กระป องอล ม เน ยม พร อมเคร องป ด

กล่องอเนกประสงค์ (Multipurpose Box)

นิภาพร โปตะ๊ โชตพิ งศ์ พธุ ลุงทุน

โครงการนี้เปน็ ส่วนหนงึ่ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้นั สงู สาขาวิชาการจดั การสานักงาน ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กิจ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเชียงใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2562

ใบรับรองโครงการ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเชียงใหม่

เรอื่ ง “กลอ่ งอเนกประสงค์ (Multipurpose Box)”

โดย นางสาวนภิ าพร โปต๊ะโชตพิ งศ์ รหสั 6132160013 รหสั 6132160018 นางสาวพุธ ลุงทุน

ได้รบั การรับรองให้นบั เป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษาตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี สาขาวิชาการจดั การสานักงาน ประเภทวชิ าบริหารธุรกจิ

............................................................... ….................................... ...................... (นางร่งุ ทิพย์ เตจะโส) (นายณรงคศ์ ักดิ์ ฟองสินธ์) รองผอู้ านวยการฝ่ายวิชาการ หวั หนา้ แผนกวิชาการเลขานุการ วันที.่ .........เดอื น.....................พ.ศ.......... วันท.ี่ ..............เดอื น................พ.ศ..........

คณะกรรมการสอบโครงการ

....................................................... ประธานกรรมการ (นางอรินทยา ใจเอ)

........................................................ กรรมการ (นางลภัสลดา สมบรู ณ)์

........................................................ กรรมการ (นางสาวพรสวรรค์ ปันธิ)

กิตตกิ รรมประกาศ

การจดั ทาโครงการ “กล่องอเนกประสงค์” สาเรจ็ ลุล่วงไปด้วยความเมตตา ชว่ ยเหลอื อยา่ งดยี ่งิ ของผู้อานวยการวิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเชียงใหม่ และรองผู้อานวยการทุกท่าน

โครงการนีม้ คี รูอรนิ ทยา ใจเอ เปน็ ท่ีปรกึ ษาโครงการคอยให้คาปรึกษา และให้ข้อเสนอแนะ ตา่ ง ๆ ในการปรับปรุงแก้ไข ต้งั แตแ่ รกเริ่มจัดทาโครงการ จนทาใหโ้ ครงการสาเร็จตามวตั ถุประสงค์ ด้วยดี นบั เปน็ พระคุณอยา่ งสูงแกค่ ณะผูจ้ ัดทาโครงการ

ขอขอบคุณผูส้ อนในรายวิชาต่าง ๆ ทีไ่ ด้ให้ความรู้แก่คณะผู้จดั ทาทีท่ าใหเ้ กิดความรู้ และมี ทักษะในรายวิชาต่าง ๆ จนสามารถดาเนินการจดั ทาโครงการในคร้งั น้ไี ด้เสร็จสมบรู ณ์

คณุ คา่ และประโยชน์จากการจดั ทาโครงการในครงั้ น้ี ขอมอบเปน็ กตเวทิตา แกค่ รู อาจารย์ และผเู้ กี่ยวข้อง ผใู้ หค้ วามสนับสนุน และเป็นกาลงั ใจแกค่ ณะผูจ้ ัดทาโครงการด้วยดีมาตลอดมา

นิภาพร โปต๊ะโชติพงศ์ พธุ ลงุ ทนุ

ช่ือ : นางสาวนิภาพร โปตะ๊ โชตพิ งศ์ : นางสาวพธุ ลงุ ทุน ชื่อโครงการ : กล่องอเนกประสงค์ (Multipurpose Box) สาขาวชิ า : การจัดการสานักงาน ประเภทวิชา : บริหารธุรกิจ อาจารย์ทป่ี รึกษาโครงการ : นางอรินทยา ใจเอ ปกี ารศกึ ษา : 2562

บทคัดย่อ

โครงการเรอ่ื ง “กล่องอเนกประสงค์ (Multipurpose Box)” มวี ตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้

  1. เพอ่ื การศึกษาขั้นตอนในการประดษิ ฐ์กล่องอเนกประสงคจ์ ากกระป๋องอะลมู เิ นยี ม 2) เพือ่ นาวสั ดุ ท่เี หลอื ใชม้ ารีไซเคิล ระยะเวลาในการดาเนินการ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562

กลมุ่ ตวั อยา่ งในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ครู บุคลากร และนักเรียน นกั ศกึ ษา วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเชียงใหม่

วิธีการดาเนนิ งานโดยผจู้ ดั ทาโครงการ เครื่องมือท่ีใช้ในการทาโครงการครง้ั น้ี ในการเก็บ รวบรวมข้อมลู ในการทาโครงการครัง้ นี้ ได้แก่ ไดผ้ ลิตกล่องอเนกประสงค์ จานวน 4 กล่อง โดยแบบ ประเมนิ มีการประเมณิ ค่า 5 ระดบั

ผลการดาเนนิ การจากแบบสอบถามความพงึ พอใจของผตู้ อบแบบสอบถามพบวา่ ในภาพรวม ของความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากทส่ี ดุ (4.81) โดยความคิดเหน็ ท่ีอยูใ่ นระดับมากท่สี ุดเรียง ตามลาดบั ดงั น้ี

ขนาดและน้าหนักมีความเหมาะสมต่อการใชง้ าน (4.94) สามารถต่อยอดส่เู ชิงพาณิชย์ได้ (4.92) สามารถนาวัสดเุ หลือใชม้ ารไี ซเคลิ ให้เกดิ ประโยชน์ (4.88) สามารถนาวสั ดุเหลอื ใช้มาเพม่ิ มูลค่า (4.88) วัสดุทน่ี ามาใช้ประดิษฐห์ าได้ง่ายและประหยัด (4.80) ความคดิ สร้างสรรค์ในการ ออกแบบ(4.84) ใช้บรรจุสงิ่ ของได้หลากหลายและไดป้ ริมาณมาก (4.84) ความแข็งแรง ทนทาน (4.76) มีความประณีตและสวยงาม (4.64) และความปลอดภัยในการใช้งาน (4.60)

บทท่ี 1 บทนา

1.1 ความเป็นมาและความสาคัขของโครงการ

ขยะเป็นปญั หาสาคญั ของหลาย ๆ ทอ้ งถิ่นเกอื บท่ัวโลก ในประเทศไทยถอื เปน็ ปัญหา สิ่งแวดลอ้ ม ที่สาคัญทเี่ กิดขนึ้ จากน้ามือมนุษย์ ซ่ึงมีปัญหาท่ีเกย่ี วเนอื่ งกนั ในหลายแง่มุม ไมว่ า่ จะเป็น พฤติกรรมการบริโภคและการแยกขยะจากตน้ ทาง การจดั การขยะที่ไม่ไดม้ าตรฐาน กอ่ ใหเ้ กดิ มลพิษ และไมเ่ กดิ การนากลับมาใช้ซ้า ปัญหามลพษิ และสิ่งแวดล้อม เชน่ ภาวะเรือนกระจกทม่ี สี าเหตุจาก การเผาขยะ ทีป่ ลอ่ ยกา๊ ซมเี ทนซัลเฟอร์กบั คาร์บอนไดออกไซต์ออกมา จนทาให้เกิดภาวะโลกรอ้ น และเป็นมลพิษทางอากาศ ผลกระทบของภาวะโลกรอ้ นนั้นสามารถระบุได้น้อยกว่าสาเหตขุ องมัน แตก่ ท็ าให้เกดิ ภัยพบิ ตั ริ า้ ยแรงได้ เช่น ระดับน้าในมหาสมุทรทีส่ งู ข้นึ ธารน้าแขง็ ละลาย และการหดตัว ลงของพ้นื ที่ขั้วโลก ผลกระทบรองลงมาก็คือภยั ธรรมชาติท่ีทวคี วามรนุ แรงขน้ึ เรื่อย ๆ และไม่สามารถ คาดเดาได้

ในชีวติ ประจาวัน จะเหน็ วา่ ตามแหล่งชุมชนบ้านเรือนหรือหมู่บา้ น แมก้ ระท่ังตามสถานศึกษา โรงเรยี นต่าง ๆ ผู้คนส่วนใหญ่นยิ มดมื่ เครื่องด่ืมจาพวกกาแฟสดกระปอ๋ ง นา้ อัดลมกระป๋อง หลังจาก ดมื่ เสรจ็ แล้ว จงึ ทิง้ ลงถังขยะ หรือเก็บไว้ช่งั กโิ ลขาย ซง่ึ การทง้ิ ขยะเหล่าน้ี เป็นปัญหาเร่ืองส่ิงแวดล้อม เพราะกระป๋องอะลูมิเนียมเป็นขยะท่ีไมส่ ามารถย่อยสลายไดใ้ นระยะเวลาอนั สนั้ ในการกาจัดขยะ นอกจากการฝังแลว้ อกี วิธหี น่ึงทค่ี นส่วนมากมักกระทาคือการเผา ซงึ่ ก่อใหเ้ กิดมลพษิ ทางอากาศ และ ทาให้เกดิ ภาวะเรือนกระจก หรือภาวะโลกรอ้ น ขยะกระป๋องที่ไมส่ ามารถย่อยสลายได้เหล่านี้ จึงถกู ท้ิง ไวอ้ ย่างไร้คุณค่าตามสถานท่ีต่าง ๆ ตามชุมชน หมบู่ ้าน หรอื โรงเรียน กลายเปน็ ปัญหาขยะตกคา้ ง ตามมา

ดังนั้น คณะผจู้ ัดทาโครงการจึงมแี นวคดิ ท่จี ะนากระป๋องอะลมู เิ นียมท่ีไม่ใช้แลว้ และถูกท้ิงไว้ อย่างไร้คุณค่า นามาประดษิ ฐ์เปน็ กลอ่ งใสเ่ อกสาร เนื่องจากมีคุณสมบตั ทิ ่ีแข็งแรง ทนทาน ทนตอ่ สภาพอากาศ นา้ หนักเบา โดยกลอ่ งท่ปี ระดิษฐจ์ ากกระป๋องนั้นคาดว่าจะสามารถบรรจสุ ่ิงของหรือ เอกสารได้เปน็ จานวนมาก

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.2.1 เพอื่ การศึกษาข้นั ตอนในการประดษิ ฐก์ ล่องอเนกประสงคจ์ ากกระปอ๋ งอะลูมเิ นียม 1.2.2 เพื่อนาวสั ดุทเ่ี หลอื ใช้มารไี ซเคิล

