กรณ ทำสม ดค ม อจดทะเบ ยนรถยนต หายต องทำอย างไร

ปัญหาโลกแตกระหว่างนายจ้าง กับ ลูกจ้าง ที่เกิดขึ้นทุกหน่วยงาน มีข่าวออกมาให้ได้ยินอยู่บ่อยๆ ซึ่งส่วนมากก็จะได้ยินข่าวว่านายจ้างเอาเปรียบ หรือ กดค่าแรงลูกจ้าง ให้ทำงานเกินเวลา จนทำให้ลูกจ้างต้องลาออกจากงานเพราะทนถูกเอาเปรียบไม่ไหว ซึ่งจริงๆแล้ว หากลูกจ้างคนไหนที่คิดจะลาออกและได้อ่านบทความนี้ อยากบอกว่า ไม่ว่าหน่วยงานไหน บริษัทไหน ก็มีโอกาสเกิดเหตุการณ์แบบนี้ขึ้นได้เสมอ การลาออกจึงไม่ได้การันตีว่า หน่วยงานหรือบริษัทใหม่จะดีกว่าเดิมเสมอไป หรืออาจจะเป็นการหนีเสือปะจระเข้ซะมากกว่า

ดังนั้น ทางที่ดีควรหันมาศึกษาหาความรู้เกี่ยว กฎหมายแรงงาน ที่จำเป็นในการทำงานจะดีกว่า เพื่อให้การทำงานอยู่ในกฎระเบียบ ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบ และมีข้อโต้แย้งเจ้านาย โดยถือกฎหมายเป็นหลักจะปลอดภัย และน่าจะเป็นทางเลือกที่ดีกว่าการลาออกนะคะ การคุยด้วยเหตุผลและกฎหมายจะทำให้นายจ้างไม่กล้าเอาเปรียบเรา เพราะรู้ว่าลูกจ้างมีความรู้เรื่องกฎหมายแรงงาน ซึ่งบทความนี้จะสรุปกฎหมายแรงงานที่จำเป็น ที่ลูกจ้างจะต้องรู้ เพื่อให้ทำงานได้อย่างสบายใจมากขึ้น

ทำไมต้องรู้กฎหมายแรงงาน

เพราะ กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่ระบุถึงสิทธิของลูกจ้าง และ นายจ้าง ไว้อย่างชัดเจน เพื่อที่ไม่เกิดการเอาเปรียบไม่ว่าฝ่ายไหนก็ตาม ซึ่งใน กฎหมายแรงงาน จะระบุถึงสิทธิต่างๆ สวัสดิการ วันหยุด ค่าแรง และความปลอดภัยในการทำงาน ทำให้ลูกจ้างสบายใจ หากรู้กฎหมายแรงงาน ก็จะลดการถูกเอาเปรียบ หรือได้รับค่าแรงไม่เป็นธรรม และทำงานได้อย่างมีคามสุขทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างเอง

ลูกจ้างได้ประโยชน์อะไรจากกฎหมายแรงงานบ้าง

1 ได้ค่าแรงที่เป็นธรรม ไม่ถูกกดค่าแรง ได้ค่าแรงที่เหมาะกับคุณวุฒิและตำแหน่งในการทำงาน

2 ได้รับสวัสดิการที่ลูกจ้างทุกคนพึงจะได้รับตามกฎหมายระบุ ทำให้ลูกจ้างมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

3 มีเวลาทำงานและพักระหว่างทำงานตามกฎหมาย กฎหมายกำหนดให้ทำงานทั่วไปทำงานไม่เกิน 8 ชั่วโมงต่อวัน และไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ส่วนงานที่เป็นอันตราย กำหนดให้ทำงานไม่เกิน 7 ชั่วโมงต่อวัน และไม่เกิน 42 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทำให้ลูกจ้างไม่ถูกใช้แรงงานหนักจนเกินไป หรือหากทำงานในวันหยุดก็ได้รับเงินเพิ่มตามที่กฎหมายกำหนด

ส่วนเวลาพัก กฎหมายแรงงาน ก็กำหนดให้มีเวลาพักอย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อวัน หากลูกจ้างต้องทำงานล่วงเวลาเกิน 2ชั่วโมง ก็ต้องจัดเวลาให้พักก่อนที่จะเริ่มงานอย่างน้อย 20 นาที

4 มีวันหยุดพักผ่อน กฎหมายแรงงานกำหนดให้มีวันหยุดอย่างน้อย 1 วันต่อสัปดาห์ หรือจะรวมเป็นวันหยุดสะสมก็ได้ตามลักษณะของงาน และต้องมีวันหยุดตามประเพณีไม่น้อยกว่า 13 วัน และวันหยุดพักผ่อนประจำปีไม่ต่ำกว่า 6 วันต่อปี

