การนำส งสำหร บผ ม เง นได ต างประเทศ

รูปแบบและกลไกการเสริมสรา้ งวนิ ัยในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี ทมี่ ชี ื่อเสียงได้แก่ กาแฟ ชอคโกแล็ต แปง้ ผลิตภณั ฑ์จากนม เคร่อื งเทศ เป็นต้น นอกจากนี้ ยงั มี ศูนย์ยานอวกาศและการบิน รวมท้ังในเบรเมนยังมีการพัฒนาและก่อสร้างองค์ประกอบหลัก ๆ สำหรบั จรวด ดาวเทยี ม และเครือ่ งบนิ แอร์บสั 6. ฮมั บวรก์ (Hamburg) มีเมอื งหลวงของรัฐ ชือ่ ฮัมบวร์ก (Hamburg) เป็นเมอื งใหญ่ อันดับสองในเยอรมนี และเมืองท่าออกทะเลที่สำคัญที่สุดของเยอรมนี และเป็นศูนย์กลางการค้า ตา่ งประเทศอีกด้วย อย่างไรกต็ าม ถงึ แมว้ า่ ฮัมบวร์กจะเปน็ เมืองอตุ สาหกรรมใหญ่ แต่ยงั นับไดว้ า่ เป็นเมืองที่รักษาธรรมชาติไว้ได้ดีมากอีกเมืองหน่ึงด้วย ท้ังนี้ร้อยละ 40 ของพื้นท่ีท้ังหมดที่เป็น เกษตรกรรม สวน อทุ ยาน และพ้นื ที่สเี ขยี ว และอีกรอ้ ยละ 28 ยังเป็นเขตคมุ้ ครองภมู ทิ ัศน์ และ คุ้มครองธรรมชาติ นอกเหนือจากเขตคุ้มครองและอุทยานแล้ว ยังมีต้นไม้ริมถนนอีกมากกว่า 240,000 ต้นอีกด้วย สถานที่ท่องเท่ียวในเมืองฮัมบวร์ก ประกอบด้วยการชมทัศนียภาพอัน งดงามรมิ แม่นำ้ เอลเบและแม่นำ้ อัสสเ์ ทอร์ ยา่ นเซนต์เพารี ถนนเรเพอรบ์ าน และโบสถ์มเิ ชล 7. เฮสเซน (Hesse) มีเมืองหลวงของรัฐ ชื่อ ไวส์บาเดน (Wiesbaden) เป็นรัฐที่อยู่ ตรงกลางของประเทศ จงึ มที ง้ั การคมนาคมทางอากาศ ทางรถไฟ ทางบก และทางนำ้ ทา่ อากาศยาน ไรน์ไมน์ในเมืองฟรังค์ฟวร์ทถือได้ว่าเป็นท่าอากาศยานท่ีมีผู้โดยสารมากท่ีสุดเป็นอันดับสองใน บรรดาท่าอากาศยานของยุโรปท้ังหมด นอกจากนี้ยังมีเมืองมหาวิทยาลัยซึ่งตั้งอยู่ในภูมิทัศน์ อันงดงามนัน่ คือ เมอื งมารบ์ วร์ก เมอื งกเี ซน และเมอื งเวทซล์ าร ์ 8. เมคเคลนบวร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น (Mecklenburg-Vorpommern) มีเมืองหลวง ของรัฐ ช่ือ ชเวริน(Schwerin) รัฐนี้ได้ชื่อว่าเป็น “ดินแดนหน่ึงพันทะเลสาบ” ประกอบด้วย ชายฝ่ังทะเลหลายรูปทรง ทั้งเนินเต้ีย และท่ีราบท้องทุ่งไร่นา เศรษฐกิจที่สำคัญของรัฐนี้ คือ การเกษตรกรรม อาทเิ ชน่ ธญั พชื เมลด็ พชื ให้นำ้ มัน และมนั ฝรงั่ เนอื่ งจากร้อยละ 80 ของพื้นท่ี ท้งั หมดใชป้ ระโยชนท์ างดา้ นเกษตรกรรม 9. นีเดอร์ซัคเซน (Niedersachsen) มีเมืองหลวงของรัฐ ชื่อ ฮาโนเวอร์ (Hanover) เป็นรัฐใหญ่อันดับสองของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เกษตรกรรมเป็นเศรษฐกิจหลักของรัฐ นีเดอร์ซัคเซน แต่อย่างไรก็ตาม รัฐนี้ยังมีอุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิต รถยนต์ โดยบรษิ ัทโฟคสว์ าเกน (Volkswagen) ตั้งอยู่ในเมืองโวฟส์บวร์ก (Wolfsburg) บรษิ ัทน้ี จะมีมูลนิธิโฟคส์วาเกน ซ่ึงเป็นมูลนิธิเอกชนเยอรมันท่ีใหญ่ท่ีสุด นอกจากน้ี นีเดอร์ซัคเซนยังมี มหาวิทยาลัยท้ังหมด 11 แห่ง โดย 2 แห่งจะเป็นมหาวิทยาลัยศิลปกรรม และยังมีวิทยาลัย เฉพาะดา้ น 13 แหง่ และสถาบนั เพือ่ การวจิ ัย 120 แหง่ 10. นอร์ดไรน์-เวสท์ฟาเลน (North Rhine-Westphalia) มีเมืองหลวงของรัฐ ช่ือ ดัชส์เซลดอร์ฟ(Düsseldorf) รัฐน้ีถือว่าเป็นรัฐที่มีประชากรหนาแน่นที่สุด โดยเฉพาะในเมือง ใหญ่ ๆ อาทโิ คโลญจน์ (Cologne) บอนน์ (Bonn) เป็นต้น รัฐนี้เป็นศนู ย์กลางเทคโนโลยีสภาวะ 38 รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี แวดล้อมชั้นนำแห่งหนึ่งในยุโรป และยังเป็นรัฐแห่งธุรกิจประกันภัย การเงิน และมหกรรมแสดง สนิ คา้ ตลอดจนสอื่ ตา่ ง ๆ ในรปู แบบบรษิ ทั มากกวา่ 600 แหง่ และบรษิ ทั ซอฟทแ์ วรอ์ กี 1,300 แหง่ 11. ไรนล์ นั ด์-ฟัลส์ (Rhineland-Pfalz) มเี มืองหลวงของรัฐ ชื่อ เมนซ์ (Mainz) รัฐนี้ จะมีที่ราบลุ่มของแม่น้ำไรน์ระหว่างเมืองบิงเงน (Bingen) และเมืองบอนน์ (Bonn) ซ่ึงเป็น ดินแดนที่มีภูมทิ ัศน์ที่สวยงาม และมสี ถานทที่ อ่ งเที่ยวที่มากมาย นอกจากนีใ้ นแถบทรี่ าบลุ่มแม่น้ำ โมเซลยังเต็มไปด้วยไร่องุ่นสำหรับทำไวน์อย่างมากมาย นอกจากน้ี ยังเป็นที่ตั้งของบริษัทเคมี ขนาดใหญ่ BASF ซึง่ เปน็ โรงงานเคมีทใ่ี หญ่ท่ีสุดในยโุ รป และยงั มมี หาวิทยาลัยท้งั ส้นิ 4 แห่ง และ วิทยาลัยเฉพาะด้าน 10 แห่ง ซึ่งปัจจุบันมีการขยายวิทยาลัยเฉพาะด้านมากกว่า เน่ืองจากเน้น การเป็นสถาบันสำหรบั การเรยี นเพือ่ ไปทำงานได้เป็นอย่างด ี 12. ซารล์ ันด์ (Saarland) มเี มอื งหลวงของรฐั ช่ือ ซารบ์ รัวก์เคน (Saarbrücken) เปน็ แหล่งอุตสาหกรรมแก้วกับเซรามิค รวมถึงการผลิตเครื่องจักรกล และอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ นอกจากนี้รัฐซาร์ลันด์ยังเป็นรัฐที่ส่งเสริมโครงการวิจัยท่ีสำคัญอย่างย่ิง โดยเฉพาะในสาขา เทคโนโลยีสารสนเทศกับการสื่อสาร การวิจัยวัสดุศาสตร์ วิศวกรรมไฟฟ้า เทคโนโลยีการผลิต และวศิ วกรรมการแพทย ์ 13. ซคั เซน (Sachsen) มเี มืองหลวงของรฐั ชือ่ เดรสเดน (Dresden) เป็นรัฐทีต่ ั้งอยู่ ทางฝั่งเยอรมันตะวันออก และเป็นแหล่งอุตสาหกรรมมาต้ังแต่ในอดีต แต่จากการเกิดเหตุการณ์ สำคัญทางการเมืองต่าง ๆ และจากการเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่ในเยอรมนีทำให้ปัจจุบันรัฐซัคเซนมี การเปล่ียนแปลงโครงสร้างในระดับชนชั้นมากขึ้น ปัจจุบันรัฐซัคเซนเป็นรัฐทางฝั่งตะวันออกท่ีมี โครงสร้างมหาวิทยาลัยที่หลากหลายที่สุด โดยสาขาที่เป็นที่นิยม และโดดเด่นท่ีสุดของรัฐ คือ สาขาวิศวกรรมและวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ รัฐซัคเซนยังมีสถานที่ท่องเท่ียวที่เป็นประวัติศาสตร์ ทั้งพระราชวังโมทรัทซ์บวร์ก ราแมนเอา พระราชวังกลางน้ำคลัพเฟนบัคสวนแห่งไฮเดเนา-โกรส เซคลิทซ์ และสถานท่ีท่องเท่ียวอืน่ ๆ อกี มากมาย 14. ซัคเซน-อันฮัลท์ (Sachsen-Anhalt) มีเมืองหลวงของรัฐ ช่ือ มักเดบัวร์ก (Magdeburg) เป็นรัฐท่ีมีการผสมผสานการทำไร่องุ่นในแถบริมแม่น้ำซาเลกับอุนชทรุท การทำ กสกิ รรมตามท่รี าบมกั เดบวรก์ และไหล่เทอื กเขาฮาร์ซ และการทำอุตสาหกรรม โดยสว่ นใหญ่แลว้ การทำอุตสาหกรรมที่น่ีจะเป็นการลงทุนจากต่างประเทศมากกว่าท้ังทางด้านเคมี อาหาร และ ยานยนต์ อย่างไรกต็ าม ทน่ี ย่ี ังมมี หาวทิ ยาลัยที่เกา่ แก่ท่มี อี ายถุ งึ 300 ปตี ัง้ อยู่น่ันคอื มหาวิทยาลยั ฮัลเล-วิทเทนเบอร์ก และยังมีมหาวิทยาลัยท่ีได้รับการสถาปนาล่าสุด นั่นคือ มหาวิทยาลัย ออทโท-ฟอนกอื ริเค 15. ชเลสวิก-โฮลชไตน์ (Schleswig-Holstein) มีเมืองหลวงชองรัฐ ช่ือ เคล (Kiel) เป็นรัฐเดียวในสาธารณรัฐเยอรมนีที่มีทะเลขนาบทั้ง 2 ข้างนั่นคือ ทะเลเหนือกับทะเลบอลติก 39 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมน ี มีประชากรไม่มาก พิพิธภัณฑ์ในรัฐแห่งน้ีมีช่ือเสียงระดับประเทศ ได้แก่ พิพิธภัณฑ์พระราชวัง กอททอรฟ์ และพพิ ธิ ภณั ฑก์ ลางแจง้ มอลฟเ์ ซ 16. เธอริงเงน (Thueringen) มีเมืองหลวงของรัฐ ชื่อ เออร์เฟริท์ (Erfurt) มีสภาพ ภูมิศาสตร์เป็นป่าไม้และหุบเขา ตั้งอยู่ใจกลางเยอรมนี คร่ึงหนึ่งของพ้ืนท่ีในรัฐน้ีใช้เพื่อประโยชน์ ทางเกษตรกรรม มกี ารเพาะปลกู ธญั พชื ตน้ เรฟ มันฝรั่ง และหวั บีทรูท นอกจากนี้ ยงั ถอื ไดว้ า่ รัฐ แหง่ นี้มกี ารสง่ เสริมวชิ าการท่ีเขม็ แขง็ ซึ่งมสี ถาบันการศึกษาท่ีเป็นมหาวิทยาลยั ทงั้ ส้ิน 4 แห่ง และ อีกหลายแห่งของวิทยาลัยเฉพาะด้าน ตลอดจนมีสถาบันวิจัย 50 แห่ง และศูนย์เทคโนโลยี 20 แห่ง ไม่เพียงแต่จะโดดเด่นทางด้านวิชาการเท่านั้น ยังมีความโดดเด่นเก่ียวกับหลักฐานทาง ด้านวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ อาทิ ปราสาท พระราชวัง พิพิธภัณฑ์ โรงละคร และหอศิลป์ ตา่ ง ๆ ซ่ึงกลายเปน็ สถานทีท่ อ่ งเที่ยวทีน่ ิยมอย่างมากในรฐั แหง่ น ี้ การปกครอง เยอรมนีปกครองในรูปแบบสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยระบบการปกครองของเยอรมนีมีพ้ืนฐานจากเอกสารรัฐธรรมนูญในปี พ.ศ. 2492 ซึ่งเรียกว่า Grundgesetz (กฎหมายพน้ื ฐาน) อำนาจนติ บิ ญั ญตั เิ ปน็ ของรฐั สภาซง่ึ ประกอบไปดว้ ย สภาผแู้ ทน ราษฎร (Bundestag) ซึ่งสมาชิกมาจาก การเลือกตั้งโดยตรง และ สภาผู้แทนรัฐ (Bundesrat) เปน็ สภาตัวแทนจาก 16 รัฐของสหพนั ธ์ โดยมตี ำแหนง่ ประธานาธิบดี (Bundespräsident) เปน็ ตำแหนง่ ประมขุ แหง่ สหพนั ธร์ ฐั เยอรมนี ซงึ่ ไดร้ บั เลอื กจากทปี่ ระชมุ สหพนั ธ์ (Bundesversammlung) ที่ประกอบไปด้วยสมาชิกของ Bundestag และตัวแทนของรัฐต่าง ๆ ในจำนวนเท่ากัน ผู้ดำรง ตำแหนง่ นายกรัฐมนตรี (เยอรมัน: Bundeskanzler; อังกฤษ: Chancellor) เปน็ ตำแหน่งหวั หน้า รัฐบาล เป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร หัวหน้ารัฐบาล คนปัจจุบันคือ นาง อังเกลา แมร์เคิล (Angela Merkel) ประชากร/สังคม/วัฒนธรรม จากการสารวจครั้งลา่ สดุ ปี 2011 แสดงให้เหน็ วา่ เยอรมนี มีประชากรมากกว่า 81 ล้านคน และเมื่อเทียบกับพื้นที่ของประเทศ 357,340 ตารางกิโลเมตร แล้ว จัดว่าประเทศเยอรมนีเป็นประเทศที่มีประชากรอยู่กันอย่างหนาแน่น และการที่มีผู้อพยพ เข้ามาอยู่ในเยอรมนีในปี 2015 มากกว่า 1 ล้านคน ก็จะส่งผลต่อจานวนประชากรของประเทศ แน่นอน แต่ประเทศเยอรมนเี ป็นประเทศที่ต้องการผูอ้ พอพเช่นกนั เพราะสังคมเยอรมนั เป็นสงั คม สูงอายุ ณ วันนี้อายุโดยเฉล่ียของประชากรเยอรมันคือ 43.7 ปี และรัฐบาลก็พยายามหาทาง แกไ้ ขปญั หาสังคมสงู อายุอยู่ โดยมนี โยบายให้เงนิ ชว่ ยเหลอื ใหค้ รอบครวั ทีม่ บี ุตร เพ่อื กระตนุ้ อตั รา การขยายตวั ของประชากร เป็นต้น โดยปกติแล้วชาวเยอรมันจะนับถือศาสนาคริสต์ และมีสังคมและวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวของ กบั ศาสนานี้ เช่น วนั หยุดราชการ และพธิ ีกรรมตา่ งๆ ซงึ่ เปน็ เร่อื งปกตใิ นทวปี ยุโรป แตเ่ ม่อื ถามว่า สังคมเยอรมันเปน็ อย่างไร ก็คงไม่สามารถทบ่ี อกได้ชดั เจน เน่ืองจากเพิง่ มกี ารรวมตัวเป็นประเทศ 40 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมน ี เยอรมนมี าไมถ่ งึ 150 ปมี านเ้ี อง คอื รวมตวั ในปี 1871 คอื เปน็ เวลาไมน่ านกอ่ นสงครามโลกครงั้ ท่ี 1 ซึ่งกอ่ นหน้านัน้ พน้ื ท่ีประเทศเยอรมนีในปัจจุบนั มีอาณาจักรตา่ ง ๆ เป็นรอ้ ย ๆ อาณาจักร แต่ละ อาณาจักรก็มีรูปแบบสังคมท่ีใกล้เคียงกัน ฉะน้ันจึงขอพูดถึงสังคมเยอรมันในปัจจุบันเป็นหลัก