1.3 ขอบเขตโครงการ 1.3.1 เชงิ ปรมิ าณ กล่องอเนกประสงค์ประดษิ ฐจ์ ากกระปอ๋ งอะลมู ิเนยี ม จานวน 4 กลอ่ ง 1.3.2 เชิงคณุ ภาพ ผู้ทดลองใช้งานกล่องอเนกประสงค์จากกระป๋องอะลมู ิเนียม ร้อยละ 80

มีความพึงพอใจ

1.4 ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ บั 1.4.1 ไดร้ บั ความรูใ้ นขัน้ ตอนการประดิษฐ์กล่องอเนกประสงค์จากกระป๋องอะลูมิเนยี ม 1.4.2 สามารถเพิม่ มลู ค่าวสั ดุท่เี หลือใช้ของประเภทกระป๋องอะลูมิเนยี ม 1.4.3 กล่องอเนกประสงคส์ ามารถใชบ้ รรจสุ ง่ิ ของได้ 1.4.4 ลดปริมาณขยะประเภทกระป๋องอะลมู เิ นียม

1.5 นิยามศพั ท์ 1.5.1 กระป๋องอะลูมเิ นยี ม คอื บรรจุภัณฑโ์ ลหะที่ออกแบบมาเพื่อเกบ็ ของเหลวในปริมาณ

หนึ่ง ๆ ไว้เช่นน้าอัดลมอดั แก๊ส เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ นา้ ผลไม้ ชาสมุนไพร เครอื่ งดืม่ ชูกาลงั เปน็ ต้น 1.5.2 รไี ซเคิล คอื เปน็ การจดั การวัสดุเหลอื ใช้ท่กี าลังจะเปน็ ขยะ โดยนาไปผ่าน

กระบวนการแปรสภาพ โดยเฉพาะการหลอม เพื่อใหเ้ ป็นวัสดใุ หมแ่ ลว้ นากลบั มาใช้ไดอ้ ีก ซงึ่ วสั ดุที่ ผา่ นการแปรสภาพนั้นอาจจะเปน็ ผลิตภณั ฑเ์ ดมิ หรือผลิตภัณฑใ์ หม่กไ็ ด้

บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง

ในการจัดทาโครงการ “กล่องอเนกประสงค์”กลุ่มผู้จัดทาโครงการได้รวบรวมแนวคดิ ทฤษฎี และหลักการตา่ ง ๆ จากเอกสารที่เกยี่ วข้อง ดังหวั ข้อต่อไปนี้

2.1 ประวัตขิ องกระปอ๋ งอลูมเิ นียม 2.2 อลมู เิ นยี มคอื อะไร 2.3 ความร้เู กย่ี วกบั กระป๋องอะลูมิเนียม 2.4 ภยั จากกระป๋องอลมู ิเนียม 2.5 ผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อม 2.6 งานวิจยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง

2.1 ประวตั ิของกระป๋องอลูมเิ นียม

การทานอาหารกระปอ๋ ง คือการพัฒนาหลงั จากประวัตศิ าสตรอ์ ันยาวนานของการเก็บรักษา อาหารของมนุษย์ เชน่ อาหารแหง้ เคม็ และหมกั อาหาร ซ่ึงการรักษาอาหารด้วยความร้อนรักษาแล้ว ปดิ ผนกึ บรรจุภาชนะอัดลมเริ่มมีการทาหลงั จากนน้ั ในปี พ.ศ. 2338 นโปเลยี นมหาราชนาเสนอ รางวัลสาหรับคนใดคนหน่ึงสามารถพฒั นาความปลอดภยั และวิธีการเกบ็ รักษาอาหารทเี่ ชือ่ ถือได้ สาหรับกองทัพในการเดนิ ทาง ซง่ึ มีบคุ คลได้ตอบรบั คือ นิโคลัส และประมาณ 15 ปีต่อมาแนะนา วิธีการทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับอาหารกระบวนการทาความร้อนในขวดแก้วเสรมิ ดว้ ยลวดและการปิดผนกึ ดว้ ย ข้ผี งึ้ (Meredith, 2013)

การศึกษาประวัตศิ าสตรข์ องบรรจุภณั ฑ์ บคุ คลท่ีได้รับการกล่าวขวญั มากท่ีสดุ คอื ผูป้ ระดิษฐ์ บรรจภุ ณั ฑท์ ีส่ ามารถเกบ็ รักษาอาหารได้ เปน็ ชาวเปอรเ์ ซยี นทชี่ อ่ื นโิ คลัส แอปเปทิ ซึง่ ได้รับรางวัล จากจกั รพรรดนิ โปเลยี น ในฐานะที่เปน็ คิดค้นบรรจภุ ัณฑ์ ท่ีสามารถเกบ็ รักษาอาหารไว้เปน็ เสบยี งแก่ ทหาร บรรจภุ ัณฑอ์ าหารดังกล่าวนีจ้ ะใชข้ วดแกว้ พร้อมจุกทป่ี ดิ สนิทแน่น และสามารถฆ่าเชื้อดว้ ย ความรอ้ นได้ หลกั การถนอมอาหารดว้ ยการฆา่ เชอื้ ดว้ ยความร้อนนี้ ได้รับการววิ ัฒนาการตอ่ โดยใช้เปน็ กระป๋องโลหะโดยชาวอังกฤษทช่ี ื่อ ดอนกิ้น และฮอลล์ ซ่ึงเปน็ ผูซ้ อ้ื ลิขสิทธ์ิการผลิตในองั กฤษจาก แอปเปิท ดว้ ยเหตนุ ้ี แอปเปิท จึงได้รับเกียรตใิ นฐานะผ้คู ิดค้นบรรจุภณั ฑก์ ระป๋องโลหะทส่ี ามารถ ฆา่ เชือ้ ได้เปน็ คนแรก หลงั จากนั้นมีการพฒั นาให้อยู่ในรปู กระป๋องอย่างแท้จริง (เมือ่ เทยี บกบั "ขวด" หรอื "ขวดโหล") โดยปี พ.ศ. 2353 มคี นองั กฤษ ชื่อ ปเี ตอร์ ดรู ลั ไดน้ าวิธกี ารสาหรบั การปิดผนกึ อาหารในภาชนะท่ีไม่แตก คือกระป๋องนั้นเอง และถูกใชเ้ ป็นเชงิ พาณชิ ยค์ รงั้ แรกในปี พ.ศ. 2455 ที่ สหรัฐอเมริกา โดยโทมัส เคนเซต เกอื บหนึง่ ศตวรรษหลัง จากน้นั หลุยสป์ าสเตอร์กส็ ามารถทจี่ ะแสดง ให้ทุกคนเห็นวา่ การเจริญเตบิ โตของเชอ้ื จุลนิ ทรีย์ภายในกระปอ๋ งจะทาใหเ้ กิดอาหารเสยี และบรโิ ภค ไม่ได้ ในเวลานัน้ สหรัฐมสี งครามกลางเมืองผ้คู นเก็บรักษาอาหารในขวดแก้ว ซ่ึงขวดแกว้ เหล่าน้ยี ังคงมี อยใู่ นปจั จุบันนแี้ มว้ า่ จะใช้กนั อย่างแพร่หลายในขณะนี้ ใช้สาหรับการจดั เกบ็ สินคา้ แห้งมากกว่าการใช้ อาหารบรรจุกระปอ๋ ง ในปี พ.ศ. 2401 จอหน์ เมสัน คิดค้นภาชนะแกว้ ท่ีมดี ้ายสกรทู ีข่ น้ึ รูปเป็น ดา้ นบนและฝาปดิ ทีม่ ซี ลี ยาง ขวดลวดบีบ ขณะเดียวกันในช่วง พ.ศ. 2343 ชารล์ ส,์ วลิ เลียม บอลล์

และพีน่ ้องของเขาได้ทาธุรกิจการเกบ็ รักษาอาหารและเร่มิ ซือ้ บรษิ ัทขนาดเล็ก และพวกเขาได้ กลายเป็นผู้นาในอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ต่อมาในปี พ.ศ. 2458 เคอร์ ได้พัฒนาความคิดของฝา โลหะทีม่ ีปะเกน็ ติดถาวรทผ่ี ู้ชายคนหนง่ึ ชื่อ จูเลยี ส แลนสเบอเจอส์ ได้คิดค้นโลหะทม่ี ปี ะเกน็ ที่ คลา้ ยกันจดั ข้นึ ในสถานที่โดยแหวนโลหะเกลยี ว ฝากระปอ๋ ง 2 ชนิ้ ที่ทนั สมัยเกดิ ข้ึน (Meredith, 2013)

2.2 อลมู เิ นียมคอื อะไร

อะลมู เิ นยี ม หนึง่ ในวัสดทุ มี่ ีการใชง้ านอยา่ งแพรห่ ลายทัว่ โลกตัง้ แตบ่ รรจุภณั ฑ์ไปจนถงึ บาน ประตู ทาให้ปัจจุบนั มีวัสดเุ หลือใช้จากอะลมู เิ นียมเกิดขึ้นจานวนมากทาให้การนาวสั ดุเหลือใชเ้ หลา่ นี้ กลายเป็นความสาคัญตอ่ ทรัพยากรโลกทมี่ ีอยู่อย่างจากดั

อะลูมิเนยี มนน้ั เปน็ แรธ่ าตุท่สี ามารถพบได้ทวั่ ไป และอาจหาได้งา่ ยดายอย่างมากแต่ทว่าสิ่งท่ี ทาให้อะลูมเิ นยี มมีราคาสงู คือ วิธกี ารสกัดออกมา นอกจากน้อี ะลมู เิ นียมยงั ต้องการอณุ หภมู ิที่สงู ถึง 660 องศาเซลเซียสในการหลอมละลายอกี ดว้ ย ในอดีตเคยมีชว่ งเวลาที่อะลูมเิ นียมนนั้ มีราคาสูงกวา่ ทองคาดว้ ยซา้ ซึ่งการใช้งานกระปอ๋ งอะลมู ิเนยี มครั้งแรกเกิดขึน้ เมื่อปี 1959 ในสหรฐั อเมรกิ าโดยใช้ เพอ่ื บรรจเุ บยี ร์ และการรีไซเคลิ เรม่ิ มาตั้งแตช่ ่วงเวลานั้น ผทู้ ่ีนากระปอ๋ งมาคืนจะได้รบั เงินราว 1 เซนต์ โดยข้ันตอนการรีไซเคิลเบื้องตน้ มดี งั น้ี

