กร งธนบ ร ม พระมหากษ ตร ย ก พระองค

พระราชกรณยี กจิ ของ พระมหากษัตริยไ์ ทย

สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั

นายกนกพล มหันตรตั น์ เลขท่ี 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ห้อง 4

ก คานา

หนงั สอื E-book เลม่ นี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของวิชาประวตั ศิ าสตร์ ส31104 เรื่อง พระราชกรณยี กิจของพระมหากษตั รยิ ์ไทยเพอ่ื ใหผ้ ทู้ ี่สนใจ ไดศ้ ึกษาเรื่องพระราช กรณียกจิ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย

ผู้จัดทาหวงั ว่า รายงานเลม่ นีจ้ ะเปน็ ประโยชนก์ บั ผู้อา่ น หรือผู้ท่ีสนใจ หากมี ขอ้ แนะนาหรือขอ้ ผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทาขอน้อมรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ทนี่ ี้ ดว้ ย

นายกนกพล มหนั ตรตั น์

ข หน้า สารบญั 1 2 เรื่อง 14 อาณาจกั รกรงุ ศรีอยธุ ยา 15 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช 22 อาณาจักรรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั บรรณนานุกรม

1 อาณาจกั รกรงุ ศรอี ยธุ ยา

อาณาจกั รกรุงศรอี ยุธยา เป็นราชธานมี าตง้ั แตว่ ันท่ี 3 เมษายน 1893 จนถึงวนั ท่ี 7เมษายน 2310 เป็นเวลายาวนานถึง 417 ปีก่อตั้งโดยสมเด็จพระ รามาธิบดีท่ี 1 (พระเจ้าอทู่ อง) มปี ระวัติในการปกครอง การกอบกู้เอกราช วีรกรรมและดา้ นขนบธรรมเนียมประเพณีมากมาย ท่ัวท้ังจังหวดั พระนครศรอี ยุธยายังมากมายไปด้วยวัดวาอาราม ปราสาทราชวังและปูชนยี สถาน ปชู นยี วตั ถมุ ากมายกรุงศรีอยุธยามีพระมหากษตั รยิ ์ปกครองอาณาจกั รสบื ตอ่ กนั มา 33 พระองค์ มีราชวงศ์ผลดั เปลี่ยนกันครองอาณาจกั รรวม 5 ราชวงศ์ 1. ราชวงศ์อูท่ อง 2. ราชวงศ์สพุ รรณภมู ิ 3. ราชวงศส์ ุโขทัย 4. ราชวงศ์ปราสาททอง 5. ราชวงศ์บา้ นพลูหลวง

รูป ภาพวาดอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ปัจจุบนั บรเิ วณน้เี ปน็ ส่วนหนงึ่ ของอาเภอพระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

2 สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช

3

พระราชประวตั ิ

สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช หรอื พระองคด์ า เป็นพระราชโอรสในสมเด็จ พระมหาธรรมราชาธริ าชและพระวสิ ทุ ธิกษัตรยี ์ พระราชธิดาของสมเดจ็ พระมหา จกั รพรรดิและพระสรุ โิ ยทัย เสด็จพระราชสมภพเมอ่ื พ.ศ. 2098 ทพ่ี ระราชวงั จนั ทน์ เมืองพิษณโุ ลก พระองค์มีพระเชษฐภคนิ ีคือพระสพุ รรณกลั ยา และพระ อนชุ าคอื สมเด็จพระเอกาทศรถ (พระองคข์ าว)

ขณะทที่ รงพระเยาว์ พระองคท์ รงใช้ชวี ติ อยู่ทีพ่ ระราชวงั จนั ทน์ เมอื ง พษิ ณุโลก จนกระทง่ั พระเจา้ บุเรงนองยกทพั มาตีเมืองพษิ ณโุ ลกในสงคราม ช้างเผือก สมเด็จพระมหาธรรมราชาธริ าช เจา้ เมืองพษิ ณุโลก ยอมอ่อนน้อมต่อ หงสาวดจี ึงทาใหเ้ มอื งพิษณุโลกตอ้ งเป็นเมืองประเทศราชของกรุงหงสาวดีและไม่ ขนึ้ ตอ่ กรุงศรอี ยุธยา พระเจ้าบเุ รงนองทรงขอพระสพุ รรณกลั ยาและพระนเรศวร ไปเป็นองคป์ ระกันที่หงสาวดใี น พ.ศ. 2107 ทาใหพ้ ระองคต์ ้องจากบา้ นเกิดเมอื ง นอนตง้ั แตม่ พี ระชนมายเุ พียง 9 พรรษา ประทับอยู่กรุงหงสาวดี 8 ปี และเสดจ็ กลบั กรงุ ศรอี ยธุ ยาเม่อื พระชนมายุ 17 พรรษา พ.ศ. 2115

หลังจากพระเจ้าบเุ รงนองตกี รุงศรีอยุธยาแตกเม่ือ พ.ศ. 2112 มะเสง็ ศก วนั อาทิตย์ เดือน 9 แรม 11 คา่ และไดส้ ถาปนาสมเด็จพระมหาธรรมราชาครอง กรงุ ศรีอยธุ ยาในฐานะประเทศราชของหงสาวดแี ล้ว พระองค์ไดห้ นกี ลับมายัง กรุงศรอี ยุธยาโดยทพี่ ระเจ้าบุเรงนองทรงยนิ ยอมอนั เนื่องมาจากพระสพุ รรณ กลั ยาทรงขอไว้ เม่อื เสดจ็ กลับมาถงึ กรุงศรีอยุธยาในปี พ.ศ. 2115 สมเด็จพระมหาธรรมราชาพระราชทานนามให้พระองคว์ ่า "พระนเรศวร" และโปรด เกลา้ ฯ ให้เปน็ พระมหาอปุ ราช พระชนมายุ 17 พรรษา ไปปกครองเมืองพษิ ณโุ ลก พระองค์ทรงปกครองเมืองอยา่ งดีและทรงเร่ิมเตรียมการทีจ่ ะกอบกเู้ อกราชของ กรงุ ศรอี ยุธยา

4

ประกาศอสิ รภาพ

เมอ่ื ปี พ.ศ. 2126 พระเจ้าอังวะเปน็ กบฏ เน่อื งจากไม่พอใจทางกรงุ หงสาวดี อยหู่ ลายประการ จงึ แขง็ เมืองพรอ้ มกับเกลยี้ กลอ่ มเจา้ ไทยใหญอ่ กี หลายเมืองให้ แข็งเมอื งดว้ ย พระเจา้ นันทบเุ รงจึงยกทัพหลวงไปปราบ ในการณน์ ไ้ี ดส้ ัง่ ใหเ้ จ้า เมืองแปรเจา้ เมืองตองอูและเจ้าเมอื งเชียงใหม่ รวมทั้งทางกรุงศรอี ยธุ ยาด้วย ให้ ยกทพั ไปชว่ ยทางไทย สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาโปรดใหส้ มเด็จพระนเรศวรยกทัพ ไปแทน