โดยสังคมเยอรมันในวันน้ีเป็นสังคมท่ีค่อนข้างเปิดรับวัฒนธรรมใหม่ๆ โดยการเปิดรับวัฒนธรรม ใหมน่ ี้ ไดเ้ รม่ิ ขนึ้ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั หลงั จากชว่ งสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 เปน็ ตน้ มา เชน่ การรบั วฒั นธรรม การใช้ชีวิตแบบอเมริกันชน หรือการท่ีมีแรงงานจากต่างชาติเข้ามาทางานในประเทศเยอรมนีเป็น จานวนมากในช่วงปี 60 ทาให้เยอรมนีได้รับวัฒนธรรมต่างๆ จาก แรงงานต่างชาติ เช่น วัฒนธรรมการกินพซิ ซ่าจากแรงงานอติ าลี หรือการกิน Döner Kebab จากแรงงานตุรกี ในวันนี้ ต้องรอดูกันวา่ ผู้อพยพกวา่ 1 ล้านคน จะส่งผลกระทบทางวัฒนธรรมอะไรบ้างกบั เยอรมน ี เศรษฐกิจ เยอรมนีเป็นหน่ึงในสมาชิกผู้ก่อต้ังสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงิน กับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนเี ปน็ ประเทศท่มี ีอิทธิพลต่อประเทศอ่ืนๆ ในยโุ รป และเป็นประเทศท่ีมีความสามารถท่ีจะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายใน ประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจท่ีใหญ่ท่ีสุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศท่มี ีการนำเขา้ ส่งออกมากที่สดุ เปน็ อันดับสาม ดชั นีการพัฒนามนุษย์ถือว่า สูงมาก ภาษา ในเยอรมนีจะมีการใช้ภาษา “เยอรมันกลาง” เป็นหลัก ซึ่งนักเรียนทุกคนต้อง เรียนในโรงเรียน และเป็นภาษาราชการอีกด้วย แต่ในแต่ละท้องที่มีการพูดภาษาท้องถิ่นแตกต่าง กันออกไป ในโรงเรียนจะมกี ารเรียน การสอนภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน และรัสเซีย เปน็ ภาษา ที่ 2 ได้ (ในอดีตเป็นภาษาลาติน และกรีกโบราณ ซ่ึงยังสามารถเลือกเรียนได้เป็นภาษาที่ 3 ใน บางโรงเรยี น) ระบบการศกึ ษาของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนี รัฐบาลเยอรมันมีการควบคุมโรงเรียนและระบบการศึกษาให้อยู่ภายใต้กฎหมาย รัฐธรรมนญู มาตรา 7 แตร่ ัฐแต่ละรฐั มกี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารของรฐั ท่มี หี นา้ ท่รี บั ผิดชอบบริหารงาน อยา่ งเสรภี าพทจี่ ะจดั การกบั ระบบการศกึ ษาของโรงเรยี นสามญั ศกึ ษา วสิ ามญั ศกึ ษา และการศกึ ษา ผู้ใหญ่ ดังนั้น ระบบการศึกษาแต่ละรัฐจึงมีรายละเอียด ความแตกต่างกันออกไปบ้าง แต่เพ่ือ ไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หาความเหลอื่ มลำ้ กนั ในแตล่ ะรฐั ในกรณมี นี กั เรยี นตอ้ งเปลยี่ นไปเรยี นหนงั สอื ทร่ี ฐั อน่ื ดังน้นั ทกุ รฐั จึงมกี ารเจรจากนั ตามข้อตกลงแฮมเบิร์ก (Hamburger Abkommen) ซึง่ มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่วันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ.1971 ที่กำหนดให้ทุกรัฐมีการศึกษาภาคบังคับ และจัดแบบแผน การเรียนการสอนเหมือนกันทั่วประเทศ คือ มีการศึกษาภาคบังคับสำหรับเด็กท่ีมีอายุระหว่าง 41 รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินัยในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี 6-18 ปี (รวมท้ังหมด 12 ปี) ซ่ึงมีหน้าท่ีต้องไปเรียนหนังสืออย่างน้อยท่ีสุด 9 ปีจากการศึกษา ภาคบงั คบั 12 ปี บางรฐั อาจเป็น 10 ปี หรอื 11 ปี และรบั รองประกาศนียบตั รแต่ละโรงเรยี นใน ทกุ รัฐ (เบญจมาศ คลิงเลอร์, 2010) ระดับอนุบาลศกึ ษา (Kindergarten) จากการเปลี่ยนแปลงกฎหมายว่าด้วยการศึกษาภาคบังคับต้ังแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ.2556 โรงเรียนอนุบาลได้ถูกรวมเข้าอยู่ในการศึกษาภาคบังคับ ดังนั้น โรงเรียนอนุบาลซ่ึงใช้ เวลาเรียนทั้งสิ้นสองปี จึงถือเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาภาคบังคับที่มีระยะเวลาเรียนสิบเอ็ดปี อยา่ งไรก็ตาม ชน้ั อนุบาลเป็นชัน้ ทอ่ี ิสระ นักเรยี นจะได้ทำกจิ กรรมการละเลน่ ต่าง ๆ ไปพร้อมกบั การเรียนอย่างเปน็ ระบบ (กระทรวงศกึ ษาธิการแห่งรัฐเบริ น์ ก, 2013) ประเภทของโรงเรยี นอนุบาล ถ้าแบ่งประเภทของโรงเรียนอนุบาลในเยอรมนีตามแนวการจัดการเรียนการสอน จะสามารถแบง่ ออกเป็น 4 กลุ่ม ไดแ้ ก ่ 1. กลุ่มวาลด์คินเดอร์การ์เทน หรืออนุบาลธรรมชาติ สถานที่ท่ีเด็กและครูจะใช้เป็น สถานที่เรียนและเล่นจะเป็นพื้นท่ีธรรมชาติ ได้แก่ ป่า ทุ่งหญ้า หรือริมหาด ของเล่นของเด็ก จะเปน็ สิง่ ท่ีมอี ยูต่ ามธรรมชาติ เช่น กง่ิ ไม้ ใบไม้ เปน็ ตน้ 2. กลุ่มเบาเวนโฮฟคินเดอร์การ์เทน หรืออนุบาลเกษตร เป็นรูปแบบโรงเรียนอนุบาลที่ เน้นการเรียนรูค้ วามสัมพันธใ์ นชวี ิตประจำวนั ระหว่างมนุษย์ สตั ว์ และพืช 3. มอนเทสโสรีคิดเกอร์การ์เทน เป็นโรงเรียนอนุบาลท่ีเน้นให้เด็กสามารถทำได้ด้วย ตนเอง 4. วาลด์ดอร์ฟคินเดอร์การ์เทน เป็นโรงเรียนอนุบาลท่ีเน้นการเลียนแบบจากธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของมนษุ ย์ (แมล่ ูกสอง, 2010 หนา้ 24-25) ถา้ แบ่งประเภทของโรงเรยี นอนุบาลตามระยะเวลาที่เปดิ สอน จะสามารถแบ่งออกได้เปน็ 6 ประเภท ไดแ้ ก่ (Textor, 2003 pp. 2-3) 1. สถานรบั เล้ยี งเดก็ ออ่ น จะเปิดรับดแู ลเด็กตัง้ แตอ่ ายุ 6 เดอื นถงึ 3 ขวบ 2. โรงเรียนอนบุ าล จะเปิดรับดูแลเด็กตั้งแต่อายุ 3 – 6 ป ี 3. สถาบันรบั ดูแลเดก็ หลังโรงเรยี นอนบุ าลเลิก จะรบั ดแู ลเดก็ ต้งั แตอ่ ายุ 6 – 10 ปี 4. สถาบนั ดแู ลเด็กท่ีมอี ายุเทา่ กัน 5. สถาบันดแู ลเด็กทม่ี ีหลายระดับอายุ 6. สถาบนั ดแู ลเดก็ ทมี่ ีอายเุ ท่ากนั และทม่ี หี ลายระดบั อายุ 42 รปู แบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรัฐเยอรมนี โรงเรียนอนุบาลส่วนใหญจ่ ะมจี ำนวนนกั เรยี นระหว่าง 12-25 คน ขนึ้ อยู่กับอายขุ องเดก็ และกฎหมายของแต่ละรัฐ บางโรงเรียนก็เปิดสอนวันละ 8 ช่ัวโมง และบางโรงเรียนก็เปิดสอน มากกว่า 8 ช่ัวโมง ซ่ึงก็จะจัดอาหารกลางวันให้เด็กด้วย บางโรงเรียนก็เปิดต้ังแต่ช่วงเที่ยงถึงเย็น บางโรงเรียนกเ็ ปิดเฉพาะตอนเชา้ และบางโรงเรยี นกเ็ ปดิ ทงั้ ตอนเช้าและตอนบา่ ย โรงเรยี นอนบุ าล ส่วนใหญจ่ ะเปิดสอนสอดคล้องกบั ชัว่ โมงการทำงานของครอบครวั ของเด็ก การเข้าโรงเรียนอนบุ าล เด็กแต่ละคนที่มีอายุครบส่ีปีภายในวันที่ 31 กรกฎาคม ต้องเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาล ในเดือนสิงหาคม แต่ผู้ปกครองอาจจะให้บุตรหลานเข้าเรียนอนุบาลในปีถัดมาก็ได้ แต่จะต้องแจ้ง ใหเ้ จา้ หน้าท่ขี องหนว่ ยราชการทเ่ี กยี่ วข้องในทอ้ งถิ่นทราบในวนั ท่ีพาบุตรหลานมารายงานตัว เวลาเรยี นในช้นั อนุบาล ถ้าโรงเรยี นเปดิ เทอมปีละ 38 สปั ดาห์ จะมกี ารสอนทงั้ หมด 23-26 คาบต่อสัปดาห์ และ ถ้าโรงเรียนเปิดเทอมปีละ 39 สัปดาห์ จะมีการสอนท้ังหมด 22-25 คาบต่อสัปดาห์ (กระทรวง ศึกษาธิการแห่งรฐั เบิรน์ ก, 2013) ระดับประถมศกึ ษา (Grundschule) รัฐจำนวน 14 รัฐ ในเยอรมนีจัดการศึกษาระดับประถมศึกษาต้ังแต่เกรด 1-4 ในระดับ ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนตน้ เรยี กวา่ Primarstufe แตม่ อี กี 2 รฐั คอื รฐั เบอรล์ นิ และรฐั บรนั เดนบวรก์ ทเ่ี รยี นเพม่ิ มากกวา่ รฐั อน่ื ๆ อกี 2 ปี ในระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาตอนปลาย เรยี กวา่ Orientierungsstufe โดยจัดการศึกษาระดับประถมศึกษาต้ังแต่เกรด 1-6 จุดมุ่งหมายของรัฐ 2 รัฐท่ีจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษาเปน็ 6 ปี คอื เพ่อื ครผู สู้ อนจะไดส้ งั เกตพฤตกิ รรมและความตงั้ ใจของนกั เรียน และให้คำแนะนำทีถ่ กู ต้องกบั นักเรียนในการศกึ ษาระดบั ต่อไป การเรียนระดับประถมศึกษาจะใชเ้ วลาเรียนสัปดาหล์ ะ 27.5 ชว่ั โมงต่อสปั ดาห์ วิชาเรยี น ได้แก่ ภาษา เยอรมนั คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ชวี วิทยา ภูมิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ สังคมศกึ ษา ดนตรี วาดเขียน พลศึกษา ศาสนา และภาษาอังกฤษ มีรัฐ 6 รัฐ ได้แก่ รัฐซาร์ลันด์ ซัคเซน แฮมบวร์ก เฮสเซน ไรนล์ นั ด-์ ฟาลซ์ และนอร์ดไรน–์ เวสฟาเลน ในการเรียนชั้นประถมศึกษาจะไม่มีการสอบให้คะแนน แต่มีรายงานผลการเรียนซ่ึงครู ประจำชั้นจะเขียนเป็นใบรับรองตอนสิ้นปี เมื่อจบเกรด 4 หรือ เกรด 6 แล้วจะมีผลการเรียน ออกมาวา่ นักเรยี นสามารถไปเรียนตอ่ สายใดได้ (กระทรวงศึกษาธิการแห่งรฐั เบิร์น ข, 2013) 43 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ นักเรียนของรัฐส่วนใหญ่เร่ิมเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหลังเรียนจบเกรด 4 แต่บาง รัฐจะเริ่มเรียนระดับมัธยมศึกษาหลังเรียนจบเกรด 6 ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจะมีโรงเรียน ให้เลือกหลายประเภทแล้วแต่ละรัฐจะกำหนด โดยท่ัวไปทุกรัฐจะมีโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 4 ประเภท ไดแ้ ก่ (กระทรวงศกึ ษาธิการแห่งรฐั เบริ ์น ข, 2013) มัธยมศึกษาตอนต้นสายการช่าง Secondary general school (Hauptschule) เป็น โรงเรียนมัธยมต้นแบบกลาง มีท้ังวิชาสายอาชีพ และวิชาสายสามัญให้เลือกเรียน ใช้เวลาเรียน 5 ปี ต้ังแตเ่ กรด 5 ถึงเกรด 9 ขอบข่ายของวชิ าทเ่ี รยี นเพอ่ื เตรยี มตวั นกั เรยี นให้เข้าไปเรยี นวชิ าชพี สาขาอุตสาหกรรมและสาขาการช่าง วิชาท่ีเรียน ได้แก่ ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ คำนวณ วทิ ยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มัธยมศึกษาตอนต้นสายสามัญ Intermediate school (Realschule) เป็นโรงเรียน มัธยมศึกษาตอนต้นท่ีเน้นการเรียนการสอนทางด้านสายอาชีพเพื่อเตรียมตัวเด็กสำหรับฝึกงาน วิชาชีพ (Ausbildung) ต่อไป ใช้เวลาเรียน 6 ปี ต้ังแต่เกรด 5 – 10 โดยสอนความรู้ทั่วไป มากกวา่ สายมัธยมสายการช่าง เมื่อเรียนจบจะได้ประกาศนียบัตรเพอื่ ไปเรียนตอ่ ในโรงเรียนต่อใน โรงเรียนอาชีวศึกษาระดับกลางและระดับสูงต่อไป เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการมีอาชีพทางด้าน ธรุ กจิ หรอื บริการ เชน่ อาชพี ค้าขาย ศลิ ปาชีพ และเคร่อื งยนตใ์ หญ ่ มัธยมศึกษาตอนต้นสายวิสามัญ Grammar school (Gymnasium) เป็นโรงเรียน มัธยมศึกษาตอนต้นท่ีเน้นการสอนสายสามัญอย่างลึกซึ้งเพื่อจะไปศึกษาต่อขั้นอุดมศึกษา (วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย) เหมาะกับผู้ที่จะเป็นนักวิชาการระดับปริญญา