้ผสมผสาน ระหว่าง ความรู้เชิงทฤษฎี และระเบียบวิธีการวิจัย เปูาหมาย และวัตถุประสงค์ ของนักพัฒนา รวมท้ังความ ตอ้ งการกับความรอบรูข้ องชาวบ้าน

สิทธิณัฐ ประพุทธนิติสาร (2546 : 45-46) แสดงความเห็น เกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการ แบบมีส่วนร่วมวา่ เกิดจากนกั วจิ ยั นกั พฒั นา หรือนักวิจัยและนักพัฒนา ร่วมกับแกนนําของผู้คนที่อยู่ กับปัญหาในชุมชนเป็นหุ้นส่วน ร่วมกันโดยผสมผสานแนวคิดท่ีเป็นจุดแข็งของแต่ละหุ้นส่วนเข้า ด้วยกัน อย่างเลือกสรรและกลมกลืน ซ่ึงนักวิชาการมีจุดแข็งในด้านการวิเคราะห์ แต่ไม่รู้ ปัญหาดี และไม่มีหน้าท่ีต้องปฏบิ ัติ ส่วนนักปฏิบัติมีจุดแข็งในด้านการปฏิบัติม ทรัพยากร แต่ไม่รู้ปัญหาดีและ วิเคราะห์สู่นักวิชาการไม่ได้ นักวิจัยและนักพัฒนา จะเก่งในเร่ืองการวิเคราะห์มีช่องทางในการ ปฏบิ ัติงานมากขนึ้ และแกนนําผ้อู ยู่ กบั ปัญหาจะร้ปู ญั หาได้อย่างลึกซงึ้ แต่การวิเคราะห์และศักยภาพ ในการระดม ทรัพยากรมีน้อยกว่านักปฏิบัติ ดังนั้น ก ารวิจัยและพัฒนาแบบมีส่วนร่วมเป็น กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ผลของกระบวนการเรียนรู้จะทําให้ทุกฝุายที่เป็น หุ้นส่วนได้รับ (take) และได้ให้ (give)

ชอบ เข็มกลัด และโกวิทย์ พวงงาม (2547 : 6-7) กล่าววา่ การวิจยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมีส่วน ร่วมเป็นรูปแบบของการวิจัยท่ีเกิดจากการมีส่วน ร่วมกันในการแลกเปล่ียนประสบการณ์ระหว่าง นักวิจัยจากภายนอก กับกลุ่ม เปูาหมายท่ีเป็นชาวบ้าน หรือสมาชิกของชุมชน มีบทบาทในการเป็น นกั วิจยั ภายในชุมชน มิใช่การวิจัยที่มาจากคนภายนอกเป็นผู้วิจัยเพียงด้านเดียว จากภาพท่ี 9.1 จะ เหน็ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้วิจัย ชาวบ้าน และชุมชน ใน การวิจัย ซึ่งสอดคล้องกับแนวความคิดการ พัฒ นาในปัจจุบันที่เน้น การ พัฒ น า ที่ยึดปร ะ ชาชน เป็น ศูนย์กลาง ( people-centered development) และ แก้ปัญหาดว้ ยการเรียนรู้ (problem-learning process)

จากการศึกษาแนวคดิ ของนักการศึกษาเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปฏิบัติ การแบบมีส่วนร่วม สรุป ได้ว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เป็นการ วิจัยท่ีเกิดจากการมีส่วนร่วมกันในการ แลกเปล่ียนประสบการณ์ของนักวิจัย นักพัฒนา นักวิจัยภายใน ร่วมกับผู้คนที่อยู่ในชุมชนท่ีรู้และ

การวจิ ัยเชงิ ปฏิบตั กิ ารและการวจิ ัยเชิงปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม 22

เข้าใจสภาพปัญหา เป็นอย่างดี ร่วมเป็นหุ้นส่วนกัน โดยผสมผสานแนวคิดท่ีเป็นระบบให้ได้ผล โดย อาศัยการเรียนรู้เช่ือมโยงองค์ความรู้กับการปฏิบัติ เพื่อร่วมกันพัฒนาและแก้ไข ปัญหาอย่างย่ังยืน แสดงไดต้ ามภาพท่ี 1.4

ภาพที่ 1.4 ความสมั พันธร์ ะหว่างนักวิจยั นักวจิ ัยภายใน นักพฒั นา และผคู้ นท่อี ยู่กับปญั หาในชมุ ชน จากภาพวงกลมแต่ละวงเป็นโลกทัศน์ หรือวิธีการมองปัญหาของ คนแต่ละกลุ่มที่มีส่วน

เก่ียวข้องกับการวิจัย โลกทัศน์ของแต่ละฝุายต่างกันไป ตามกรอบแนวคิดที่ตนยึดถือ หลังจากเข้าสู่ กระบวนการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั ิการ แบบมสี ่วนร่วม (participatory action research: PAR) แล้ว จะเกิด “โลก ทศั นร์ ่วม” และความเขา้ ใจร่วมกันในการพัฒนา ส่ิงน้ีเป็นรากฐานท่ีสําคัญในการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจที่ได้จากการวิจัยและการพัฒนาไปพร้อม ๆ กัน นับว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิบัติการ อย่างมีประสิทธภิ าพขององค์กรหรือ ชุมชนน้นั ๆ ดงั น้นั ลักษณะสําคัญของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบ มีส่วนร่วม คือ รูปแบบเน้นการมีส่วนร่วมระหว่างนักวิจัยและผู้เกี่ยวข้อง เน้นการปฏิบัติ และ มีกระบวนการยืดหยุ่น เป็นพลวัตเกิดขึ้นซํ้ากันได้อีกเป็นเกลียวปฏิสัมพันธ์ โดยพิจารณาจากผล สะท้อนของสิง่ ทเี่ ป็นปัญหา การรวบรวมข้อมูล และการปฏิบัติองค์ประกอบที่สําคัญของการวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม องค์ประกอบที่สําคัญของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีอยู่ 3 ประการ ดังตอ่ ไปนี้ (สิทธิณฐั ประพทุ ธนิติสาร, 2546 : 49-52)

1. การมีส่วนร่วม (participation) ของประชาชนเป็นหัวใจสําคัญ ของการพัฒนาและการ แสวงหาองค์ความรู้ทัง้ การพฒั นาและการแสวงหา องค์ความรู้

2. มีการกระทํา (action) เป็นองค์ประกอบท่ีสําคัญ การวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ตอ้ งใหอ้ งคค์ วามรู้มีการเชอื่ มต่อกับการปฏบิ ัติ หรือ การไดม้ าซึง่ ผลการวจิ ยั ไปสกู่ ารพฒั นาแบบวงจร

3. ต้องเกิดกระบวนการเรียนรู้ (learning process) ของผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องการวิจัยเชิง ปฏบิ ตั ิการแบบมสี ว่ นรว่ มเปน็ การแสดงความสัมพันธ์ ระหวา่ งผู้วจิ ยั ชาวบ้าน และชุมชน ที่มีส่วนร่วม

การวิจัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารและการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารแบบมสี ่วนร่วม 23

ในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ระหว่างนักวิจัยจากภายนอกกับกลุ่มเปูาหมายท่ีเป็นชาวบ้าน หรือ สมาชิกของ ชมุ ชน (ชอบ เขม็ กลัด และโกวิทย์ พวงงาม, 2547 : 6)

รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ การมีส่วนร่วม ของชุมชนในทกุ ขั้นตอน มีกระบวนการเรยี นรู้ท่ี เกดิ ขึน้ มกี ารปฏิบตั ใิ หเ้ ห็นจริง และมีการประเมินผล ร่วมกันเป็นระยะ ๆ ซ่ึง จะต้องอาศัยเทคนิคเฉพาะในการดําเนินการวิจัยในแต่ละขั้นตอนการสร้าง พลังชมุ ชน (Community empowerment) สิ่งทเี่ กิดขน้ึ จากกระบวนการ พัฒนาของตัวบุคคล กลุ่ม บุคคลและองค์กรชุมชนเอง ทําให้ชุมชนสร้างพลัง ของตนเองข้ึนมา เพื่อการแก้ไขปัญหาของแต่ละ ชุมชนให้ตอ่ เนอ่ื งและย่ังยืน ตลอดไป ผ้วู จิ ัยปฏิบตั งิ านร่วมกับกลุ่มสมาชิกที่เก่ียวข้องกับการวิจัย การ มีส่วน ร่วมของกลุ่มบุคคลภายนอกน้ัน หมายถึงการเข้ามามีบทบาทในการคิด การกระทํา การรับรู้ และเกี่ยวขอ้ งไปพรอ้ ม ๆ กนั กบั การสร้างบรรยากาศของการ ยอมรับ และความสัมพันธ์ท่ีร่วมมือกัน การสือ่ สารด้วยรปู แบบที่จริงใจและ เหมาะสม การรวมกล่มุ บุคคลที่เกยี่ วขอ้ งมาชว่ ยเหลือกัน บางคร้ัง อาจจะปรับ บทบาทกันบ้างระหว่างการทํางาน (Stringer, 1999) ดังแสดงในภาพท่ี 1.5

ภาพที่ 1.5 การทํางานรว่ มกันเปน็ ทีมในการวิจยั แบบมีส่วนรว่ ม จะเห็นว่าการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมนั้น ลักษณะของการ ทํางานมีความ จาํ เป็นต้องเก่ียวข้องกับหลายคน บุปผา ศิริรัศมี (2544 : 17) ได้เสนอแนวคิดที่นํามาใช้เป็นแนวทาง วิจยั เชงิ ปฏบิ ัติการมสี ว่ นรว่ ม ไวด้ ังนี้

การวิจยั เชิงปฏิบัติการและการวิจัยเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม 24

1. ข้อเท็จจรงิ ทางสังคม (Social facts) นั้นแตกต่างจากข้อเท็จจริง ทางธรรมชาติ (natural facts) เพราะมีกระบวนการปฏิสัมพันธก์ ับชาวบา้ น และสังคมทีเ่ กย่ี วขอ้ งดว้ ยเสมอ

2. ผู้วิจัยต้องวางตัวเป็นกลาง ไม่ใช้ความรู้สึกของตนเองเป็นผู้ตัดสิน เพราะคุณค่า (value) เปน็ สิง่ ทเ่ี ขา้ ถึงไมย่ าก

3. ความเป็นจริงของสังคม มีองค์ประกอบหลายอย่างที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการทางสังคม เช่น ความรู้สึก เจตจํานง คุณค่าของประชาชน ฯลฯ ดังนั้นการเข้าถึงคุณค่านี้ต้องทําความเข้าใจ องค์ประกอบกอ่ น

4. นักวจิ ยั ที่ผกู พัน เก่ยี วขอ้ งกับประชาชน จะยงิ่ ชว่ ยให้เขา้ ถงึ กลุ่ม สําคัญในสังคมได้ง่ายและ มากข้ึน

5. ความสนบั สนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการวิจัย วิจัยให้กว้าง และเปิดโอกาสให้เขาเข้า มามีส่วนร่วมในทุกข้ันตอน ทําให้เกิดการพัฒนา ความรู้ ทั้งคนและสังคมไปด้วย และผู้วิจัยต้อง พจิ ารณาในประเดน็ ของระดบั ของการมสี ว่ นรว่ ม และขัน้ ตอนของการมสี ว่ นร่วมในแต่ละกรณี

การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) เป็นการวิจัยท่ีมี ลักษณะแตกต่างจากการวิจัย ประเภทอ่ืน เคมมิสและวิลคินสัน (Kemmis & Wilkinson, 1998) ได้สรุปลักษณะเด่นของการวิจัย เชิงปฏบิ ัติการแบบมี ส่วนรว่ มไว้ 6 ประเดน็ หลกั ดงั นี้

1. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเป็นกระบวนการทางสังคม ซึ่งผู้วิจัยทําการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนบุคคลกับส่วนรวม เพื่อสร้าง ความเข้าใจว่าแต่ละบุคคลถูกสร้างใหม่โดย อาศัยการปฏิบัติการทางสังคมแบบ มีส่วนร่วม เมื่อนํามาประยุกต์กับทางการศึกษา การวิจัยเชิง ปฏบิ ตั กิ ารแบบมี ส่วนร่วมอาจเปน็ การศึกษาการทาํ งานเปน็ ทีมของครู เป็นต้น