สมเดจ็ พระนเรศวรยกทพั ออกจากเมอื งพษิ ณโุ ลก เม่อื วันแรม 6 คา่ เดือน 3 ปมี ะแม พ.ศ. 2126 พระองคย์ กทัพไทยไปช้า ๆ เพอื่ ให้การปราบปรามเจา้ อังวะ เสรจ็ ส้ินไปก่อน ทาใหพ้ ระเจา้ นันทบเุ รงแคลงใจวา่ ทางไทยคงจะถูกพระเจ้าอังวะ ชักชวนใหเ้ ข้าด้วย จงึ สงั่ ใหพ้ ระมหาอปุ ราชาคมุ ทัพรกั ษากรุงหงสาวดไี ว้ถ้าทัพไทย ยกมาถงึ กใ็ ห้ต้อนรับและหาทางกาจดั เสยี และพระองคไ์ ดส้ งั่ ใหพ้ ระยามอญสองคน คือ พระยาเกียรตแิ ละพระยาราม ซึง่ มสี มัครพรรคพวกอยทู่ ี่เมอื งแครงมาก และ ทานองจะเปน็ ผู้ค้นุ เคยกบั สมเดจ็ พระนเรศวรมาแต่กอ่ น ลงมาคอยต้อนรับทพั ไทย ทเ่ี มอื งแครง อนั เป็นชายแดนตดิ ต่อกับไทย พระมหาอปุ ราชาได้ตรสั สัง่ เปน็ ความลบั วา่ เมอ่ื สมเด็จพระนเรศวรยกกองทัพข้ึนไป ถา้ พระมหาอปุ ราชายกเข้าตี ดา้ นหนา้ เมือ่ ใด ให้พระยาเกียรตแิ ละพระยารามคมุ กาลังเขา้ ตีกระหนาบทางด้านหลงั ช่วยกนั กาจดั สมเด็จพระนเรศวรเสยี ใหจ้ งได้ พระยาเกียรตกิ ับพระยารามเมื่อไปถงึ เมืองแครงแลว้ ได้ขยายความลับนแ้ี กพ่ ระมหาเถรคันฉองผเู้ ป็นอาจารย์ของตน ทกุ คนไมม่ ใี ครเหน็ ดีด้วยกับแผนการของพระเจ้านันทบเุ รง

5

กองทพั ไทยยกมาถงึ เมืองแครง เม่อื วนั ข้นึ 1 ค่า เดือน 6 ปีวอก พ.ศ. 2127 โดยใช้เวลาเดนิ ทพั เกอื บสองเดอื น กองทพั ไทยตั้งทพั อยนู่ อกเมือง เจา้ เมอื งแครงพร้อมทงั้ พระยาเกยี รติกับพระยารามได้มาเฝ้าฯ สมเดจ็ พระนเรศวร จากน้ันสมเดจ็ พระนเรศวรไดเ้ สดจ็ ไปเย่ยี มพระมหาเถรคนั ฉองซึง่ ค้นุ เคยกันดมี า ก่อน พระมหาเถรคนั ฉองมใี จจึงกราบทูลถงึ เรือ่ งการคิดรา้ ยของทางพระเจ้านันท บเุ รง แล้วให้พระยาเกยี รตกิ บั พระยารามกราบทลู ใหท้ ราบตามความเปน็ จรงิ เมื่อ พระองค์ได้ทราบความโดยตลอดแลว้ ก็มีพระราชดารเิ ห็นว่าการเป็นอริราชศัตรู กับกรงุ หงสาวดีนนั้ ถึงกาลเวลาท่จี ะตอ้ งเปดิ เผยต่อไปแลว้ จึงไดม้ ีรับส่ังใหเ้ รยี ก ประชมุ แมท่ พั นายกอง กรมการเมือง เจ้าเมอื งแครงรวมทั้งพระยาเกียรตพิ ระยา รามและทหารมอญมาประชุมพรอ้ มกัน แล้วนิมนตพ์ ระมหาเถรคนั ฉองและพระสงฆ์ มาเป็นสักขีพยาน ทรงแจ้งเรอื่ งใหค้ นทั้งปวงที่มาชมุ นุม

นบั ตงั้ แต่สมเด็จพระนเรศวรประกาศอิสรภาพเป็นตน้ มา หงสาวดไี ด้เพียรส่ง กองทัพเขา้ มาหลายคร้ัง แตก่ ็ถูกกองทัพกรงุ ศรีอยุธยาตีแตกพา่ ยไปทกุ ครัง้ เม่อื สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาเสด็จสวรรคตเมอื่ ปี พ.ศ. 2133 พระองค์ได้เสด็จขึ้น ครองราชยเ์ ม่ือวันอาทติ ยท์ ี่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2133 เมื่อพระชนมายุได้ 35 พรรษา ทรงพระนามวา่ สมเด็จพระนเรศวร หรือ สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ 2

6

พระราชกรณยี กจิ

- ด้านการทาศกึ สงคราม พระมหาอปุ ราชายกทพั มาครงั้ แรก

สมเดจ็ พระนเรศวรเสวยราชยไ์ ด้ 8 เดอื นก็เกิดขา้ ศกึ พม่าอกี เหตทุ จี่ ะเกดิ ศึก คร้งั นี้คอื เจา้ ฟ้าไทยใหญ่เมอื งคงั ตั้งแข็งเมืองขนึ้ อีก พระเจา้ นันทบเุ รงตรัสปรกึ ษา เสนาบดี เหน็ กันว่าเปน็ เพราะเหตุท่ีเจ้าเมอื งคงั ได้ทราบว่าปราบกรุงศรีอยธุ ยาไม่ สาเร็จ จงึ ตั้งแข็งเมืองเอาอยา่ งบ้างตราบใดที่ยงั ไมป่ ราบกรุงศรีอยุธยาลงได้ ถงึ แม้จะปราบเมืองคงั ได้ เมอื งอน่ื กค็ งแขง้ ขอ้ เอาอยา่ ง แตใ่ นเวลานั้นพระเจ้านนั ท บุเรงทรงอยใู่ นวยั ชราทุพพลภาพ ไม่ทรงสามารถจะไปทาสงครามเอาได้ดงั แต่ก่อน จึงจัดกองทัพข้นึ สองทพั ใหร้ าชบตุ รองค์หน่ึงซง่ึ ได้เป็นพระเจ้าแปรขึ้นใหมย่ กไปตี เมอื งคัง ทพั หนึง่ ให้พระยาพะสิม พระยาพกุ ามเปน็ กองหน้า พระมหาอปุ ราชาเปน็ กองหลวงยกลงมาตีกรงุ ศรีอยุธยาอกี ทัพหน่งึ พระมหาอปุ ราชายกออกจาก กรุงหงสาวดีเม่อื เดอื น 12 พ.ศ. 2133 มาเขา้ ทางดา่ นพระเจดยี ์สามองค์ เพือ่ ตรงมาตพี ระนครศรอี ยุธยาทีเดยี ว