ซ่ึงบางโรงเรียนอาจ สอนเน้นหนักไปในแขนงใดแขนงหน่ึงเพื่อกำหนดแนวทางอาชีพของนักเรียนก็มี เช่น ทางด้าน ดนตรี ทางด้านเศรษฐศาสตร์ หรือทางเทคโนโลยี เป็นต้น การเข้าเรียนโรงเรียนมัธยมสายสามัญ ไม่ต้องสอบเข้าถ้าทำคะแนนในเกรด 4 ดี ครูประจำชั้นจะเขียนลงในใบรับรองผลการเรียนว่า มสี ทิ ธขิ น้ึ ไปเรยี นมธั ยมสายสามญั ได้ สำหรบั ผทู้ ที่ ำคะแนนในเกรด 4 ไมด่ ี กจ็ ะตอ้ งสอบเขา้ สว่ นมาก การเรียนโรงเรียนมัธยมต้นจะจบที่เกรด 10 อาจมีเกรด 9 บ้างในบางรัฐ สำหรับเด็กท่ีเรียนจบ Gymnasium ในการเรียนมัธยมต้น สามารถศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายได้ ซ่ึงใน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายจะเรยี นจบเกรด 12 และเมื่อจบเกรด 12 จะได้วุฒิการศึกษาทีเ่ รยี ก ว่า อาบิทัว (Abitur) ผู้ท่ีมีวุฒิการศึกษา Abitur จะมีสิทธิสอบเข้าสถาบันอุดมศึกษาและ มหาวิทยาลัยได้ทุกแห่ง แต่ถ้าสถาบันอุดมศึกษาและมหาวิทยาลัยมีท่ีเรียนไม่เพียงพอสำหรับ นักเรียน จะคดั เลอื กโดยดูคะแนนจากระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 44 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สร้างวินยั ในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมน ี มัธยมศึกษาตอนต้นผสม Comprehensive school (Gesamtschule) เป็นโรงเรียน มัธยมศึกษาตอนต้นท่ีใช้ระบบร่วม คือ รวมเอามัธยมศึกษาสายการช่าง มัธยมศึกษาสายสามัญ และมธั ยมศกึ ษาสายวสิ ามญั เขา้ ดว้ ยกนั ทง้ั ในดา้ นแผนการเรยี นการสอนและการจดั ระบบการสอน การฝึกงานวิชาชพี (Ausbildung) การฝึกงานวชิ าชพี นน้ั ไม่วา่ จะจบจากโรงเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นประเภทใดก็สามารถฝึกงานวิชาชีพได้ ระยะเวลาในการฝึกงานก็แตกต่างกัน ไปตามสาขาอาชีพ เป็น การร่วมมือระหว่างภาครัฐบาลและภาคเอกชน วิชาชีพทีเลือกเรียนมี มากมาย เชน่ พนกั งานบรษิ ทั หา้ งรา้ น การคา้ ดา้ นธรุ กจิ คา้ สง่ และคา้ ปลกี ชา่ งฟติ ชา่ งไฟฟา้ ชา่ งกล อตุ สาหกรรม ผู้ชว่ ยแพทย์ เคมี ชา่ งทำผม ฯลฯ หลกั เกณฑ์ การเรียนมีทงั้ ภาคทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ ควบคู่กันไปเป็นเวลา 2-3 ปี แล้วแต่ประเภทของอาชีพท่ีเลือก ในการเรียนจะแบ่งเป็นเรียน ท่ีโรงเรียน 40 เปอร์เซ็นต์ และที่บริษัทหรือโรงงานที่ฝึกงาน 60 เปอร์เซ็นต์ ระหว่างฝึกงาน ผู้ฝึกงานท่ีเรียกว่าเลร์ลิง (Lehrling) จะฝึกงานไม่ต่ำกว่า 6 ชั่วโมงต่อวัน และจะได้รับเงินค่า ตอบแทนจากนายจา้ งด้วย ส่วนผู้ที่มีวุฒิอาบิทัว (Abitur) แล้ว จะได้รับการลดเวลาเรียนลงไปต้ังแต่ครึ่งปี จนถึง 1 ปี ส่วนการฝึกวิชาอะไร อย่างไร เป็นเวลาเท่าไรน้ัน ขึ้นอยู่กับสมาคมอาชีพ สหภาพแรงงาน และกระทรวงทร่ี บั ผดิ ชอบจะเปน็ ผกู้ ำหนดขน้ึ เมอ่ื ฝกึ งานจบแลว้ จะทำการสอบโดยคณะกรรมการ สมาคมอุตสาหกรรมและหอการค้า(Industrie-una Handelskammer) หรือ IHK และจะได้รับ ประกาศนียบตั รจากหอการค้าของอาชีพแตล่ ะแขนง ส่วนโรงเรียนมัธยมศึกษาอ่ืนๆ ท่ีไม่ได้มีในทุกรัฐ ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษาขั้นสูง มีเฉพาะรัฐ Saarland โรงเรียนมัธยมศึกษา Mittelschule มีเฉพาะรัฐ Sachsen โรงเรียน มัธยมศึกษา Regelschule มีเฉพาะรัฐ Thueringen โรงเรียนมัธยมศึกษา Oberschule มเี ฉพาะรฐั Brandenburg โรงเรียนมธั ยมศกึ ษา Sekundarschule มีเฉพาะรัฐ Bremen uand Sachsen-Anhalt โรงเรียนมัธยมศึกษาภูมิภาค Regionale Schule มีเฉพาะรัฐ Rheinland- Pfalz uand Mecklenburg-Vorpommern และโรงเรียนมัธยมศึกษา Duale Oberschule มเี ฉพาะในรัฐ Rheinland-Pfalz เป็นตน้ (กระทรวงศึกษาธกิ ารแหง่ รัฐเบริ ์น ข, 2013) โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นจะจัดกิจกรรมให้นักเรียนรู้จักทำงานอย่างเป็นอิสระด้วย ตนเองมากข้ึน นักเรียนจะได้รับการตระเตรียมเพ่ือการเลือกสาขาวิชาชีพ การเลือกอาชีพของ นักเรียนต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของ ความสนใจส่วนบุคคลและผลการเรียน และนักเรียนบางสาขา วชิ าชีพจะต้องฝึกงานด้วย (ญาดา นาเชือก, 2010 หนา้ 20-21) 45 รปู แบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินยั ในสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย(Sekundarstufe II) การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเป็นการศึกษาต่อจากระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คอื เม่อื จบเกรด 10 แล้ว โดยท่วั ไปมกั จะหมายถึงการศกึ ษาต่อในชนั้ เกรด 11-13 ตามหลักสูตร เก่า และถึงเกรด 12 ตามหลักสูตรใหม่ของโรงเรียน Gymnasium และ Gesamtschule นอกจากน้ยี งั รวมถึงการศึกษาภาควิชาการในการศกึ ษาอบรมสายอาชีพทกุ สาขาและการศกึ ษาใน วิทยาลัย (Berufkolleg Fachoberschule) หรือโรงเรียนอาชีวศึกษา (Berufsoberschule) ตลอดจนโรงเรียนภาคคำ่ (Abendschule) การเรยี นในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายในโรงเรยี น Gymnasium และ Gesamtschule โดยทั่วไปจะแบ่งเป็นวิชาพ้ืนฐาน (Grundkurse) มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้เรียนรู้ถึงวิธีคิดวิเคราะห์ และการสร้างงานทางวิชาการ ให้รู้ถึงข้อมูลที่แท้จริงและปัญหาท่ีซับซ้อนของความรู้ท่ีสอน ในวิชาหนึ่งๆ อีกกลุ่มวิชาหน่ึง อาจจะเรียกเทียบได้กับภาษาไทยว่า วิชาหลัก หรือวิชาเอก (Leistungskurse) การสอนวิชาในกลุ่มนี้จะเน้นเนื้อหาท่ีมากและลึกกว่าในกลุ่มวิชาพื้นฐาน โดยนำเสนอให้เรียนรู้ถึงทฤษฎีและแบบแผนตามหลักวิชาการของสาขาวิชาน้ันๆ นักเรียนจะต้อง เลอื กวชิ าหลัก 2 วิชา ในชว่ งปลายเกรด 11 เพอื่ เรยี นเป็นวชิ าหลกั ในเกรด 12 และ 13 ในชว่ งปลายปีการศึกษาของเกรด 13 รฐั 14 รฐั ของเยอรมนจี ะมกี ารสอนรวมทเ่ี รยี กว่า Zentralabitur ซ่ึงเป็นการสอบข้อเขียนโดยใช้ข้อสอบเดียวกัน เป็นข้อสอบท่ีจัดทำโดยหน่วย ราชการในกระทรวงวัฒนธรรมของแต่ละรัฐ เม่ือสอบผ่าน จะได้ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษา ตอนปลาย (Abitir) บางครงั้ เรยี กวา่ Allgemeine Hochschulreife) มศี กั ดแิ์ ละสทิ ธทิ จี่ ะเขา้ เรยี น ในระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัย Universitat Hochscule สาขาต่างๆ รวมท้ังมหาวิทยาลัย ประยุกต์ศาสตร์ (Fachhochschule) หรือจะเรียนต่อสายอาชีพก็ได้ อน่ึง การเรียนในโรงเรียน Gymnasium เม่ือนักเรียนเรียนจบเกรด 12 ก็ถือว่าจบมัธยมศึกษาตอนปลาย มีสิทธิ์เข้าเรียน ต่อในมหาวิทยาลัยประยุกต์ศาสตร์ ซ่ึงถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยท่ีเน้นภาคปฏิบัติตามสายอาชีพ นนั่ คอื จะไดว้ ุฒิ Fachhochschulreife ในวิทยาลัยอาชีวศึกษาที่เรียกว่า Berufskolleg ซ่ึงในบางรัฐจะเป็นโรงเรียนอาชีวะ เฉพาะดา้ น นกั เรยี นทเ่ี ขา้ ศกึ ษาอบรมสายอาชพี จะเรยี นภาควชิ าการทนี่ ี่ ในบางรฐั จะมกี ารผสมผสาน หลกั สตู รการเรียนของโรงเรยี นมัธยมศึกษาตอนปลาย นกั เรียนสามารถทีจ่ ะสอบเพมิ่ เตมิ เพื่อใหไ้ ด้ Fachhochschlreife หรือ Abitur ได้ ในบางรัฐ เช่น Bad Wurttemberg จะเป็นโรงเรียน อาชีวศึกษาทสี่ อนเต็มเวลา นกั เรยี นทจ่ี ะเขา้ เรียนได้ตอ้ งจบ Realschule หรอื จบการศกึ ษาอบรม สายอาชีพ (Berufliche Ausbildung) ใช้เวลาหนึ่งปี จะได้ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษา ตอนปลายสำหรบั ศึกษาต่อใน Fachhochschule 46 รูปแบบและกลไกการเสริมสรา้ งวนิ ยั ในสถานศึกษาระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมน ี โรงเรยี นอาชวี ศกึ ษาประเภท Fachhochschule เปน็ โรงเรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย อีกประเภทหน่ึงทส่ี อนเกรด 11 และ 12 นักเรยี นทีจ่ บท่ีโรงเรียนประเภทน้ี จะได้ประกาศนียบัตร มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สำหรบั ศกึ ษาตอ่ ใน Fachhochschule ท่ีเรียกว่า Fachhochschulreife ใน Nordrhein Westfalen และ Bayem จะมกี ารสอนเกรด 13 ด้วย ซง่ึ นักเรยี นทีจ่ บเกรด 13 Abitur นกั เรียนที่จะเขา้ เรยี นใน Fachhochschule จะตอ้ งจบ Realschule โรงเรียน Berufsoberschule เป็นโรงเรียนอีกรูปแบบหนึ่งสำหรับนักเรียนที่เรียนจบ โรงเรยี นระดบั กลาง และจบการศกึ ษาอบรมสายอาชพี (Abgeschlossenen Berufsausbildung) สามารถมาศึกษาต่อเพ่ือให้จบระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพ่ือศึกษาต่อมหาวิทยาลัยประยุกต์ ศาสตร์ Fachhochschulreife หรือ Abiturได้ การศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย นอกจากจะศึกษาไดใ้ นโรงเรียนขา้ งตน้ ท่กี ล่าวมา แลว้ ยงั มเี ปดิ สอนในโรงเรยี นภาคคำ่ Abendschule มที งั้ Abendgymnasium, Abendrealschule, Abendhauptschule โรงเรียนดังกล่าวเหล่านี้เปิดสอนสำหรับผู้ที่มีงานทำ แต่ต้องการศึกษา เพิ่มเติม จึงเปิดสอนตอนเย็นถึงค่ำ บางคร้ังก็จะสอนวันเสาร์ด้วย คาร์สที่เปิดสอนใน Volkshochschule บางคอร์ส เช่น คอร์สเตรียมตัวการสอนเทียบเพื่อให้ได้ประกาศนียบัตร มธั ยมศึกษา เป็นตน้ (ญาดา นาเชือก, 2011 หนา้ 22-23) การศึกษาพิเศษ (Sonderschule, Foerderzentrum) เน่ืองจากการศึกษาภาคบังคับ มีผลบังคับสำหรับเด็กพิการด้วย เยอรมนีจึงได้จัดให้มีโรงเรียนพิเศษสำหรับเด็กท่ีมีปัญหาแต่ละ กลุ่มด้วย ไดแ้ ก่ 1. โรงเรียนพิเศษสำหรับเด็กท่ีมีปัญหากับผู้ปกครอง และเด็กที่ต้องการความช่วยเหลือ ด้านการพัฒนาทักษะ เด็กกลุ่มนี้จะมีปัญหาด้านอารมณ์และความรู้สึกนึกคิดท่ีซับซ้อน ข้ึนอยู่กับ ปัญหาบรรทัดฐาน พฤติกรรมและสังคมสิ่งแวดล้อม และคุณธรรมที่เด็กได้รับมา ปัญหาทางด้าน สุขภาพจติ เดก็ อาจอย่ใู นสภาพท่หี วาดกลวั ไม่เชอื่ ม่นั ในตนเอง เกิดความทกุ ข์ ความกังวล หรอื ต้ังเงื่อนไขให้กับตัวเอง ทำให้พัฒนาการทางด้านทักษะมีปัญหา และไม่สามารถควบคุมอารมณ ์ ตวั เองได้ และมอี ารมณท์ รี่ นุ แรง เดก็ กลมุ่ นตี้ อ้ งการการพฒั นาการมชี วี ติ ตามววิ ฒั นาการ ทางสงั คม ทเ่ี ปล่ียนแปลงท้ังในดา้ นจิตวิทยาและบคุ ลกิ ภาพ 2. โรงเรียนพิเศษสำหรับเด็กท่ีมีปัญหาเก่ียวกับการเรียน ได้แก่ F81 พัฒนาการด้าน ทกั ษะผดิ ปกติทีโ่ รงเรียนทั่วไปไม่สามารถรับเขา้ เรยี นได้ F81.0 