2. รูปแบบการวิจัยเป็นการศึกษาโดยอาศัยการมีส่วนร่วม หมายความ ว่าแต่ละบุคคลใน ระหว่างกระบวนการศึกษา ต่างตรวจสอบว่าตนเองมีความ เข้าใจอย่างไร มีทักษะ ค่านิยม รวมถึง ความรู้ของตนเองในปัจจุบันทั้งในแง่ท่ีดี และแง่ที่เป็นอุปสรรคน้ันมีอะไรบ้าง ตัวอย่างเช่น ครูผู้สอน ตอ้ งการศกึ ษาตนเอง เพือ่ สร้างความเข้าใจที่ดขี ึ้นในการปฏิบตั งิ าน เป็นต้น

3. รปู แบบการวจิ ัยเป็นการลงมอื ปฏิบัตแิ ละทาํ งานรว่ มกัน เพราะ วา่ การค้นหาความจริงน้ีจะ สาํ เร็จได้ด้วยผู้อืน่ เปน็ การลงมอื ปฏิบตั ิเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน ผลผลิตของความรู้ โครงสร้างของ องค์กรทางสังคม โดย มีวัตถุประสงค์ท่ีจะลดการกระทําท่ีเป็นอุปสรรคท่ีไม่สมเหตุสมผล ลดการ สญู เสีย ลดความไมเ่ ทา่ เทยี มกัน

4. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เป็นการปฏิบัติการที่ จุดประกายท่ีสร้างสรรค์ สามารถแก้ไขข้อจํากัดที่มีอยู่ได้ และก่อให้เกิดการ พัฒนา เช่น การปรับกระบวนการสอนเพ่ือให้ ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ได้ดีขึ้น

การวิจัยเชิงปฏิบัติการและการวิจัยเชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม 25

5. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เพื่อช่วยให้แต่ละบุคคลได้ หลุดพ้นจากอุปสรรคท่ี พบในการสอื่ สาร ในกระบวนการทาํ งาน และในความ สัมพันธข์ องอํานาจท่เี กิดข้นึ ในโรงเรียน

6. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เป็นการวิจัยแบบเป็นพลวัต การไตร่ตรองครุ่นคิด และเน้นในเรื่องของการนํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงในเชิง ปฏิบัติ ส่ิงนี้เกิดข้ึนในรูปแบบของการ ตรวจสอบ แกไ้ ขปรบั ปรุงอยา่ งเปน็ พลวตั กบั การลงมือกระทาํ จนสาํ เรจ็ จากผลของการปฏิบัตนิ ้นั

ขั้นตอนการวจิ ยั เชิงปฏิบัติการแบบมสี ่วนร่วม การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีขั้นตอนในการดําเนินการ 5 ข้ันตอน ดังต่อไปน้ี

(ปริชาติ วลัยเสถียร และคณะ, 2543 : 82 ) 1. ระยะก่อนทําวจิ ยั (pre-research phase) ได้แก่ 1.1 การคัดเลือกชุมชนและการเข้าถงึ ชุมชน 1.2 การบูรณาการตวั นกั วจิ ัยเข้ากบั ชมุ ชน 1.3 การสํารวจข้อมูลเบอื้ งต้นของชมุ ชน 2. ระยะของการทําวจิ ัย (research phase) ไดแ้ ก่ 2.1 การศึกษาวเิ คราะห์ปัญหารว่ มกบั ชุมชน 2.2 การฝกึ อบรมทีมวิจยั ทอ้ งถ่นิ 2.3 การวเิ คราะหป์ ญั หา อาจเกิดขึน้ ในกระบวนการ PAR และ กําหนดแนวทางแกไ้ ข 2.4 การออกแบบการวจิ ัยและเก็บขอ้ มูล 2.5 การวิเคราะหข์ อ้ มลู 2.6 การนาํ เสนอข้อมูลต่อที่ประชุมหม่บู า้ น 3. ระยะการจดั ทําแผน (planning phase) ไดแ้ ก่ 3.1 การอบรมทีมงานวางแผนท้องถ่ิน 3.2 การกาํ หนดโครงการหรอื กิจกรรม 3.3 การศกึ ษาความเป็นไปได้ของแผนงาน 3.4 การแสวงหางบประมาณและหน่วยงานท่สี นับสนุน 3.5 การวางแผนเพอ่ื ตดิ ตามและประเมนิ ผล 4. ระยะการนําแผนไปปฏิบตั ิ (implementation phase) ไดแ้ ก่ 4.1 การกําหนดทีมงานปฏิบัตกิ ารอาสาสมคั ร 4.2 การอบรมทมี งานปฏบิ ัติการอาสาสมคั ร

การวจิ ัยเชงิ ปฏิบัติการและการวิจัยเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมีส่วนรว่ ม 26

5. ระยะการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน (monitoring and evaluation phase) ได้แก่

5.1 การจดั ตัง้ ทมี งานติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของ หมู่บ้าน เพื่อติดตามการ ดําเนินงานของฝาุ ยปฏบิ ตั ทิ ุกระยะ

5.2 เสนอผลการประชุมต่อที่ประชุมหม่บู ้าน จากสาระดังกล่าวน้ัน ปัญญา เลิศไกร (2549 : 516-524) ได้เสนอ ขั้นตอนการดําเนินการ วิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารแบบมีส่วนรว่ มใน 5 ขนั้ ตอนใหญ่ ๆ ตามรายละเอียดตอ่ ไปนี้ 1. ระยะก่อนการทําวิจัย (pre-research phase) ในบางครั้งเรียกข้ันตอนนี้ว่า “ขั้นตอน การเตรียมชุมชน” เพ่ือให้ ชุมชนมีความพร้อมในการเข้ามามีส่วนร่วมของการวิจัย โดยข้ันน้ีจะมี กระบวนการ ท่ีเริ่มต้นท่ีผู้วิจัยจะต้องสร้างสัมพันธภาพให้เกิดขึ้นกับชาวบ้านในชุมชน ผู้นํา ชุมชน และเจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้องในลักษณะแบบไม่เป็นทางการเพื่อให้เกิดความ คุ้นเคยและไว้วางใจในตัว นักวิจัย หากนักวิจัยมีสัมพันธภาพท่ีดีกับชุมชนจะ ทําให้การสํารวจและการศึกษาข้อมูลของชุมชน เป็นไปได้ง่าย จะส่งผลให้นักวิจัย ได้ข้อมูลท่ีจะนํามาใช้ในการคัดเลือกชุมชนท่ีเหมาะสมกับการวิจัย ตอ่ ไป และเมอ่ื ได้ทําการคัดเลือกชุมชนท่ีเหมาะสมแลว้ กระบวนการขนั้ ต่อไปคือ การ เข้าสู่ชุมชนและ ทาํ การเตรียมเครอื ขา่ ย เตรียมทีมผู้นํา ให้พร้อมทุกดา้ นเพือ่ ให้ ให้เกดิ ความเขา้ ใจและอยากจะเข้ามามี ส่วนร่วมในกระบวนการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั ิ การแบบส่วนรว่ ม โดยกระบวนการท้ังหมดในระยะกอ่ นทาํ วิจัย จะมรี ายละเอียด ดงั ต่อไปน้ี 1.1 การสร้างสมั พันธภาพในระยะเรมิ่ ตน้ ควรใช้การพูดคยุ อยา่ ง ไมเ่ ป็นทางการกับชาวบ้าน และผ้ทู ่ีมีส่วนเกยี่ วขอ้ งกับชมุ ชน ซ่งึ นกั วิจยั แตล่ ะ คนอาจจะมีทักษะและเทคนิคแตกต่างกัน เช่น การ แวะทักทายตามบ้านแนะนํา ตนเอง พูดคุยถึงชีวิตความเป็นอยู่ท่ัว ๆ ไป รวมทั้งการเข้าช่วยเหลือ กิจกรรม ประเพณีต่าง ๆ ของชมุ ชนทจี่ ดั ขน้ึ เพ่อื ให้ชาวบา้ นเกดิ การยอมรับและไว้วางใจ ในตวั นักวิจัย มากข้ึนจนเหมอื นกบั คนในชมุ ชนเดียวกัน หากความสัมพันธ์ของ นักวิจัยในระยะแรกน้ีดีจะทําให้การ ดําเนนิ งานในข้นั ตอ่ ๆ ไป ก็จะมีประสทิ ธิภาพมากข้ึน 1.2 การสํารวจและศึกษาชุมชน คือ การสํารวจและการศึกษา ข้อมูลเบื้องต้นของชุมชน นบั ตัง้ แตล่ กั ษณะทางกายภาพ แหล่งทรพั ยากร ของชมุ ชน ข้อมลู ดา้ นประชากร สังคม เศรษฐกิจ การ ส่ือสาร และวัฒนธรรม สามารถทําการศึกษารวบรวมข้อมูลได้ท้ังในลักษณะเชิงปริมาณและเชิง คณุ ภาพ โดยอาจใชข้ ้อมลู ทั้งจากหนว่ ยงานราชการ เช่น องค์กรพัฒนาเอกชนที่เก่ียวข้อง รวมทั้งการ ติดตอ่ กบั ผูน้ าํ หรือบคุ คล สําคญั ในชุมชนเพอื่ ใหไ้ ด้ทราบข้อมูลของชุมชนมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นประโยชน์ ในการคัดเลอื กชุมชนในการกระบวนการขนั้ ตอ่ ไป

การวิจยั เชิงปฏบิ ตั กิ ารและการวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ว่ นร่วม 27

1.3 การคัดเลือกชุมชน การคัดเลือกชุมชนในการวิจัยมักให้ ความสําคัญกับประชากรใน ชุมชนท่ีด้อยโอกาสทางสังคม (disadvantage Community) หรือด้อยโอกาสกว่าชุมชนอ่ืน เพ่ือเปูาหมายในการยกระดับ คุณภาพชีวติ และสร้างโอกาสใหเ้ กิดความเท่าเทียมกันมากย่ิงข้ึน เพื่อให้ ชาวบ้าน ไดเ้ หน็ คุณคา่ ในตนเองและรว่ มมอื กันพัฒนาชมุ ชนให้เกิดการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยืน การศึกษาว่า ชมุ ชนได้รับการช่วยเหลือหรือสนับสนุนการจัดกิจกรรมใดมาแล้ว ก็จะเป็นประโยชน์ในการคัดเลือก ชมุ ชนอกี ทางหนึ่ง เพราะหากชุมชนได้รับ การสนับสนุนน้อย ความต้องการของชาวบ้านในการที่จะ เข้ามามีส่วนร่วมใน การวิจัยเพ่ือแก้ปัญหาของชุมชนอาจจะมากยิ่งขึ้น และทําให้ชุมชนสามารถ จดั การกบั ปญั หาทเ่ี กิดขึน้ ได้

1.4 การเข้าสู่ชุมชน เมื่อนักวิจัยคัดเลือกชุมชนแล้วกระบวน การขั้นต่อไปคือ การเข้าสู่ ชุมชน ผู้วิจัยต้องเร่ิมดําเนินการสร้างความสัมพันธ์ (building-up rapport) กับชาวบ้านด้วยการ แนะนําตนเอง ช้ีแจงวัตถุประสงค์ ของโครงการในรูปแบบไม่เป็นทางการ เช่น การพูดคุย การจัด ประชุมกึ่งทางการ รวมท้ังการประชาสัมพันธ์โครงการให้ชุมชนได้รับรู้ วิธีการสร้างความสัมพันธ์ การ ข้ันต้นท่ีดีที่สุดคือ การไปพักอาศัยอยู่กับชาวบ้าน ผู้วิจัยต้องปฏิบัติตนให้สอดคล้อง กับวิถีชีวิต ของชมุ ชน ควรไดร้ ว่ มทํากจิ กรรมทุกอย่างของชุมชน จะช่วยให้ ผู้วิจัยเข้าใจโลกทัศน์ของชาวบ้านได้ เรว็ ขน้ึ และช่วยให้ชาวบา้ นยอมรบั นักวิจัย ได้โดยสนิทใจ แตน่ ักวิจยั ต้องระมดั ระวงั ในเรือ่ งการมใิ ห้ตน มีบทบาทเกินกว่า ท่ีควรจะเป็น และมิให้เกิดความลําเอียงในการดําเนินงาน เม่ือเข้าสู่ชุมชนนักวิจัย ควรจะพบปะกลุ่มองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น นายอําเภอ พัฒนากร กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพ่ือปรึกษาและแลกเปล่ียนความคิดเห็นและประสบการณ์ รวมท้ังพบปะผู้นําชุมชนเพ่ือช้ีแจง วตั ถุประสงค์ กระบวนการ และวิธกี ารของ การวิจัยอยา่ งเปน็ ทางการมากขึน้