5 มีระบบการทำงานที่ปลอดภัย ได้มาตรฐาน ทำให้การทำงานเกิดความปลอดภัย ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และไม่เสียงเกิดอุบัติจากความไม่ปลอดภัยของการทำงาน ส่งผลต่อสวัสดิภาพของลูกจ้าง

6 การทำงานวันหยุด สำหรับลูกจ้าง กฎหมายแรงงาน กำหนดลูกจ้างทำงานล่วงเวลาได้ แต่ต้องไม่เกิน 36 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ซึ่งการทำงานล่วงเวลาในวันหยุดนี้ นายจ้างไม่มีความผิด หากลูกจ้างยินยอม และสภาพงานมีความจำเป็นที่ต้องทำต่อเนื่อง จนต้องทำงานล่วงเวลา

7 การลางานของลูกจ้าง ลูกจ้างมีสิทธิ์ลาป่วยได้ แต่ถ้าหากลาติดต่อกันเกิน 3 วัน ต้องมีใบรับรองแพทย์ และยังมีสิทธิ์ลาเพื่ออบรม ลากิจ ลารับราชการทหาร ลาคลอดบุตร

8 ค่าตอบแทนหรือค่าจ้างในการทำงาน ตามกฎหมายแรงงานมีการกำหนดค่าแรงขั้นต่ำไว้ ซึ่งนายจ้างห้ามจ่ายค่าแรงต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด และหากลูกจ้างมีการทำงานล่วงเวลา นายจ้างจะต้องจ่ายค่าจ้าง 1.5 เท่าของค่าจ้างปกติ โดยคิดเป็นรายชั่วโมง และเกณฑ์ยังนำไปคิดค่าจ้างในกรณีทำงานวันหยุด

9 ค่าชดเชยการเลิกจ้าง หากมีการเลิกจ้างลูกจ้าง กรณีที่ลูกจ้างไม่การกระทำความผิดใดๆ นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชยตามอายุการทำงานและเงินเดือนของลูกจ้าง

เห็นไหมว่า หากเรารู้ ” กฎหมายแรงงาน ” ที่จำเป็น ก็ทำให้ลูกจ้างและนายจ้างทำงานร่วมกันได้ โดยไม่มีฝ่ายไหนเอารัดเอาเปรียบกัน เพราะมีกฎหมายแรงงานกำหนดข้อปฏิบัติต่างๆไว้ เพื่อเป็นแนวทาง และลดปัญหาต่างๆในการทำงานได้เป็นอย่างดี แต่ที่เกิดปัญหาระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างปัจจุบัน เพราะไม่รู้กฎหมายแรงงาน เสียสละเวลาสักนิด เรียนรู้และศึกษากฎหมายแรงงาน เพื่อคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ดีขึ้น

เผยแพร่: 28 มิ.ย. 2556 09:31 โดย: MGR Online

นายธาริต เพ็งดิษฐ์ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือ ดีเอสไอ ระบุถึงการประชุมระหว่าง 7 หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบการครอบครองรถยนต์ที่มีพฤติการณ์หลบเลี่ยงภาษีในวันนี้ (28 มิ.ย.) ว่า จะเสนอให้ออกมาตรการดำเนินคดีกับผู้หลีกเลี่ยงภาษีศุลกากร โดยมีพฤติการณ์นำรถยนต์จดประกอบไปเปลี่ยนอุปกรณ์สำคัญบางชิ้น เพื่อตบตาเจ้าหน้าที่ว่าเป็นรถจดประกอบ ไม่ได้นำเข้าทั้งคัน โดยผู้ถือครองที่นำรถดัดแปลงสภาพในลักษณะดังกล่าว มีโทษในการหลีกเลี่ยงภาษี เท่ากับผู้ประกอบการที่เป็นตัวการในการหลีกเลี่ยงภาษีนำเข้ารถยนต์ ทั้งนี้ ขอตือนไปยังผู้ครอบครอบรถยนต์ขอให้นำรถเข้ามารับการตรวจสภาพ และนำเอกสารการนำเข้ามาแสดงต่อเจ้าหน้าที่ ซึ่งเบื้องต้น ดีเอสไอจะดูแลผู้ครองครองรถ และสันนิษฐานเป็นผู้บริสุทธิ์ไว้ก่อน และหลังจากนี้ จะประสานกรมการขนส่งทางบก ไม่อนุญาตให้ต่อทะเบียนประจำปี ซึ่งจะส่งผลให้รถจดประกอบหลีกเลี่ยงภาษีเป็นรถผิดกฎหมาย นำมาใช้บนท้องถนนไม่ได้ และไม่สามารถโอนขายได้

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