การอ่านและสะกดมปี ญั หา F81.1 การเขียนสะกดคำมีปัญหา F81.2 การคำนวณมีปัญหา F81.3 ทักษะการเข้ากลุ่มของโรงเรียนมี ปัญหา F81.8 ความผิดปกติด้านทักษะอ่ืน ๆ ที่มีปัญหากับโรงเรียน F81.9 ความผิดปกติด้าน พัฒนาการทักษะท่มี ีปัญหากบั โรงเรยี นท่ไี ม่สามารถระบุได้ 47 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สร้างวินยั ในสถานศึกษาระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรัฐเยอรมน ี 3. โรงเรียนการศึกษาพิเศษต่าง ๆ ได้แก่ โรงเรียนการศึกษาพิเศษสำหรับคนตาบอด โรงเรยี นการศกึ ษาพเิ ศษสำหรบั เด็กที่มีปญั หากบั การมองเหน็ โรงเรยี นการศกึ ษาพิเศษสำหรับเด็ก ปัญญาอ่อน โรงเรียนการศึกษาพิเศษสำหรับคนหูหนวก โรงเรียนการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กท่ีมี ปัญหากับการฟัง โรงเรียนการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กร่างกายพิการ โรงเรียนการศึกษาพิเศษ สำหรับเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับการพูด โรงเรียนการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กใบ้ โรงเรียนการศึกษา พิเศษสำหรับเด็กที่มีปัญหาเรื่องเจ็บป่วย หรือต้องรักษาตัวอยู่โรงพยาบาลเป็นเวลานาน และ โรงเรียนการศกึ ษาพเิ ศษสำหรับเด็กทม่ี คี วามสามารถพิเศษ เดก็ ทีม่ พี รสวรรค์เป็นพิเศษ ระดับอุดมศึกษา การเรียนในระดับอุดมศึกษาของเยอรมนี ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนในสถาบันต่าง ๆ 5 ประเภท คือ 1. มหาวทิ ยาลยั ทั่วไปที่เน้นการเรยี นการสอนทางดา้ นทฤษฎี 2. มหาวทิ ยาลยั การประยกุ ต์ (Universty of apply science) ทเี่ นน้ การปฏบิ ตั มิ ากกวา่ ทางทฤษฎี 3. วทิ ยาลัยครู 4. มหาวทิ ยาลัยท่ีเนน้ ทงั้ ทางทฤษฎแี ละการประยุกต ์ 5. วิทยาลยั ศิลปะ หลกั สูตรสำหรับระดบั อดุ มศึกษา สามารถแบ่งออกเปน็ 4 ระดบั ได้แก ่ 1. ระดับ Diplom เป็นหลักสูตรเดิมของเยอรมนี ที่เรียนปริญญาตรีควบปริญญาโท ระยะเวลาของหลกั สูตร 5 ปี 2. ระดับ Bachelor เป็นหลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรี ระยะเวลาของหลักสตู ร 3 ป ี 3. ระดับ Master เป็นหลักสูตรระดบั ปรญิ ญาโท ระยะเวลาของหลกั สูตร 2 ปี 4. ระดับ Ph.D. เป็นหลักสูตรระดับปริญญาเอก ระยะเวลาของหลักสูตร ไม่กำหนด (วิกิพเี ดีย สารานกุ รมเสร,ี 2017, //th.wikipedia.org/wiki/) 48 รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวนิ ยั ในสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี นโยบายรัฐบาล กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับ การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานของเยอรมนี รฐั ธรรมนญู สหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมน ี รัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีที่เก่ียวข้องกับการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานของเยอรมนี ได้แก่ (สำนกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาต,ิ 2010) มาตรา 2 (1) บุคคลมีสิทธิท่ีจะพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองได้โดยเสรี ตราบใดท่ีไม่ เป็นการละเมดิ สิทธิของบคุ คลอน่ื หรอื ละเมดิ ระบอบรัฐธรรมนญู หรอื ศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน มาตรา 6 (2) การอบรมและเล้ียงดูบุตรเป็นสิทธิตามธรรมชาติของบิดามารดา และเป็น ภาระหน้าทขี่ องบิดามารดา รัฐพึงใหค้ วามสนใจแกก่ ารปฏิบตั ิภาระหน้าที่น ี้ มาตรา 7 (1) ระบบการศกึ ษาทง้ั หมดอยู่ภายใตก้ ารควบคมุ ของรัฐ (2) บุคคลผู้มีหน้าที่เลี้ยงดูเด็กมีสิทธิท่ีจะตัดสินใจว่าเด็กควรจะรับการอบรม ทางศาสนาหรือไม ่ มาตรา 9 (1) ชนชาวเยอรมันมสี ทิ ธิทจ่ี ะรวมกันเปน็ สมาคมและสโมสร (2) สิทธิของบุคคลที่จะรวมกันจัดต้ังสมาคมเพื่อพิทักษ์ และปรับปรุงสภาพ การทำงานและ สภาวเศรษฐกิจย่อมได้รับการคุ้มครองข้อตกลงท่ีจำกัดหรือขัดขวางสิทธิน้ีย่อม เปน็ โมฆะใช้บงั คับไม่ได้ มาตรการใด ๆ เพ่ือใหม้ ขี ้อตกลงดังกล่าว ย่อมไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย มาตรา 12 (1) ชนชาวเยอรมนั มสี ิทธโิ ดยเสรที ี่จะเลอื กอาชพี หรอื วิชาชีพ ทีท่ ำงาน และ ที่รบั การฝกึ อบรม การควบคมุ อาชพี ใหก้ ระทำไดโ้ ดยบทบัญญตั ิแหง่ กฎหมาย ระบบประกันสังคมของเยอรมนีได้ระบุสิทธิประโยชน์สำหรับบุตร สิทธิประโยชน์ สำหรบั บิดามารดา การลาหยุดเพือ่ เล้ียงดบู ตุ ร เงินช่วยเหลอื สำหรบั เล้ยี งดูบตุ ร และเงนิ เสรมิ สำหรับบตุ ร มีรายละเอียดดังน้ี (ฝ่ายแรงงานประจำสถานเอกอัครราชฑูต ณ กรุงเบอร์ลิน, 2558 หนา้ 1-7) สิทธิประโยชน์สำหรับบตุ ร ผู้อยู่ในระบบการศึกษาหรือฝึกอบรม โดยปกติสามารถขอรับสิทธิประโยชน์สำหรับบุตร อายุ 18 ปี หรือมากกว่าท่ีอยู่ในระบบการศึกษาหรือฝึกอบรมจนกว่าจะสำเร็จการศึกษาได้รับ ปริญญาบัตรหรือวุฒิด้านอาชีวศึกษาใบแรก และยังสามารถเรียกรับสิทธิประโยชน์สำหรับบุตรที่ ยังรับการฝึกอบรมและไม่ได้ทำงานท่ีเกินกว่า 20 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ และช่วงพักสั้นๆ ระหว่าง การฝกึ อบรมนนั้ ใหถ้ อื เปน็ การฝกึ อบรมดว้ ยเบยี้ เลยี้ งสำหรบั บตุ รปลอดภาษปี ระเภทตา่ ง ๆ เบย้ี เลยี้ ง สำหรับบุตรจะจ่ายต่อเดือนในลักษณะน้ี ได้แก่ บุตรสองคนแรก คนละ 184 ยูโร บุตรคนที่สาม 49 รปู แบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมน ี 190 ยโู ร บตุ รคนท่ีสี่ และคนถัดไป คนละ 215 ยโู ร เบ้ยี เลยี้ งสำหรบั บุตรจะจา่ ยใหก้ บั เดก็ ทุกคน โดยไม่คำนึงถึงรายได้ของบิดามารดา และยังมีระบบลดหย่อนภาษีสำหรับครอบครัว โดย สิทธิประโยชน์สำหรับบุตรจะเป็นใน รูปของการคืนเงินภาษี เบี้ยเลี้ยงปลอดภาษี สำหรับบุตร และ เบยี้ เลยี้ งปลอดภาษเี พ่อื การดแู ลบตุ ร การเลย้ี งดบู ุตร และการฝึกอบรมวชิ าชพี โดยมกี ารจา่ ยเงิน สำหรับบุตรตลอดทั้งปี และเม่ือมีการประเมินภาษีเงินได้ สำนักงานสรรพากรก็จะตรวจสอบว่า จำนวนเงินท่ีจ่ายให้แก่บุตรน้ันเพียงพอกับภาษีที่บิดามารดานั้นต้องจ่ายเหรือไม่ หากไม่เพียงพอ ใบเรียกเก็บภาษีก็จะนำเบ้ียเล้ียงปลอดภาษีสำหรับบุตร เบ้ียเลี้ยงในการดูแลบุตร เบี้ยเลี้ยง ในการเล้ียงดูบุตร และเบ้ียเล้ียงการฝึกอบรมวิชาชีพมาหักลดเพ่ิมเติมจากเงินสำหรับบุตรที่ได้รับ ไปแล้ว โดยจะคงใหเ้ งินสำหรับบุตรตอ่ ไป หากเปน็ ประโยชน์ต่อบิดามารดา การลาเพอื่ เลี้ยงดบู ตุ ร ลูกจ้างสามารถขอลาเพื่อเลี้ยงดูบุตรได้ในกรณี (1) พักอาศัยในบ้านเดียวกันกับบุตร (2) เลีย้ งดบู ตุ รด้วยตนเอง และ (3) ไม่ไดท้ ำงานหรือทำงานไม่เตม็ เวลา ลกู จ้างสามารถลาเพ่อื เลี้ยงดบู ตุ รต้ังแตว่ นั แกรท่บี ตุ รเกดิ จนถงึ บุตรอายุสามปี การลาเพอ่ื เลี้ยงดูบุตรจะพิจารณาแยกสำหรับบิดาและมารดา ฉะนั้น บิดาหรือมารดาอาจจะลาในส่วนของ ตนเพียงลำพังหรืออาจลาพร้อมกันทั้งสองคนได้ หากลาเพื่อเลี้ยงดูบุตรพร้อมกันก็จะไม่ก่อให้เกิด สิทธิด้านการช่วยเหลือทางสังคม กล่าวคือ บิดามารดาต้องม่ันใจว่าจะสามารถดูแลตนเองได้ ระหวา่ งทลี่ าหยุดรว่ มกนั ลูกจ้างต้องแจ้งให้นายจ้างทราบล่วงหน้าเจ็ดสัปดาห์ก่อนเริ่มลาเพื่อเล้ียงดูบุตร โดยท้ัง บิดามารดาสามารถเล่ือนการลาได้นานถึงหนึ่งปีระหว่างวันเกิดปีที่สามถึงปีที่แปดของบุตร โดย นายจ้างตอ้ งให้การยินยอม บิดามารดาที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขอาจทำงานเฉลี่ยรายเดือนถึงสัปดาห์ละ 30 ช่วั โมงต่อสปั ดาห์ในระหว่างการลาเพ่ือเลย้ี งดูบุตร หากทำงานกับนายจ้างมานานกวา่ หกเดอื น ก็จะมีสิทธิทำงาน Part time ระหว่าง 15-30 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ โดยที่นายจ้างว่าจ้างลูกจ้าง มากกว่า 15 คน และตอ้ งมีการลดชว่ั โมงทำงานเทา่ กบั ที่ไดก้ ลา่ วแล้วอย่างนอ้ ยท่ีสดุ สองเดอื นโดย ไม่มีข้อโต้แย้ง ท้ังนี้ การเรียกร้องสิทธิในการลดช่ัวโมงทำงานด้วยบอกกล่าวให้ทราบล่วงหน้า ไม่นอ้ ยกว่าเจด็ สัปดาหก์ อ่ นทีจ่ ะเรมิ่ ทำงาน Part time เม่ือสิ้นสุดระยะการลาเพ่ือเลี้ยงดูบุตร ความสัมพันธ์ในด้านการจ้างงานจะกลับสู่สภาพ เดิมก่อนท่ีจะมี การลาเพ่ือเล้ียงดูบุตรโดยอัตโนมัติ บิดามารดาจะได้รับการคุ้มครองการจ้างงาน ขณะท่ีอยู่ระหว่างการลานี้ โดยจะเร่ิมนับต้ังแต่การบอกแจ้งเรื่องการลาเพ่ือเลี้ยงดูบุตร แต่ไม่เกิน แปดสัปดาห์ก่อนการลาหยุดงาน 50 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี เงินชว่ ยเหลอื สำหรับเล้ยี งดบู ตุ ร มีการกำหนดอัตราค่าเล้ียงดูบุตรข้ันต่ำเพ่ือเป็นการช่วยเหลือบิดามารดาที่เล้ียงดูบุตร เพียงลำพังซ่ึงน้อยกว่าเงินสิทธิประโยชน์สำหรับบุตรคนแรกไว้ในกฎหมาย Maintenance Advance Act โดยจะจ่ายให้กับผู้ปกครองท่ีไม่ได้รับค่าเลี้ยงดูบุตรหรือไม่ได้รับค่าเล้ียงดูอย่าง สม่ำเสมอจากอีกฝ่าย โดยรัฐจะให้เงินช่วยค่าเล้ียงดูสำหรับบุตรท่ีมีอายุไม่เกิน 12 ปี โดยจ่ายให้ สงู สุดนาน 72 เดอื น จำนวนเงินดงั กล่าวเป็นไปตามทกี่ ฎหมายกำหนด ซ่งึ อตั ราตอ่ เดอื นท่รี ะบุไว้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 ไดแ้ ก่ เดก็ อายุต่ำกว่า 6 ปี คือ 133 ยูโร และเดก็ อายรุ ะหวา่ ง 6-11 ปี คอื 180 ยโู ร โดยผปู้ กครองจะไม่สามารถขอรบั เงนิ ในฐานะทีเ่ ป็นผู้เล้ยี งดูบุตรเพียงลำพัง ได้ หากไมส่ ามารถใหข้ อ้ มูลเก่ียวกับผู้ปกครองอกี ฝา่ ย หรือไมส่ ามารถแจ้งว่าผ้ใู ดเป็นบดิ าของบตุ ร หรือไม่สามารถหาผู้ปกครองอีกฝ่ายได้ และรวมกรณีท่ีบิดามารดายังอยู่ด้วยกันหรือผู้เลี้ยงดูบุตร เพียงลำพังแต่งงานใหม ่ เงินเสริมสำหรับบตุ ร บิดามารดาสามารถขอรับเงินเสริมสำหรับบุตรแต่ละคนท่ียังอยู่บ้านเดียวกับตน ซ่ึงเป็น บตุ รทมี่ ีอายตุ ำ่ กว่า 25 ปี หรอื ยงั ไม่ได้แตง่ งานไดใ้ นกรณี (1) ได้ขอรับสทิ ธิประโยชน์สำหรับบตุ ร (2) ได้รับค่าจ้างขั้นต่ำก่อนหักภาษีสำหรับบิดามารดาท่ียังอยู่ด้วยกัน เดือนลำ 900 ยูโร และ สำหรับผู้ปกครองทต่ี ้องเลยี้ งบตุ รคนเดยี วเดอื นละ 600 ยูโร (3) ไม่มีรายไดเ้ กนิ กว่าทก่ี ำหนด และ (4) เงินเสริมนี้ทำให้ไม่ต้องขอรับความช่วยเหลือดังที่ระบุในประมวลกฎหมายสังคมฉบับท่ี 2 รัฐ จะจำกัดวงเงินเสริมสำหรับบุตรไว้ท่ีคนละ 140 ยูโร ซึ่งเม่ือรวมกับเบี้ยเล้ียงสำหรับบุตรเดือนละ 184 ยโู ร