ฝ่ายทางกรุงศรีอยธุ ยาคร้งั นี้ รตู้ วั ช้าจึงเกิดความลาบาก ไมม่ ีเวลาจะต้อน ผูค้ นเข้าพระนครดังคราวกอ่ น ๆ สมเด็จพระนเรศวรทรงเห็นว่าจะคอยตอ่ สู้อยู่ใน กรงุ อาจไม่เปน็ ผลดเี หมือนหนหลัง จงึ รีบเสด็จยกกองทัพหลวงออกไปกับสมเดจ็ พระเอกาทศรถ ในเดอื นย่ี เมือเสด็จไปถงึ เมืองสุพรรณบรุ ีไดท้ รงทราบวา่ ขา้ ศกึ ยก ล่วงเมืองกาญจนบรุ เี ข้ามาแลว้ จึงใหต้ ั้งทัพหลวงรบั ขา้ ศึกอยูท่ ีล่ านา้ ทา่ คอย พอ กองทพั พมา่ ยกมาถึงก็รบกนั อย่างตะลุมบอน พระยาพกุ ามแม่ทพั พม่าคนหนึง่ ตาย ในทรี่ บ กองทัพพม่าถกู ไทยฆา่ ฟนั ลม้ ตายเป็นอันมาก ทเ่ี หลอื กพ็ ากนั พา่ ยหนี ไทยไล่ ตดิ ตามไปจับพระยาพะสิมไดท้ บ่ี า้ นจระเข้สามพันอีกคนหนึง่ พระมหาอปุ ราชาเองก็ หนไี ปได้อย่างหวดุ หวดิ เมือ่ กลบั ไปถึงหงสาวดพี วก แม่ทพั นายกองกถ็ ูกลงอาญา ไปตาม ๆ กนั พระมหาอุปราชากถ็ กู ภาคทัณฑ์ให้แก้ตวั ในภายหนา้

7

สงครามยทุ ธหตั ถี

ในปี พ.ศ. 2135 พระเจ้านนั ทบเุ รง โปรดให้พระมหาอปุ ราชา นากองทัพทหาร สองแสนส่ีหมื่นคน มาตกี รุงศรอี ยธุ ยาหมายจะชนะศึกในครง้ั น้ี สมเดจ็ พระ นเรศวรทรงทราบว่าพมา่ จะยกทัพใหญ่มาตี จึงทรงเตรียมไพรพ่ ล มกี าลงั หน่งึ แสนคนเดินทางออกจากบ้านป่าโมกไปสุพรรณบรุ ี ขา้ มน้าตรงท่าทา้ วอู่ทองและตัง้ ค่ายหลวงบรเิ วณหนองสาหรา่ ย

เช้าของวนั จันทร์ แรม 2 คา่ เดอื นย่ี ปมี ะโรง พ.ศ. 2135 สมเดจ็ พระ นเรศวรและสมเดจ็ พระเอกาทศรถทรงเครอ่ื งพชิ ัยยทุ ธ สมเดจ็ พระนเรศวรทรง ชา้ ง นามว่า เจา้ พระยาไชยานภุ าพ ส่วนสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงช้างนามว่า เจ้าพระยาปราบไตรจกั ร ชา้ งทรงของทัง้ สองพระองค์นน้ั เปน็ ชา้ งชนะงา คอื ช้างมี งาที่ไดร้ บั การฝกึ ใหร้ ู้จกั การต่อส้มู าแลว้ หรอื เคยผ่านสงครามชนช้าง ชนะช้างตวั อ่ืนมาแลว้ ซ่งึ เปน็ ช้างที่กาลังตกมนั ในระหว่างการรบจึงวงิ่ ไล่ตามพม่าหลงเข้าไป ในแดนพม่า มเี พยี งทหารรักษาพระองค์และจาตุรงคบ์ าทเท่านนั้ ท่ตี ดิ ตามไปทนั สมเดจ็ พระนเรศวรทอดพระเนตรเห็นพระมหาอปุ ราชาทรงพระคชสารอยู่ในรม่ ไม้ กบั เหล่าเท้าพระยา จงึ ทราบไดว้ า่ ชา้ งทรงของสองพระองคห์ ลงถลาเขา้ มาถงึ กลางกองทพั และตกอยู่ในวงลอ้ มขา้ ศกึ แล้ว แต่ด้วยพระปฏภิ าณไหวพรบิ ของ สมเดจ็ พระนเรศวร ทรงเห็นวา่ เป็นการเสยี เปรยี บขา้ ศกึ จงึ ไสชา้ งเขา้ ไปใกล้ แล้ว ตรัสถามด้วยคนุ้ เคยมาก่อนแตว่ ยั เยาว์วา่

"พระเจา้ พเ่ี ราจะยนื อยใู่ ยในรม่ ไมเ้ ลา่ เชิญออกมาทายทุ ธหตั ถดี ว้ ยกนั ใหเ้ ปน็ เกยี รตยิ ศไวใ้ นแผน่ ดนิ เถดิ ภายหนา้ ไปไมม่ พี ระเจา้ แผน่ ดนิ ทจี่ ะได้ ยทุ ธหตั ถแี ลว้ "

8

พระมหาอปุ ราชาไดย้ ินดังน้ัน จึงไสชา้ งนามว่า พลายพัทธกอเขา้ ชนเจ้าพระยา ไชยานุภาพเสยี หลกั พระมหาอปุ ราชาทรงฟันสมเด็จพระนเรศวรดว้ ยพระแสงขอ งา้ ว แต่สมเด็จพระนเรศวรทรงเบี่ยงหลบทัน จึงฟนั ถกู พระมาลาหนงั ขาด จากน้ัน เจ้าพระยาไชยานุภาพชนพลายพทั ธกอเสียหลกั สมเดจ็ พระนเรศวรทรงฟันด้วย พระแสงของา้ วถกู พระมหาอปุ ราชาเขา้ ที่อังสะขวา ส้นิ พระชนม์อยบู่ นคอช้าง