1.5 การเตรียมคนและการเตรยี มเครือขา่ ย กระบวนการใน ข้ันตอนสุดท้ายของการเตรียม ชุมชนกอ่ นทีจ่ ะเข้าส่รู ะยะการทําวิจัย คือ การ เตรียมคนและเตรียมเครือข่ายให้พร้อมสําหรับการลง มอื ดําเนินการวจิ ัย โดยจะ ต้องให้ผู้มีส่วนรว่ มคือ นกั วจิ ยั นักพัฒนา และชาวบ้าน จะต้องความเข้าใจ ที่ ตรงกนั เพื่อให้เกิดการประสานงานกนั ในการปฏิบตั ิ

1.5.1 การเตรียมคน เป็นการเตรยี มความพรอ้ มใหก้ บั ชาวบา้ น แกนนาํ นักวิจยั และนักพฒั นา โดยควรไดด้ ําเนนิ การดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) การเตรียมชาวบ้าน ควรกาํ หนดกิจกรรมทจ่ี ะ กระตุน้ ให้ชาวบา้ นได้เหน็ กระบวนการวจิ ยั แบบ PAR ซงึ่ สะท้อนถึงการมี ส่วนร่วมและการแก้ปัญหาตามกระบวนการของการ วิจัยแบบ PAR นอกจากนี้ การให้ความรู้เก่ียวกับแนวคิดและหลักการของ PAR จะทําให้ชาวบ้าน เข้าใจและ มองภาพของ PAR ไดม้ ากข้นึ วา่ เป็นการทาํ งานอยา่ งมีส่วนร่วมและเห็นคุณค่า ของมนุษย์ ยอมรับฟังความคิดเห็นของกันและกัน มีเปูาหมายและวิสัยทัศน์ ร่วมกัน จะก่อให้เกิดประโยชน์กั บ ชุมชนต่อไป นอกจากการเตรียมชาวบ้านให้มี ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ PAR แล้ว การเตรียม

การวิจยั เชงิ ปฏบิ ัติการและการวจิ ัยเชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี ่วนร่วม 28

ชาวบ้านให้เป็นกลุ่มหรือทีม ในการวิจัย เช่น ทีมวิจัย ทีมวางแผน และทีมปฏิบัติ จะทําให้ชาวบ้าน รู้สึกว่า ทุกคนในชุมชนเป็นทรัพยากรท่ีสําคัญในการพัฒนาชุมชนได้เช่นเดียวกัน ทําให้ ชาวบ้าน ปรับเปลี่ยนทศั นคติในการมองคุณคา่ และศักดศ์ิ รใี นตนเองใหม้ ากขนึ้

(2) การเตรียมนักพฒั นา เปรยี บเสมือนผู้ประสาน งานทตี่ ้องมคี วามรอบรเู้ กยี่ วกับ ชุมชนและวฒั นธรรม รวมทงั้ ปญั หาในการพัฒนาชุมชนเปน็ อยา่ งดี ได้แก่ ผู้นาํ ชุมชน สมาชิกคนสําคัญ ของชมุ ชนและหนว่ ยงาน ท่ีใหก้ ารสนับสนนุ เป็นทง้ั ผู้สรา้ งและผนึกกําลังใจชุมชนให้เป็นหน่ึงเดียวกัน และเปน็ ผูข้ อความชว่ ยเหลือจากหนว่ ยงานภายนอกเพื่อสนับสนุนหรือช่วยเหลือ ในกระบวนการวิจัย เชน่ การชว่ ยเหลือในการฝึกอบรม หรอื จดั หาวสั ดุ อุปกรณ์ ต่าง ๆ ทรพั ยากรหรือทุนสําหรบั ชุมชน

(3) การเตรียมนักวิจัย นักวิจยั ต้องเตรยี มตวั เองให้ มีความรู้ทเี่ กีย่ วข้องกับการ พัฒนาและเรียนรู้หลักในการสร้างความสัมพันธ์เพื่อ ให้เข้าถึงภายในจิตใจของชาวบ้านหรือ กลมุ่ เปูาหมาย ตลอดจนต้องยดึ แนวคิด และหลักการในการพัฒนาชุมชนผู้ด้อยโอกาสและการพัฒนา ท่ีเหมาะสมและ ยั่งยืน รับฟังความเห็นของชาวบ้าน ตลอดจนเข้าใจบทบาทและหน้าท่ีของตน คือ การเป็นผ้กู ระต้นุ ให้ชาวบา้ นเกดิ แนวคิดในการพฒั นาทง้ั ตนเองและชมุ ชน และคอยสนับสนุนกิจกรรม ต่าง ๆ

1.5.2 การเตรยี มเครอื ขา่ ย เป็นการทนี่ ักวจิ ยั จะประสาน งานกับเครอื ข่ายต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกชุมชนเพ่ือให้กระบวนการวิจัย ดําเนินไปได้อย่างที่ต้องการ เครือข่ายภายใน อาจจะเป็นชาวบ้าน เจา้ หนา้ ทใี่ น ชุมชน หรอื อาสาสมัครก็ได้ ส่วนเครือข่ายภายนอกน้ัน เช่น องค์กร ท้งั ภาครฐั และเอกชนทต่ี ้องการเข้ามาใหค้ วามรว่ มมอื ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ของชุมชน สนับสนุนให้ เกดิ การมสี ่วนร่วมและเติมเตม็ ในส่งิ ที่ชุมชนด้อยอยู่ การเตรียม เครือข่ายนี้คือ การให้เครือข่ายได้รับรู้ และตระหนักถึงสภาพปัญหาร่วมกัน ที่ ต้องเร่งหาหนทางแก้ไข โดยจะต้องดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ อย่างเข้าใจ และรู้ถึง หน้าที่ของตนเองที่จะร่วมกันแก้ปัญหา การเตรียมเครือข่ายที่ดีจะทําให้ได้รับ การสนับสนุนทง้ั ดา้ นความคดิ กจิ กรรม และเงนิ ทนุ

ขัน้ ตอนน้ีเป็นขั้นตอนที่สําคัญมาก ถ้าผู้วิจัยไม่สามารถบูรณาการ ตนเองเข้ากับชุมชนได้ ไม่ สามารถสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดของโครงการได้ ก็เป็นการยากที่จะก้าวไปสู่ขั้นต่อไป ซ่ึง จะตอ้ งอาศัยการมสี ่วนร่วมและความ รว่ มมือของชมุ ชนเปน็ สาํ คัญ

การวิจัยเชิงปฏบิ ัติการและการวิจัยเชิงปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ว่ นร่วม 29

2. ระยะของการทําวิจยั ชุมชน (research phase) 2.1 การศึกษาชมุ ชน ข้นั นเ้ี ป็นการศกึ ษาปญั หาและความตอ้ งการ ของชมุ ชนควบคไู่ ปกบั

การให้ความรู้แก่ชุมชน การศึกษาชุมชนจะมิใช่เป็นเพียง การศึกษาเพื่อคัดเลือกชุมชน หากแต่เป็น การศกึ ษาทลี่ ึกกว่าในระดับแรก คือ การประเมินถึงศักยภาพและทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน เพื่อดูขีด ความสามารถ ของชุมชนน้ัน มาประกอบกับข้อมูลเดิมท่ีมีอยู่ กล่าวได้ว่าขั้นตอนน้ีเป็นการ ศึกษา วิเคราะห์ชุมชนและให้การศึกษาชุมชนพร้อมกันไป โดยเน้นกระบวนการ เรียนรู้ด้วยการฝึกปฏิบัติ โดยการอภปิ รายปัญหาและแลกเปล่ียนความคดิ เห็นของชาวบ้าน เป็นการระดมความคิดเห็นของท้ัง ระดับบุคคลและระดับ กลุ่มมาประเมินปัญหาและความต้องการของชุมชน (need assessment) พร้อมกับประเมนิ ความเป็นไปได้ด้านทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนและนอกชุมชน โดยเฉพาะภูมิปัญญา ทอ้ งถน่ิ ทรพั ยากรธรรมชาติ และทรัพยากรจากหน่วยงาน ภาครัฐ/เอกชน เพื่อท่ีจะได้นําทรัพยากร ตา่ ง ๆ มาใช้ในการกําหนดแผนเพ่อื จดั ทําโครงการตอ่ ไป

2.2 การวิเคราะห์ปัญหาของชุมชน ในขั้นตอนน้ีอาจจะทําควบคู่กับการศึกษาชุมชนได้ เนื่องจากเม่ือนกั วิจัย นักพฒั นา และชาวบ้าน ได้ รวมตัวกันเพ่ือเข้ามาส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นต่อ ความสามารถ ศกั ยภาพ และทรพั ยากรทีม่ ีอยู่ในชุมชน แล้วก็จะทําการวิเคราะห์ถึงปัญหาท่ีเกิดขึ้นใน ชุมชนที่ต้องเร่งหาทางแก้ไข นักวิจัย และนักพัฒนา จะต้องพยายามกระตุ้นให้ ชาวบ้านแสดงความ คิดเห็นออกมา เน่ืองจากเป็นผู้รู้ถึงสถานการณ์ของปัญหา มากที่สุด ตลอดจนสนับสนุนให้ชาวบ้าน เรียงลําดับความสําคัญของปัญหาว่าปัญหาใดเป็นปัญหาท่ีเร่งด่วนและเป็นท่ีสนใจร่วมกันระหว่าง นักวจิ ัย นกั พฒั นา และชาวบา้ น

2.3 การพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโครงการ ชาวบ้านและนักวิจัย จําเป็นต้องพิจารณาร่วมกันว่าปัญหาใดเร่งด่วนและจะ แก้ไขด้วยวิธีใดจึงจะเหมาะสม การพิจารณา ความเหมาะสมของโครงการ อาจพิจารณาในด้านความคุ้มทุน ความเหมาะสมกับพื้นที่ ความเข้ากัน ไดก้ ับ ขนบธรรมเนยี มประเพณีของชุมชน และการจดั ลาํ ดบั ความสําคัญของปัญหา ซ่ึงชาวบ้านควรจะ เป็นตัวหลกั ในการเลือกกาํ หนดลาํ ดับความสาํ คญั ของปญั หา แนวทางแก้ไข และกาํ หนดโครงการ

3. ระยะของการจดั ทาํ แผน (planning phase) เป็นกระบวนการตดั สนิ ใจรว่ มกันเพ่ือคัดเลือกโครงการและ กิจกรรมที่จะต้องดําเนินการ

เปน็ การโครงการทช่ี าวบา้ นในชมุ ชนได้เขา้ มามี สว่ นร่วม ต้องมีการกําหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ ระบุกจิ กรรม/ข้ันตอน การดําเนนิ งานต่าง ๆ ใหช้ ดั เจน กําหนดหน้าท่ีการรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละ คนในการดําเนนิ กิจกรรม ผู้วจิ ัยต้องมีวิธีการที่จะกระตุ้นให้ชาวบ้านเข้ามามี ส่วนร่วมมากย่ิงข้ึน โดย จะต้องให้มีการตอบคําถามร่วมกันของกลุ่มผู้ดําเนินงาน ในประเด็นเก่ียวกับโครงการน้ัน ๆ เป็น โครงการทมี่ ีกจิ กรรมอะไร ใครเป็นผทู้ าํ ทําอย่างไร ใครเปน็ ผูร้ บั ผดิ ชอบในการเจรจาต่อรอง เป็นตน้

การวิจยั เชิงปฏบิ ตั กิ ารและการวิจยั เชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมสี ว่ นร่วม 30

ในขนั้ ตอนของการวางแผนนี้ ความรว่ มมอื หรอื การมสี ่วนรว่ ม ยังเปน็ ส่ิงสําคัญ เน่ืองจากหากกิจกรรม ที่เกิดข้ึนเป็นกิจกรรมท่ีมาจากนักวิจัย หรือนักพัฒนาซึ่งเป็นบุคคลภายนอกชุมชน เม่ือนักวิจัยหรือ นักพัฒนาออกจาก ชุมชน ชาวบ้านจะไม่เกิดความรู้สึกว่าเป็นกิจกรรมของตนเองและไม่ต้ังใจท่ี จะ ดําเนินกิจกรรมต่อไป ส่งผลให้การดําเนินงานพัฒนาที่ผ่านมาไม่ประสบผล สําเร็จ แต่หากชาวบ้าน เป็นผู้จัดต้ัง เข้าใจวัตถุประสงค์ของกิจกรรม และร่วม ก่อต้ังและดําเนินกิจกรรมด้วยตนเองจะ ก่อให้เกดิ ความร้สู ึกถงึ ความเป็นเจา้ ของ และปรบั ปรงุ กจิ กรรมหรอื โครงการเหล่านน้ั ให้อยูย่ ง่ั ยนื