1. ระบบจะทาการคดั แยกอะลมู ิเนียมออกจากวสั ดุอน่ื ๆ 2. ทาความสะอาดอะลูมิเนยี ม 3. นาวสั ดทุ ่ีสะอาดแล้วเข้าเตาหลอมทม่ี ีอุณหภูมิสงู ถงึ 730 องศาเซลเซยี ส 4. เมือ่ อะลมู ิเนียมหลอมละลายและสัมผสั กับอากาศจะเกิดอะลูมิเนยี มออกไซด์เกาะ ต้องใช้

เครอ่ื งจักรในการนาเศษเหล่านอ้ี อกจากเตาเผา 5. โลหะเหลวที่ได้จากการหลอมละลายจะถูกลาเลยี งไปสู่แม่พิมพเ์ พอ่ื ทาการขน้ึ รปู 6. แท่งโลหะที่ไดจ้ ะมีขนาดใหญ่มาก จากคลปิ วิดีโอมขี นาดสงู กว่า 10 เมตร หนกั 27 ตัน ใช้

กระป๋องรีไซเคลิ กวา่ 1.5 ล้านกระป๋อง 7. แท่งโลหะที่ไดจ้ ะถกู นาไปผ่านกระบวนการแปรรูปใหม้ ีความหนาเพียง 1/4 มิลลิเมตร ทาให้

ได้ความยาวกว่า 10,000 เมตร หลงั การรดี แปรรูป

2.3 ความรเู้ กย่ี วกับกระป๋องอะลูมิเนียม

กระป๋องอลูมิเนยี มในเคร่ืองด่ืมเปน็ ตัวอยา่ งทด่ี ขี องกระป๋องเครอ่ื งด่ืมกระปอ๋ งวัสดุอลูมิเนียม ในการปอ้ งกันสงิ่ แวดล้อมและการลดความไดเ้ ปรียบตน้ ทุนการผลิตจะค่อย ๆ เกดิ ขน้ึ ปัจจุบนั การ พัฒนากระปอ๋ งเครื่องด่มื อลมู ิเนยี มมี 3 ลักษณะสาคัญคือ Yilagai ถงั พิเศษเคร่ืองทาความร้อนดว้ ย ตนเองและเคร่ืองทาความเยน็ ด้วยตวั เอง แมว้ า่ กระป๋องเครื่องดื่มอลมู ิเนยี มบรรจกุ ระป๋องบรรจุภณั ฑ์ โลหะเปน็ แผน่ โลหะดบี ุกและความทา้ ทายดา้ นวสั ดุ PET แตเ่ นือ่ งจากนา้ หนักเบา และมีข้อได้เปรียบ ในการรไี ซเคลิ รปู แบบบรรจภุ ัณฑเ์ คร่ืองด่ืมที่สาคัญอย่างหน่ึงกย็ งั คงเป็นปัจจบุ นั อยู่เท่าน้ันที่จะได้รบั การพฒั นาทม่ี นั่ คง แตย่ งั อยูใ่ นการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่องและนวตั กรรมตลาดบรรจุภัณฑ์เคร่อื งดื่มเปน็ ตลาดท่ีใหญ่ท่สี ดุ แห่งหนง่ึ ในตลาดบรรจุภณั ฑ์โลหะ เพื่อปรับปรุงผลแบรนดร์ ปู รา่ งของกระปอ๋ ง อลมู ิเนยี มมีความสาคัญมากขึ้นนอกเหนือจากคุณสมบัตเิ งินและสขี าวของอลูมเิ นียม ดงั น้นั ผู้ผลิต

อปุ กรณ์การขึ้นรูปโลหะจึงกล่าวถงึ กระบวนการผลิตกระปอ๋ งอลูมิเนยี มและนูน นกั วิจัยกาลงั ศกึ ษาถงึ การพฒั นากระป๋องอลมู ิเนยี มสาหรับการข้นึ รูปโรล การปั้นขึน้ รปู และการขึ้นรูปซ่ึงจะใช้เป็นครั้งแรก ในกระป๋องเบยี ร์ในอนาคตอนั ใกลน้ ้ี การใชก้ ระป๋องอลูมิเนียมสาหรบั เคร่ืองดื่มเช่นเบยี รแ์ ละโซดา ไดเ้ พิ่มการใช้ผลติ ภณั ฑ์อลมู เิ นยี มในขณะที่อุตสาหกรรมอ่ืน ๆ ยงั พจิ ารณาการใช้กระป๋องอลูมเิ นยี ม

2.4 ภยั จากกระปอ๋ งอลูมิเนียม

อลมู เิ นยี มเปน็ ธาตุโลหะท่ีพบไดแ้ พร่หลายในชวี ติ ประจาวัน อลูมเิ นยี มถกู นามาใช้เป็น ส่วนประกอบในอตุ สาหกรรมการผลติ หลายแขนง เชน่ อตุ สาหกรรมกระปอ๋ งบรรจุอาหารและ เครอ่ื งด่ืม ชิ้นสว่ นเครือ่ งบิน เครื่องใช้ไฟฟ้า ชนิ้ ส่วนเครือ่ งดนตรี ช้นิ ส่วนเครื่องประดับ ใชใ้ นงาน อิเลก็ ทรอนิกส์ ท้ังยังเปน็ สว่ นผสมในเม็ดงานขัดพื้นผิว เปน็ ตน้ นอกจากในงานอตุ สาหกรรม เรายงั สามารถพบอลูมเิ นียมในน้ายาลา้ งไต สารประกอบของอลมู เิ นยี มบางชนิด ยงั ถกู ใชเ้ ปน็ สารเตมิ แตง่ ในอาหาร เช่น Aluminium ammonium Sulfata, Sodium aluminium phosphate ทงั้ เป็น ส่วนผสมในยาลดกรด ยาแก้ปวดแอสไพริน อกี ด้วย อนั ตรายจากอลูมเิ นยี ม จากประโยชนท์ ีม่ ากมาย ของอลูมิเนียม รู้หรือไม่อันตรายจากอลูมเิ นียมก็มมี ากเช่นกัน หากร่างกายไดร้ บั อากาศ น้า หรอื อาหาร ซ่ึงปนเป้ือนของโลหะอลูมิเนยี มในปริมาณทีม่ ากหรือแม้ปริมาณเลก็ น้อยแตส่ ะสมในร่างกาย เปน็ เวลานาน จะส่งผลให้รา่ งกายมีความผดิ ปกตหิ รือเกดิ ภาวะพิษข้ึนหลายดา้ น เชน่ พษิ ตอ่ ปอด (Aluminium Lung Disease) พิษต่อกระดกู ทาให้เกดิ ภาวะกระดูกบาง (Osteomalaia) พษิ ต่อ ระบบประสาท เช่น สน่ั กล้ามเนอ้ื กระตุก เส่ยี งตอ่ อาการสมองเส่ือม และอัลไซเมอรเ์ ส่ยี งต่อมะเร็ง กระเพาะปสั สาวะและมะเรง็ ปอด

2.5 ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม

การเกิดมลพิษทางส่งิ แวดล้อม การดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั จากทีเ่ คยสุขสบายก็อาจจะเกิดเป็น ทุกขเ์ กิดเหตุเดือดร้อนราคาญ เกดิ โรคภัยไขเ้ จบ็ ดงั เช่น น้า อาหารทีด่ ่ืมกนิ ถ้าสกปรกกจ็ ะเกิดเป็นโรค อจุ าระรว่ ง ไทฟอยด์ หรือโรคที่เป็นพิษทางสารเคมี อากาศรอบ ๆ ตวั ถา้ เปน็ พิษ หายใจเข้าไปกเ็ กิด เปน็ โรคเกยี่ วกับระบบหายใจ การถา่ ยทิ้งของเสีย ถ้าไม่มีระบบเกบ็ กาจดั ทถี่ ูกตอ้ งกจ็ ะเป็นทีน่ า่ รงั เกียจ สง่ กลนิ่ เหมน็ รบกวน เป็นแหล่งแพร่กระจายเชอ้ื โรค ในการประกอบอาชีพต่าง ๆ สภาพแวดลอ้ ม ในการทางานไม่เหมาะสมก็จะเกิดโรคทเี่ กย่ี วกับการประกอบอาชีพนัน้ ๆ ได้ ในยามพักผอ่ นนอนหลับ ถา้ มกี ลนิ่ เหม็นรบกวน และมีเสยี งดงั รบกวน หรือที่เรยี กว่ามลพษิ ทางเสียง ทาให้การหลับนอน พกั ผ่อนได้ไม่เต็มทีก่ ็เกดิ อาการอ่อนเพลยี เจ็บไขไ้ ด้ง่าย และถ้ามคี วามเครียดอีกดว้ ยอาจทาให้ เกิดสขุ ภาพจติ ไม่ดี

ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์ในโลกมีมากมายหลายระบบอาทิเชน่ ระบบ นิเวศน์ในทุ่งนา ระบบนเิ วศนใ์ นทะเล ระบบนิเวศน์ในสระน้า ระบบนิเวศนใ์ นป่า แต่เม่อื เกิด สภาพแวดล้อมเส่ือมโทรมลงระบบนิเวศนเ์ หลา่ นมี้ ักเกดิ การเปล่ียนแปลง ยกตวั อยา่ งเชน่ ระบบ นิเวศนใ์ นป่า ถา้ เกิดระบบนิเวศนเ์ สียไป ผลเสยี ท่จี ะตามมาคือป่าก็จะหมดสภาพ สัตวท์ ่ีอาศยั อยู่ก็ กระจดั กระจายจากการเป็นระบบไปสู่ความไม่มีระบบ ถา้ ย่ิงเป็นป่าต้นนา้ ลาธารถูกทาลาย ระบบ นิเวศน์สลายไป ผลกระทบต่อปรมิ าณน้าลดลงลกั ษณะของน้าเปลยี่ นไป ส่งิ ทต่ี ามมาก็เกิดสภาพดนิ เสือ่ มโทรม นา้ ท่วมโดยฉับพลันอยู่เสมอ ๆ เพราะไม่มปี า่ ชว่ ยทาหน้าที่เปน็ เขื่อนธรรมชาติก้ันไว้ และ