สว่ นสมเด็จพระเอกาทศรถทรงฟันเจา้ มังจาปะโรเสยี ชวี ิตเชน่ กัน ทหารพมา่ เห็นว่าแพแ้ น่แล้ว จึงใช้ปนื ระดมยงิ ใสส่ มเด็จพระนเรศวรได้รบั บาดเจ็บ ทนั ใดนัน้ ทัพ หลวงไทยตามมาช่วยทัน จึงรับทง้ั สองพระองคก์ ลับพระนคร พมา่ จงึ ยกทพั กลบั กรงุ หงสาวดีไป นบั แตน่ ้นั มาก็ไม่มีกองทพั ใดกลา้ ยกมากลา้ กรายกรงุ ศรอี ยธุ ยา อกี เป็นระยะเวลาอกี ยาวนาน

แตใ่ นมหายาชะเวงหรอื พงศาวดารของพมา่ ระบวุ ่า การยทุ ธหตั ถคี ร้ังน้ี ช้าง ทรงของสมเดจ็ พระนเรศวรบุกเขา้ ไปในวงล้อมของฝา่ ยพม่า ฝา่ ยพม่ากม็ ีการยืน ช้างเรียงเป็นหน้ากระดาน มีทัง้ ช้างของพระมหาอุปราชา ช้างของเจ้าเมอื งชา มะโรง ทหารฝ่ายสมเดจ็ พระนเรศวรกร็ ะดมยิงปืนใสฝ่ ่ายพม่า เจา้ เมอื งชามะโรงสงั่ เปิดผา้ หน้าราหูช้างของตน เพอื่ ไสช้างเขา้ กระทายุทธหตั ถกี บั สมเด็จพระนเรศวร เพ่ือป้องกันพระมหาอปุ ราชา แตป่ รากฏว่าชา้ งของเจ้าของชามะโรงเกิดวิง่ เข้าใส่ ช้างของพระมหาอปุ ราชาเกดิ ชลุ มุนวุน่ วาย กระสนุ ปนื ลกู หนง่ึ ของทหารฝา่ ย สมเดจ็ พระนเรศวรก็ยิงถกู พระมหาอุปราชาส้ินพระชนม์

รปู ภาพวาดยทุ ธหตั ถี บนผนงั พระอุโบสถวัด สวุ รรณดาราม

9

สงครามตเี มอื งทะวายและตะนาวศรี

ศึกทะวายและตะนาวศรนี ้ัน เปน็ การรบในระหว่างคนตอ้ งโทษกับคนตอ้ งโทษ ด้วยกัน กลา่ วคอื ทางกรุงศรอี ยุธยพาพวกนายทพั ทต่ี ามเสดจ็ ไม่ทันในวันยุทธ หตั ถีนั้น มีถงึ 6 คนคอื พระยาพชิ ัยสงคราม พระยารามกาแหง เจ้าพระยาจกั รี พระยาพระคลงั และพระยาศรไี สยณรงค์ สมเดจ็ พระนเรศวรรบั ส่ังใหป้ รกึ ษาโทษ ลกู ขุนปรึกษาโทษใหป้ ระหารชีวติ สมเด็จพระวนั รตั สังฆปรนิ ายกมาถวายพระพร บรรยายว่า การท่แี ม่ทัพเหล่านั้นตามเสดจ็ ไมท่ นั ก็เพราะบุญญาภินหิ ารของ พระองค์ สมเดจ็ พระนเรศวรที่จะได้รบั เกียรตคิ ณุ เปน็ วีรบุรษุ ทแี่ ทจ้ ริง ด้วยเหตุวา่ ถา้ พวกน้นั ตามไปทันแล้วถึงจะชนะก็ไม่เปน็ ชื่อเสียงใหญห่ ลวงเหมอื นทเ่ี สด็จไปโดย ลาพงั เมื่อเหน็ วา่ สมเด็จพระนเรศวรทรงเลื่อมใสในคาบรรยายขอ้ นี้แล้ว สมเด็จพระวนั รัตก็ทลู ขอโทษพวกแมท่ ัพเหลา่ นไี้ ว้ สมเด็จพระนเรศวรก็โปรด ประทานให้ แตพ่ วกนจี้ ะต้องไปตที ะวายและตะนาวศรเี ปน็ การแก้ตวั จงึ ให้เจ้าพระยา จกั รเี ปน็ แมท่ ัพคุมพลหา้ หมน่ื ไปตตี ะนาวศรี พระยาพระคลังคมุ กาลังพลหม่นื เหมอื นกนั ไปตที ะวาย ส่วนแม่ทพั อ่ืน ๆ ท่ีต้องโทษกแ็ บ่งกนั ไปในสองกองทพั นี้คอื พระยาพชิ ยั สงครามกับพระยารามคาแหงไปตีเมอื งทะวายกับพระยาพระคลงั และ ให้พระยาเทพอรชนุ กบั พระยาศรไี สยณรงค์ไปตีเมืองตะนาวศรกี บั เจา้ พระยาจกั รี

สว่ นทางหงสาวดนี ัน้ เม่ือพระเจา้ นันทบเุ รงเสยี พระโอรสรัชทายาทแล้วก็ โทมนสั ให้ขงั แม่ทพั นายกองไว้ท้งั หมด แตภ่ ายหลงั ทรงดารวิ า่ ไทยชนะพมา่ ในครั้ง น้แี ล้วกจ็ ะต้องมาตพี มา่ โดยไมต่ อ้ งสงสัย ก่อนทไี่ ทยไปรบพม่ากจ็ ะต้องดาเนนิ การ อยา่ งเดียวกนั กบั ทพ่ี ม่ารบกบั ไทย กล่าวคือ จะต้องเอามอญไว้ในอานาจเสียกอ่ น และเปน็ การแน่นอนว่าไทยจะตอ้ งเข้ามาตีทะวายและตะนาวศรี ด้วยเหตนุ ้ีจึงให้แม่ ทพั นายกองทไ่ี ปแพ้สงครามมาครงั้ นีไ้ ปแก้ตวั รักษาเมอื งตะนาวศรแี ละเมอื งทะวาย เป็นอนั ว่าทั้งผู้รบและผูร้ บั ท้งั สองฝ่าย ตกอยใู่ นฐานคนผิดทจี่ ะตอ้ งแก้ตัวทั้งสิน้