4. ระยะการนําแผนไปปฏบิ ตั ิ (implementation phase) ในระยะการปฏบิ ัตติ ามแผนท่ีกาํ หนดไว้ควรจะต้องมีแกนนําหรือ กลุ่มชนเป็นกลุ่มทํางาน

ซง่ึ ตอ้ งเป็นสมาชิกในชุมชนท่ีไดร้ ับการยอมรบั ระหว่าง กลุ่มแกนนําโดยอาจเป็นกลุ่มหรือองค์กรท่ีมีอยู่ ในชมุ ชนทีม่ ีความเหมาะสม สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์หรือลักษณะของงาน ส่วนกรณีท่ีชุมชนยังไม่มี กลุ่ม หรือองค์กรที่เหมาะสม ก็จําเป็นต้องจัดต้ังกลุ่มข้ึนมาใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับ ลักษณะของ กิจกรรมท่ีตง้ั ไว้ สิ่งสําคญั ในระยะนี้คอื การกระจายหน้าท่ีรับผิดชอบ ต่าง ๆ ระหว่างสมาชิกของกลุ่ม ระหว่างสมาชิกในกลุม่ ทํางาน และระหว่างสมาชิก ชุมชนกับผู้วิจัย โดยการมอบหมายงานให้ตรงกับ ศักยภาพและความสามารถของ บุคคล การกระจายทรัพยากร และการให้สมาชิกได้มีส่วนในการ ดําเนนิ งานตา่ ง ๆ

5. ระยะติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานโครงการชุมชน (monitoring and evaluation phase)

การติดตามและประเมินผลโครงการเป็นกิจกรรมท่ีจําเป็นและ ขาดไม่ได้ การติดตามผล เป็นการตรวจสอบของชาวบ้านหรือองค์กรชาวบ้าน ว่างานหรือกิจกรรมที่ได้เร่ิมทําไปน้ันสามารถ ดําเนินไปได้อย่างต่อเน่ือง/เหมาะ สมหรือไม่ เป็นไปตามแผนงานที่กําหนดไว้หรือไม่ เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ที่ กําหนดไว้มากน้อยเพียงใด มีอะไรบ้างที่ต้องแก้ไข มีปัญหาอุปสรรคอย่างไร หรือไม่ เพอ่ื ทจี่ ะได้มีการแกไ้ ขหรือปรับเปลี่ยนวิธีการให้เหมาะสมได้ทันการ เป็นการติดตามและประเมินผล โดยสมาชิกของชุมชน โดยรูปแบบอาจจะเป็น ทั้งในรูปแบบท่ีมีการกําหนดเวลา วิธีการ หรือมี แบบฟอรม์ เพอ่ื ใชใ้ นการตรวจ สอบงานอยา่ งเป็นระบบ เพ่ือเป็นแนวทางให้ชาวบ้าน องค์กรชาวบ้าน ไดน้ าํ ไปใช้ หรือเปน็ การติดตามประเมินผลโดยการจัดกลุ่มอภิปรายถึงกระบวนการดําเนิน โครงการ เพ่ือหาข้อบกพร่อง ในขณะเดียวกันก็เพื่อจะค้นหาข้อดี ซึ่งจะได้ใช้เป็น บทเรียนสําหรับการนําไป ปฏิบัตใิ นโครงการเดิมทจ่ี ะทาํ ต่อไปหรอื โครงการใหม่ ๆ

การวจิ ยั เชิงปฏบิ ตั ิการและการวิจยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม 31

พันธ์ุทิพย์ รามสูต (2540 : 63-65) ได้เปรียบเทียบการวิจัยแบบด้ังเดิม กับการวิจัย

เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนรว่ มไว้ตามตารางท่ี 2

ตารางท่ี 2 เปรียบเทยี บการวิจยั แบบด้งั เดิมกบั การวจิ ัยเชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมสี ว่ นร่วม

ประเดน็ เปรยี บเทยี บ การวิจยั แบบด้งั เดมิ การวจิ ยั เชงิ ปฏิบตั กิ าร แบบมสี ว่ นรว่ ม

รูปแบบ เป็นพมิ พ์เขยี วทก่ี ําหนดให้ เน้นกระบวนการที่ปรับเปล่ียน

ไดต้ ามสถานการณ์

อดุ มการณ์/ปรชั ญา เน้นกลุ่มคนชั้นสงู เ น้ น ก ลุ่ ม ค น ที่ ด้ อ ย โ อ ก า ส ใ น

สังคมคนชายขอบ

จดุ มุ่งหมาย ไม่ผูกพัน ทําให้ได้ข้อมูลเพื่อตอบ มีพันธกรณีระหว่างนักวิจัยกับ

ปัญหาการวิจยั ชาวบ้านท่ีจะร่วมกันเพ่ือสิทธิ

ของมนษุ ย์

กรอบการวิจัย กําหนดโดยนักวจิ ยั องคก์ ร กําหนดโดยประชาชนในพนื้ ที่

จุดเนน้ วัตถุ เนน้ การสรา้ งสิง่ ของ คน เร่ิมที่คนเป็นหลัก ทําให้คน

มีคุณค่าสร้างความภาคภูมิใจ

และกาํ ลงั ใจ

เปาู หมาย กาํ หนดไวล้ ว่ งหน้า ปรับเปลี่ยนตามความต้องการ ยุทธวิธี วธิ ีการ ของท้องถ่ินตามเง่ือนไขความ

การวิเคราะหส์ ถานการณ์ เหมาะสม

เน้นการวางแผนท่ีอ้างว่าชาวบ้านไม่ เน้นการมีส่วนร่วม เชื่อม่ันใน

สามารถวางแผนเองได้ ความสามารถในการเรียนรู้ของ

คน

เข้มงวดรัดกุม เน้นหลักการวิจัยเชิง เรียบง่าย ใช้วิธีการที่ชาวบ้าน

ปริมาณ มองมิติ ชุมชนท่ีศึกษาและใช้ รู้จักและ ถนัด มองชุมชนอย่าง

เทคโนโลยหี รอื ระเบียบ วิธกี ารชัน้ สูง เป็นองค์รวมและใช้เทคโนโลยี

ชาวบ้าน

เนน้ การยอ่ สว่ น (reductionise) ก าร มอ ง อ ง ค์ร ว ม ( holistic

appoach)

การวจิ ัยเชิงปฏิบตั กิ ารและการวจิ ยั เชิงปฏิบตั กิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม 32

ประเดน็ เปรยี บเทยี บ การวิจัยแบบดง้ั เดมิ การวิจัยเชิงปฏบิ ัติการ รปู แบบการพฒั นา แบบมีส่วนรว่ ม

มองชาวบ้าน ควบคุม ช้ีแนะและให้แรงจูงใจเป็น ปลดปลอ่ ย สร้างกาํ ลังอํานาจใน ผลลัพธ์ วัตถุ เน้นการทํางานตามแผน และ การติดและต่อรองให้สําเร็จใน

สง่ เสริมวัฒนธรรมการพึ่งพา สิ่งท่ีได้กระทํา โดยมีแรงจูงใจ

คอื ความภูมิใจในศักด์ิศรีของตน

และเปน็ การสง่ เสริมวัฒนาธรรม

การพ่งึ พาตนเอง

เป็นผู้รับประโยชน์จากความสําเร็จ เป็นทําประโยชน์ เป็นผู้ลงมือ

ของโครงการวิจัย กระทาํ โครงการให้สําเร็จ และมี

สว่ นรว่ ม

เน้นวัตถุทีเป็นผลิตผลของโครงการ ไม่เน้นวัตถุ แต่เนน้

เชน่ รั้ว ถนอมอาหาร ฯลฯ ความสามารถของชมุ ชน เน้น

การเรยี นรู้ ความพอใจ ความ

หลากหลาย กาํ ลงั ใจ และแรงใจ

ของประชาชน

เทคนคิ หรือเคร่ืองมอื การศกึ ษาชมุ ชนอยา่ งมีสว่ นรว่ ม 1. เทคนิค A-I-C (appreciation-influence-Control) คิดค้นและ พัฒนา โดยสมิธและ

ซาร์โต (William E. Smith & Turid Sato) เทคนิค A-I-C คือกระบวนการประชุมที่มีวิธีการหรือ ขั้นตอนท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุม ได้มีโอกาสส่ือสาร แลกเปล่ียนความรู้ ประสบการณ์ ข้อมูล ขา่ วสาร ทําให้ เกดิ ความเขา้ ใจถึงสภาพปญั หา ข้อจํากัด ความต้องการ และศักยภาพของ ผู้เก่ียวข้อง ต่าง ๆ เป็นกระบวนการทีป่ ระชุมระดมพลงั สมองเพ่ือแกไ้ ขปญั หาและ แสวงหาแนวทางในการพัฒนา เชิงสร้างสรรค์ วิธีการของ A-I-C เป็นการเชิญ คนท่ีจะร่วมกันทํางานทั้งหมดมาเข้าประชุมเชิง ปฏบิ ัติการ ซึ่งจะดําเนินการใน 3 ขน้ั ตอน ดังนี้ (ชอบ เข็มกลัด และโกวิทย์ พวงงาม, 2547 : 54-58)

ขนั้ ตอนที่ 1 A หมายถึง Appreciation เป็นการทาํ ให้ทุกคนยอมรบั และชื่นชมคนอื่น โดย ไมแ่ สดงการต่อตา้ นหรือวิพากษ์วิจารณ์ ทกุ คนจะมีโอกาส แสดงออกอย่างทัดเทียมด้วยภาพ ข้อเขียน หรือคําพูด ว่าเขาเห็นสถานการณ์ ปัจจุบันเป็นอย่างไร และเขาอยากเห็นความสําเร็จในอนาคต อยา่ งไร จะทําให้ ทุกคนมีโอกาสใช้ข้อเท็จจริง เหตุผล และความรู้สึก ตลอดจนการแสดงออกมา ใน ลักษณะต่าง ๆ ตามความจริง เม่ือทุกคนที่แสดงออกได้รับการยอมรับจาก คนอ่ืน จะทําให้ทุกคนมี ความรู้สึกที่ดี มีความสุข ความอบอุ่น และเกิดพลังขึ้น ในระหว่างคนที่มาประชุมด้วยกัน ซึ่ง A เป็น

การวิจัยเชิงปฏิบตั ิการและการวิจยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมีส่วนร่วม 33

การเรียนรู้ แลกเปล่ียนประสบการณ์ เปิดโอกาสแสดงความคิดเห็น รับฟัง ยอมรับ และสรุปร่วมกัน อยา่ งสร้างสรรค์

ขน้ั ตอนที่ 2 I หมายถึง Influence เป็นการใช้ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ที่แต่ละคนมีอยู่มา ชว่ ยกันกาํ หนดวธิ ีการ หรอื ยุทธศาสตรท์ ี่จะทาํ ให้บรรลุ วิสัยทัศนร์ ่วมกัน วธิ ีการท่ีเสนอแนะมาทั้งหมด จะถกู นาํ มาจดั หมวดหมู่ แยกแยะ และพจิ ารณาร่วมกัน จนกระท่ังได้วิธีการท่ีกลุ่มเห็นพ้องต้องกันว่า จะนาํ ไปสู่ ความสาํ เรจ็ ท่กี ล่มุ ตอ้ งการ ซง่ึ เปน็ การกําหนดยุทธศาสตร์ มาตรการ และ เสนอทางเลือก เพ่อื ให้บรรลคุ วามมงุ่ หวัง บรรลภุ าพทพ่ี งึ ประสงค์ โดยมีขน้ั ตอน ดังต่อไปน้ี