แล้วก็จะทำให้เพียงพอกับความตอ้ งการทวั่ ไปของบุตร ในขณะทค่ี วามต้องการเรอ่ื งทอ่ี ยู่ อาศัยจะอยู่ภายใต้สิทธิประโยชน์เกี่ยวกับที่อยู่อาศัยตามระดับขั้นรายได้ที่เหมาะสม หาก ผู้ปกครองมีรายได้หรือทรัพย์สินพอแค่เพียงเพ่ือการดำรงชีพของตน รัฐก็จะจ่ายเงินเสริมนี้ให้เต็ม จำนวน แต่จะลดเงินช่วยลงเม่ือครอบครัวมีรายได้ถึงระดับท่ีกำหนด สำหรับผู้ปกครองที่มีรายได้ ในระดับรายได้ขั้นต่ำและการประเมินขั้นต่ำ รัฐจะจ่ายเงินเสริมสำหรับบุตรให้เต็มจำนวน แต่เม่ือ รายได้พ้นระดับที่กำหนดให้เป็นข้ันต่ำแล้ว รัฐก็จะลดเงินเสริมสำหรับบุตรลง 50 เปอร์เซ็นต์ของ จำนวนเงินได้ของผู้ปกครอง และลดลง 100 เปอร์เซ็นต์ของรายได้อ่ืนท่ีผู้ปกครองอาจมี ซ่ึงเกิน ระดับการประเมินขั้นต่ำที่ระบุ โดยจะพิจารณาตามข้อกำหนดว่าด้วยสิทธิประโยชน์กรณีว่างงาน โดยหลกั แลว้ จะหกั เงนิ ได้เตม็ จำนวนของบตุ รจากเงนิ เสริม ตง้ั แต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2554 นอกเหนือจากเงินเสริม 140 ยโู รแล้ว ผู้รับเงนิ เสรมิ สำหรับบุตรยังมีสิทธิรับความช่วยเหลือด้านการศึกษา ดังต่อไปน้ี (1) ค่าใช้จ่ายในการที่โรงเรียน หรือศูนย์ดูแลเด็กเล็กนำเด็กไปเที่ยวแบบไปเช้าเย็นกลับ ตามจ่ายจริง (2) ค่าใช้จ่ายในการที่ โรงเรียนหรือศูนย์ดูแลเด็กเล็กนำเด็กไปเที่ยวแบบหลายวัน ตามจ่ายจริง (3) ค่าใช้จ่ายสำหรับ 51 รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินัยในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี อุปกรณ์การเรียนของเด็ก 100 ยูโรต่อปีต่อคน (4) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปกลับโรงเรียนตาม จ่ายจริง (5) การสนับสนุนด้านการเรียน ตามจ่ายจริง (6) การร่วมในการจัดอาหารเพื่อชุมชน ของโรงเรียนหรือศูนย์ดูแลเด็กเล็ก (เงินช่วย) และ (7) การร่วมในงานสังคมหรือวัฒนธรรมของ ชุมชน เช่น สโมสรกีฬาหรือการเรียนดนตรี เดือนละ 10 ยูโรต่อคน ซ่ึงการช่วยเหลือเหล่านี้จะ เป็นไปตามท่รี ฐั บาลของแตล่ ะรฐั กำหนด ซงึ่ จะเปน็ ในรูปของความช่วยเหลอื ดา้ นการเงนิ และอนื่ ๆ การช่วยเหลือที่ไม่ใช่ตัวเองนน้ันมีขึ้นเพื่อให้ม่ันใจว่าบุคคลเป้าหมาย ซึ่งอาจเป็นเด็กหรือวัยรุ่น แต่ละคนจะได้ระบความช่วยเหลือโดยหน่วยงานของราชการในท้องถ่ินจะเป็นผู้ดำเนินการเพ่ือ ประกันว่าจะดำเนินงานถึงกลุ่มเป้าหมายได้ทั่วถึง ไม่ล่าช้า และให้ถึงมือเด็กท่ีต้องการ ความ ช่วยเหลืออย่างแท้จริง โดยผู้ปกครองสามารถสมัครขอรับเงินเสริมสำหรับบุตรเป็นลายลักษณ์ อกั ษรไดจ้ ากหนว่ ยงานดา้ นสทิ ธปิ ระโยชนค์ รอบครวั ในพนื้ ที่ และสามารถสมคั รขอความชว่ ยเหลอื ด้านการศึกษา และเรือ่ งทเ่ี ก่ียวข้องกบั การศึกษาไดจ้ ากหน่วยงานรฐั บาลในท้องถ่ิน สิทธิประโยชนส์ ำหรบั บดิ ามารดา สทิ ธปิ ระโยชนน์ นี้ บั เปน็ แหลง่ สนบั สนนุ สำคญั ยงิ่ สำหรบั ครอบครวั ในชว่ งสบิ สองเดอื นแรก ของบุตร เพ่ือทดแทนการท่ีผู้ปกครองต้องขาดรายได้หลังจากที่บุตรเกิด ทำให้ผู้ปกครองสามารถ หยุดหรือลดการทำงานลงเพื่อใช้เวลาอยู่เลี้ยงดูบุตร บิดาและมารดาสามารถขอรับสิทธิประโยชน์ ได้หาก (1) เป็นผ้ดู แู ลบุตรตงั้ แตเ่ กดิ ดว้ ยตนเอง (2) ไม่ได้ทำงานท่ไี ดร้ ับค่าจา้ งเกินกวา่ สัปดาห์ละ 30 ชว่ั โมงขน้ึ ไป (3) อาศัยกบั บุตรในบา้ นเดียวกนั และ (4) มถี ิ่นพำนกั หรอื พำนักปกติในเยอรมนี คู่สมรสและคู่ครองเพศเดียวกันตามกฎหมายที่ดูแลบุตรต้ังแต่แรกเกิดสามารถรับเงิน สิทธิประโยชนส์ ำหรับผปู้ กครองได้ แมว้ า่ เดก็ คนนน้ั จะไม่ใช่บตุ รของตน สำหรับบุตรบุญธรรมและบุตรที่นำมาเลี้ยงเพ่ือรับเป็นบุตรบุญธรรม รัฐจะจ่ายเงินสิทธิ ประโยชน์นี้ให้นับต้ังแต่วันท่ีนำเด็กมาเลี้ยงในบ้านไปจนครบ 14 เดือน แต่เด็กต้องมีอายุไม่เกิน แปดปี ในกรณีท่ีผู้ปกครองป่วยหนัก พิการรุนแรงหรือเสียชีวิต ญาติลำดับท่ีหน่ึง, สอง, สาม (พช่ี ายน้องชาย พ่สี าวน้องสาว ลงุ ปา้ ปยู่ า่ ตายายและทวด) สามารถขอรับเงนิ สทิ ธิประโยชนน์ ีไ้ ด้ ผู้ที่มีเงินได้รวมก่อนหักภาษีเกิน 500,000 ยูโรต่อปีก่อนการให้กำเนิดบุตรจะไม่มีสิทธิได้ รับเงินสิทธิประโยชน์สำหรับผู้ปกครอง สำหรับผู้เล้ียงดูบุตรเพียงลำพังจะไม่มีสิทธิได้รับสิทธิ ประโยชน์น้ีหากเงนิ ไดเ้ กนิ 250,000 ยูโร สทิ ธเิ บอื้ งตน้ และชวี ติ ในสาธารณะ (สถาบนั เกอเธ,่ //www.goethe.de/lrn/wnd/ idl/grl/thindex.htm) รัฐธรรมนูญเยอรมันมีช่ือว่ากฎหมายเบ้ืองต้น ซึ่งประกอบด้วยกฎข้อบังคับทางการเมือง และทางกฎหมายที่สำคัญท่ีสุดของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี กฎหมายเบ้ืองต้นระบุถึงสิทธิและ 52 รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินัยในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมนี หนา้ ที่ของประชาชนในประเทศเยอรมนดี ้วย หนา้ ท่ที ส่ี ำคัญ คือ การเข้าโรงเรียน : เดก็ และผู้เยาว์ ในประเทศเยอรมนีจะต้องไปโรงเรียน หน้าท่ีที่จะต้องชำระภาษี : ใครก็ตามท่ีทำงานได้เงิน จะตอ้ งเสยี ภาษี และหน้าที่ที่จะตอ้ งปฏิบตั ติ ามกฎหมาย : ทุกคนจะตอ้ งทำตามกฎหมาย สทิ ธิทสี่ ำคญั ทสี่ ดุ ไดแ้ ก ่ เกียรติแห่งมนุษยชาติ: ทุกคนจะต้องเคารพและให้เกียรติกันและกันความเท่าเทียมกัน : ทุกคนมสี ทิ ธิเท่าเทยี มกนั เช่น ผหู้ ญงิ และผู้ชายมสี ิทธิเทา่ เทียมกัน ความเท่าเทียมกันในการรับผลทางกฎหมาย: กฎหมายมีผลต่อทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน สิทธใิ นการแสดง ความคิดเหน็ อยา่ งเปน็ อสิ ระ: ทกุ คนมสี ิทธทิ ีจ่ ะพูดในส่ิงทตี่ นคดิ เสรภี าพใน การชุมนุม: ทกุ คนมสี ิทธิต้งั กลุม่ ชมุ นุมกัน ความมอี ิสระ: ทุกคนมสี ิทธิทจี่ ะใชช้ ีวติ และอยอู่ าศยั ณ ท่ีใดก็ได้ท่ีตนตอ้ งการ สิทธใิ นการประกอบอาชพี : ทกุ คนมีสิทธเิ ลือกอาชพี ของตน สิทธิอ่ืนๆ ได้แก่ การคุ้มครองสถาบันการแต่งงานและครอบครัว สิทธิในการเลือกต้ัง และเสรภี าพในการนบั ถอื ศาสนา สิทธิในการเลือกต้ัง ระบุไว้ว่าประชาชนทุกคนในประเทศเยอรมนีมีสิทธิเลือกต้ัง และมี สิทธิได้รับเลือกเช่นกัน การเลือกต้ังจะต้องมิดชิด เปิดสำหรับทุกคน และเป็นอิสระไร้อำนาจ บังคับ ทั้งนี้ ได้แก่ การเลือกต้ังสมาชิกสหภาพยุโรป การเลือกต้ังสมาชิกรัฐสภาพของประเทศ การเลือกต้งั สมาชกิ รัฐสภาของรัฐ และการเลอื กตง้ั สภาเทศบาล สำหรับการเลอื กต้ังสหภาพยุโรป และการเลือกตั้งสภาเทศบาล พลเมืองของสหภาพยุโรปทุกคนท่ีอาศัยอยู่ในประเทศเยอรมนีจะมี สทิ ธเิ ลือก ปกติแลว้ จะมีสทิ ธิตั้งแต่ 18 ปขี น้ึ ไป สำหรับบางรัฐ พลเมืองท่ีมอี ายุตั้งแต่ 16 ปีขึ้นไป ก็มีสิทธิเข้าร่วมการเลือกต้ังสภาเทศบาลแล้ว ส่วนการเลือกต้ังสมาชิกรัฐสภาประจำรัฐและการ เลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาของประเทศ พลเมืองเยอรมันท่ีมีอายุอย่างน้อย 18 ปีเท่านั้นท่ีจะสิทธิ เลือกต้ัง หลายแห่งมีสภาบูรณะ ซึ่งมักจะได้รับเลือกจากกลุ่มผู้อพยพย้ายถ่ิน สมาชิกสภาบูรณะ ปฏบิ ัตงิ านเพ่ือผลประโยชนท์ างการเมืองของผู้อพยพย้ายถ่ินและคนเยอรมนั อย่รู ว่ มกันได้ดยี งิ่ ขึ้น เสรีภาพในการนับถือศาสนา ระบุไว้ว่า ทุกคนสามารถเลือกนับถือศาสนาและปฏิบัติ ตามหลักคำสอนได้ตามท่ีต้องการ ประมาณหนึ่งในสามของพลเมืองในประเทศเยอรมนีไม่นับถือ ศาสนาใดๆ ชาวเยอรมันสว่ นมากนับถอื ศาสนาครสิ ต์ นกิ ายคาทอลกิ หรือโปรแตสแตนท์ วนั หยดุ ของศาสนาคริสต์ เช่น วันคริสต์มาส วันอีสเตอร์ถือเป็นวัดหยุดราชการ ซ่ึงแปลว่าคนส่วนใหญ ่ ไม่ต้องทำงานในวันดังกล่าว อย่างไรก็ตาม มีชาวมุสลิมและผู้นับถือศาสนาอื่นจำนวนมากใน ประเทศเยอรมนี ท่ีโรงเรียนมีสอนวิชาศาสนาคริสต์นิกายออร์ทอดอกซ์ ศาสนายิว และศาสนา อิสลาม ผู้ปกครองสามารถตัดสินใจได้ว่าจะให้ลูกลงเรียนวิชาศาสนาหรือไม่ และตัดสินใจด้วยว่า จะลงเรยี นวิชาของศาสนาใด 53 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินัยในสถานศึกษาระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมน ี สทิ ธิและหนา้ ท่ีของเด็กในเยอรมนี กฎหมายแพ่งมาตรา 1 ระบไุ ว้วา่ สทิ ธิของบคุ คลเริ่มต้นตัง้ แตว่ ันทเ่ี ดก็ ลืมตาดโู ลก กฎหมายแพ่งมาตรา 2 ขอ้ 2 ระบุไว้ว่า เดก็ มสี ทิ ธิได้รับรางวลั เมอ่ื เก็บของมคี ่าแลว้ นำไป คืน มสี ิทธิเรยี กร้องคา่ เสียหาย มสี ทิ ธเิ รยี กร้องค่าเลี้ยงดูจากพอ่ แมซ่ ง่ึ ไมไ่ ด้อยู่ดว้ ยกันกับลกู มีสทิ ธิ ขอเงินช่วยคา่ เลา่ เรยี นจากรฐั บาล ถ้ามเี งอ่ื นไขถูกต้อง มีสิทธทิ ำใบขบั ขี่เมื่ออายคุ รบ 18 ปี และมี สิทธิขายสิ่งของและรับเงินเป็นค่าตอบแทน นอกจากน้ีกฎหมายเยอรมันระบุสิทธิและหน้าท่ีของ เดก็ อายุ 7-10 ปี ไวด้ งั น ี้ เดก็ อายุ 7 ปี มสี ทิ ธกิ ระทำการทางกฎหมายไดจ้ ำกดั และรับผดิ ชอบในการกระทำโดย จำกดั หมายความวา่ ถา้ เดก็ กระทำผดิ ในสง่ิ ทตี่ นเขา้ ใจแลว้ วา่ อะไรเปน็ อะไร เดก็ จะตอ้ งรบั ผดิ ชอบ ในความผดิ นั้น เด็กอายุ 8 ปี สามารถรบั ผดิ ชอบการกระทำบางอย่าง เช่น เด็กวัยน้ที ราบแล้วว่าถา้ เตะ ลูกบอลใส่หน้าตา่ งกระจกแล้ว กระจกจะแตก แต่จะไมท่ ราบว่ายาเมด็ ท่แี ม่วางทง้ิ ไว้ในครัวจะเปน็ ยาอันตรายถงึ ชวี ิตเม่ือเด็กนำไปใช้เพอ่ื นรับประทานแกป้ วดศรี ษะ เด็กอายุ 10 ปี สามารถตอบคำถามวา่ “นับถอื ศาสนาอะไร” ได้ ในกรณพี ิพาท ศาลคดี เด็กและเยาวชนสามารถสอบสวนเด็กวัยน้ีเก่ียวกับศาสนาที่เขานับถือได้ นอกจากนี้ เด็กวัยน้ียังมี สทิ ธิทำบัตรประจำตัวเด็กซ่งึ ต้องติดรูป เด็กอายุ 12 ปี มีสิทธิออกเสียงและความเห็นในเรื่องการนับถือศาสนาและการเปล่ียน ศาสนา เยาวชนอายุ 14 ปี หมดสภาพความเปน็ เดก็ มีสทิ ธแิ ละหน้าทเ่ี พ่ิมข้นึ สามารถรบั โทษ ทางกฎหมายอย่างจำกัด สามารถปฏิเสธการเป็นบุตรบุญธรรมได้ สามารถยื่นฟ้องร้องทุกข์ต่อ ศาลคดเี ด็กและเยาวชนได้ และสามารถตดั สินใจเองไดแ้ ต่ผเู้ ดยี วว่าจะนบั ถอื ศาสนาใด เยาวชนอายุ 15 ปี ทำงานระหว่างปิดเทอมได้ไม่เกิน 4 สัปดาห์ เรียนวิชาชีพและ ทำงานเบา ๆ ได้ ถ้าหมดหนา้ ท่ตี ้องไปโรงเรยี นแลว้ มสี ิทธิไดร้ บั เลือกตัง้ เป็นผแู้ ทนเยาวชนในกลมุ่ ตัวแทนลกู จา้ งได้ เยาวชนอายุ 16 ปี สามารถได้รับการสาบานตัวในการนั่งพิจารณาคดีในศาลได้ มีสิทธิ เลือกต้ังรัฐสภาพของรัฐได้ในบางรัฐ ทำใบขับขี่รถจักรยานยนต์ขนาดเล็กได้ เข้าร้านอาหาร ซึ่ง ไม่ใช่บาร์ ไนท์คลับได้จนถึงเวลา 24.00 น. โดยไม่ต้องมีผู้ปกครองพาไป