10

ในการรบทะวายและตะนาวศรีครง้ั นี้แม่ทัพท้งั สองคือเจา้ พระยาจกั รแี ละ พระยาคลงั กลมเกลียวกันเป็นอยา่ งยิง่ ถึงแม้สมเด็จพระนเรศวรจะไดแ้ บง่ หนา้ ทใี่ ห้ ตีคนละเมือง ก็ยงั มกี ารติดต่อช่วยเหลือกนั และกัน ในทีส่ ุดแมท่ พั ทง้ั สองก็รบชนะ ทัง้ สองเมอื งและบอกเข้ามายังกรุงศรอี ยุธยา สมเด็จพระนเรศวรไดโ้ ปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรไี สยณรงคอ์ ย่คู รองเมืองตะนาวศรี ส่วนทางเมอื งทะวายน้ันให้เจ้า เมืองทะวายคนเกา่ ครองตอ่ ไป ชยั ชนะคร้งั น้เี ป็นอันทาใหแ้ มท่ พั ทั้งหลายพ้นโทษ แต่ ทางพมา่ แมท่ พั กลับถกู ทาโทษประการใดไม่ปรากฏ แตอ่ ย่างไรก็ดีการชนะทะวายและ ตะนาวศรคี รงั้ นี้ ทาใหอ้ านาจของไทยแผ่ลงไปทางใตเ้ ทา่ กบั ในรชั สมยั พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช

ตไี ดห้ วั เมอื งมอญ

ปี พ.ศ. 2137 พระยาลาว เจา้ เมืองเมาะตะมะ เกดิ วิวาทกับเจ้าพระยาพะโร เจ้าเมอื งเมาะลาเลิง พระยาพะโรกลวั พระยาลาวจะมาตเี มาะลาเลิงจงึ ให้ สมิงอุบากองถอื หนงั สอื มาขอบารมีสมเด็จพระนเรศวรเป็นทพี่ ง่ึ ขอพระราชทาน กองทัพไปชว่ ยป้องกันเมือง สมเดจ็ พระนเรศวรจงึ ยอมรับชว่ ยเหลือ พระยาพะโรทนั ที มดี ารัสสั่งให้พระยาศรีไศลออกไปชว่ ยรกั ษาเมอื งเมาะลาเลงิ ซงึ่ แต่บัดนไ้ี ปไดย้ อมมาสวามิภกั ดเิ์ ป็นประเทศราชของไทย ฝา่ ยข้าง พระยาลาวเจ้าเมืองเมาะตะมะ ก็ไปขอความช่วยเหลอื ทางหงสาวดีบ้าง ทางหงสาว ดีให้พระเจา้ ตองอยู กทัพมาชว่ ย แตก่ องทัพไทยกับมอญเมาะลาเลงิ ได้ตีทัพ พระเจา้ ตองอแู ตกไป

11

ตเี มอื งหงสาวดคี รง้ั แรก

การทส่ี มเดจ็ พระนเรศวร ได้หวั เมอื งมอญฝา่ ยใตม้ าเป็นเมอื งขึน้ นับวา่ เป็น จุดหักเหทม่ี ีนัยสาคัญ ของการสงครามไทยกบั พมา่ จากเดิม ฝา่ ยพมา่ เป็นฝ่ายยก ทพั มาไทยโดยตลอด การไดห้ ัวเมอื งมอญฝ่ายใต้ ทาใหไ้ ทยใช้เป็นฐานทัพ ที่จะยก กาลงั ไปตเี มอื งหงสาวดไี ด้สะดวก

สมเด็จพระนเรศวรเสด็จยกกองทัพหลวงไปตีเมอื งหงสาวดี ออกจาก พระนคร เมื่อวันอาทิตย์ ขนึ้ 3 คา่ เดือนอา้ ย ปมี ะแม พ.ศ. 2138 มกี าลังพล 120,000 คน เดินทัพไปถงึ เมืองเมาะตะมะ แล้วรวบรวมกองทพั มอญเข้ามาสมทบ จากนน้ั ได้เสด็จยกกองทพั หลวงไปยังเมอื งหงสาวดี เขา้ ลอ้ มเมืองไว้ กองทัพ ไทยลอ้ มเมอื งหงสาวดอี ยู่ 3 เดือน และได้เขา้ ปลน้ เมอื ง เม่ือวันจันทร์ แรม 13 คา่ เดือน 4 คร้งั หนง่ึ แต่เข้าเมอื งไมไ่ ด้ ครั้นเมอื่ ทรงทราบว่าพระเจา้ แปร พระเจ้าองั วะ พระเจ้าตองอู ไดย้ กกองทัพลงมาช่วยพระเจ้านนั ทบุเรงถงึ สามเมอื ง เห็นว่า ขา้ ศึกมีกาลงั มากนกั จึงทรงใหเ้ ลิกทพั กลับ เมอื่ วันสงกรานต์ เดือน 5 ปีวอก พ.ศ. 2139 และไดก้ วาดต้อนครอบครัวในหวั เมอื งหงสาวดี มาเป็นเชลยเปน็ อันมาก และกองทพั ข้าศึกมิได้ยกตดิ ตามมารบกวนแตอ่ ยา่ งใด

ตเี มอื งหงสาวดคี รง้ั ทสี่ อง

พ.ศ. 2142 สมเดจ็ พระนเรศวรทรงมุ่งหมายจะตเี อาเมืองหงสาวดีให้ได้ จึง ตระเตรียมทพั ยกไปทง้ั ทางบกและทางเรอื ได้ออกเกล้ยี กล่อมหัวเมอื งตา่ งๆ ให้ ออ่ นน้อมตอ่ ไทยไดอ้ กี หลายเมือง แมแ้ ต่เชยี งใหม่ซึ่งไดต้ งั้ แข็งเมอื งตอ่ พม่าแล้ว แตค่ ดิ เกรงวา่ กรุงศรสี ัตนาคนหตุ และไทยจะยกทพั ไปรกุ ราน ก็ไดต้ ัดสินใจยอม อ่อนน้อมมาขอขึ้นต่อกรงุ ศรีอยธุ ยาดว้ ย ส่วนเมอื งตองอกู บั เมืองยะไข่เม่อื เอาใจ ออกหา่ งจากกรงุ หงสาวดไี ปแล้ว ก็หันมาฝกั ใฝก่ ับไทยและรับวา่ ไทยยกทพั ไปตี กรงุ หงสาวดแี ล้ว ก็จะเขา้ รว่ มช่วยเหลอื พระเจา้ ยะไขน่ ้ันอยากได้หัวเมืองชายทะเล