1. คดิ กจิ กรรมโครงการทจ่ี ะทาํ ใหบ้ รรลุความมุ่งหวงั /ภาพที่พึงประสงค์ ดําเนินการโดยให้แต่ ละคนคดิ ยทุ ธศาสตร์ ประมาณคนละ 1-3 ข้อ จากนั้น เขียนยุทธศาสตร์ลงบนแผ่นกระดาษย่อยแผ่น ละ 1 ข้อ อธิบายแลกเปลี่ยน ความคิดในกลุ่มเล็ก คัดเลือกยุทธศาสตร์ที่เห็นว่าดีท่ีสุดประมาณ 3-5 ข้อ อภปิ รายเพือ่ หาข้อยุติทม่ี เี หตุผล กลุ่มพอใจมากทสี่ ุด ยอมรบั มากทสี่ ุด

2. จัดลาํ ดับความสาํ คญั ขั้นตอนที่ 3 C หมายถึง Control เป็นการนําวิธีการมากําหนดเป็น แผนปฏิบัติการ (action plan) อย่างละเอียดว่า ทําอะไร มีหลักการและเหตุผลอย่างไร มีเปูาหมายอย่างไร ใครรบั ผดิ ชอบเปน็ หลัก ใครต้องให้ความร่วมมือ ใช้งบประมาณค่าใช้จ่ายเท่าไร จากแหล่งใด ในขั้นน้ี สมาชิกแต่ละคนจะเลือก ว่าตนสมัครใจจะรับผิดชอบเรื่องใด ใครจะให้ความร่วมมือเร่ืองใด ใครจะเป็น ผู้ร่วมวางแผนปฏิบัติข้อใด เป็นการกําหนดข้อผูกพันให้ตนเอง เพื่อควบคุมให้เกิด การกระทําอันจะนําไปสู่การบรรลุผลท่ีเป็นเปูาหมายหรืออุดมการณ์ร่วมของกลุ่ม ในที่สุด ซ่ึง C เป็นการทํางานรว่ มกันโดยนาํ เอาโครงการและกิจกรรมมาสกู่ าร ปฏิบตั ิ และจัดกลุ่มดําเนนิ การท่ีแต่ละ คนถนัด สามารถสรุปได้ตามตารางท่ี 3

การวิจยั เชงิ ปฏิบตั ิการและการวิจัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม 34

ตารางที่ 3 ความคิดรวบยอดของเทคนิค A-I-C A-I-C Appreciation-Influence Control การประชุมแบบมีสว่ นร่วม กระบวนทัศนใ์ หมใ่ นการพฒั นา ก่อให้เกดิ กระบวนการ เรียนรู้ของคน การเรียนรู้ระหว่างการประชุม การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างและคุณค่าของคนอื่น รู้จักอดกล้ัน รับฟังเหตุผล การตัดสนิ ใจรว่ มกนั A Appreciation การเรียนรู้แลกเปลีย่ นประสบการณ์ เปดิ โอกาสแสดงความคิดเห็น รับฟงั ยอมรับ และสรปุ ร่วมกนั อย่างสร้างสรรค์ A1 : สภาพปัจจบุ ันทรี่ บั รู้ สํารวจสภาพจรงิ และสภาพท่ีอยากเห็น หรอื ม่งุ หวัง A2: สภาพที่ปรารถนาในอนาคต I Influence กําหนดยทุ ธศาสตร์ มาตรการ หาวิธีการ และเสนอทางเลือก เพื่อให้บรรลุ ความ มุ่งหวงั บรรลภุ าพที่พึงประสงค์ I1 : การคดิ กิจกรรม โครงการท่จี ะทาํ ให้บรรลคุ วามมงุ่ หวงั /ภาพท่ีพ่ึงประสงค์ I๒ : การจัดลาํ ดบั ความสาํ คัญ C Control การทาํ งานร่วมกนั โดยนําเอาโครงการและกิจกรรมมาสู่การปฏิบัติ และจัด กลุ่ม ดําเนนิ การท่ีแต่ละกลุ่มถนดั และแสวงหาทรพั ยากร C1 : แบ่งความรบั ผิดชอบ C2 : จัดทาํ แผนปฏบิ ัติการ

2. เทคนิค FSC กิจกรรม FSC (future search Conference) หรือการประชุมเพ่ือ สร้างอนาคต

ร่วมกัน เป็นการประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร (work shop) ของผแู้ ทน กลุ่มเฉพาะหลายประเภท ซ่ึงต่างก็มี ส่วนเกี่ยวข้องในเร่ืองน้ัน มาร่วมกันทํางาน และสร้างวิสัยทัศน์ (Vision) เพื่อให้ได้แผนหรือแนวทาง ปฏิบตั ิสําหรับนําไป ปฏิบัติจนบรรลุวัตถุประสงค์ตามวิสัยทัศน์ของกลุ่ม ท้ังนี้โดยใช้อนาคตที่เต็ม ไป ดว้ ยความหวงั เปน็ จุดประสงค์ในการทํางาน ไม่ใช้ปัญหาเป็นตัวตั้ง เพราะ จะทําให้รู้สึกท้อแท้และส้ิน หวงั ในการแกป้ ญั หา กจิ กรรม FSC ประกอบด้วย องค์ประกอบหลัก 3 ส่วน ดังน้ี (ทวีศักดิ์ นพเกสร, 2541 : 32-44)

การวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารและการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี ่วนร่วม 35

2.1 การวิเคราะห์เหตุการณใ์ นอดีต เพื่อเช่อื มโยงกับสภาพการณ์ และแนวโนม้ ในปจั จบุ ัน 2.2 การวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อความ เข้าใจในทิศทางและปัจจัยท่ี มีอทิ ธิพลในประเดน็ หลกั ของการประชุม 2.3 การสร้างจินตนาการถึงอนาคตท่ีพึงปรารถนาในประเด็นหลัก ของการประชุม เพ่ือ ร่วมกันกาํ หนดความคิดเหน็ และสรา้ งแผนปฏิบัตกิ ารไปสู่ อนาคตรว่ มกัน 3. เทคนคิ SWOT

การวิเคราะห์โดยใช้ SWOT (strength weakness opportunity threat) เป็นอีก เทคนิคหน่ึงที่สามารถนํามาใช้ในการวิเคราะห์ชุมชนท้องถิ่น เพื่อการพัฒนา โดยวิเคราะห์ว่าชุมชน ท้องถ่ินของตนมีจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจํากัดหรืออุปสรรคอย่างไรบ้าง ผลจากการทํา กิจกรรม SWOT จะทําให้ ทราบสภาพแวดลอ้ มทง้ั ภายในและภายนอกชมุ ชน จากนั้นร่วมกันเสนอกล ยุทธ์ ทางเลือกซงึ่ จะสามารถนาํ ไปวางแผนพัฒนาชุมชนได้อย่างเหมาะสม และจะ เป็นการดีถ้าคนใน ชมุ ชนท้องถ่ินสว่ นใหญไ่ ดเ้ ข้ามามีส่วนรว่ มดว้ ย

4. การสนทนากลมุ่ (focus group interview) กจิ กรรมความเห็นกลุ่ม เป็นอีกกิจกรรมหน่ึงท่ีเป็นการเร่ิมต้นที่ดีของ การพัฒนาท้องถ่ิน

ชุมชน เปน็ การอภปิ รายแลกเปลีย่ นความคิดเห็นของขอ้ มลู เพือ่ หาขอ้ สรุปที่จะนําไปสู่การวางแผนท่ีดี การอภปิ รายดังกล่าวตอ้ งมีความ เท่ียงตรง ความเห็นของกลุ่มหรือกระบวนการสนทนากลุ่มเป็นการ พูดคุยแบบ ธรรมชาติ คนทม่ี ีบทบาทสําคญั คือ พิธีกรหรือผู้นํากลุ่ม (moderator) ในการ พูดคุยแบบ ขอความเห็นของกลุ่มน้ี ต้องมีการกําหนดกลุ่มคนที่จะพูดคุย เวลา สถานท่ี หัวข้อที่จะพูดคุย และ บรรยากาศในการพูดคยุ วัตถปุ ระสงค์ของการสนทนากล่มุ มดี งั น้ี

1. เพ่ือให้ไดข้ ้อมูลเนอื้ หาสาระทเ่ี ป็นประเดน็ เฉพาะดา้ น 2. เพ่อื ให้ผูท้ มี่ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี กบั ประเดน็ นัน้ ๆ แสดงความคดิ เหน็ ใหข้ ้อมลู รายละเอียด 3. เพ่อื ใหไ้ ดข้ ้อมูลเชิงคุณภาพ องค์ประกอบของความเห็นของกลุ่ม ได้แก่ บุคคลท่ีร่วมสนทนากลุ่ม ไมํ่ต่ากว่า 6-12 คน พิธีกรจะต้องรู้จกั พ้นื ที่นั้นแล้วพอสมควร และร้ขู อบเขต ของชุมชน จึงเลือกกิจกรรมใช้ความเห็นของ กลุม่ และในการสนทนาแตล่ ะคร้ัง จะใช้ระยะเวลาตามความเหมาะสมในแตล่ ะสถานการณ์ บทบาทของบุคคลทเี่ ขา้ ร่วมสนทนากลุ่มมดี งั นี้ 1. พธิ ีกร (moderator/facilitator) ทาํ หนา้ ท่ีเป็นผูจ้ ุดประเด็น หรอื ชกั จงู ให้ผู้เขา้ รว่ มสนทนา แสดงความเหน็ ตามประเด็นคาํ ถามท่ไี ดม้ าจาก วัตถุประสงค์ของปัญหาการวิจัย และต้องควบคุมการ สนทนาใหอ้ ยู่ในประเด็น และต้องมีการวเิ คราะห์สถานการณ์เพ่อื ให้ไดข้ อ้ มูลในการสรา้ งคาํ ถามใหม่

การวจิ ัยเชงิ ปฏิบตั ิการและการวจิ ัยเชิงปฏิบัตกิ ารแบบมีสว่ นร่วม 36

2. บคุ คลเปาู หมายของการสนทนา (discussion) ทําหน้าที่ในการพูดคุย แสดงความคิดเห็น ในประเด็นข้อคาํ ถามตา่ ง ๆ

3. ผู้จดบันทึกการสนทนา (note taker) ทําหน้าที่จดระหว่างการ สนทนากลุ่ม ห้ามมีส่วน ร่วมในการแสดงความคดิ เหน็

4. ผู้ช่วย (assistants) ทาํ หน้าท่ีควบคุมเทป อาํ นวยความสะดวก และดูแลแก้ปญั หาต่าง ๆ กลา่ วโดยสรปุ การวจิ ยั เชงิ ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่วมเป็นการวิจัยท่ี ผู้เก่ียวข้อง คือ นักวิจัย นักพัฒนา และชาวบ้าน ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ เรียนรู้ การแก้ปัญหา และพัฒนาองค์กร ตั้งแต่ต้นจนจบ กระบวนการวจิ ัย ซ่ึง จะประกอบด้วยการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต การสะท้อนผลการปฏิบัติ และการปรับปรุงแผนเพื่อนําไปปฏิบัติ จนกว่าจะได้รูปแบบของการปฏิบัติงาน ที่พึงพอใจ โดยมี ขัน้ ตอนของการวิจัยท่สี ําคัญอยู่ 5 ระยะ ประกอบด้วยระยะก่อนทําวิจัย ระยะของการทําวิจัย ระยะ การจัดทําแผน ระยะการนําแผนไป ปฏิบัติ และระยะการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงาน จําเป็นต้องใช้เทคนิค หรือเครื่องมือการศึกษาชุมชนอย่างมีส่วนร่วมที่สําคัญ ได้แก่ เทคนิค A-I-C เทคนิค FSC เทคนคิ SWOT และเทคนิคการสนทนากลุ่ม

การวิจัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารและการวจิ ัยเชิงปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม 37

ตวั อย่างงานวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมีส่วนร่วม

ตวั อยา่ งท่ี 1 การพฒั นางานวิชาการดวยหลกั การบรู ณาการในโรงเรยี นขนาดเลก็ : การวิจยั เชิง ชอ่ื เรื่อง ปฏบิ ตั ิการแบบมีสวนรวม ACADEMIC TASK DEVELOPMENT BY INTEGRATIVE PRINCIPLE IN SMALL SIZE SCHOOL: A PARTICIPATORY ACTION ชอ่ื ผู้วิจยั RESEARCH. ปีที่วจิ ัย นายศิริกลุ นามศริ ิ วทิ ยานิพนธปรญิ ญาศึกษาศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. 2552

บทคดั ยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพ่ือศึกษาสภาพท่ีเคยเปนมา สภาพปจจุบัน สภาพปญหา