เข้างานเต้นรำได้จนถึง เวลา 24.00 น. โดยไมต่ ้องมีผปู้ กครองพาไป และมีสทิ ธด์ิ ่มื เหล้าที่มีแอลกอฮอล์ เช่น เบยี ร์ ไวน์ สูบบุหรีในที่สาธารณะได้ ทำพนิ ยั กรรมส่วนตัวไดโ้ ดยจำกัด แตท่ ำพนิ ัยกรรมกบั ทนายความได้โดย ไม่จำกดั จดทะเบียนสมรสกับคู่สมรถซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้วได้ ถ้าได้รับอนุมตั ิจากศาลคดีเด็กและ เยาวชนและจากพ่อแม่ ต้องมีบัตรประชาชนหรือหนังสือเดินทาง ท่ีสำคัญ คือ กฎหมายห้าม 54 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สร้างวินยั ในสถานศึกษาระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนี พ่อแม่ “บ่นลูกอย่างจุกจิกไม่รู้จบ ดุด่าและทุบตี ไม่รักและไม่มีความรับผิดชอบกับลูก” โดยลูก มีสิทธิไปย่ืนฟ้องพ่อแม่ในศาลได้ ดังน้ัน สิทธิประโยชน์และหน้าที่ของเด็กจึงช่วยหนุนเสริมการ เสรมิ สร้างวนิ ยั ในสถานศึกษา กฎระเบยี บสำหรับการอยูร่ ่วมกนั ระหวา่ งเพอ่ื นบา้ น (บา้ นเชา่ ) กฎระเบยี บสำหรับการอย่รู ว่ มกนั ระหว่างเพอื่ นบ้าน ไดแ้ ก่ (นิตยสารดี, 2010 หนา้ 51) 1. การทำเสียงดังรบวนเพ่ือนบ้าน หากจะเปิดสเตริโอ ซีดี วิดีโอ ทีวี ต้องเปิดเสียงดัง พอประมาณ ไม่ให้ดังเล็ดลอดออกไปนอกบ้านเช่าของคุณ หากเสียงดังไปจนถึงเพื่อนบ้าน แต่เพื่อนบ้านไม่ว่ากล่าวอะไรก็คงไม่มีปัญหาอะไร แต่เพื่อนบ้านก็มีสิทธิมาเคาะบ้านของคุณ เพื่อ ขอให้ลดเสยี งลงไดห้ ากคณุ ไมย่ อมลดเสียงลง เพ่อื นบา้ นของคณุ กม็ ีสิทธิโทรศพั ท์แจง้ ตำรวจวา่ คณุ ส่งเสียงดังรบกวนก่อความรำคาญแก่เขา 2. การพักผ่อน กฎระเบยี บกำหนดไวเ้ พอ่ื ทกุ คนทอี่ ย่บู า้ นจะได้รบั ความสงบและพักผอ่ น ได้อย่างเต็มท่ี ซึ่งวันหน่ึงจะมีหลายช่วงเวลา คือ เวลาช่วงบ่ายหลังอาหารกลางวัน ตั้งแต่เวลา 13.00-15.00 น. และช่วงกลางคืน ตั้งแต่เวลา 22.00-06.00 น. ในช่วงเวลาดังกล่าวห้ามเล่น เคร่ืองดนตรีทุกชนิด และหากเป็นเวลานอกเหนือจากเวลาดังกล่าว สามารถเล่นดนตรีได้แต่ก ็ ไมเ่ กิน 2 ชว่ั โมง 3. การจัดงานสังสรรค์ ควรแจ้งให้เพื่อนบ้านทราบล่วงหน้าว่าจะจัดงานสังสรรค์อะไร เมือ่ ไร เวลาใด ซึ่งอาจแจง้ ทป่ี ้ายประกาศของอาคารก็ได ้ 4. กลิ่นเหม็นรบกวนเพื่อนบ้าน ในการทำอาหารหรือทำกิจกรรมอื่นๆ จะต้องไม่ส่ง กล่ินเหม็นรบกวนเพื่อนบ้าน เพ่ือนบ้านของคุณก็มีสิทธิโทรศัพท์แจ้งตำรวจว่าคุณทำกิจกรรม ส่งกลิน่ เหมน็ รบกวนกอ่ ความรำคาญแกเ่ ขา 5. การเล่นของเด็ก เด็กสามารถเล่นในบ้านได้ หากเป็นการเล่นเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการ ของเขา แต่ก็ต้องไม่ส่งเสียงดังเกินไป และไม่อนุญาตให้เด็กๆ ไปเล่นที่ห้องใต้ดิน ห้องเก็บของ โรงรถ ห้องซักผ้า ท่ีตากผ้าหรือสถานที่ที่เจ้าของตึกจัดให้ผู้เช่าใช้ร่วมกัน เด็กๆ สามารถเล่นใน บริเวณสนามหญ้า สนามเด็กเล่นที่จัดไว้ให้สำหรับผู้เช่าตึกนั้น หรือสำหรับตึกใกล้เคียง หรือห้อง โถงว่างๆ โล่งๆ ได้ หากเด็กๆ มีของเล่นไปเล่นด้วย หากเล่นเสร็จ ผู้ปกครองก็ต้องคอยดูแลให้ บุตรหลานของตนเก็บของเล่นให้เรียบร้อย และช่วยดูแลเร่ืองการรักษาความสะอาดบริเวณท่ีเล่น ด้วย และไม่อนุญาตให้นำสุนัขไปเล่นในสนามเด็กเล่น กฎระเบียบสำหรับการอยู่ร่วมกันระหว่าง เพอื่ นบ้าน (เช่า) ช่วยหนุนเสริมการเสริมสร้างวินัยในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานด้วย 55 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สร้างวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรัฐเยอรมนี กฎหมายทีว่ ่าด้วยการศกึ ษาภาคบังคบั ของรฐั การเข้าเรียนช้ันประถมศึกษาของเด็กเยอรมันจะต้องเข้าโรงเรียนในเขตที่ตัวเองพำนักอยู่ ลกั ษณะนเ้ี รยี กว่า เขตโรงเรียนประถมศึกษา (Grundschulbezirk) โดยจะมีการแบ่งเขตกันว่าเขต นั้น ๆ เป็นเขตของโรงเรียนประถมศกึ ษาใด ระบบการแบ่งเขตโรงเรียนและการใชก้ ฎหมายวา่ ด้วย การศึกษาภาคบังคับที่เข้มงวด เด็กจะไม่มีทางพลาดที่จะเข้าเรียน เพราะเม่ือเด็กมีอายุถึงเกณฑ์ ทางราชการก็จะมีจดหมายมาแจง้ ว่าเด็กจะต้องเข้าเรยี นโรงเรยี นใด ให้ผูป้ กหครองพาลกู ไปตดิ ตอ่ และหากผปู้ กครองเฉยเมยไม่พาลกู ไปเขา้ เรยี นกจ็ ะไดร้ บั โทษด้วย อย่างไรก็ตาม ผู้ปกครองอาจส่ง ลูกไปเรียนในโรงเรียนของศาสนจักรก็ได้ แต่เด็กก็จะต้องนับถือศาสนาคริสต์ (ญาดา นาเชือก, 2010 หนา้ 20) กฎระเบียบเกี่ยวกับการทง้ิ ขยะ เดก็ เยาวชน หรือผูใ้ หญ่ทกุ คนในประเทศเยอนมนี จะไดร้ ับการปลกู ฝังใหป้ ฏิบัตติ ามกฎ ระเบียบเกี่ยวกับการท้ิงขยะ โดยคนเยอรมันทุกคนจะต้องท้ิงขยะให้ถูกต้องตามกฎระเบียบ และ ทุกบา้ นจะต้องแยกขยะกอ่ นนำไปทิง้ โดยมีการแยกท้ิงขยะตามสีของถงั ขยะ ไดแ้ ก ่ 1. ถังขยะสีเหลืองสำหรับทิ้งขยะที่เป็นพาสติกใสจำพวกซอง ถุงพาสติก อุปกรณ์ใส่นม สิ่งท่ตี ้องทำทกุ คร้ังก่อนทีจ่ ะทงิ้ ขยะจำพวกขวดนม กลอ่ งนม กลอ่ งน้ำผลไม้ คอื ต้องลา้ งนำ้ เปลา่ ให้สะอาด สลดั ให้แห้งก่อน แล้วจึงทงิ้ 2. ถังขยะสีน้ำตาล (บางทีสีเขียว) สำหรับทิ้งขยะท่ีเป็นของสด เศษอาหาร ผักผลไม้ ตน้ หญา้ กง่ิ ไม้ 3. ถังขยะสีฟ้า สำหรับท้ิงขยะที่เปน็ เศษกระดาษ หนงั สอื พมิ พ์ กลอ่ ง ลัง หนงั สอื 4. ถังขยะสเี ทา สำหรบั ทิ้งขยะอ่นื ๆ นอกเหนือจากขยะทัง้ สามประเภทดงั กลา่ วขา้ งต้น 5. ถังขยะท่ีไมม่ ีสีขนาดใหญส่ ำหรบั ทิ้งขวดแกว้ ที่แยกสีแตกต่างกนั ด้วย เมอื่ มกี ารแยกขยะเชน่ น้ี รถทีม่ าเก็บขยะกแ็ ยกคันด้วย และจะมาเก็บขยะตามวันท่ีแสดง ไว้ในเว็บไซต์คนในบ้านจะต้องจ่ายค่าเก็บขยะให้กับเทศบาลด้วย และเจ้าของบ้านจะต้องนำ ถังขยะออกมาวางไว้ที่ถนนด้วย หากพบว่าบ้านใดทิ้งขยะไม่ตรงตามประเภทของถังขยะ ถ้าพบ หลักฐานจะต้องจ่ายค่าปรับสูงมาก (ซิวเทียน, 2549 หน้า 1-2) กฎระเบียบเก่ียวกับการทิ้งขยะ ช่วยหนนุ การสร้างเสรมิ วนิ ัยนักเรียนในสถานศกึ ษา 56 รปู แบบและกลไกการเสริมสรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมน ี กฎระเบยี บเกย่ี วกับการรักษาสงิ่ แวดลอ้ ม กฎระเบียบเก่ียวกับการรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น กฎระเบียบเก่ียวกับการลดการใช้ถุง พลาสติก เม่ือคนเยอรมันไปซ้ือของจะต้องเตรียมถุงผ้าหรือกระเป๋าไปด้วย เมื่อซ้ือของเสร็จจะได้ ใส่ลงในถุงท่ีเตรียมมา หากใครไม่ได้เตรียมถุงหรือกระเป๋ามาก็จะต้องซ้ือถุงสำหรับใส่ของด้วย (เฟ่ืองอรุณ ปรดี ีดลิ ก, 2555) กฎระเบยี บเกี่ยวกบั การรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม เชน่ กฎระเบียบเก่ียวกบั การลดการใชถ้ งุ พลาสตกิ ชว่ ยหนุนการสร้างเสรมิ วินัยนักเรียนในสถานศึกษา มาตรฐาน กฎระเบียบ และแนวทางปฏิบัติที่ใช้ในการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ของเยอรมน ี รัฐของเยอรมนีที่เป็นแหล่งอุตสาหกรรมของประเทศจะกำหนดมาตรฐาน กฎระเบียบ และแนวทางปฏิบัติท่ีใช้ในการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของรัฐให้ประชาชนทุกคนในรัฐถือ ปฏิบัตปิ ระกอบดว้ ย 1. การกำหนดระดบั มาตรฐานดา้ นส่ิงแวดล้อม 2. การขนสง่ สาธารณะทคี่ ำนงึ ถงึ คณุ ภาพในการใชพ้ ลงั านอย่างย่งั ยนื 3. การออกแบบอาคารท่ีคำนึงถึงการลดการใช้พลังงาน 4. การมีส่วนร่วมของชมุ ชน 5. การพัฒนาทางด้านเศรษฐกจิ โดยพจิ ารณาโอกาสใน 6. การจา้ งแรงงานในชมุ ชนทอ้ งถ่นิ 7. การสร้างรายไดเ้ สริมโดยการจัดตงั้ สหกรณ์ 8. การดแู ลเรื่องสุขภาพอนามัยของประชาชน 9. การพจิ ารณาการใช้ประโยชนจ์ ากท่ีดนิ ใหม้ ีประสิทธภิ าพสงู สดุ อาจกลา่ วไดว้ ่า นโยบายรฐั บาล กฎ ระเบียบทีเ่ กี่ยวข้องของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรัฐ เยอรมนีท่ีเป็นปัจจัยช่วยหนุนเสริมการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประกอบดว้ ย 1) รัฐธรรมนญู สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนั หมวด 1 สทิ ธมิ ูลฐาน มาตราท่ี 1, 2, 6, 7, 9, และ12 2) ระบบประกันสังคมของเยอรมนี 3) สิทธิและหน้าท่ีของเด็กในเยอรมนี 4) กฎ ระเบียบสำหรับการอยู่ร่วมกันระหว่างเพื่อนบ้าน (บ้านเช่า) 5) กฎหมายท่ีว่าด้วยการศึกษาภาค บังคับของรัฐ 6) กฎระเบียบเก่ียวกับการทิ้งขยะ 7) กฎระเบียบเก่ียวกับการรักษาสิ่งแวดล้อม และ 8) มาตรฐาน กฎระเบียบ และแนวทางปฏิบัติท่ีใช้ในการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของ เยอรมน ี 57 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของ ประเทศสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมน ี รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินัยในครอบครัว รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินัย ในครอบครัว ไดแ้ ก ่ สทิ ธิของเด็กในเยอรมนี กฎหมายแพ่งมาตรา 1 ของเยอรมนี ระบุไว้ว่า สิทธิของบุคคลเร่ิมต้นตั้งแต่วันที่เด็ก ลืมตาดูโลก หมายความว่า เด็กเป็นเจ้าของสิทธิและหน้าท่ีตั้งแต่เกิดมา สิทธิและหน้าท่ีแรกก็คือ สิทธิพน้ื ฐานมาตรา 1 ถงึ 19 ตามรัฐธรรมนญู 1. สิทธิสำคัญของเด็กในเยอรมนี ได้แก่ ห้ามครูหรือพ่อแม่ตี ทำร้าย หรือกักขังเด็ก (สทิ ธพิ น้ื ฐานมาตรา 2 ขอ้ 2) เดก็ มสี ทิ ธไิ ดร้ บั รางวลั เมอ่ื เกบ็ ของมคี า่ แลว้ เอาไปคนื มสี ทิ ธเิ รยี กรอ้ ง ค่าเสียหาย มีสิทธิเรียกร้องค่าเลี้ยงดูจากพ่อแม่ซึ่งไม่ได้อยู่ด้วยกันกับลูก มีสิทธิขอเงินช่วยค่า เล่าเรียนจากรัฐบาล ถ้ามีเง่ือนไขถูกต้อง มีสิทธิทำใบขับข่ีเมื่ออายุครบ 18 ปี และมีสิทธิขาย สิง่ ของและรบั เงินเป็นค่าตอบแทน 2. หน้าที่สำคัญของเด็กในเยอรมนี ได้แก่ เด็กจะต้องไม่ทำร้ายร่างกาย กักขัง หรือ ทำลายเสรีภาพของผู้อ่ืน มีหน้าที่ต้องไปโรงเรียน ช่วยพ่อแม่ทำงานบ้าน ใช้หน้ีถ้าไปเอาเงินหรือ ทรพั ยส์ ินของคนอื่นไป 3. สทิ ธแิ ละหน้าท่ีของเด็กในชีวติ ครอบครวั ประจำวนั เชน่ - เด็กมีหน้าที่ช่วยทำงานในบ้าน หรือช่วยในกิจการค้าขายในบ้านตามวิวัฒนาการ ของอายุ เช่น เด็ก 5 ขวบ สามารถเช็ดฝุ่นบนโต๊ะได้ เด็ก 7 ขวบ สามารถจัดห้องตัวเองให้เป็น ระเบียบได้ เด็ก 8 ขวบ สามารถเกบ็ โตะ๊ ทานขา้ ว กวาดใบไมใ้ นลานบ้าน เด็ก 9 ขวบ สามารถพา สุนขั ไปเดนิ เลน่ ไปซอื้ ของเลก็ ๆ นอ้ ยๆ ในตลาดซุปเปอร์ หรือ เด็ก 10 ขวบ จัดอาหารเชา้ ในวนั เสาร์-อาทิตย์ได้ ในการช่วยงานในครอบครัวดังกล่าว เด็กไม่มีสิทธิขอเงินค่าตอบแทน แต่ถ้าเด็ก