12

สว่ นพระเจา้ ตองอนู ัดจนิ หน่องอยากไดเ้ ป็นพระเจ้าหงสาวดแี ทน สมเด็จพระ นเรศวรจึงทรงรบั เปน็ ไมตรีกบั เมอื งทัง้ สองนนั้ ในระหว่างน้นั พระมหาเถระเสยี ม เพรยี มภกิ ษรุ ปู หนึง่ ไดเ้ ข้ายยุ งพระเจ้าตองอนู ดั จินหนอ่ งมิให้ออ่ นน้อมแกไ่ ทย และ แจง้ อบุ ายให้พระเจา้ ตองอูนัดจินหน่องคิดอ่านเอาเมืองหงสาวดเี สยี เอง พระเจ้า ตองอูนดั จินหน่องเหน็ ชอบดว้ ยจึงชวนพระเจ้ายะไขใ่ ห้ไปตีเมอื งหงสาวดี แล้วพระ เจา้ ตองอูจนดั จินหน่องะทาทเี ป็นยกกองทัพมาช่วยหงสาวดี พอเขา้ เมอื งไดแ้ ลว้ ก็ หยา่ ศึกกนั เสีย และจะแบง่ ประโยชนใ์ หต้ ามท่ีพระเจ้ายะไข่ตอ้ งการ คอื จะยกหวั เมือง ชายทะเลให้แกพ่ ระเจ้ายะไข่ แต่ครงั้ ทัพพระเจา้ ยะไข่และทัพพระเจา้ ตองอูนัดจนิ หนอ่ ง เขา้ ประชดิ เมืองหงสาวดีแลว้ ก็หาเข้าเมอื งไม่ ท้งั น้ีเพราะพระเจ้านันทบุเรงเกิดทรง ระแวงขน้ึ ทัพพระเจ้าตองอนู ดั จนิ หนอ่ งและพระเจ้ายะไขจ่ งึ ไดแ้ ตต่ ้งั ล้อม เมอื งหงสาวดไี ว้

สมเด็จพระนเรศวรทรงเหน็ ว่าทางกรงุ หงสาวดกี าลงั ปั่นป่วนจึงเสด็จยก ทัพหลวงไปตีหงสาวดี แต่ตอ้ งไปเสียเวลาปราบปรามกบฏตามชายแดนซงึ่ พระเจ้า ตองอนู ัดจินหนอ่ งไดย้ ุยงใหก้ ระดา้ งกระเดอ่ื งเปน็ เวลาถงึ 3 เดือนเศษ จงึ เดินทพั ถึงเมอื งหงสาวดีช้ากว่ากาหนดทคี่ าดหมายไว้ ทางฝา่ ยพระเจ้าตองอนู ัดจินหน่อง และพระเจ้ายะไข่ซึ่งกาลงั ลอ้ มเมืองหงสาวดีอยู่ พอไดท้ ราบขา่ ววา่ สมเด็จพระ นเรศวรยกกองทัพขึ้นไปกาจัดกบฏตามชายแดนเมืองเมาะตะมะและกาลังเดนิ ทัพมา กแ็ จง้ ให้พระเจา้ นันทบเุ รงทราบ พระเจา้ นันทบเุ รงกจ็ าใจอนญุ าตให้พระเจ้าตองอู ยกทัพเขา้ ไปในเมอื งหงสาวดีได้ และมอบหมายให้พระเจา้ ตองอนู ัดจนิ หน่อง บัญชาการรบแทนทุกประการ พระเจ้าตองอนู ดั จนิ หนอ่ งจึงกวาดต้อนผ้คู นและ ทรพั ย์สมบตั ิ รวมทัง้ พระเจา้ นนั ทบเุ รงไปยังเมอื งตองอู ทงิ้ เมืองหงสาวดไี วใ้ ห้ กองทัพพระเจา้ ยะไขค่ น้ ควา้ ทรพั ย์ทยี่ ังเหลอื อยู่ต่อไป พอพระเจา้ ตองอูนัดจนิ ห นอ่ งออกจากหงสาวดีไปไดป้ ระมาณ 8 วัน กองทัพไทยก็ยกไปถงึ เมอื งหงสาวดี

13

ครั้นสมเด็จพระนเรศวรได้ทรงทราบวา่ พระเจา้ ตองอนู ัดจินหนอ่ งไมซ่ ื่อตรง ตามคามนั่ ทไ่ี ดใ้ ห้ไว้ก็ทรงพระพิโรธ จึงเสด็จยกทัพตามขึน้ ไปตีเมืองตองอู ไดเ้ ขา้ ลอ้ มเมอื งตองอูอยถู่ งึ 2 เดือนกไ็ มอ่ าจตหี กั เอาได้ เพราะเมอื งตองอูมีชัยภมู ทิ ีด่ ี ชาวเมอื งก็ตอ่ ส้เู ขม้ แขง็ ประกอบกบั ฝนตกชุกและทพั ไทยขาดเสบยี งอาหาร สมเด็จ พระนเรศวรจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหย้ กกองทัพกลบั คืนกรุงศรอี ยุธยา

รปู ภาพวาดกองทพั ของสมเด็จ พระนเรศวรมหาราชเขา้ สู่กรงุ หงสาวดีในปี

14 อาณาจกั รรตั นโกสนิ ทร์

อาณาจกั รรตั นโกสินทร์ เป็นราชอาณาจกั รที่สใ่ี นยคุ ประวตั ิศาสตร์ของไทย เรม่ิ ตัง้ แตก่ ารยา้ ยเมอื งหลวงจากฝัง่ กรุงธนบรุ ี มายงั กรงุ เทพมหานคร ซ่ึง ต้ังอยทู่ างตะวันออกของแม่นา้ เจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก มหาราช ปฐมกษตั รยิ ์แหง่ ราชวงศ์จักรี เสด็จขน้ึ ครองราชสมบตั ิ เม่อื วันท่ี 21 เมษายน พ.ศ. 2325

ครึ่งแรกของสมยั นี้เปน็ การเพิ่มพูนอานาจของอาณาจักร ถกู ขัดจงั หวะด้วย ความขดั แยง้ เป็นระยะกับพมา่ เวยี ดนามและลาว ส่วนครึง่ หลังนัน้ เป็นการเผชิญ กับประเทศเจ้าอาณานิคม องั กฤษและฝรัง่ เศส จนทาใหไ้ ทยเป็นเพียงประเทศเดยี ว ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตท้ ไ่ี ม่ตกเป็นอาณานคิ มของตะวันตก ผลกระทบจากภัย คุกคามน้ัน นาใหอ้ าณาจักรพัฒนาไปสูร่ ัฐชาติ สมยั ใหม่ทรี่ วมอานาจเข้าสู่ศูนย์กลาง โดยมพี รมแดนทกี่ าหนดร่วมกบั ชาติตะวนั ตก สมัยนี้มพี ัฒนาการทางเศรษฐกจิ และ สงั คมท่สี าคัญ ด้วยการเพ่มิ การคา้ กบั ตา่ งประเทศ การเลิกทาส และการขยาย การศกึ ษาแก่ชนชั้นกลางท่ีเกิดขนึ้ อย่างไรก็ตาม ไมม่ กี ารปฏริ ูปทางการเมืองอยา่ ง แทจ้ ริงกระท่ังระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชถูกแทนทดี่ ้วยระบอบราชาธปิ ไตย ภายใตร้ ฐั ธรรมนูญ ในการปฏวิ ตั สิ ยาม พ.ศ. 2475