สดุ ท้ายพ้นื ทีน่ ้นั ๆ กอ็ าจจะกลายสภาพเปน็ ทะเลทรายไดใ้ นทส่ี ดุ ในแหลง่ ที่อยู่อาศยั อนื่ ๆ กเ็ ชน่ กนั ถ้าสภาพสิง่ แวดลอ้ มเสอื่ มโทรมลง ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์กจ็ ะมีอย่างมากมาย และผลเสยี กจ็ ะมา สมู่ นษุ ย์ ทัง้ ในการดาเนินชวี ติ แต่ละวนั และทั้งการเกิดโรคภยั ไข้เจ็บอีกด้วย

2.6 งานวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง

สุปราณี ศิริอาภานนท์ (บทคัดยอ่ : 2561) ปญั หาเร่อื งการจัดการขยะมูลฝอยยังคงเป็น ปัญหาหลักของประเทศไทย โดยเฉพาะขยะรไี ซเคิลท่ีใชเ้ วลาในการย่อยสลายยาวนาน และสง่ ผล กระทบต่อสงิ่ แวดล้อม การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยและขยะรไี ซเคิลของประเทศไทยได้ถูกกาหนด เปน็ วาระแห่งชาติแล้ว ทางด้านแนวคิดและหลกั การนั้นมีความสอดคล้องไปในทิศทางเดยี วกับของ ตา่ งประเทศ แต่แนวทางการนาไปสู่การปฏิบัตยิ งั ไมช่ ดั เจนและเปน็ ระบบ ซง่ึ แนวทางการจัดการขยะ ของตา่ งประเทศนน้ั จะเน้นแนวทางการจัดการท่ีต้นทาง น่ันคอื การป้องกันการเกดิ ขยะ โดยการลด การใชห้ รอื การใชผ้ ลิตภณั ฑ์ทเ่ี ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม พร้อมใหค้ วามรู้ และระบบเสริมแรงจูงใจ ในการจดั การขยะรีไซเคลิ จะเป็นในลักษณะรัฐร่วมมือกับภาคเอกชน หรือมอบให้เอกชนเข้ามาดาเนนิ การ และที่สาคัญการบริหารจัดการของภาครัฐและภาคนิตบิ ัญญัติ จะทาควบคกู่ นั ไปอย่างเป็นระบบ บทความนนี้ าเสนอประสบการณก์ ารดาเนนิ การจดั การขยะของประเทศต่าง ๆ และนาเสนอแนวทาง การนาไปประยกุ ต์ใช้สาหรับประเทศไทย

เอกรนิ ทร์ วทัขญูเลิศสกุล (บทคัดยอ่ : 2562) ในปัจจุบนั ขวดน้าพลาสตกิ และกระป๋อง อะลมู เิ นียมเปน็ บรรจภุ ณั ฑ์ทใี่ ช้ในการอปุ โภคบริโภคท่ีมปี ริมาณเพ่ิมมากข้ึนเร่ือย ๆ หากไม่มี กระบวนการคดั แยกท่ีเหมาะสมอาจกลายเป็นขยะมลพิษที่สง่ ผลต่อส่งิ แวดลอ้ มเปน็ อย่างมาก วธิ กี าร ลดมลพษิ จากขยะดังกล่าว เช่น การนามาใชใ้ หม่หรือนามาประยุกต์ใช้ซ้าท่เี รยี กวา่ การรีไซเคิล จงึ เป็น แนวทางในการปรับเปลีย่ นขยะทม่ี ีใหม้ ลู ค่าและสามารถเพิ่มเปน็ รายไดไ้ ดอ้ ีกทางหนงึ่ คณะผ้วู จิ ยั จงึ ได้ คิดหาวธิ แี ก้ไขปญั หาท่ีเกดิ ขนึ้ โดยได้ทาการศึกษาและรวบรวมขอ้ มลู เพ่อื พฒั นาเครอื่ งรับซ้อื บรรจุภัณฑ์รไี ซเคิลสาหรับโครงการธนาคารขยะ เพอื่ ส่งเสริมกิจกรรมธนาคารขยะและปลกู จิตสานกึ ท่ีดขี องคนในชมุ ชน ในการชว่ ยป้องกันการเกิดปญั หาขยะท่ีทาลายสิ่งแวดล้อมได้ ผลการทดลองพบว่า เครือ่ งรบั ซ้ือบรรจภุ ัณฑร์ ีไซเคิลสาหรบั โครงการธนาคารขยะ มีความสามารถในการคดั แยกประเภท ของกระป๋องขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ กระป๋องเหล็ก และขวดพลาสตกิ ได้ โดยคดิ เปน็ ค่าเฉลย่ี โดยรวมถกู ต้องได้รอ้ ยละ 99.60 และประสิทธิภาพในการบีบอดั สามารถลดขนาดของ บรรจภุ ัณฑ์ทุกประเภทได้ คดิ เป็นค่าเฉล่ียรอ้ ยละ 54.33

สุพิศ เสยี งก้อง (บทคดั ย่อ : 2562) บทความวชิ าการน้กี ลา่ วถึงชวี ติ ทสี่ องของบรรจุภณั ฑ์ ทีจ่ ะเกิดข้ึนหลงั จากการใช้งานบรรจุภัณฑ์ในคร้ังแรก โดยทบ่ี รรจภุ ัณฑส์ ่วนใหญ่ทามาจาก 4 วัสดุ หลกั ได้แก่ กระดาษ โลหะ แก้ว และพลาสตกิ ทง้ั นี้บรรจภุ ณั ฑ์มักจะใช้งานครงั้ เดียวแลว้ ถูกท้งิ เปน็ ขยะมีปริมาณมากขน้ึ เรอ่ื ย ๆ กอ่ ปัญหาใหก้ บั ส่งิ แวดล้อม โดยเฉพาะพลาสติกซึง่ บางชนดิ ไม่ย่อย สลายในธรรมชาติทาใหเ้ ป็นพิษต่อสง่ิ แวดล้อมอย่างมาก การสรา้ งชีวติ ทีส่ องใหก้ บั บรรจภุ ัณฑก์ ็เป็น แนวทางหนึ่งของการกาจัดขยะหรือลดจานวนขยะและยังได้มาซ่ึงผลติ ภัณฑ์ใหม่ ๆ ใชง้ านได้ โดยที่ เกิดประโยชนห์ ลายทางท้ังลดการใชพ้ ลงั งาน ลดการใชว้ ัสดุใหม่ และลดปญั หาสิง่ แวดลอ้ มในท่สี ดุ

ในการเกดิ ชวี ติ ที่สองของบรรจุภณั ฑน์ นั้ ทาไดใ้ น 3 แนวทาง ไดแ้ ก่ 1. การนาบรรจภุ ัณฑ์ใชแ้ ลว้ มาใช้ซา้ (Reuse) เช่น การนาขวดแกว้ ใชแ้ ล้วมาบรรจผุ ลิตภณั ฑ์อ่ืน ๆ ใช้งานต่อไป 2. การนาบรรจุภัณฑ์ใช้แล้ว กลบั เขา้ สู่กระบวนการผลติ อีกครง้ั (Recycle) เช่น การนาขวดนา้ ด่มื พลาสติกใชแ้ ลว้ มาหลอมข้ึนรูปเป็น เส้นใยทอพรม หรือผา้ รม่ ใช้งานไดอ้ ีกคร้ัง 3. การนาบรรจุภณั ฑใ์ ช้แล้วมาแปรสภาพ (Upcycle) เป็นผลิตภณั ฑ์ใหม่ เชน่ นาถุงป๋ยุ มาตดั เย็บเปน็ หมวก กระเปา๋ หรือ นาขวดแก้วใชแ้ ลว้ มาทาเปน็ โคมไฟ เปน็ ต้น โดยที่ท้ังสามวธิ กี ารสามารถทาไดต้ ้ังแต่ระดบั บคุ คลไปจนถงึ ระดับองค์กร ในปัจจุบนั กม็ ีการ สง่ เสรมิ ทั้งภาครัฐและเอกชน ในการจดั การกับขยะบรรจภุ ัณฑซ์ งึ่ จะได้ประโยชน์ด้านส่งิ แวดล้อมและ ก่อเกิดชีวิตท่สี องของบรรจภุ ัณฑ์ใชง้ านได้อีกคร้ัง

อานาจ วงศบ์ ัณฑิต (บทคัดยอ่ : 2562) ประเทศไทยประสบกับปัญหามลพิษทางอากาศ ซ่งึ เกิดจากหลายแหลง่ เช่น อุตสาหกรรม การทาเหมอื ง การขนสง่ การเกษตร และการเผาในทโ่ี ลง่ เปน็ ต้น แต่การศึกษานี้จะนาเสนอเฉพาะปญั หามลพิษทางอากาศที่เกดิ จากการขนส่งโดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ จากยานพาหนะทางบกวา่ มีกฎหมายอะไรทส่ี ามารถนามาใชป้ อ้ งกนั แก้ไขหรือบรรเทาปญั หา มลพิษดงั กล่าว โดยมกี ารนาไปเปรียบเทียบกบั กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องของสหภาพยโุ รปทีม่ ีอทิ ธพิ ลต่อ แนวความคดิ ของกฎหมายไทยในเรอ่ื งนี้

กฎหมายของประเทศไทยทเ่ี กี่ยวขอ้ งอาจแบง่ ออกได้เป็นสามกลุ่มคือ กลุม่ แรกเปน็ กฎหมาย ท่ีใช้ควบคุมมาตรฐานการผลิตยานพาหนะ เครือ่ งยนตแ์ ละอปุ กรณ์ท่เี กีย่ วข้องซ่ึงสามารถกาหนด มาตรฐานผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรมสาหรับการปล่อยมลพษิ จากยานพาหนะท่ีผลิตขนึ้ มาได้ มาตรฐาน ดังกลา่ วได้นามาจากมาตรฐานท่ีใช้อยู่ในสหภาพยโุ รปในอดีต แตเ่ น่อื งจากว่าสหภาพยุโรปไดพ้ ฒั นา และประกาศใชม้ าตรฐานใหม่แลว้ ทาให้มาตรฐานดังกลา่ วในประเทศไทยมคี วามเขม้ งวดนอ้ ยกวา่ มาตรฐานของสหภาพยุโรปในปัจจบุ นั