สภาพท่ีคาดหวัง ทางเลือกเพื่อแก ปญหาหรือบรรลุสภาพที่คาดหวังการพัฒนางานวิชาการของ โรงเรยนี ขนาดเลก็ ทีเ่ ปนกรณีศึกษา การเลอื กทางเลือกเพื่อการปฏิบัติและปรากฏการณท่ีเกิดขึ้นจาก การนํา ทางเลือกไปปฏิบัติ และ 2) เพ่ือศึกษาสภาพการเปลี่ยนแปลง การเรียนรู ที่เกิดข้ึนท้ังใน ระดับตัวบุคคล กลุมบุคคล และโรงเรียน และองคความรูที่เกิดจากการนําหลักการบูรณาการมาใช เปนตัว สอดแทรกเพ่ือพัฒนางานวิชาการของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กท่ีเปนกรณีศึกษา และ ใช ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม ผูรวมวิจัย คือผูมีสวนไดสวนเสียของโรงเรียน บานบึงฉิม จํานวน 66 คน เครื่องมือที่ใช ในการวิจัย คือ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ เชิงลึก แบบสัมภาษณกลุม และแบบตรวจสอบหรือบันทกึ

ผลการวิจัย พบวา โรงเรียนบานบึงฉิม มีการดําเนินงานดานการจัดการเรียนการสอน เปนหลกั รองลงมาเปนการพฒั นาสือ่ การเรียนการสอน การพฒั นาหลกั สูตร การวัดผลและประเมนิ ผล และการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในและภายนอก มีปญหาที่สําคัญคือโรงเรียนไมผาน การประเมินจากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค การมหาชน) จึงดําเนินงานใน 3 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาการจัดองคกร โครงสรางการบริหารและจัดงาน วิชาการและพัฒนาองคกรอยางเปนระบบครบวงจร 2) โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและ สาระหลักสูตรทองถ่ินและการจัดกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และ 3) โครงการจัด กจิ กรรมสงเสรมิ คณุ ภาพผูเรียนอยางหลากหลาย มผี ลทําใหโรงเรยี นผานการประเมนิ คณุ ภาพภายในที่ อิงสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐานที่12, 14 และ 15 โดยมีคาระดับ 3.20, 3.00 และ

การวจิ ัยเชิงปฏิบัตกิ ารและการวจิ ัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมีส่วนร่วม 38

3.28 ตามลําดับ นอกจากน้ันยังพบวา ผูวิจัย ผูปกครอง ผูนําทองถิ่น ครูผูบริหารโรงเรียน ศึกษา นิเทศกและนกั วเิ คราะหนโยบายและแผน ของสํานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาขอนแกน เขต 1 เกิดการ เรียนรูจากการปฏบิ ตั ิจริงหลายประการ ท้ังดานความรูและประสบการณ และเกดิ องค ความรูจากการ ปฏิบัติคือ 1) การจัดโครงสรางการบริหารและจัดการงานวิชาการตามหลักการบูรณาการแนวทีม ฟุตบอลเชิงรุก 2) การยึดมั่นในหลักการบูรณาการ 9 ประการ 3) การกําหนดบทบาทหนาที่ของ ผูเก่ียวของ 4) คํานึงถึง 10 หลักการ 10 จรรยาบรรณ และ 10 บทบาทของผู วิจัยในการวิจัย เชิงปฏิบตั ิการแบบมีสวนรวมเปนพื้นฐาน และ 5) การมีขั้นตอนยอยการดําเนินงานในแตละขั้นตอน ทําใหมีนวัตกรรมทเ่ี รียกวา “กรอบการปฏิบัติ 3 พลังเสริมการบูรณาการเพ่ือพัฒนางานวิชาการดวย หลักการบูรณาการในโรงเรยี นบานบงึ ฉมิ : องคความรูที่ไดจากการวจิ ัยเชิงปฏิบัตกิ ารแบบมีสวนรวม”

บทนาํ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทาน

ปริญญาบัตรแกผูสําเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร เม่ือวันพุธท่ี 29 มถิ ุนายน 2520 ความตอนหน่งึ วา “การใหการศึกษาถือเปนสิ่งสําคัญที่สุด เพราะเปนการหลอหลอม วางรูปแบบใหแกอนุชน ทั้งความรู ความสามารถ ทั้งทางจิตวิญญาณ..” ซ่ึงแสดงใหเห็นวา พระองคทานทรงเห็นความสําคัญของการจัดการศึกษาท่ีจะเปนเครื่องมือในการสรางประชาชนใหมี ความรูความสามารถและมีจิตใจท่ีดีงาม เพราะการศึกษาเปนรากฐานสําคัญท่ีสุดประการหนึ่งใน การสรางสรรคความเจริญกาวหนาและแกปญหาตาง ๆ ในสังคมได (สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาแหงชาติ, 2540) ประกอบกับในพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไข เพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ไดกําหนดความมุงหมายและหลักการจัดการศึกษาไว ในหมวด 1 มาตรา 6 ท่ีกาํ หนดไววา “การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปน มนุษยท่ีสมบูรณทั้ง รางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมใน การดํารงชีวิต สามารถ อยูรวมกบั ผูอืน่ ไดอยางมีความสุข” และในมาตรา 8 ไดกําหนดหลักการจัด การศึกษาใหยึดหลักการ 3 ประการ คือ ประการท่ีหน่ึง เปนการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ประการที่สอง ใหสังคม มีสวนรวมในการจัดการศึกษา และประการสุดทายคือ การพัฒนาสาระ และกระบวนการเรียนรูให เปนไปอยางตอเนือ่ ง (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2546)

จากหลักการดังกลาว ระบบการศึกษาของไทยจึงไดตกเปนหนาที่ของสถานศึกษาเปนผู รบั ผิดชอบหลักในการดําเนินการ โดยในหมวด 3 ระบบการศึกษา กําหนดใหสถานศึกษาซ่ึง หมายถึง สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน วทิ ยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษา หรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือเอกชนที่มีอํานาจหนาที่หรือมีวัตถุประสงคในการจัดการศึกษา ดังน้ัน การจัดการศกึ ษาในระบบจึงเปนหนาทีข่ องโรงเรียน ซ่งึ รฐั มุงหวงั จะใหโรงเรียนมคี วามเขมแข็ง มีความ

การวิจยั เชิงปฏบิ ตั ิการและการวจิ ัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมีส่วนร่วม 39

เปนอิสระ คลองตัว สามารถบริหารและจัดการศึกษาใน สถานศึกษาไดอย่างสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ตามหลักการกระจายอํานาจ มีการนํารูปแบบการบริหารที่ใชโรงเรียนเปนฐาน (school based management) มาใชโดยมุงใหการบริหารจัดการศึกษามีลักษณะเบ็ดเสร็จ ที่สถานศึกษา ในการบริหารงานดานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหาร ท่ัวไป (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546) ดังน้ัน กระทรวงศึกษาธิการ จึงออกกฎกระทรวง วาดวยการ กําหนดหลักเกณฑและวิธีการกระจายอํานาจการบริหารและจัด การศึกษา พ.ศ. 2550 โดยให สถานศึกษามีอํานาจหนาท่ีของตนในการบริหารงานทั้ง 4 ดาน คือ ดานวิชาการ ดานงบประมาณ ดานการบริหารงานบุคคล และดานการบริหารทวั่ ไป และวิธที ี่ดีทส่ี ดุ

ในการจดั การศกึ ษา คือ การสรางความเปนเจาของ และการมสี วนรวมของทุกองคาพยพของ ระบบ การศึกษา คือ ทั้งผูใหและผูรับ และประชาชนผูท่ีมีสวนไดเสีย ซึ่งก็คือสังคมท้ังระบบ เพราะเหตผลท่ีวาทุกคนยอมปรารถนาใหบานเมืองมีความผาสุก มั่นคง และความจําเปนที่ทุกคน จะตองรวมมือกันเพื่อใหเปาหมายของการศึกษาสําเร็จตามเปาหมาย (เฉิดศักด์ิชุมนุม, 2540) นั่น หมายถึง การจัดการศึกษาไดอยางท่ัวถึงและมีคุณภาพ ภายใตการบริหารจัดการแบบองครวมท่ี เนนการมีสวนรวมของทกุ ภาคสวน (all for education) (สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา แหงชาติ, 2546) โดยเปนการกระจายอาํ นาจการจัดการศึกษาจากสวนกลางไปยังสถานศกึ ษาโดยตรง ใหสถานศึกษามีอํานาจหนาที่ ความรับผิดชอบ มีความเปนอิสระและคลองตัวในการตัดสินใจ ในการบรหิ ารจัดการ ในการส่งั การเก่ียวกับการบริหารโรงเรียนทั้งดานหลักสูตร การเงิน การบริหาร บคุ คล และการบรหิ ารทวั่ ไป โดยมคี ณะกรรมการโรงเรียนซ่ึงประกอบดวยผูบริหารโรงเรียน ตัวแทน ครูตัวแทนผูปกครองและชมุ ชน รวมกันบรหิ ารโรงเรยี นใหสอดคลองและเปนไปตามความตองการของ ผเู รียน ของผูปกครอง และชุมชน (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2550)

ปจจบุ นั โรงเรียนในสงั กัดสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ท่ีทําหน าที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให กับผู เรียนทั่วประเทศท่ีกระจายอ ยู่ ทั่วทุกพื้นที่ของประเทศ มีจํานวน 32,879 แหง และเปนโรงเรียนประถมศึกษาศึกษาขนาดเล็กที่เปดสอนในระดับอนุบาลและ ชวงช้ันท่ี 1-2 และมีนักเรียนตั้งแต คนลงมา มีจํานวน 10,877 แหง ท่ีถือวามีปริมาณเกือบ 1 ใน 3 ของโรงเรียนรัฐที่มีจัดการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จากการสํารวจของสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (2549) พบวา ในชวงป โรงเรียนขนาดเล็กสวนใหญ มีปญหาสําคัญท่ีเหมือนกัน คือ 1) นักเรียนมีคุณภาพคอนขางตํ่าเมื่อเทียบกับสถานศึกษาขนาดอื่น อาจเปนเพราะโรงเรียนขาดความพรอมทางดานปจจัย เชน มีครูไมครบช้ันเรียน ขาดแคลนส่ือ การเรียนการสอนและวัสดุอุปกรณโดยเฉพาะสื่อเทคโนโลยีที่มีราคาแพง ท้ังน้ีเน่ืองจากเกณฑ การจดั สรรงบประมาณสวนใหญใชจาํ นวนนกั เรยี นเปนเกณฑในการจัดสรร 2) อาคารเรียนและอาคาร ประกอบสวนใหญมีขนาดเล็ก มีหองเรียนจํากัดอยูในสภาพชํารุดทรุดโทรม ซึ่งอาจก อใหเกิด

การวิจยั เชงิ ปฏิบตั ิการและการวิจยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมีส่วนร่วม 40

อนั ตรายตอนักเรียน 3) ต้ังอยูในชุมชนขนาดเล็ก ซึ่งยังไมมีศักยภาพในการระดมทรัพยากรเพื่อชวย สนับสนุนสถานศึกษา อีกท้ังสภาพแวดลอมของชุมชนเองยังตองการพัฒนา 4) นักเรียนมาจาก ครอบครวั ทข่ี าดแคลน ตองการการสนบั สนุนเพ่ือใหไดรับโอกาสทางการศึกษา และโอกาสในชีวิตท่ีดี ตอไปในอนาคต 5) สถานศึกษาบางแหงขาดบุคลากรผูสอน ในบางรายวิชาในบางชวงชั้น และอยู หางไกลจากแหลงเรยี นรู และ 6) สถานศึกษายังขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ มีการลงทุน สูงเมอื่ เทียบกบั สถานศกึ ษาท่ใี หญกวา เชน อตั ราสวนครูตอนักเรียน ซง่ึ ตามมาตรฐาน ตองเปน 1 : 25 แตสําหรับสถานศกึ ษาขนาดเลก็ อัตราสวนครูตอนักเรียนเทากบั 1 : 8-11