รูป ภาพถา่ ยอาณาจกั ร รตั นโกสนิ ทร์

15 พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั

16

พระราชประวตั ิ

พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ ัว หรือ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาวชริ าวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั เป็นพระ ราชโอรสองค์ของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว เสดจ็ พระราชสมภพ เม่อื วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2424 และเสดจ็ ครองราชย์เม่ือวันที่ 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453 ถึงวนั ท่ี 26 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2468 ไดเ้ ป็นพระมหากษตั ริย์ไทยรัชกาลท่ี 6 แหง่ ราชวงศ์จักรี พระองคท์ รงพระปรีชาความสามารถทางด้านด้าน ศิลปวฒั นธรรมดา้ นอักษรศาสตร์ จนไดร้ ับการถวายสมญั ญานามว่า พระมหาธรี ราชเจา้

พระราชกรณยี กจิ

- ด้านการศกึ ษา

เมื่อครั้งพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หัวยงั ดารงพระอิสริยยศ สยามมกุฎราชกมุ ารไดเ้ สด็จพระราชทานนาม โรงเรยี นยพุ ราชวทิ ยาลัย เมอื่ วันท่ี 24 ธนั วาคม พ.ศ. 2448 ซ่ึงเป็นโรงเรียนรฐั บาลแห่งแรกของเชียงใหม่ และ พระราชทานนาม โรงเรยี นปรนิ ส์รอยแยลสว์ ิทยาลัย เมอ่ื วันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2449 ก่อต้งั โดยคณะมชิ ชนั นารอี เมริกา ซึ่งไมเ่ ป็นเพยี งแตก่ ารนารปู แบบ การศกึ ษาตะวนั ตกมายงั หวั เมอื งเหนือเท่านั้น แตย่ งั แฝงนัยการเมืองระหว่าง ประเทศเอาไว้ด้วย

พระองค์ทรงริเรม่ิ สรา้ งโรงเรียนข้นึ แทนวัดประจารัชกาล ไดแ้ ก่ โรงเรยี น มหาดเล็กหลวง (ปัจจุบนั คือ โรงเรยี นวชริ าวธุ วทิ ยาลยั ) ท้ังยังทรงสนับสนนุ กจิ การของโรงเรยี นราชวิทยาลยั ซ่งึ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขน้ึ ในปี พ.ศ. 2440 (ปจั จบุ นั คอื โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์)

17

และในปี พ.ศ. 2459 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานโรงเรยี น ขา้ ราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั ขึ้นเป็น “จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ” ซงึ่ เปน็ มหาวทิ ยาลยั แห่งแรกของประเทศไทย

รปู โรงเรยี นมหาดเลก็ หลวง

- ดา้ นการเศรษฐกจิ

ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชบัญญตั ิคลังออมสิน พ.ศ. 2456 ขึน้ เพอื่ ใหป้ ระชาชนรจู้ ักออมทรพั ย์และเพื่อความมน่ั คงในดา้ นเศรษฐกิจ ของประเทศ ทรงจัดตั้งสภาเผยแผพ่ าณชิ ย์ ซงึ่ เป็นหนว่ ยงานคลา้ ยกบั สภา พฒั นาการเศรษฐกิจในปัจจุบนั

- ดา้ นสงั คม

เมอื่ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 ทรงจดั ตง้ั กองเสอื ปา่ และทรงจดั ตั้ง กองลูกเสือกองแรกข้ึนท่ีโรงเรียนมหาดเลก็ หลวง (ปัจจบุ ัน คือ โรงเรยี น วชริ าวธุ วิทยาลัย)

18

ทรงสรา้ งเมืองจาลอง เมอื งดสุ ติ ธานี ซึง่ เป็นเมืองมขี นาดพนื้ ที่ 1 ใน 20 เทา่ ของ เมืองจรงิ ซ่ึงเป็นเมืองจาลองรปู แบบระบอบประชาธปิ ไตย ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้ตง้ั วชริ พยาบาลเมอ่ื พ.ศ. 2455 และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เมือ่ พ.ศ. 2457 ทรงเปดิ การประปากรงุ เทพฯ เมอื่ วนั ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457 ในปี พ.ศ. 2460 ทรงต้งั กรมรถไฟหลวง และเริ่มเปดิ การเดินรถไฟสาย กรงุ เทพมหานครถึงจงั หวัดเชียงใหม่ สายใตจ้ ากธนบรุ เี ช่อื มกบั ปนี ังและสงิ คโปร์ อกี ทั้งยงั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งสะพานพระราม 6 เพ่ีอเช่อื มทางรถไฟไปยงั ภูมภิ าค อื่น

รูป เมืองดุสติ ธานี พระองค์ทรงโปรดให้มกี ารตง้ั นามสกลุ เหมอื นกบั ประเทศอ่ืน ๆ โดยให้ตรา พระราชบญั ญตั ขิ นานนามสกลุ เมอ่ื วนั ท่ี 22 มีนาคม พ.ศ. 2455 และมีการ พระราชทานนามสกลุ ให้แกห่ ลายครอบครวั ทเี่ รยี กว่า นามสกลุ พระราชทาน ทรงประกาศให้มีการใชพ้ ทุ ธศกั ราชแทนรตั นโกสนิ ทร์ศก ตั้งแต่วนั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2456 นอกจากนี้ทรงให้เปลีย่ นการนับเวลามาเรยี กวา่ นาฬิกาและนับเวลา ทางราชการใหม่ให้สอดคล้องกับธรรมเนียมสากลนยิ ม โดยใหถ้ อื เวลาหลงั เทย่ี ง คนื เป็นวนั ร่งุ ขนึ้ หรือวันใหม่ ซง่ึ จากเดมิ ประเทศไทยนับเวลาตอนกลางวนั เปน็ โมง ตอนกลางคนื เปน็ ทมุ่

19

ทั้งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปล่ียนรูปแบบธงชาตอิ ีกคร้งั โดย เปลี่ยนเป็นธงรปู ส่เี หลยี่ มผนื ผ้า มแี ถบยาวสแี ดง 3 แถบ สลบั กบั แถบสขี าว 2 แถบ ซ่งึ ธงน้เี รียกวา่ ธงแดงขาว 5 รว้ิ (ช่ือในเอกสารราชการเรยี กวา่ ธงค้าขาย) เมอ่ื ถึง พ.ศ. 2460 แถบสีแดงที่ตรงกลางธงแดงขาว 5 ริ้ว ได้เปลีย่ นเปน็ สีน้า เงนิ ขาบ พระราชทานนามวา่ ธงไตรรงค์ ดงั ปรากฏอยูใ่ นปจั จุบัน