นอกจากจะกาหนดมาตรฐานควบคมุ การผลิตเครอ่ื งยนต์แล้ว การกาหนดมาตรฐานคณุ ภาพ ของเชื้อเพลงิ ทีน่ าไปใช้กับเครื่องยนตก์ ็มีความสาคัญเพราะจะมีผลตอ่ อากาศเสยี ที่ถกู ปล่อยออกจาก เครอ่ื งยนต์ ประเทศไทยมกี ฎหมายท่กี าหนดมาตรฐานคุณภาพน้ามนั เชอ้ื เพลงิ ซงึ่ รบั แนวความคิดของ สหภาพยโุ รปมาใช้ แต่มาตรฐานยงั ไม่มคี วามเขม้ งวดเทา่ กบั ของสหภาพยุโรป โดยเฉพาะอย่างย่ิง ปรมิ าณของกามะถันท่ีอนญุ าตในน้ามนั เชื้อเพลงิ

กฎหมายกลมุ่ ทส่ี ามของประเทศไทยใชค้ วบคุมยานพาหนะท่ีจะนามาจดหรอื ต่อทะเบียนหรอื กาลงั ใชง้ านอยู่ในถนน โดยการกาหนดมาตรฐานการปลอ่ ยอากาศเสีย หากยานพาหนะใดไม่ผ่าน มาตรฐานดังกล่าวก็จะไมส่ ามารถจดหรอื ต่อทะเบียนไดจ้ นกว่าจะมีการแก้ไขปรับปรงุ พรอ้ มกันนี้ กฎหมายบางฉบับในกลุ่มนี้มีบทลงโทษของการฝ่าฝนื มาตรฐานดงั กลา่ วดว้ ย แนวความคิดขา้ งต้น ปรากฏอย่กู ฎหมายของสหภาพยุโรปเช่นกัน เพียงแตก่ ฎหมายของสหภาพยุโรปกาหนดมาตรฐานการ ปลอ่ ยอากาศเสยี ที่เขม้ งวดกว่ามาตรฐานของประเทศไทยในบางเรอื่ ง

กล่าวโดยรวมแล้ว ประเทศไทยมกี ฎหมายระดบั พระราชบัญญัตเิ พียงพอในการจดั การกับ ปญั หามลพิษทางอากาศจากยานพาหนะ แตก่ ็ควรตอ้ งมีการปรับปรงุ กฎหมายบางประเด็นโดยเฉพาะ อยา่ งยิ่งกฎหมายลาดบั รองเพ่ือเพ่ิมประสทิ ธภิ าพของกฎหมายในการแกไ้ ขปัญหาดงั กลา่ ว เช่น การ กาหนดมาตรฐานการปล่อยมลพษิ จากยานพาหนะทางบกและมาตรฐานของน้ามันเชอื้ เพลิงให้สงู ข้ึน

เทียบเท่ามาตรฐานของสหภาพยุโรป การปรับปรุงใหม้ าตรฐานท่อี อกภายใต้กฎหมายแต่ละฉบับเป็น ระบบเดยี วกัน และมกี ารประสานงานระหวา่ งหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งในการบังคบั ใชก้ ฎหมาย

ลัดดา มาหนู (บทคัดย่อ : 2559) กล่องรอ้ ยใจรีไซเคิล เป็นกลอ่ งท่ที าจากวสั ดทุ ่ใี ช้แล้ว นามาประดิษฐเ์ ปน็ กล่องรูปร่างสวยงาม ใสป่ ากกา ดินสอ และของใช้บนโตะ๊ ทางาน โดยทกุ คนช่วยกัน เกบ็ สะสมส่งิ ของ แลว้ นามารวมกนั เป็นการร้อยใจเข้าเปน็ หนึ่งเดยี ว จึงมีชือ่ เรยี กวา่ กล่องรอ้ ยใจ รไี ซเคิล เพราะแม่บ้านจะเกบ็ แกนกระดาษทชิ ชทู ่ีใชใ้ นห้องน้าไว้ ซองหอ่ กระดาษเอ 4 และหนา้ โฆษณาในวารสารตา่ งประเทศ พนกั งานถา่ ยเอกสารและเจ้าหน้าท่งี านวารสารจะนามารวมไว้ จากนนั้ ชว่ งพกั ทุกคนจะมานัง่ มว้ นกระดาษเปน็ หลอดดดู รอให้แหง้ แล้วนามาตดิ ขา้ งแกนกระดาษทชิ ชู เดมิ สิง่ เหลา่ นีน้ าไปช่างกโิ ลขายเพียงกิโลกรัมละ 2-3 บาท เทา่ น้นั นอกจากน้ยี ังมดี อกไมท้ ร่ี ้ือจากปา้ ย นทิ รรศการ นามาตกแต่งข้างกลอ่ งให้สวยงาม แล้วตดิ ป้ายชือ่ ห้องสมดุ ทข่ี า้ งกล่อง ทาให้เศษวสั ดุมี คณุ ค่ามากขน้ึ ทุกคนมคี วามภมู ใิ จ เกดิ ความสามัคคีในหมู่คณะ เมือ่ มีหน่วยงานจากภายนอกมาดูงาน ห้องสมุดก็มอบให้เปน็ ของที่ระลึกได้ โดยไม่เปลืองงบประมาณแต่อย่างใด บางคนทาขายเป็น ผลิตภณั ฑท์ ี่ทาดว้ ยมือ และมีรายได้มากขน้ึ การนาเศษวัสดุกลับมาใช้ใหม่ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ชว่ ยลด โลกรอ้ น ทาใหเ้ กิดการแลกเปลย่ี นเรียนรปู้ ระดษิ ฐ์เป็นรูปทรงตา่ งๆ เช่น หวั หนา้ หอ้ งสมุดคณะ แพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ไดน้ าไปทากล่องลักษณะคล้ายกัน มอบเปน็ ของขวัญปใี หม่ ซ่ึงเป็นเอกลักษณ์ และมีคุณค่าดา้ นจิตใจอย่างหาค่ามิได้

ไกรวิชข์ ภู่ศริ ิ (บทคดั ย่อ : 2559) การวิจยั เรอ่ื ง รถประคองผู้ป่วยฝกึ เดนิ กายภาพบาบัด ผลการศกึ ษาพบว่า ผลการทดสอบวสั ดุ จะเลอื กใชว้ สั ดทุ น่ี ามาทารถประคองผูป้ ่วยฝึกเดินกายภาพ บาบัด เป็นเหล็กกลั ปว์ าไนซ์ เนอ่ื งจากน้าหนักเบา สามารถรับนา้ หนักได้ดี ไมเ่ ป็นสนิม ราคาถูก ขนาด ความสงู ทเ่ี หมาะสมท่นี ามาใช้ทารถประคองผูป้ ว่ ยฝกึ เดนิ กายภาพบาบัด เลือกขนาดความสงู 2 เมตร ซึง่ เป็นขนาดความสงู ที่พอดี และผู้ปว่ ยทว่ั ไปมีคา่ เฉล่ียไม่เกิน 2 เมตร ระยะฐานท่เี หมาะสมจะเลอื ก ทาเปน็ รปู 3 เหลยี่ ม เน่อื งจากรถประคองผปู้ ว่ ยกายภาพบาบัด แบบสามเหลย่ี มมีขนาดไมใ่ หญ่ และ พอดีกับช้ินงาน ความคิดเห็นของผู้ใชง้ านรถประคองผู้ปว่ ยฝึกเดินกายภาพบาบดั มีคา่ เฉล่ียเท่ากบั 4.66 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.43 อยู่ในระดับ ดีมาก

บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ การ

ผู้จัดทาได้ดาเนนิ การประดษิ ฐ์ กล่องอเนกประสงค์เก็บของจากกระปอ๋ งอะลูมิเนียม โดยดาเนินงานตามหัวข้อต่อไปนี้

3.1 วัสดุ/อปุ กรณ์ 92 อัน กระป๋องอะลูมเิ นยี ม 5 เส้น เหลก็ เส้น 2 ม้วน ริบบิ้นลวดสี 4 แผ่น กระดาษแข็ง 1 กระป๋อง สที าเหลก็ 1 ดา้ ม แปรงทาสี 1 ดา้ ม มดี 2 อัน กรรไกร 1 อนั ปืนกาว 1 แพค็ ไส้ปืนกาว 1 อนั เครอ่ื งเจาะกระดาษ 1 กระป๋อง กาวลาเทก็ ซ์

3.2 ขอบเขตของโครงการ

ประชากรทใี่ ชใ้ นครัง้ นี้ ได้แก่ คณะครบู คุ ลากรและนักเรยี น นกั ศกึ ษา วิทยาลัยอาชวี ศึกษา เชียงใหม่

3.3 การดาเนินงาน

3.3.1 ดาเนินการประดษิ ฐ์ 1. นาเหล็กมาเช่อื มให้เป็นโครงของกลอ่ งเท่าขนาดกล่อง A 4 หรือตามต้องการ

2. นากระป๋องอะลมู ิเนยี มมาทาความสะอาด 3. นากระปอ๋ งที่ทาความสะอาดแลว้ ตากใหแ้ หง้ 4. ตดั ขอบกระป๋องทัง้ หวั ท้ายและตรงกลางเพ่ือคล่ีกระป๋องใหเ้ ป็นแผน่

5. วัดขนาดและตัดกระปอ๋ งใหม้ ีขนาดตามตอ้ งการ 6. ทากาวใหท้ ว่ั ๆ กระป๋องแลว้ นาไปตดิ บนกระดาษแข็งอีกหนึ่งช้นั

7. นาเครอ่ื งเจาะกระดาษมาเจาะบรเิ วณแผ่นกระป๋องให้เป็นรโู ดยกะระยะใหเ้ ทา่ ๆ กัน 8. ใชร้ ิบบิน้ ลวดสีถักตามรูท่ีเจาะไวบ้ นขอบกระป๋องใหต้ ดิ กันเปน็ แผ่นใหญ่

9. นากระปอ๋ งแผ่นอะลูมเิ นียมที่ถักตอ่ กันเปน็ แผน่ ใหญ่มายดึ ประกอบกับโครงเหลก็ ท่ีเตรยี มไว้

10. หลังจากประกอบครบท้ัง 4 ดา้ นจะได้กล่องอเนกประสงค์ตามรูปโดยเวน้ ชอ่ งสาหรับหิว้ ให้มีขนาดใหญ่พอที่มือจะสอดได้