นอกจากนี้จากการประเมินโครงการยกระดับคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กของสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2549) พบปญหาท่ีสําคัญในดานตาง ๆ ดังนี้ 1) ดานบุคลากร ประกอบดวยปญหาขาดแคลนบุคลากร มีครูไมครบช้ัน แตอัตราครูเกินเมื่อเทียบกับเกณฑ ก.ค. (ป จจุบันคือ ก.ค.ศ.) ทําให ครูรับภาระหนัก สอนหลายวิชา หลายระดับชั้น ทําให ครูขาด ความกระตือรือรน ขาดขวัญกําลังใจ ปญหามีครูสอนไมตรงคุณวุฒิไมมีทักษะในการสอน ขาดการ พัฒนา บุคลากรรับทราบขาวสารทางราชการไดลาชา และปญหาขาดสวัสดิการดานที่พักอาศัย มีปญหา การเดินทางท่ีไกล ไมสะดวก มีความกังวลใจกับความกาวหนา 2) ดานอาคารสถานที่/ ครุภัณฑ ประกอบดวย ปญหาอาคารเกาชาํ รุดทรุดโทรม เนื่องจากกอสรางมานาน ขาดความปลอดภัย ปญหามีอาคารไมเพียงพอ ขาดหองปฏิบัติการ สนามกีฬาที่เหมาะสม ปญหาขาดโทรศัพท ครุภัณฑ คอมพิวเตอรและปญหาบางพืน้ ที่ขาดแคลนน้ํา 3) ดานการบริหารจดั การ ประกอบดวยปญหาจํานวน นักเรียนตอหองเรียน/ชั้นเรียนมีนอย เน่ืองจากประชากรวัยเรียนในชุมชนน้ันมีนอย หรือไปเรียนใน โรงเรียนอ่ืนท่ีเหน็ วามคี ณุ ภาพดกี วาทําใหไมคุมคาหรือเพียงพอตอการจัดกิจกรรม ใหมีประสิทธิภาพ ปญหาการจัดงบประมาณสําหรับจางครูสอน เนื่องจากขาดแคลนครูและปญหา จากการยุบรวม เลกิ ลมโรงเรียน โดยเปนปญหาดานการจัดหางบประมาณคาพาหนะเดินทางสําหรับ นักเรียนยุบรวม โรงเรยี น 4) ปญหาดานวิชาการ ประกอบดวยปญหาขาดแคลนหนังสือเรียน หนังสืออานประกอบที่ เหมาะสม ปญหาขาดแคลนสื่อ อุปกรณการเรียนการสอนที่เหมาะสม ทันสมัย ปญหาครูไมสามารถ สรางส่ือการสอน ขาดความรูดาน ICT และปญหาคณุ ภาพการเรียนการสอนของนักเรียนที่ยังมีปญหา ตองเรงพัฒนาการอานออก เขียนไดคิดวิเคราะห และคํานวณ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาพรวม ตา่ํ กวาโรงเรยี นขนาดอน่ื

จากสภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเล็กดังกลาว กระทรวงศึกษาธิการโดยสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (2549) ได พยายามแกไขปญหา ดังจะเห็นไดจากในชวง ปงบประมาณ 2547–2548 ไดจัดสรรงบประมาณ จํานวน 788,425,860 บาท เพื่อพัฒนา โรงเรียน ขนาดเลก็ โดยเฉพาะ โดยใชในกจิ กรรมดําเนินงาน คอื 1) การประชาสัมพันธเชิงรุก โดยใชการประชา สัมพันธผานสื่อตาง ๆ เพ่ือใหสังคมโดยเฉพาะชุมชนที่มีโรงเรียนขนาดเล็กอยู ในพื้นท่ี เกิดความ

การวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารและการวิจัยเชิงปฏิบตั กิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม 41

ตระหนักในการทีจ่ ะชวยสนับสนุน เพ่ือยกระดับคุณภาพของโรงเรียนขนาดเล็กในทองถ่ิน ของตนเอง

  1. การสํารวจขอมูลพื้นฐาน เพ่ือนํามาวิเคราะหสําหรับใชประโยชนในการวางแผน พัฒนาคุณภาพ โรงเรียนขนาดเล็ก 3) การจัดทาแผนที่ทางการศึกษา (education mapping) เพื่อ จะนําไปสู การวางแผนจดั สรรโอกาสทางการศกึ ษาและปรบั ปรงุ คุณภาพ 4) จัดทําแผนพัฒนา คุณภาพโรงเรียน ขนาดเล็ก เพื่อจัดทํางบประมาณ บุคลากร และทรัพยากรอ่ืน สนับสนุนให เพียงพอตอการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา 5) การจดั สรรงบประมาณ บคุ ลากร และทรัพยากรอนื่ ใหแกสถานศึกษาขนาดเล็ก เพื่อใหสามารถแกไขปญหาไดตรงกับสภาพความเปนจริง โดยคํานึงถึง ความจําเปน และความ ขาดแคลนของสถานศึกษาขนาดเล็ก 6) การจัดซ้ือหนังสือเรียน/แบบฝกหัด เพ่ือใหโรงเรียนมีหนังสือ เรียน/แบบฝกหัดไวใชเปนส่ือการสอนเพิ่มมากขึ้น 7) การพัฒนาดาน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ หนวยคอมพิวเตอรเคลื่อนท่ี (computer mobile unit) ไปบริการ โรงเรียนขนาดเล็กในที่ตาง ๆ และการจัดครุภัณฑคอมพิวเตอร และอุปกรณเพ่ือสนับสนุนการ จัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ขนาดเล็ก 8) จัดหาส่ือการเรียนการสอน/หนังสือห องสมุด และ 9) การหมุนเวียนครูโดยการ หมุนเวียนครูจากโรงเรียนท่ีเกินเกณฑ หรือครูที่มีวุฒิตรงวิชามาชวยสอน หรือจางครูหมุนเวียน การสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก หรือขอนักศึกษาฝกสอน หรือใชวิทยากรทองถ่ิน มาชวยสอน หรือ ใชนักเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายชวยจดั กิจกรรม

จากแนวทางการแกไขปญหาดังกลาวแสดงใหเห็นวา รัฐพยายามที่จะแกไขปญหา โรงเรียน ขนาดเล็ก ซ่ึงถือเป นการดําเนินการที่มาจากสายบังคับบัญชา จากบนลงมาข างล าง หรือ จากสวนกลางมาสูสวนภูมิภาค แตปญหายังคงมีอยู และนับวันปญหาดานงบประมาณมีแนวโนม จะเพิ่มมากขึ้น แตไมสงผลตอการพฒั นาคุณภาพผูเรยี นใหเปนไปตามความมุงหมายของการศกึ ษาชาติ เทาท่ีควร ดังนั้น ผูวิจัยจึงวิเคราะหและสังเคราะหสภาพการดําเนินงาน สภาพป ญหา และ แนวทางการแกไขปญหาโรงเรยี นขนาดเล็กจากขอมูลแหลงตาง ๆ ดงั กลาวขางตน ไดขอสรุปเบื้องตน เพอ่ื การพัฒนา ดังน้ี

1. การแกไขปญหาดําเนินการตามสายงานบังคับบัญชา และขาดการมีสวนรวมคิด รวมทํา จากผูปฏิบัติจึงทําใหขาดการมีสวนรวมและความเปนเจาของของผูที่เผชิญกับปญหาในสภาพจริง น่นั คอื โรงเรยี นและชุมชน

2. สภาพการดําเนินงานจริง ๆ ในโรงเรียนขนาดเล็ก ได ปฏิบัติหนาที่ตามปกติในภารกิจ งานทั้ง 4 ดาน คอื ดานวิชาการ ดานงบประมาณ ดานบริหารงานบุคลากร และดานบริหารงานท่ัวไป โดยแตละดานจะปฏิบัติงานแบบแบงแยกหนาที่กันทํางาน ผูบริหารจะมอบหมายใหครูแตละคน ทํางานตามหนาที่ของตน ซึ่งเห็นไดวาเปนการทํางานแบบแยกสวน แบงแยกกัน ทําใหขาดความ เช่ือมโยง ขาดการผสมผสานงานเพ่ือส งผลตอคุณภาพผูเรียนในภาพรวม น่ันหมายถึงการขาด ระบบการ บริหารจัดการท่ีมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผล

การวิจยั เชิงปฏิบตั ิการและการวิจยั เชิงปฏิบัตกิ ารแบบมีส่วนร่วม 42

3. โรงเรียนใชทรัพยากรทางการบริหารจัดการที่ไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานของรัฐ หรอื จากชุมชนหรือองคกร/บุคคลอื่นไปในการสรางสภาพแวดลอมทางกายภาพมากกวาการสงเสริม คุณภาพผูเรียน เชน การปรับปรุงสนาม การสรางร้ัว ทาสีรั้ว และทําปายโรงเรียน เป็นต้น ซึ่งไม่ ส่งผลตอการพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยตรง และอาจเปนปจจัยหน่ึงท่ีสงผลตอระดับความศรัทธา ของชุมชนท่ีมีตอโรงเรียนท่ีมีแนวโนมจะลดลง ดังจะเห็นไดจากการท่ีผูปกครองที่เห็นความสําคัญ ของการศกึ ษาและพอมฐี านะไดยายลูกหลานไปเรยี นในโรงเรยี นอืน่ ทีอ่ ยูนอกหมูบาน

4. ผูบริหาร และครูผูสอนในโรงเรียนขนาดเล็กมีอัตราการยายเขาออกบอย ทําใหการวาง ระบบเพอ่ื การแกไขปญหาและพฒั นาไมตอเน่ือง

จากผลการวิเคราะหและสังเคราะหดงั กลาว ผูวิจัยมีความเห็นวา โรงเรียนขนาดเล็กมีปญหา หลายปญหาในทุกดาน ทงั้ นอี้ าจสืบเนื่องมาจากเหตุที่สําคัญคือ โรงเรียนมีทรัพยากรทางการ บริหาร จัดการทจี่ าํ กดั และไมสามารถจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงสงผลตอ การพัฒนา งานทุกดาน โดยเฉพาะงานวิชาการที่เปนภารกิจหลักของสถานศึกษา ซึง่ ในปจจบุ นั น้ี มปี ญหาที่สําคัญ ในดานคุณภาพของผูเรียนคือ ผลสัมฤทธิ์ต่ํา ปญหาดานการอานออก เขียนได การคิดวิเคราะหและ คาํ นวณ ดังน้นั จงึ ควรแกไขปญหาที่ตนเหตุ ซง่ึ วธิ กี ารแกไขปญหา เกษม จันทรแกว (2547) ไดกลาว ไวคือ การสรางมาตรการควบคุมแบบผสมผสาน (integration) หรือ การบูรณาการ เพราะการ ควบคุมปญหา และเหตุของปญหา ตองกระทําดวยการประหยัดงบประมาณ เวลา และแรงงาน โดยอาศัยการดําเนินการอะไรที่เปนการแกปญหาหรือแกไขเหตุของปญหา ตอง ดําเนินการรวมกัน เวลาเดียวกัน สถานท่ีเดียวกัน หรืออะไร ๆ รวมกัน เพราะจะเปนการใช ทรัพยากรทางการบริหาร จดั การงานเดีย่ วหรอื ระบบอยางมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล และใน ทํานองเดียวกันก็จะเปนการ “ฟน” “รักษา/ซอมแซม” “ปองกัน” และพัฒนาไปพรอมๆ กัน ซึ่ง การสรางมาตรการเพื่อควบคุม แบบผสมผสานหรือ “บรู ณาการ” นัน้ อาจเกิดรวมกนั ในลกั ษณะดงั นี้ - หน่ึงปญหาเกิดจากหนงึ่ เหตุ - หน่งึ ปญหาเกดิ จากหลายเหตุ - หลายปญหาเกดิ จากหนึง่ เหตุ - หลายปญหาเกิดจากหลายเหตุ - หลายปญหาเกิดจากหลายเหตุที่เกิดสลับซับซอนเปนลูกโซ

อยางตอเนื่อง ดังกลาวแลววา จากผลการศึกษาวิจัยของนักวิชาการหรือหนวยงานตางๆ พบวา งานวิชาการ ในโรงเรยี นขนาดเล็กมีปญหาหลายดาน โดยมีความสัมพันธเชื่อมโยงกันในทุกดานกับงานดานอื่น ๆ แตอยางไรก็ตาม งานหลักของโรงเรียนคือ งานวิชาการที่มีปญหาตองแกไขโดยเรงดวน เพราะจะ สงผลกระทบตอนักเรียนโดยตรง ท้ังดานผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนการอานออก เขียนไดการคิด วเิ คราะหและคาํ นวณ ดงั นนั้ การวจิ ัยน้ีผูวจิ ยั จงึ กาํ หนดขอบเขตการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม ในครงั้ น้ี เนนการพฒั นางานวชิ าการ โดยเปนการเปล่ียนกระบวนทัศนในการพัฒนาเสียใหมจากเดิมที่ เนนการพัฒนาจากดานอนื่ ๆ เชน ดานอาคารสถานที่ ดานภูมิทัศนตาง ๆ เปนตน ท้งั นโี้ ดยมี ขอจํากัด