คนไหนขยันขันแข็งเป็นพิเศษ ก็อาจจะได้รางวัลในทางอ่ืน เช่น ให้อยู่ดึกได้เป็นพิเศษในวันเสาร์- อาทิตย์ หรอื ได้เพิม่ เวลาดทู วี รี ายการเด็ก - เดก็ มสี ทิ ธขิ์ อเงนิ ตดิ กระเปา๋ กฎหมายเดก็ และเยาวชนมาตรา 1 ระบวุ า่ “เพอ่ื สง่ เสรมิ การพฒั นาของเดก็ การเรียน รจู้ ักรับผดิ ชอบและส่งเสรมิ บคุ ลิกภาพในสังคม” เด็กมีสทิ ธไิ ด้รับเงิน ติดกระเป๋าจากพ่อแม่ พ่อแม่ไม่สามารถจะอ้างได้ว่า จะเอาอะไรก็ให้ทุกอย่าง ทำไมจะต้องมีเงิน สว่ นตัวดว้ ย ถา้ พอ่ แม่ปฏิเสธไมย่ อมใหเ้ งินติดกระเปา๋ กฎหมายระบไุ วว้ ่า เดก็ มสี ิทธไิ ปฟอ้ งหน่วย สงเคราะห์เด็กและเยาวชนได้ ส่วนที่จะให้เท่าไรและตั้งแต่อายุเท่าไรน้ัน ให้พ่อแม่พิจารณาตาม ความเหมาะสมของเด็ก นักจิตวิทยากล่าวว่าเม่ือลูกมีความเข้าใจแล้วว่า เงินนำไปแลกสินค้าได้ 58 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินัยในสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมน ี เงินตดิ กระเปา๋ เป็นเงนิ ส่วนตวั ทีเ่ ดก็ จะนำไปใช้หรอื นำไปเก็บได้อยา่ งเสรี อยา่ งไรกต็ าม เม่อื พ่อแม่ ยังมีหน้าท่ีรับผิดชอบในการดูแลปกครองลูกอยู่ กฎหมายก็ให้อำนาจพ่อแม่ควบคุมและตักเตือน ไม่ให้เด็กนำเงินไปซื้อของที่อาจจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพจิตและสุขภาพร่างกาย แต่ถ้าพูด แล้วเดก็ ไม่เชอื่ ฟัง เชน่ ไมใ่ ห้ซอื้ นำ้ อัดลม หรอื หนงั สือนิตยสารท่เี ปน็ ภัยต่อวยั เดก็ หรือซอ้ื ของเล่น ที่เป็นอาวุธมีคม พ่อแม่ก็มีสิทธิตัดเงินติดกระเป๋าได้ เงินติดกระเป๋าแตกต่างจากเงินที่พ่อแม่มอบ ให้เพ่ือให้ไปซ้ือของบางอย่าง เช่น ถ้าเด็กได้รับเงินเพ่ือไปซ้ือสมุด ดินสอ เด็กจะนำไปซ้ือของอ่ืน มาได ้ กฎหมายกำหนดให้พอ่ แม่ใชส้ ทิ ธทิ างกฎหมายแทนเด็กและผู้เยาว์ จนกว่าเขาจะสามารถ ใช้สิทธิด้วยตัวเองได้ พ่อแม่บังเกิดเกล้าหรือพ่อแม่บุญธรรมหรือผู้มีอำนาจปกครองเด็กจะต้องทำ หนา้ ที่ดแู ลเด็กทัง้ ทางด้านตวั บุคคล และทรพั ย์สินของเด็ก ไดแ้ ก ่ 1. การดูแลเด็กทางด้านตัวบคุ คล ไดแ้ ก่ การตั้งชอื่ ให้เด็ก การให้การศึกษา การรักษา พยาบาล การให้ความยินยอมเรื่องการสมรส การอบรมส่ังสอน การห้ามปรามเร่ืองการไปเท่ียว สถานท่ีท่ีไม่เหมาะสม การถอนเงินติดกระเป๋า การตักเตือน การห้ามคบหาสมาคมกับเพ่ือน บางคน เป็นตน้ 2. การดูแลทรัพย์สินของเด็ก ได้แก่ การเก็บรักษาทรัพย์สิน การทำประโยชน์ให้ งอกเงย ด้วยการทำธรุ กจิ ให้ได้ผลกำไร การทำธรุ ะเกี่ยวกบั ธนาคาร สทิ ธแิ ละหนา้ ทข่ี องเดก็ อายุ 7-10 ปี มดี ังน ้ี เดก็ อายุ 7 ปี มสี ิทธิกระทำการทางกฎหมายได้จำกดั และรบั ผดิ ชอบในการกระทำโดย จำกดั หมายความวา่ ถา้ เดก็ กระทำผดิ ในสงิ่ ทตี่ นเขา้ ใจแลว้ วา่ อะไรเปน็ อะไร เดก็ จะตอ้ งรบั ผดิ ชอบ ในความผดิ น้นั เด็กอายุ 8 ปี สามารถรบั ผดิ ชอบการกระทำบางอยา่ ง เชน่ เดก็ วัยนที้ ราบแลว้ วา่ ถา้ เตะ ลกู บอลใสห่ น้าต่างกระจกแล้ว กระจกจะแตก แต่จะไม่ทราบว่ายาเมด็ ท่ีแมว่ างท้ิงไว้ในครัวจะเป็น ยาอนั ตรายถงึ ชีวติ เม่อื เดก็ นำไปใช้เพอ่ื นรับประทานแก้ปวดศีรษะ เดก็ อายุ 10 ปี สามารถตอบคำถามว่า “นบั ถือศาสนาอะไร” ได้ ในกรณพี ิพาท ศาลคดี เด็กและเยาวชนสามารถสอบสวนเด็กวัยน้ีเกี่ยวกับศาสนาที่เขานับถือได้ นอกจากน้ี เด็กวัยน้ียังมี สิทธิทำบัตรประจำตัวเดก็ ซึง่ ตอ้ งติดรูป เด็กอายุ 12 ปี มีสิทธิออกเสียงและความเห็นในเรื่องการนับถือศาสนาและการเปล่ียน ศาสนา เยาวชนอายุ 14 ปี หมดสภาพความเปน็ เด็ก มีสิทธแิ ละหน้าทเี่ พ่มิ ข้นึ สามารถรบั โทษ ทางกฎหมายอย่างจำกัด สามารถปฏิเสธการเป็นบุตรบุญธรรมได้ สามารถยื่นฟ้องร้องทุกข์ต่อ ศาลคดีเดก็ และเยาวชนได้ และสามารถตดั สินใจเองได้แตผ่ เู้ ดียวว่าจะนับถอื ศาสนาใด 59 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี เยาวชนอายุ 15 ปี ทำงานระหว่างปิดเทอมได้ไม่เกิน 4 สัปดาห์ เรียนวิชาชีพและ ทำงานเบา ๆ ได้ ถา้ หมดหนา้ ที่ต้องไปโรงเรียนแลว้ มสี ทิ ธไิ ดร้ ับเลอื กตั้งเป็นผู้แทนเยาวชนในกลุ่ม ตวั แทนลกู จา้ งได ้ เยาวชนอายุ 16 ปี สามารถได้รับการสาบานตัวในการน่ังพิจารณาคดีในศาลได้ มีสิทธิ เลือกตั้งรัฐสภาพของรัฐได้ในบางรัฐ ทำใบขับข่ีรถจักรยานยนต์ขนาดเล็กได้ เข้าร้านอาหาร ซึ่ง ไม่ใช่บาร์ ไนท์คลับได้จนถึงเวลา 24.00 น. โดยไม่ต้องมีผู้ปกครองพาไป เข้างานเต้นรำได้จนถึง เวลา 24.00 น. โดยไมต่ ้องมีผู้ปกครองพาไป และมสี ทิ ธดิ์ มื่ เหล้าท่มี ีแอลกอฮอล์ เช่น เบยี ร์ ไวน์ สูบบุหรใี นทส่ี าธารณะได้ ทำพินัยกรรมสว่ นตวั ได้โดยจำกดั แต่ทำพินยั กรรมกับทนายความได้โดย ไมจ่ ำกดั จดทะเบียนสมรสกับคู่สมรถซ่ึงบรรลุนิติภาวะแล้วได้ ถ้าได้รับอนุมตั ิจากศาลคดีเด็กและ เยาวชนและจากพ่อแม่ ต้องมีบัตรประชาชนหรือหนังสือเดินทาง (Willkommen, H.2017, //www.koosangkoosom.com/home) แนวทางการเลย้ี งลูกแบบพ่อแมช่ าวเยอรมนั พ่อแม่ชาวเยอรมันให้อิสระกับลูกมาก และให้ความสำคัญกับการสอนให้ลูกเป็นตัวของ ตัวเองและรู้จักรับผิดชอบในหน้าท่ี พ่อแม่ให้ลูกๆ ได้มีโอกาสที่จะตัดสินใจด้วยตัวเองและเติบโต ขนึ้ มาอยา่ งมคี วามเชอ่ื ม่ัน แนวคิดหลกั ของพ่อแม่ชาวเยอรมนั มดี งั น ี้ 1. ไม่เร่งให้ลูกอ่านหนังสือ โรงเรียนอนุบาลในประเทศเยอรมนียังไม่สอนให้เด็กอ่าน หนังสือ โดยจะเริ่มให้เด็กอ่านหนังสือเม่ือเข้าเรียนช้ันประถมศึกษา โรงเรียนอนุบาลเน้นการเล่น และฝึกทักษะด้านการเข้าสังคมให้กับเด็กมากกว่า แม้กระทั่งเม่ือเรียนช้ันประถมศึกษาตอนต้นก็ ยังไม่เน้นเรอ่ื งวิชาการ เด็กชนั้ ประถมศึกษาตอนต้นจะเรียนหนงั สอื เพียงครึง่ วนั โดยมชี ว่ งพกั เพอ่ื ออกมาทำกิจกรรมนอกห้องเรียนถงึ 2 คาบ 2. ให้เด็กรู้จักอันตรายและรู้จักช่วยเหลือตัวเอง พ่อแม่ชาวเยอรมันให้ลูกทดลองเล่นกับ ไฟ และให้ลูกจุดประทัดในคืนวันปีใหม่ได้ โดยมีการตรวจสอบความปลอดภัยแล้ว นอกจากน้ี การได้ทดลองจุดไฟและควบคุมไฟมีอยู่ในหลักสูตรการเรียนการสอนชั้นประถมศึกษาของบาง โรงเรียนอีกด้วย คนเยอรมันเช่ือว่าสิ่งที่เป็นอันตรายแต่ถ้ารู้จักใช้และควบคุมได้ ก็คือ ความ ปลอดภัยท่ีดีที่สุด และจะเป็นการส่งเสริมให้เด็กรู้จักความรับผิดชอบและวิธีการควบคุมอันตราย ต้ังแตเ่ ด็ก 3. เด็กสามารถเดินทางไปโรงเรียนตามลำพังได้ เด็กชั้นประถมศึกษาตอนต้นท่ีประเทศ เยอรมนี สามารถเดินทางไปโรงเรียนคนเดียวได้ บางครอบครัวยังให้ลูกข้ึนรถไฟใต้ดินไปโรงเรียน เองดว้ ย 60 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมนี 4. จัดงานเลี้ยงฉลองต้อนรับเปิดเทอม ชาวเยอรมันให้ความสำคัญกับเหตุการณ์ 3 เหตุการณ์ โดยจัดงานฉลองใหญท่ งั้ 3 เหตกุ ารณ์ ได้แก่ 1) วันที่ลูกเข้าเรยี นเกรด 1 2) วันทีล่ ูก อายุ 14 ปี และ 3) วันที่ลูกแต่งงาน แต่ละครอบครัวจะจัดงานเลี้ยงฉลอง มีของขวัญ ของเล่น และขนมมากมาย สำหรับงานเล้ียงฉลองวันเปิดเรียนเกรด 1 เด็กจะได้รับอุปกรณ์การเรียนและ ของขวัญอ่ืนๆ เพอ่ื เป็นการบอกเดก็ ๆ วา่ ถึงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลง เด็กๆ จะเร่มิ โตขึ้นมาอีกขัน้ ไม่ใช่ทารกอย่างเม่ือก่อน สำหรับงานวันที่ลูกมีอายุ 14 ปี ลูกจะได้รับของขวัญและมีงานเลี้ยง ฉลองภายในครอบครัว เพ่ือเป็นการบอกลูกว่าถึงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงคร้ังใหม่ที่สำคัญ อีกคร้ัง ลูกโตขึ้นและจะต้องรับผิดชอบตัวเองมากข้ึน โดยเฉพาะเรื่องการศึกษาหาความรู้และ ตงั้ ใจทำหน้าทข่ี องตนเอง 5. พาลกู ออกไปวิ่งเลน่ ข้างนอกทกุ วนั คนเยอรมนั มคี ำพดู ท่ีสำคญั คือ “ไมม่ วี ันทอี่ ากาศ ไม่ดีหรอก มีแต่วันที่เราแต่งตัวไม่เหมาะกับอากาศเท่านั้น” ทุกโรงเรียนจะรณรงค์เรื่องการเล่น นอกบ้านว่ามีผลดีกับเด็ก ประเทศเยอรมนีมีสวนสาธารณะที่ดีสำหรับเด็กมากมาย พ่อแม่จึง สะดวกท่ีจะพาลูกๆ ออกไปวิ่งเล่นข้างนอกทุกวัน ไม่ว่าอากาศจะหนาวแค่ไหน พ่อแม่ก็จะพาลูก ออกไปวิ่งเล่นข้างนอกทุกวัน (Amarin Baby & Kids, 2015 //amarinbabyandkids. com/family-news/german-way-of-raising-kids/ 6. สอนให้รู้จักการแบ่งงาน ทำงานเป็นทีม และสงสัยก็ต้องถาม เด็กเยอรมันเริ่มรู้จัก การทำงานเป็นทีมต้ังแต่เด็ก โดยจากชีวิตประจำวันภายในบ้าน จะมีการแบ่งหน้าที่กันชัดเจน เช่น แม่ล้างจาน ลูกเช็ดจาน พ่อเก็บจานเข้าตู้ และไม่ว่าจะทำงานอะไรก็ตาม คนเยอรมันเชื่อว่า การทำงานกลุ่มและรู้จักแบ่งงาน จะทำให้เกิดการรู้จักระดมความคิด จนไปถึงการแลกเปล่ียน ความคิดเห็น นอกจากน้ี กฎหมายของคนเยอรมันกำหนดให้ทุกคนมีสิทธิที่จะแสดงความคิดเห็น ของตัวเองได้เตม็ ที่ จึงเป็นการสรา้ งนสิ ยั กลา้ พดู กล้าแสดงความคิดเห็นตง้ั แตเ่ ด็ก 7. เอาใจใส่และเข้าใจลูก คนเยอรมันให้เวลากับลูกมาก เอาใจใส่และเข้าใจลูก รวมท้ัง เปน็ ตวั อยา่ งทดี่ แี กล่ กู พอ่ แมเ่ ปน็ ครทู ด่ี สี่ ดุ ของลกู (พอ่ บา้ นเยอรมนั , 2017, //phorbangerman. com/2017/05/17) สิทธิลางานสำหรับหญิงตั้งครรภ์ การลาเพ่ือเลี้ยงดูบุตร และเงินช่วยเหลือระหว่าง การลาเพอ่ื เลย้ี งดบู ุตร คุณแม่ชาวเยอรมันท่ีมีงานประจำ สามารถใช้สิทธิลางานสำหรับหญิงต้ังครรภ์ก่อน การคลอดได้ คอื ชว่ ง 6 สปั ดาหก์ อ่ นคลอด สทิ ธลิ างานสำหรบั หญงิ ตงั้ ครรภม์ รี ะยะเวลาอยา่ งนอ้ ย ท้ังส้ิน 14 สัปดาห์ และจะขอต่ออายุได้ นอกจากนั้น ระหว่างช่วงดังกล่าว ผู้ว่าจ้างจะยกเลิก สัญญาว่าจ้างไม่ได้ หลังจากช่วงลางานสำหรับหญิงตั้งครรภ์ คุณแม่ชาวเยอรมันสามารถลาเพ่ือ 61 รปู แบบและกลไกการเสริมสร้างวนิ ยั ในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนี เลีย้ งดบู ุตรได้ คณุ แม่ชาวเยอรมันสามารถอยบู่ ้านเลี้ยงลูกไดจ้ นกระท่งั ลูกมีอายุ 3 ปี เม่ือช่วงเวลา สามปีสิ้นสุดลง กส็ ามารถกลับไปทำงานทตี่ ำแหน่งเดมิ ได ้ ในชว่ ง 12 เดอื นแรกของการลาเพอื่ เลยี้ งดบู ตุ ร คณุ แมช่ าวเยอรมนั จะไดร้ บั เงนิ ชว่ ยเหลอื ระหว่างการลาเพ่ือเล้ียงดูบุตร คุณพ่อชาวเยอรมันสามารถใช้สิทธิการลาเพื่อเล้ียงดูบุตรได้เช่นกัน จะสามารถใช้สิทธิลางานได้ 14 เดือน อัตราเงินช่วยเหลือระหว่างการลาเพื่อเล้ียงดูบุตรจะ คำนวณจากรายได้สุทธิของคุณแม่ หากต้องการรับเงินช่วยเหลือระหว่างการลาเพื่อเล้ียงดูบุตร คุณแม่จะต้องยื่นคำขอ คุณแม่ที่ไม่มีตำแหน่งประจำก็จะได้รับการช่วยเหลือนี้เช่นกัน นอกจาก