3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

การเก็บรวบรวมข้อมลู ความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอยา่ งที่มตี อ่ โครงการกลอ่ งอเนกประสงคจ์ าก กระป๋องอะลูมิเนยี มโดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นแบบประเมนิ คา่ 5 ระดับ 3 ขนั้ ตอน ดงั นี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ระดับความพึงพอใจของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นอน่ื ๆ

3.5 การวเิ คราะห์ข้อมลู

การวเิ คราะห์ความคดิ เหน็ ของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อโครงการกล่องอเนกประสงค์จากกระป๋อง อะลูมเิ นยี ม

1. หาคา่ ร้อยละเก่ียวกับขอ้ มลู ท่ัวไปของผู้ประเมิน 2. วิเคราะหค์ วามคิดเห็นของผปู้ ระเมนิ โดยหารหาคา่ เฉล่ีย (x) และหาค่าเบ่ยี งเบน มาตรฐาน (S.D) 3. สรปุ ขอ้ เสนอแนะเกณฑใ์ นการกาหนดชว่ งค่าเฉล่ยี และค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน มาแปลความหมาย ดงั น้ี

4.51 – 5.00 หมายถึงความคิดเห็นอยู่ในระดับดีมาก 3.51 – 4.50 หมายถงึ ความคิดเหน็ อยูใ่ นระดบั ดี 2.51 – 3.50 หมายถงึ ความคดิ เห็นอยใู่ นระดบั ปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึงความคดิ เห็นอยใู่ นระดับน้อย 1.00 – 1.50 หมายถงึ ความคดิ เหน็ อยูใ่ นระดับน้อยทส่ี ุด

บทท่ี 4 ผลดาเนนิ การ

จากการดาเนนิ งานโครงการ “กลอ่ งอเนกประสงค์” (Multipurpose Box) สรุปผล การดาเนินงานดังนี้

4.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม 4.2 แสดงจานวนรอ้ ยละข้อมลู ของผูต้ อบแบบสอบถาม

4.1 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม

4.1.1 เพศ

ข้อมูลท่ัวไป จานวน ร้อยละ เพศหญิง 42 84 เพศชาย 8 16

รวม 50 100

ตารางที่ 1 แสดงร้อยละของเพศชาย เพศหขิง

จากตารางท่ี 1 แสดงใหเ้ ห็นวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามเปน็ เพศหญงิ จานวน 42 คน คิดเป็น ร้อยละ 84 เพศชาย จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 16

เพศ

4.1.2 สถานภาพ จานวน (คน) รอ้ ยละ 5 9.8 สถานภาพ 1 2 ครู 44 86.3 บุคลากร วอศ.ชม. - - นกั เรียน/นักศึกษา อื่น ๆ (โปรดระบุ).........

ตารางที่ 2 แสดงร้อยละของสถานภาพผ้ปู ระเมิน จากตารางที่ 2 แสดงใหเ้ หน็ วา่ ผูต้ อบแบบสอบถามมสี ถานภาพครู จานวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.8 บุคลากร วอศ.ชม. จานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2 นักเรยี น/นักศกึ ษา จานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 86.3

สถานภาพ

4.2 แสดงจานวนร้อยละข้อมลู ของผตู้ อบแบบสอบถาม

5 4.94 4.92 4.9 4.88 4.88 4.84 4.80 4.84 4.76 4.8

4.7 4.64 4.60

4.6

4.5

4.4

ข้อท่ี 1 ขอ้ ท่ี 2 ขอ้ ท่ี 3 ข้อท่ี 4 ขอ้ ท่ี 5 ข้อท่ี 6 ข้อท่ี 7 ข้อที่ 8 ข้อท่ี 9 ข้อที่ 10

ร้อยละ

แผนภูมิที่ 3 แผนภมู ิแสดงร้อยละความพึงพอใจ

ตอนที่ 2 การวเิ คราะห์ระดับความคดิ เห็นของผตู้ อบแบบสอบถามโครงการ”กลอ่ งอเนกประสงค์”

หมายเหตุ

5 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับมากทส่ี ดุ 4 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดบั มาก 3 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจในระดบั น้อย 1 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดับน้อยท่ีสุด

การหาค่าเฉลยี่ ดงั น้ี

คา่ เฉลยี่ ระดบั 4.51 – 5.00 มคี วามพงึ พอใจมากทส่ี ุด ค่าเฉล่ียระดับ 3.51 – 4.50 มคี วามพึงพอใจมาก คา่ เฉลย่ี ระดบั 2.51 – 3.50 มีความพึงพอใจปานกลาง คา่ เฉลี่ยระดบั 1.51 – 2.50 มีความพึงพอใจน้อย คา่ เฉลี่ยระดบั 1.00 – 1.50 มคี วามพึงพอใจนอ้ ยทีส่ ดุ

บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ

จากการดาเนนิ งานตามโครงการ “กลอ่ งอเนกประสงค์” ผูจ้ ัดทาได้ผลสรุป อภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ ดังนี้

5.1 สรุปผลการดาเนินงาน จากตารางท่ี 2 แสดงคา่ เฉล่ียและคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานความคดิ เห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม

ที่มีต่อโครงการ “กล่องอเนกประสงค์” (Multipurpose Box) พบวา่ ผูป้ ระเมนิ มีความคิดเหน็ ต่อ โครงการ ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ (4.81)

เมอื่ พิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่าความคดิ เห็นที่อยูใ่ นระดับมากที่สุดเรยี งตามลาดบั ได้แก่

ขนาดและน้าหนักมีความเหมาะสมต่อการใช้งาน (4.94) สามารถต่อยอดสู่เชงิ พาณิชย์ได้ (4.92)

สามารถนาวัสดุเหลือใช้มารีไซเคลิ ใหเ้ กิดประโยชน์ (4.88) สามารถนาวสั ดเุ หลอื ใช้มาเพ่ิมมลู ค่า

(4.88) วัสดุทน่ี ามาใชป้ ระดิษฐห์ าไดง้ า่ ยและประหยดั (4.80) ความคดิ สร้างสรรค์ในการออกแบบ

(4.84) ใชบ้ รรจสุ งิ่ ของได้หลากหลายและไดป้ รมิ าณมาก (4.84) ความแข็งแรง ทนทาน (4.76)

มคี วามประณีตและสวยงาม (4.64) และความปลอดภยั ในการใช้งาน (4.60)

5.2 อภปิ รายผล จากการประเมนิ ความคดิ เห็นของกลมุ่ ตัวอย่าง พบว่า ความพึงพอใจท่อี ยู่ในระดับมากที่สดุ

โดยมคี ่าเฉลีย่ มากกวา่ ข้ออนื่ ไดแ้ ก่ ขนาดและนา้ หนักมีความเหมาะสมต่อการใชง้ าน (4.94) อาจจะ เปน็ เพราะวา่ ทางคณะผูจ้ ดั ทาไดต้ ระหนักถึงขนาด และน้าหนักของกล่องท่ปี ระดิษฐใ์ ห้มีความ เหมาะสมท่ีจะทาใหผ้ ู้ใชง้ านสามารถใช้งานไดอ้ ยา่ งสะดวกสบาย สามารถบรรจุสิ่งของได้หลากหลาย ในปริมาณมาก ดว้ ยโครงสร้างของกลอ่ งอเนกประสงค์ทที่ าจากเหล็กเส้นทมี่ ีขนาดเลก็ จึงทาให้ไม่เป็น การเพ่ิมนา้ หนกั ของกลอ่ ง ไม่เปน็ ภาระของผู้ใช้งาน สอดคล้องกับงานวิจัยของ ไกรวิชข์ ภ่ศู ิริ (บทคดั ย่อ : 2559) การวิจยั เรือ่ ง รถประคองผปู้ ่วยฝกึ เดินกายภาพบาบดั ผลการศึกษาพบวา่ ผลการทดสอบวัสดุ จะเลือกใช้วัสดุที่นามาทารถประคองผู้ป่วยฝกึ เดินกายภาพบาบัด เป็นเหลก็ กลั ป์ วาไนซ์ เนอ่ื งจากนา้ หนกั เบา สามารถรบั นา้ หนกั ไดด้ ี ไมเ่ ป็นสนิม ราคาถกู ขนาดความสูงทเี่ หมาะสม ท่นี ามาใชท้ ารถประคองผปู้ ่วยฝกึ เดนิ กายภาพบาบัด เลือกขนาดความสูง 2 เมตร ซึง่ เป็นขนาดความ สูงที่พอดี และผูป้ ่วยท่ัวไปมคี ่าเฉลยี่ ไมเ่ กนิ 2 เมตร ระยะฐานทีเ่ หมาะสมจะเลือกทาเป็นรปู 3 เหลีย่ ม เนอ่ื งจากรถประคองผปู้ ่วยกายภาพบาบัด แบบสามเหล่ียมมขี นาดไมใ่ หญ่ และพอดีกับชน้ิ งาน ความ คิดเห็นของผใู้ ชง้ านรถประคองผู้ปว่ ยฝึกเดินกายภาพบาบดั มคี า่ เฉล่ยี เท่ากบั 4.66 ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.43 อยู่ในระดบั ดีมาก

รองลงมาความพึงพอใจท่ีอยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ โดยมีค่าเฉล่ยี (4.88) สามารถนาวัสดุเหลือใช้ มารไี ซเคลิ ให้เกดิ ประโยชน์ อาจเปน็ เพราะคณะผ้จู ดั ทาไดต้ ระหนักถึงการนาวสั ดุที่เหลือใช้ในชวี ิต ประจาวันวนั ท่ีสามารถพบเห็นได้จากบรเิ วณสถานที่ต่าง ๆ เช่น โรงเรยี น ชมุ ชน ท่ีท้งิ กระปอ๋ ง อะลูมเิ นยี มที่เป็นวัสดุท่เี หลือใชอ้ ย่างสูญเปล่า จงึ นากระปอ๋ งอะลูมเิ นียมมารีไซเคลิ เป็นกล่อง อเนกประสงค์ ท่สี ามารถหมุนเวยี นมาใช้ประโยชนไ์ ด้ สอดคลอ้ งกับงานวิจัยของ ลัดดา มาหนู (บทคัดย่อ : 2559) ไดจ้ ัดทาโครงการ เร่ือง กล่องร้อยใจรีไซเคลิ เป็นกล่องท่ีทาจากวสั ดุที่ใช้แล้ว