การวจิ ัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารและการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม 43

ในดานทรัพยากรทั้งของโรงเรียนและของผูวิจัยจึงไมไดทําการวิจัยใหครอบคลุมงานทุกดาน แตก็ คาดหวังวาการแกปญหางานวชิ าการนีจ้ ะเช่อื มโยงไปสูการแกปญหางานดานอ่ืน ๆ พร้อมๆ กันไปดวย เพราะในงานวิจัยนี้ใชหลักการบูรณาการ (integration) มาเปนตัวสอดแทรก (intervention) เพ่ือ ก่อใหเกดิ การเปลย่ี นแปลงและเพ่ือการเรียนรูและโดยความเช่ือเชิงหลักเหตุผล (logical) ตามทัศนะ ของ Owens (2001) วา องคประกอบของงานดานตางๆ ในโรงเรยี นมคี วามสัมพันธ ซึง่ กันและกนั

คําถามการวจิ ัย 1.1 สภาพทเ่ี คยเปนมา สภาพปจจุบัน สภาพปญหา สภาพท่ีคาดหวัง ทางเลือก เพื่อการแก

ปญหาหรือบรรลุสภาพท่ีคาดหวังในการพัฒนางานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กที่เปน กรณีศึกษา มีอะไรบาง และประเมินเลอื กไดทางเลือกเพ่อื การปฏบิ ตั อิ ะไร

1.2 การนําทางเลือกที่ประเมินไดไปปฏิบัติโดยใชหลักการบูรณาการมาเป็นตัวสอดแทรก (intervention) มีปรากฏการณการปฏิบัติอยางไร ได้ส่งผลตอการเปล่ียนแปลงเพียงใด ตัว บุคคล กลุมบคุ คลและโรงเรียนเกิดการเรียนรูอะไร และจากการวจิ ัยไดกอใหเกิดองคความรูอะไร

วตั ถุประสงคของการวิจัย 1.1 เพื่อศึกษาสภาพท่ีเคยเปนมา สภาพปจจุบัน สภาพปญหา สภาพที่คาดหวัง ทางเลือก

เพ่ือแก ปญหาหรือบรรลุสภาพที่คาดหวังการพัฒนางานวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็กท่ีเป นกรณี ศึกษา การเลือกทางเลือกเพื่อการปฏิบัติและปรากฏการณท่ีเกิดข้ึนจากการนําทางเลือกไปปฏิบัติ ท่มี ีการใชหลักการบูรณาการเปนตวั สอดแทรกและใชระเบียบวิธวี ิจัยเชิงปฏบิ ตั กิ ารแบบมีสวนรวม

1.2 เพื่อศึกษาสภาพการเปล่ียนแปลง และการเรียนรู ที่เกิดขึ้นทั้งในระดับตัวบุคคล กลุมบุคคล และโรงเรียน และองคความรูที่เกิดขึ้นจากการนําเอาหลักการบูรณาการมาเปนตัว สอดแทรกเพ่ือพัฒนางานวิชาการของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กท่ีเป นกรณีศึกษา และใช ระเบียบวธิ กี ารวจิ ัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมสี วนรวม

ขอบเขตของการวจิ ยั การวจิ ยั ครงั้ นม้ี ขี อบเขตของการวิจัยดงั นี้ 1.1 การศกึ ษาครั้งนี้เปนกรณีศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ขอนแกน เขต 1 จํานวน 1 แหง ที่ไมไดมาตรฐานดานผูเรียนและไมผานการรับรองมาตรฐานการ ประเมินภายนอกของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เปนโรงเรียน ประสงคทีจ่ ะรวมพัฒนางานดานวชิ าการดวยการวจิ ัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม และเปนโรงเรียน ที่มีความเหมาะสมและความเปนไปไดในการที่ผูวิจัยจะเขาไปปฏบิ ตั งิ านภาคสนามเปนชวงๆ

การวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ัติการและการวิจยั เชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม 44

1.2 การพัฒนางานวิชาการ จํากัดขอบเขตอยู ในเกณฑท่ีผูวิจัยและผูรวมวิจัยรวมกัน กําหนดข้ึน และตกลงใชมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร มาตรฐานที่ 12, 14 และ15 ทอี่ ิงสถานศกึ ษาในการประเมินคุณภาพ ภายในของ งานวชิ าการโรงเรียนขนาดเล็กทเ่ี ปนกรณศี ึกษา

1.3 ระยะเวลาในการวิจัย กําหนดตามวงจรการปฏิบัติงานบริหารโรงเรียนในปงบประมาณ พ.ศ. 2551 ระหวางวันท่ี 1 ตุลาคม 2550 – 30 กันยายน 2551(คาบเก่ียวระหวางภาคปลายป การศกึ ษา 2550 และภาคตนปการศึกษา 2551)

ขอตกลงเบือ้ งตน 1.1 การวจิ ยั คร้งั นใ้ี ชรูปแบบการวจิ ัยเชงิ ปฏิบตั ิการแบบมีสวนรวมท่ีวิโรจนสารรัตนะ (2550)

พัฒนาข้ึน เปนรูปแบบที่เนนความเปนศาสตรเชิงวิพากษ (critical science) การนําเสนอ ผลการวิจัยจึงจะอิงกับแนวคิดเชิงวิพากษ critical approach) แสดงหลักฐานประกอบ ท้ังขอมูล สถิติภาพถาย เอกสาร หรืออ่ืนๆ ถึงส่ิงที่ไดรวมกันคิด รวมกันปฏิบัติรวมกันสังเกตผล และ รวมกัน สะทอนผลการเปล่ียนแปลง ท้ังท่ีสําเร็จและไมสําเร็จ และการเรียนรูท่ีเกิดขึ้นทั้งในระดับ บุคคล ระดับกลุมบคุ คล และระดับโรงเรียน ดังน้ัน ผลการวิจัยจะมีลักษณะเปนการพรรณนาหรือ บรรยาย เชิงวิพากษ critical description) จึงอาจแตกตางจากการนําเสนอผลการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ในรูปแบบอน่ื และอาจมขี อคนพบบางประการจากการนํารูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนร วมน้ี มาใชในการวจิ ยั ครัง้ น้เี พอ่ื การปรบั ปรุงแกไขใหมีความเหมาะสมยิ่งขึ้นตอไป

1.2 การศึกษาเรื่องนี้เปนกรณีศึกษาโดยจํากัดสถานท่ี การเลือกสถานที่ศึกษามิไดกระทํา โดยอาศัยวิธีการทางสถิติ แตอาศัยผลการประเมินภายนอกของสํานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศกึ ษา (สมศ.) และเปนโรงเรยี นท่มี ีความประสงคทีจ่ ะเขารวมการพัฒนางานดาน วชิ าการ ดังนั้น ขอคนพบตาง ๆ ที่ไดจากการศึกษานี้จึงเปนขอคนพบใน “บริบทเฉพาะ” (specific context) ตามหลักการหนึ่งของการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (PAR) ดังจะกลาว ในบทท่ี 2 และตามหลักการบริหารตามสถานการณ situational approach) ท่ีวา ไมมีรูปแบบ สําเร็จรูปใดที่ จะสามารถนําไปใชไดในทุกท่ียิ่งเปนการวิจัยในบริบทเฉพาะจึงไมสามารถนําไปอางอิง เพ่ือใชใน โรงเรียนอ่ืนไดตามหลักการนําไปใชไดโดยท่ัวไป (generalization) หรือหลักความเปน ตัวแทน (representativeness) แตผูท่ีสนใจ อาจนําผลการวิจัยไปประยุกตใชเปนแนวทางหรือ ปรับใชให เหมาะสมกับโรงเรยี นหรอื บรบิ ทของหนวยงานตนเองได

การวจิ ยั เชิงปฏบิ ตั ิการและการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม 45

คําจํากดั ความทใี่ ชในการวิจัย เพื่อให เกิดความเข าใจถูกต องและตรงกันในการวิจัยคร้ังนี้ผู วิจัยจึงกําหนดคําจํากัดความ

สําหรบั ศัพทเฉพาะท่ใี ชในการวิจัยครั้งน้ี ดงั นี้ 1.1 โรงเรียนขนาดเล็กที่เปนกรณีศึกษา หมายถึง โรงเรียนบานบึงฉิม สังกัดสํานักงาน

เขตพื้นท่ีการศกึ ษาขอนแกน เขต 1 มนี ักเรยี น 49 คน (ตั้งแต คนลงมา) เปดสอนระดับ อนุบาล และระดับชวงชนั้ ที่ 1 – 2 มีสภาพปญหาตามเกณฑทผ่ี วู จิ ัยกาํ หนด

1.2 งานวิชาการ หมายถึง ภาระงานและขอบขายงานทางวิชาการของโรงเรียนขนาดเล็ก ที่เปนกรณีศึกษา ท่ีผูวิจัยและผูรวมวิจัยรวมกันกําหนดข้ึนจากขอมูลแหลงตาง ๆ ตามหลักการ วธิ ีวจิ ยั เชิงปฏบิ ัติการแบบมีสวนรวม

1.3 การพัฒนางานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็ก หมายถึง การดําเนินงานตามระเบียบ วิธวี ิจยั เชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี วนรวม โดยการรวมกันคิด รวมกันปฏิบัติรวมกันสังเกตผล และ รวมกัน สะทอนผล โดยใชหลกั การบรู ณาการ เปนตวั สอดแทรกใหเกิดการเปล่ยี นแปลงและเรียนรู

1.4 หลักการบูรณาการ หมายถึง การผสมผสาน และการรวมกันในการรวมกันคิด รวมกัน ปฏิบัติร วมกันสังเกตผล และร วมกันสะท อนผลของความรู หรือส่ิงใด ๆ เข าดวยกันอย างมี ความสมเหตุสมผล แลวกอใหเกิดส่ิงใหมที่มีความสมบูรณมากข้ึนกวาเดิมสามารถนําไปใชได เพอื่ พัฒนางานวิชาการโดยใชกระบวนการวิจยั เชิงปฏบิ ตั ิการแบบมีสวนรวม

1.5 การวิจัยเชิงปฏิบตั ิการแบบมีสวนรวม หมายถงึ การวจิ ัยทมี่ รี ปู แบบเนนความเปน ศาสตร เชิงวิพากษ critical science) การนําเสนอผลการวิจัยที่อิงกับแนวคิดเชิงวิพากษ critical approach) แสดงหลักฐานประกอบ ท้งั ขอมลู สถิตภิ าพถาย เอกสาร หรืออื่นๆ ถึงสง่ิ ท่ีไดรวมกนั คดิ รวมกนั ปฏิบตั ริ วมกันสงั เกตผล และรวมกนั สะทอนผลการเปลี่ยนแปลง ท้ังที่สําเร็จและไมสําเร็จ และ การเรียนรูทีเ่ กดิ ขน้ึ ทง้ั ในระดับบุคคล ระดับกลุมผูรวมวิจัย และระดบั องคการ

ประโยชนทค่ี าดวาจะไดรบั ผลจากการวิจยั คร้งั นจ้ี ะเปนประโยชนในเชงิ วชิ าการและการนําไปใชในการแกไขปญหาและ

พัฒนางานวิชาการ ในโรงเรยี นขนาดเล็ก สงั กัดสํานกั คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ดงั นี้ 1.1 ในเชงิ วิชาการ 1.1.1 เปนการวิจัยท่จี ะกอให “เกดิ องคความรู” จากบคุ คลและผูเกี่ยวของใน หนวยงาน

ในการพัฒนางานวิชาการโดยใชหลักการบูรณาการเปนตัวสอดแทรก ในลักษณะเปน การพัฒนา องคความรูฐานรากจากการกระทาํ (grounded knowledge from doing)

1.1.2 เปนการวิจัยท่ีจะกอให “บุคคล” เกิดการเรียนรูข้ึน ท้ังในระดับบุคคล ระดับ

การวจิ ยั เชิงปฏบิ ตั ิการและการวิจัยเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมีส่วนร่วม 46

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