ธงไตรรงค์

ธงแดงขาว 5 ร้วิ

ในปีพ.ศ. 2460 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยูห่ วั ไดท้ รงพระกรณุ า โปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชกฤษฎกี าคานาหน้านามกาหนดให้ใช้คานาหน้านามอย่าง อารยประเทศ น่ันคอื ใหม้ คี าวา่ เดก็ ชาย เด็กหญงิ นาย นาง และนางสาวนาหนา้ ชื่อ

20

- ด้านศลิ ปวฒั นธรรม

ทรงตัง้ กรมมหรสพ เพ่อื ฟน้ื ฟศู ลิ ปวัฒนธรรมไทย และยงั ไดท้ รงสร้างโรง ละครหลวงไวใ้ นพระราชวงั ทุกแห่ง นอกจากนี้ ยังทรงสนพระราชหฤทัยด้าน จิตรกรรมและสถาปตั ยกรรมไทย ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ออกแบบอาคาร สมัยใหมเ่ ป็นแบบทรงไทย เชน่ ตกึ อักษรศาสตร์ ซึง่ เป็นอาคารเรียนหลังแรกของ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั และอาคารโรงเรยี นวชิราวธุ วทิ ยาลยั ทรงสง่ เสรมิ ให้มี การแต่งหนงั สอื โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหต้ ราพระราชบัญญัติ วรรณคดีสโมสร และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหต้ ราพระราชบัญญตั ิสมุด เอกสาร พ.ศ. 2465 ขน้ึ

พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงสนับสนนุ ศลิ ปะการแสดงโขน ดว้ ยการพระราชนิพนธบ์ ท ทรงควบคมุ การจัดแสดงและฝกึ ซอ้ มด้วยพระองค์ เอง และทรงโปรดให้ครโู ขนละครจากคณะของเจา้ พระยาเทเวศร์วงศว์ ิวัฒน์ (หมอ่ มราชวงศ์หลาน กุญชร) เปน็ ผฝู้ ึกหดั คณะโขนของพระองค์ ดา้ นการละคร ทรงนาแบบอย่างมาเผยแพร่ ทงั้ บทละคร วีธีแสดง การวางตวั ละครบนเวที การ เปลง่ เสยี งพูด พระองค์ทรงมีบทบาทท้ังการพระราชนิพนธบ์ ทละคร ทรงควบคมุ การแสดงและทรงแสดงร่วม พระองคท์ รงพระราชนพิ นธบ์ ทรอ้ งประกอบเนือ้ เร่อื ง ทง้ั ทานองเพลงไทยและเพลงสากล นอกจากนี้ยังทรงโปรดฯให้มีการสอน และฝึกซอ้ มดนตรไี ทยควบคู่ไปกบั การเรียนการสอนวชิ าสามญั

21

- ด้านการตา่ งประเทศ

ขณะดารงพระยศเป็นสยามมกุฎราชกุมาร ในระหว่างปดิ ภาคเรียนขณะทรง ศกึ ษาทีป่ ระเทศอังกฤษ พระองค์ทรงศกึ ษาภาษาฝร่ังเศส[94] และเสด็จ ทอดพระเนตรกจิ การทหารของประเทศในภาคพน้ื ยโุ รปเป็นเนอื งนจิ ในปีพ.ศ. 2445 ขณะทรงพระชนมายุ 22 พรรษา หลงั จากทรงสาเร็จการศกึ ษาจาก มหาวทิ ยาลยั ออกซฟอร์ดแลว้ พระองคไ์ ดเ้ สด็จพระราชดาเนนิ ไปประทบั ทก่ี รงุ ปารสี ประเทศฝรง่ั เศส และเสดจ็ พระราชดาเนนิ ทรงเยี่ยมประเทศตา่ งๆ ในทวีป ยุโรปจนถงึ ประเทศอยี ปิ ต์ เพ่อื เปน็ การเจริญสมั พนั ธไมตรี จากนน้ั ประทับอยู่ใน กรงุ ลอนดอนระยะหนึง่ เพ่ือเตรยี มพระองค์นิวัตประเทศไทย

พระบาทสมเด็จพระมงกฏุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัวไดม้ พี ระบรมราชโองการประกาศ สงครามกบั ประเทศฝา่ ยเยอรมัน ในสงครามโลกครั้งท่ี 1 เมื่อวนั ท่ี 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 โดยประเทศไทยได้เข้ารว่ มกับประเทศฝ่ายสมั พนั ธมติ ร ซ่ึง ประกอบดว้ ยประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส และรสั เซียเป็นผ้นู า พรอ้ มทง้ั ได้ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ใหส้ ่งทหารไทยอาสาสมคั รไปรว่ มรบในสมรภูมิยุโรปดว้ ย ผล ของสงครามประเทศฝา่ ยสมั พันธมติ รไดช้ ัยชนะ ทาใหป้ ระเทศไทยมีโอกาสเจรจากบั ประเทศมหาอานาจหลายประเทศ ในการแกไ้ ขสนธิสัญญาที่ไม่เปน็ ธรรม เชน่ สนธิสัญญาสิทธสิ ภาพนอกอาณาเขต สนธสิ ญั ญาจากัดอานาจการเกบ็ ภาษีของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอย่หู วั และ สนธสิ ญั ญาจากดั อานาจกลาง ประเทศไทย

22 บรรณนานกุ รม

วกิ ิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2565). สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช. สบื คน้ เมื่อ 25 กมุ ภาพันธ์ 2565, จาก //th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จ พระนเรศวรมหาราช

วกิ พิ เี ดยี สารานุกรมเสรี. (2565). อาณาจกั รรตั นโกสนิ ทร์ (สมัย สมบรู ณาญาสทิ ธิราชย)์ . สบื ค้นเมอื่ 26 กมุ ภาพันธ์ 2565, จาก //th.wikipedia.org/wiki/อาณาจกั รรตั นโกสนิ ทร์ _(สมยั สมบูรณาญาสิทธิราชย์)

วิกพิ เี ดยี สารานกุ รมเสรี. (2565). ดุสติ ธานี. สบื ค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2565, จาก //th.wikipedia.org/wiki/ดุสิตธานี

จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา. (2559). ประวตั แิ ละความเป็นมาของจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา. สบื คน้ เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2565, จาก //ww2.ayutthaya.go.th/content/history_1

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