นามาประดิษฐเ์ ป็นกล่องรูปรา่ งสวยงาม ใส่ปากกา ดนิ สอ และของใช้บนโต๊ะทางาน โดยทกุ คนช่วยกัน เก็บสะสมสิ่งของ แลว้ นามารวมกนั เปน็ การร้อยใจเข้าเป็นหนึง่ เดียว จึงมีชื่อเรยี กวา่ กล่องรอ้ ยใจ รไี ซเคิล เพราะแม่บา้ นจะเก็บแกนกระดาษทชิ ชูทีใ่ ช้ในห้องน้าไว้ ซองห่อกระดาษเอ 4 และหน้า โฆษณาในวารสารต่างประเทศ พนกั งานถ่ายเอกสารและเจ้าหน้าที่งานวารสารจะนามารวมไว้ จากนั้น ชว่ งพักทุกคนจะมานง่ั มว้ นกระดาษเปน็ หลอดดดู รอให้แห้งแล้วนามาติดขา้ งแกนกระดาษทิชชู เดิมสงิ่ เหลา่ น้นี าไปช่างกิโลขายเพียงกิโลกรัมละ 2-3 บาท เทา่ นัน้ นอกจากนยี้ งั มดี อกไม้ท่ีรือ้ จากป้าย นิทรรศการ นามาตกแตง่ ข้างกล่องใหส้ วยงาม แล้วตดิ ปา้ ยช่ือหอ้ งสมดุ ท่ขี ้างกลอ่ ง ทาให้เศษวสั ดุ มคี ณุ คา่ มากขน้ึ ทุกคนมีความภูมิใจ เกดิ ความสามคั คใี นหมูค่ ณะ เมื่อมีหนว่ ยงานจากภายนอก มาดูงาน ห้องสมดุ ก็มอบให้เป็นของทรี่ ะลกึ ได้ โดยไม่เปลอื งงบประมาณแต่อย่างใด บางคนทาขายเป็น ผลิตภณั ฑท์ ่ที าดว้ ยมือ และมีรายได้มากขนึ้ การนาเศษวัสดุกลับมาใชใ้ หม่ให้เกิดประโยชน์ ช่วยลด โลกรอ้ น ทาใหเ้ กิดการแลกเปลย่ี นเรียนร้ปู ระดษิ ฐเ์ ปน็ รูปทรงตา่ งๆ เช่น หัวหนา้ ห้องสมดุ คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ได้นาไปทากลอ่ งลกั ษณะคลา้ ยกนั มอบเป็นของขวัญปใี หม่ ซงึ่ เป็นเอกลักษณ์ และมีคณุ ค่าดา้ นจติ ใจอย่างหาคา่ มไิ ด้

สาหรบั ความพงึ พอใจท่ีอยู่ในระดับดมี าก แต่มีคา่ เฉล่ยี ที่ต่ากวา่ ข้ออ่ืน ๆ คือ ความปลอดภัย ในการใช้งาน (4.6) อาจจะเป็นเพราะวา่ กระป๋องอะลูมิเนียมมคี วามคม เวลาตดั จึงต้องใช้ความ ระมดั ระวังสงู เพ่ือมิให้เกดิ การบาดเจ็บและเป็นอันตราย

5.3 ปขั หาและอุปสรรค 1. กระป๋องอะลมู ิเนยี มมคี วามคม เวลาตดั จึงต้องใช้ความระมดั ระวงั สูง เพ่ือมใิ หเ้ กดิ การ

บาดเจบ็ และเปน็ อนั ตราย 2. คณะผู้จดั ทาไมม่ ีประการณ์ ขาดการวางแผน และขาดความรู้ จึงทาใหเ้ กิดข้อผดิ พลาด

ในการประดิษฐ์กล่องอเนกประสงค์

5.4 วธิ กี ารแกไ้ ขปัขหา/เสนอแนะ

1. ควรศึกษาขอ้ มูลเกีย่ วกับการตดั กระป๋องอะลูมเิ นียมเพ่ือท่ีจะนามาประดิษฐ์โดยมี การศึกษาทาง youtube เพ่ือแก้ปัญหาในการตดั กระป๋องอะลมู เิ นียมอยา่ งถกู วธิ ี

2. ผจู้ ดั ทาที่สนใจในการจะต่อยอดโครงการ ควรมีความรู้พื้นฐานในการออกแบบตดั กระป๋อง อะลมู เิ นียมและการสานพอสมควร

บรรณานุกรม

ประวัติของกระปอ๋ งอลมู เิ นียม. [ออนไลน์] เขา้ ถึงได้จาก //www.agro.cmu.ac.th/absc/data/57/57-022.pdf

(20 ธนั วาคม 2562) อลูมิเนียมคืออะไร. [ออนไลน์]

เขา้ ถึงได้จาก //www.dojogarden.com (20 ธันวาคม 2562) ความรเู้ ก่ยี วกับกระป๋องอะลมู ิเนยี ม. [ออนไลน์]

เข้าถึงไดจ้ าก //th.southwest-aluminum-pipe.com/info/aluminium-cans- 20428055.html (20 ธนั วาคม 2562) ภยั จากกระป๋องอลมู เิ นยี ม. [ออนไลน์]

เขา้ ถงึ ได้จาก //www.nhealth-asia.com/th/articles/detail/59 (20 ธันวาคม 2562) ผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม. [ออนไลน์]

เข้าถึงได้จาก //www.mnre.go.th/reo13/th/news/detail/9373 (20 ธนั วาคม 2562)

ภาคผนวก ก

แบบนาเสนอขออนมุ ัตโิ ครงการวชิ าชีพ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเชียงใหม่

รายวิชา โครงการ รหัสวิชา 3216-8501 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562

ช่อื โครงการ กลอ่ งเอนกประสงค์ (Multipurpose Box)

ระยะเวลาการดาเนินงาน ตัง้ แต่วนั ท่ี 15 ตุลาคม 2562 ถงึ วนั ท่ี 31 มกราคม 2563

สถานที่ดาเนินงาน บา้ นทุ่งท้อ เลขที่ 69 หมู่ 2 ตาบลสองแคว อาเภอดอยหลอ่ จังหวัด

เชียงใหม่

งบประมาณคา่ ใช้จา่ ย 270 บาท

คณะผจู้ ดั ทาโครงการ นกั ศกึ ษา ระดับชัน้ ปวส. 2/7 สาขาวชิ าการจัดการสานักงาน

1. นางสาวนภิ าพร โปตะ๊ โชติพงศ์

2. นางสาวพุธ ลงุ ทนุ

ลงช่อื หวั หนา้ โครงการ (นางสาวนิภาพร โปตะ๊ โชติพงศ์) //

ความเหน็ ของอาจารย์ประจาวชิ า

ลงช่อื (นางอรินทยา ใจเอ)

แบบเสนอโครงการ

1. ชื่อโครงการ โครงการกลอ่ งอเนกประสงค์ (Multipurpose Box)

2. ผ้จู ัดทาโครงการ

2.1 นางสาวนภิ าพร โปต๊ะโชติพงศ์ เลขที่ 13 ระดบั ชัน้ ปวส.2/7 สาขาวิชาการจัดการสานักงาน

2.2 นางสาวพุธ ลุงทนุ เลขท่ี 15 ระดบั ชั้น ปวส.2/7 สาขาวชิ าการจัดการสานกั งาน

3. ครทู ี่ปรึกษาโครงการ

นางอรินทยา ใจเอ

4. ความเป็นมาและความสาคขั ของโครงการ

ขยะเป็นปัญหาสาคัญของหลาย ๆ ทอ้ งถิน่ เกือบทัว่ โลก ในประเทศไทยถือเป็นปัญหา สิง่ แวดลอ้ มทส่ี าคัญทีเ่ กิดขึ้นจากนา้ มือมนุษย์ ซ่ึงมีปัญหาทเ่ี ก่ียวเนื่องกนั ในหลายแงม่ ุม ไมว่ ่าจะเปน็ พฤติกรรมการบรโิ ภคและการแยกขยะจากตน้ ทาง การจดั การขยะท่ีไม่ไดม้ าตรฐาน กอ่ ใหเ้ กดิ มลพิษ และไม่เกดิ การนากลับมาใชซ้ ้า ปัญหามลพษิ และสิ่งแวดล้อม เชน่ ภาวะเรือนกระจกทม่ี ีสาเหตุจาก การเผาขยะ ทป่ี ล่อยกา๊ ซมีเทนซัลเฟอร์กบั คารบ์ อนไดออกไซตอ์ อกมา จนทาใหเ้ กิดภาวะโลกรอ้ น และเปน็ มลพษิ ทางอากาศ

ในชวี ติ ประจาวนั จะเห็นว่าตามแหล่งชมุ ชนบ้านเมอื งหรือหมู่บา้ น แม้กระท่ังตามสถานศึกษา โรงเรยี นตา่ ง ๆ ผูค้ นส่วนใหญ่นยิ มด่ืมเคร่ืองด่ืมจาพวกกาแฟสดกระปอ๋ ง นา้ อัดลมกระป๋อง หลงั จาก ดมื่ เสร็จแลว้ จึงท้ิงลงถงั ขยะ หรือเกบ็ ไว้ช่ังกิโลขาย ซึ่งการท้ิงขยะเหลา่ นี้ เปน็ ปัญหาเรอื่ งส่งิ แวดลอ้ ม เพราะกระป๋องอะลูมิเนียมเป็นขยะที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ในระยะเวลาอันส้ัน ในการกาจดั ขยะ นอกจากการฝังแลว้ อีกวิธหี นงึ่ ทค่ี นสว่ นมากมักกระทาคอื การเผา ซง่ึ ก่อใหเ้ กิดมลพิษทางอากาศ และ ทาใหเ้ กดิ ภาวะเรือนกระจก หรอื ภาวะโลกร้อน ขยะกระป๋องท่ไี มส่ ามารถย่อยสลายไดเ้ หลา่ น้ี จงึ ถูกทิ้ง ไวอ้ ยา่ งไร้คุณคา่ ตามสถานทีต่ ่าง ๆ ตามชมุ ชน หมูบ่ า้ น หรอื โรงเรยี น กลายเปน็ ปัญหาขยะตกคา้ ง ตามมา

ดงั นนั้ คณะผ้จู ัดทาโครงการจงึ มแี นวคดิ ทจี่ ะนากระป๋องอะลูมิเนียมที่ไม่ใช้แลว้ และถูกท้ิงไว้ อย่างไร้คุณค่า นามาประดิษฐ์เปน็ กล่องใสเ่ อกสาร เน่ืองจากมคี ุณสมบัตทิ ี่แข็งแรง ทนทาน ทนตอ่ สภาพอากาศ น้าหนกั เบา โดยกลอ่ งที่ประดิษฐ์จากกระป๋องนั้นคาดว่าจะสามารถบรรจสุ ่ิงของหรือ เอกสารได้เปน็ จานวนมาก

5. วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพอ่ื การศึกษาข้ันตอนในการประดิษฐก์ ลอ่ งอเนกประสงคจ์ ากกระป๋องอะลูมิเนยี ม 2. เพ่ือนาวสั ดทุ ่เี หลือใชม้ ารีไซเคลิ

6. ขอบเขตโครงการ 6.1 เชงิ ปรมิ าณ กลอ่ งอเนกประสงคป์ ระดิษฐจ์ ากกระป๋องอะลมู เิ นียม จานวน 4 กลอ่ ง 6.2 เชิงคณุ ภาพ ผู้ทดลองใช้งานกล่องอเนกประสงค์จากกระป๋องอะลูมเิ นยี ม รอ้ ยละ 80 มีความพึงพอใจ

ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562

สถานทจ่ี ดั ทาโครงการ

บ้านทงุ่ ท้อ เลขที่ 69 หมู่ 2 ตาบลสองแคว อาเภอดอยหล่อ จงั หวัดเชียงใหม่

50160

7. ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั

1. ไดค้ วามร้ใู นขัน้ ตอนการประดิษฐก์ ล่องอเนกประสงค์จากกระปอ๋ งอะลูมเิ นียม 2. สามารถเพิ่มมูลค่าวัสดุทเี่ หลอื ใช้ของประเภทกระป๋องอะลูมเิ นียม

8. นยิ ามศัพท์

1. กระปอ๋ งอะลมู เิ นยี ม คือ บรรจุภัณฑ์โลหะทีอ่ อกแบบมาเพือ่ เก็บของเหลวในปริมาณหนึง่ ๆ ไวเ้ ชน่ นา้ อดั ลมอัดแก๊ส เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ นา้ ผลไม้ ชาสมนุ ไพร เครื่องดมื่ ชูกาลงั เป็นตน้

2. รีไซเคลิ คือ เป็นการจดั การวัสดเุ หลือใช้ท่ีกาลังจะเปน็ ขยะ โดยนาไปผา่ นกระบวนการ แปรสภาพ โดยเฉพาะการหลอม เพ่ือให้เป็นวสั ดใุ หมแ่ ล้วนากลับมาใชไ้ ดอ้ ีก ซง่ึ วัสดทุ ี่ผา่ นการแปร สภาพนั้นอาจจะเปน็ ผลติ ภัณฑเ์ ดิมหรือผลติ ภณั ฑ์ใหม่ก็ได้

9. วธิ ีดาเนินโครงการ

1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมตั ิ 2. จดั เตรียมทาโครงการ 3. ดาเนนิ การตามโครงการ 4. ประเมินผลประสทิ ธภิ าพ ความพงึ พอใจ 5. สรปุ และรายงานผล

10. แผนการดาเนินโครงการ

ลาดบั ขนั้ ตอน ระยเวลาดาเนินการ (สัปดาห์ที่ 1-18) ดาเนนิ งาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 (PDCA)

1. การวางแผน(P) 2. ขน้ั ดาเนนิ การ(D) 3. ขั้นตอนการ ตรวจสอบ(C) 4. ขน้ั ประเมิน

ตดิ ตามผล(A)

11. งบประมาณและทรพั ยากร

เก็บเงนิ คนละ 500 บาท จานวน 2 คน จานวน 1,000 บาท 11.1 รายรบั จานวน 1,000 บาท 11.2 รายจ่าย

1. วสั ดุ อุปกรณ์ เคร่อื งมอื เครอ่ื งใช้ 4 ชิน้ รบิ บิ้นลวดสี 170 บาท กระดาษแข็ง 68 บาท ไส้กาว 20 บาท สที าโครงเหล็ก 100 บาท กาวลาเทก็ ซ์ 30 บาท กระป๋องอะลูมเิ นยี ม 110 บาท ปืนกาว 120 บาท มีด 20 บาท เหล็กเส้น 100 บาท เคร่อื งเจาะกระดาษ 45 บาท แปรงทาสี 100 บาท กรรไกร 40 บาท 50 บาท 2. เอกสารการพิมพ์

รวบงบประมาณ 973 บาท (เกา้ ร้อยเจ็ดสบิ สามบาทถว้ น)

12. การตดิ ตามประเมนิ ผล วธิ ีประเมนิ เครือ่ งมือท่ใี ชป้ ระเมนิ จานวนช้นิ งาน แบบบนั ทึก ตัวชีว้ ัดความสาเร็จ เชิงปริมาณ สอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม กลอ่ งอเนกประสงคป์ ระดิษฐ์ จากกระป๋องอะลูมเิ นียม จานวน 3 กลอ่ ง

เชิงคุณภาพ ผทู้ ดลองใช้งานกล่อง อเนกประสงค์ ร้อยละ 80 มี ความพงึ พอใจ

13. เอกสารอ้างอิง

วกิ ิพีเดยี สารานกุ รม กระป๋อง. สบื ค้นเม่อื วนั ท่ี 27 ตุลาคม 2562 จาก//th.wikipedia.org วกิ พิ เี ดยี สารานกุ รม รีไซเคิล. สบื คน้ เมอ่ื วนั ท่ี 27 ตุลาคม 2562 จาก //sites.google.com

ภาคผนวก ข

นาเสนอโครงการ

นาเสนอชิ้นงานแก่ผู้ท่สี นใจโครงการ

มอบชิ้นงานให้ผ้ทู ดลองใช้

ภาคผนวก ค

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ โครงการกล่องอเนกประสงค์ (Multipurpose Box)

คาชแ้ี จง แบบสอบถามนส้ี าหรับผทู้ ดลองใชง้ านกลอ่ งอเนกประสงค์ มวี ตั ถุเพ่ือศกึ ษาความพึงพอใจ

ของผใู้ ช้งาน

ต่อประสิทธภิ าพของกล่องอเนกประสงค์ แบบสอบถามนแ้ี บ่งเป็น 3 ตอน ประกอบดว้ ย

ตอนที่ 1 ข้อมลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบประเมนิ

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ

ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบประเมิน

คาช้ีแจง โปรดเติมเครื่องหมาย √ ลงใน กหรอื ข้อความในชอ่ งว่างให้ตรงกับความเปน็ จริง โรป12ะรด..ดบัเสใพคสถศเ่วาคนารมภ่อื พางพหึงพมาอยใลองกลกอลกจ√่่่ ขชคออใาร่นืนงยู ชผๆ่อตู้ งอ(ทโบป่ีตแรรอลกงกลอบเงลอดง่่ก่บรหบบัะปญบคุครล)ุวิงะ..าาเ.มม.ก..นิรค..ิด.ว..เอ.ห..ศ.็น...ชข...มอ...ง..ท...่านอลก่ นักเรียน/นกั ศึกษา

ตอนท่ี 2 งอเ งเอ คาชีแ้ จง

ง ระดับความพึงพอใจ

ขอ้ รายการประเองเนอเมนิ เอน มาก เ มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย อนก ท่สี ุด อ กลาง ที่สุด ควสคสคใขมชัสนาาวววีคบ้มมดาาาวามมมราาุทดารรรมคแปแ่นี จถถขดิปลลาุสนนง็สอะรม่ิงแาาะรนดาขววรา้ณใภา้อัสัสงชงหยัีตงสดด้ปทนไใแรเุเุรดนนหหักรละ้หกทคลลมะดลา์ใอืือาีคสิษรนานใใววใฐหชชกยาช์ห้มม้ลามง้งาราาาาาเไหอยรเมนดพีไอแมซง้่ิมกลา่าเมะแะคยสูลไบิลแดมคบใล้ปหต่างค(สคงสะรปกนะนรปกคงสะรปกอะรไ้เ่อ์์์ปดกิมกรด้ดิาาะีปณรหรใมยชะาัด้งโกยานชนระสคกนปงก(ปคงสะรM(คงสะรป์ ์์์ (5) น (4) (3) (2) (1)

1 ก 2 ป 3 ร 4 ะ 5 ส 6 ง 7 ค์ 8 9 M( (Mul ( Mu( 10 สามารถตอ่ ยอดสู่เชงิ พาณชิ ยไ์ ด้ Mut M uli u ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ / ข้อคulMดิ เห็นอื่น ๆ

lut ltp l

til tiu t

ipt ipr i

uip pup p

rup uro u

rpu rps r

ประวัตผิ ู้จดั ทา

ช่อื นางสาวนิภาพร โปต๊ะโชตพิ งศ์ ชื่อเล่น กุก๊ กิ๊ก ช่อื โครงการ กล่องอเนกประสงค์ (Multipurpose Box) สาขาวิชา การจัดการสานักงาน ประเภทวิชา บรหิ ารธรุ กิจ ประวตั ิส่วนตวั บ้านเลขที่ 69 ม.2 ตาบลสองแคว อาเภอดอยหล่อ จงั หวดั เชียงใหม่ 50160 การศกึ ษาระดับช้ันมัธยมตอนต้น โรงเรยี นเทศบาล๑ (ทุ่งฟ้าบดราษฎร์บารุง) การศกึ ษาระดบั ชั้นมธั ยมตอนปลาย โรงเรยี นหางดงรฐั ราษฎร์อปุ ถมั ภ์ การศึกษาระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้นั สูง วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาเชยี งใหม่

ชอื่ นางสาวพธุ ลงุ ทุน ชื่อเล่น พธุ ชอ่ื โครงการ กลอ่ งอเนกประสงค์ (Multipurpose Box) สาขาวิชา การจัดการสานกั งาน ประเภทวชิ า บริหารธุรกจิ

ประวตั สิ ่วนตวั เกิดวนั ท่ี 15 กันยายน 2542 บ้านเลขท่ี 131 ม.1 ต.หางดง อ.หางดง จ.เชยี งใหม่ การศึกษาระดบั ชัน้ มธั ยมตอนต้น โรงเรยี นหางดงรฐั ราษฎร์อปุ ถัมภ์ การศกึ ษาระดบั ช้ันมัธยมตอนปลาย โรงเรยี นหางดงรฐั ราษฎรอ์ ุปถัมภ์ การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สงู วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเชยี งใหม่

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