เงินช่วยเหลือระหว่างการลาเพื่อเล้ียงดูบุตรแล้ว คุณแม่ยังยื่นขอเงินช่วยเหลือสำหรับบุตรได้ด้วย โดยปกติแล้ว คุณแม่จะได้รับเงินช่วยเหลือสำหรับบุตรจนกระท่ัวบุตรมีอายุครบ 18 ปี (สถาบัน เกอเธ่, Goethe Institute, 2560, //www.goethe.de/lrn/pri/wnd/idl/lmk/ thindex.htm) รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ทโี่ รงเรยี นอนบุ าล มรี ปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ ง วินัยท่โี รงเรยี นอนบุ าล ไดแ้ ก่ ดา้ นหลักสูตร โรงเรียนอนุบาลจะทำการสอนตามหลักสูตร โดยในหลักสูตรจะระบุความสามารถและ ทกั ษะทีค่ วรได้รบั การสง่ เสรมิ ได้แก ่ 1. ความสามารถทางสังคม เด็กจะได้เรียนรู้ที่จะติดต่อกับผู้อื่น รู้จักบอกกล่าวความ ต้องการของตนเอง รู้จักรับฟังผู้อื่น เข้าใจผู้อื่น เกรงใจผู้อื่น รู้จักเล่นและทำงานร่วมกับผู้อ่ืน เคารพกฎกตกิ าและรจู้ กั ทจ่ี ะจดั การกบั ความขดั แยง้ เดก็ จะไดเ้ รยี นรวู้ า่ การอยรู่ ว่ มกนั เปน็ กลมุ่ ใหญ ่ จำเป็นจะต้องมีระเบยี บกฎเกณฑ์ เดก็ จะเรยี นรวู้ า่ การวางกฎเกณฑ์ร่วมกนั นน้ั ทำได้อย่างไร และ จะอยู่กับกฎเกณฑ์น้ันอย่างไร เด็กจะเรียนรู้ว่าทำอย่างไรจึงจะสามารถทำให้ความต้องการและ ผลประโยชนข์ องตนเองไปกันไดอ้ ยา่ งราบร่นื กับความต้องการและผลประโยชน์ของเด็กอ่นื 2. ความสามารถแหง่ ตน โรงเรยี นจะสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ พฒั นาความสามารถในการประจกั ษ์ ตนเองและสิ่งแวดล้อม ให้รจู้ กั แสดงออกและสอ่ื สารในส่งิ ทีต่ นเองคิดเห็น ตอ้ งการ หรอื รสู้ กึ เด็ก จะเล่าสงิ่ ทต่ี นได้พบเหน็ หรอื ประสบมา เดก็ จะไดฟ้ ังเรอ่ื งราวตา่ งๆ เรยี นรูม้ โนทัศนใ์ หมๆ่ จะไดฝ้ กึ การฟังอย่างต้ังใจ ฝึกการสังเกตอย่างพินิจพิจารณา และเรียนรู้ท่ีจะเรียบเรียงสิ่งท่ีตนได้ประสบ ออกมาเป็นถ้อยคำ เด็กจะได้รับการฝึกหัดให้รู้จักแสดงออกถึงความรู้สึกของตนเองทั้งโดยการใช้ ภาษาและโดยใช้เครื่องมือการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์อื่นๆ เด็กจะได้เรียนรู้ท่ีจะแสดงออกโดย วิธีอันหลากหลายถึงความสุขและความเพลิดเพลินจากการที่เด็กได้เคล่ือนไหวตัวเด็กจะพัฒนา ความสามารถในการเคล่ือนไหวตัวเองให้กว้างขวางและละเอียดมากย่ิงขึ้น เด็กจะทำอะไรต่างๆ 62 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาข้ันพืน้ ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี ด้วยตัวเองได้มากขึ้น ทำให้มีความมั่นใจในตัวเองเพิ่มข้ึน เด็กจะได้เรียนรู้การอยู่กับความสำเร็จ และความลม้ เหลว และเพิ่มสมรรถนะในการตัง้ สมาธแิ ละความอดทน 3. ความสามารถเฉพาะด้าน ในช้ันอนบุ าล เดก็ จะขยายขอบเขตความสามารถในการมี ปฏสิ มั พนั ธก์ บั สงิ่ แวดลอ้ มใหก้ วา้ งขวาง และประณตี ยง่ิ ขน้ึ เดก็ จะไดท้ ดลองใชว้ สั ดตุ า่ งๆ หลากหลาย ชนิด เรียนรู้และฝึกหัดการใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเครื่องดนตรีต่างๆ เพ่ิมพูนและกลั่นกรอง ประสบการณ์กับสัตว์และพืช เด็กจะเรียนรู้ท่ีจะนำประสบการณ์ในการใช้ส่ือต่างๆ มาใช้ให้เป็น ประโยชน์ จะได้รับการฝึกฝนให้รู้จักทิศทางและท่ีต้ังของตนเอง รวมทั้งบริเวณใกล้เคียง และใน การจราจรบนถนน ครูหรือผู้สอนจะเป็นผู้คอยสนับสนุนเด็กในการพยายามแก้ปัญหาของตนเอง และสนับสนุนให้เด็กๆ สนุกกับการเรียนรู้ เด็กจะได้รับการชมเชย และหากจำเป็น เด็กจะได้รับ ความช่วยเหลือในการหาช่องทางในการแก้ไขปัญหา เด็กจะเรียนรู้และสามารถอธิบายให้เห็นถึง ความสัมพนั ธ์ และความสมำ่ เสมอของกฎเกณฑ์ต่างๆ รวมทั้งจะได้ฝกึ การจำส่งิ เหลา่ นี้ การเล่นและการเรียน ส่ิงท่ีสำคัญที่สุดในช้ันอนุบาล คือ การเล่น เด็กจะได้เรียนรู้ใน ระหว่างที่กำลังเล่น และเล่นในระหว่างที่กำลังเรียน ห้องเรียนของเด็กอนุบาล สถานที่ และวัสดุ ต่างๆ จะเปิดโอกาสให้แก่เด็ก และให้การกระตุ้นเด็กในการละเล่นต่าง ๆ อย่างเต็มที่ เวลาเล่น เด็กจะได้พัฒนาความสามารถของตน และขยายประสบการณ์ของตนให้กว้างขวามขึ้น หรือให้ ลุ่มลึกย่ิงขึ้น เพ่ิมพูนทักษะ และค้นหาความสนใจอื่น ๆ ของตนเอง เด็กจะเรียนรู้ที่จะตัดสินใจ อย่างเป็นอิสระด้วยตนเองว่าจะเลือกใช้วัสดุใดและรูปแบบการเล่นแบบใด เด็กจะเป็นผู้ตัดสินใจ เองว่าจะเล่นกับเด็กคนใด และจะใช้กฎเกณฑใ์ ดในการเล่นนน้ั ท้ังน้ี ครูหรือผสู้ อนจะเป็นผู้ท่คี อย ดูแลและสนับสนนุ รูปแบบการทำงาน เดก็ จะมโี อกาสในการพฒั นาความสามารถเฉพาะของตนให้กา้ วหน้า ยงิ่ ขน้ึ ในการทำโครงการและในหอ้ งประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารตา่ งๆ ในการเรยี นบทเพลง และบทกลอน ในการพนิ จิ ดหู นงั สอื ทมี่ รี ปู ภาพประกอบเปน็ หลกั ในการฟงั เรอ่ื งราวตา่ ง ๆ และในการออกกำลงั กาย ในทโ่ี ล่งนอกอาคารและในโรงเรยี น ดา้ นการร่วมมือกันระหว่างผปู้ กครองและคร ู ผปู้ กครองและครมู กี ารดำเนนิ การร่วมกันดงั น้ ี 1. การให้ข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกัน โรงเรียนอนุบาลให้การสนับสนุนครอบครัวของ เด็กในการให้การศึกษาอบรมแก่เด็ก การพูดคุยและแลกเปลี่ยนข้อมูลซ่ึงกันและกันอย่าง สม่ำเสมอระหว่างครูและผู้ปกครองจะทำให้เข้าใจถึงความคาดหวังและเป้าหมายของกันและกัน ได้กระจ่างชัดขึ้น บางคร้ังเด็กมีพฤติกรรมเม่ืออยู่ที่โรงเรียนอนุบาลแตกต่างจากพฤติกรรมเมื่ออยู่ ที่บ้าน ผู้ปกครองและครูจึงควรแลกเปล่ียนข้อสังเกตและประสบการณ์ของกันและกัน เพ่ือจะได้ เขา้ ใจเด็กได้ดีขึน้ และช่วยสนับสนุนสง่ เสรมิ เดก็ ได้ดียง่ิ ขึน้ 63 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินัยในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมน ี 2. การพูดคุยสนทนา ทางโรงเรียนอนุบาลจะพูดคุยสนทนากับครอบครัวของเด็กแต่ละ คนอย่างน้อยปีละหน่ึงคร้ัง ในการสนทนาครูและผู้สอนจะได้พูดคุยกันถึงเร่ืองพัฒนาการ ความ กา้ วหนา้ ทางการเรยี น พฤติกรรมในการทำงาน และพฤติกรรมทางสงั คมของเด็ก 3. รูปแบบต่างๆ ของการร่วมมือกัน เพ่ือสร้างพ้ืนฐานท่ีแข็งแกร่งสำหรับการทำงาน ร่วมกัน ครูและผู้สอนของช้ันอนุบาลจะติดต่อไปยังผู้ปกครองเด็กต้ังแต่เด็กเริ่มเข้าเรียนอนุบาล ในปแี รก ในการทำงานรว่ มกนั กบั ผปู้ กครอง ครแู ละผสู้ อนอาจจะเลอื กใชร้ ปู แบบตา่ ง ๆ ทหี่ ลากหลาย เช่น การสังสรรค์ช่วงค่ำระหว่างครูและผู้ปกครอง การมีหนังสือไปยังผู้ปกครอง การจัดให้มี การสนทนาเป็นกลุ่ม การจัดวาระพิเศษให้เด็กและผปู้ กครอง เป็นต้น 4. การเข้าเย่ียม ทางโรงเรียนอนุบาลยินดีให้ผู้ปกครองเข้าเย่ียมได้โดยการนัดหมาย ล่วงหน้ากบั ครูผู้สอน การเลอื่ นชน้ั จากช้นั อนุบาลขึ้นไปเรยี นชนั้ ประถมศึกษา มีรายละเอียดดงั นี้ 1. การร่วมมือกัน ในชั้นอนุบาล เด็กจะเร่ิมเข้าสู่เส้นทางซ่ึงเด็กจะได้ดำเนินต่อไปเม่ือ เข้าเรียนระดับประถมศึกษา การเรียนในช้ันอนุบาลและในระดับประถมศึกษามีเป้าหมายร่วมกัน คือ การส่งเสริมความสามารถของเด็กทั้งในด้านความสามารถแห่งตน ความสามารถทางสังคม และความสามารถเฉพาะด้าน แม้วา่ หลกั สูตรและรูปแบบการเรียนการสอนอาจจะแตกต่างกัน ครู และผู้สอนต่างก็มีหน้าท่ีเดียวกันอย่างต่อเน่ืองในการดูแลการเล่ือนช้ันของเด็กจากชั้นอนุบาลไป เข้าเรยี นในโรงเรยี นประถมศกึ ษา 2. การเล่ือนไปเข้าปกี ารศกึ ษาท่ี 1 ของชัน้ ประถมศึกษา โดยหลักการแล้ว เด็กทุกคนจะ เลื่อนไปเรียน ปีการศึกษาแรกของช้ันประถมศึกษาหลังจากอยู่โรงเรียนอนุบาลมาครบสองปีแล้ว อย่างไรก็ตาม ในบางกรณี เด็ก บางคนอาจจะได้ขึ้นไปเรียนช้ันประถมศึกษาก่อนหรือหลังหน่ึงปี ทง้ั นขี้ น้ึ อยกู่ บั ระดบั ของพฒั นาการของเดก็ การเลอ่ื นชนั้ จะกระทำในวนั เปดิ เทอมของปกี ารศกึ ษาใหม ่ 3. การตัดสินใจเกี่ยวกับเส้นทางการเรียนของเด็ก การเลื่อนชั้นจากอนุบาลไปเข้า ช้ันประถมศึกษา คือ การตัดสินใจเกี่ยวกับเส้นทางการเรียนของเด็ก คณะผู้บริหารโรงเรียนจะ ทำการตัดสินใจดังกล่าวบนพื้นฐานของคำขอของครูผู้สอนช้ันอนุบาลโดยให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม ด้วย และหากจำเป็น อาจจะให้สำนักงานให้คำปรึกษาเรื่องการอบรมเล้ียงดูเด็กของรัฐมาร่วม ออกความคดิ เหน็ ด้วยกไ็ ด้ 4. เอกสารบันทึกระดับพัฒนาการของเด็ก ครูผู้สอนจะตัดสินระดับการเรียนและ พัฒนาการของเด็กโดยอาศัยการสังเกตอย่างมีจุดมุ่งหมายเฉพาะและดูจากการทำงานของเด็ก แต่ละคน การตัดสินจะได้รับการบันทึกไว้ในเอกสารบันทึกระดับพัฒนาการของเด็ก เอกสารนี้ จะให้ข้อมูลเก่ียวกับพัฒนาการของเด็กในเรื่องของความสามารถแห่งตน ความสามารถทางสังคม 64 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และความสามารถเฉพาะด้าน นอกจากนั้นแล้ว เอกสารยังบรรจุข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรม ความ สามารถและความก้าวหน้าทางการเรียนของเด็ก รวมทั้งคำขอของครูผู้สอนให้เล่ือนช้ันเด็กไปเข้า เรียนช้ันประถมศึกษาอีกด้วย ในการสนทนากับผู้ปกครองเนื่องในโอกาสท่ีเด็กจะได้รับการเล่ือน ข้ึนไปเรียนเกรด 1 ของการเรียนระดับประถมศึกษา ครูผู้สอนจะได้พูดคุยกับผู้ปกครองเกี่ยวกับ ระดับพัฒนาการของเด็ก เอกสารบันทึกระดับพัฒนาการของเด็กนี้จะถูกเก็ยไว้ในแฟ้มเอกสาร ของโรงเรียนอนบุ าลและโรงเรยี นประถมศึกษา หน้าทแ่ี ละความรบั ผิดชอบของผู้เกี่ยวข้อง 1. ผปู้ กครอง มีหน้าทแ่ี ละความรับผิดชอบ ดงั น ี้ 1.1 ผู้ปกครองจะตอ้ งสง่ เด็กไปโรงเรียนอนุบาลตามเวลาทก่ี ำหนดไว้ 1.2 เด็กอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ปกครองในช่วงนอกเวลาของโรงเรียนอนุบาล และระหวา่ งทางไปหรอื กลับจากโรงเรยี นอนุบาล 1.3 ผู้ปกครองจะต้องให้ความรว่ มมอื กับคณะผูบ้ ริหารโรงเรียนอนุบาล 1.4 การให้ความร่วมมือของผู้ปกครองเป็นไปเพ่ือส่งเสริมให้เด็กพัฒนาไปได้อย่างดี ท่ีสุด 2. ครูและผู้สอน ครูและผู้สอนมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการตอบคำถามใดๆ เกย่ี วกับโรงเรียนอนุบาลและพัฒนาการของเดก็ 3. คณะผู้บริหารโรงเรยี น คณะผบู้ ริหารโรงเรยี นมีหนา้ ท่แี ละความรบั ผิดชอบ ดังนี้ 3.1 คณะผบู้ รหิ ารโรงเรยี นมหี นา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบภาวะการเปน็ ผนู้ ำดา้ นการสอน และการจัดการด้านการเรียนการสอนของโรงเรียนอนุบาลนนั้ ๆ 3.2 คณะผู้บริหารโรงเรียนมีหน้าท่ีจัดนักเรียนให้เข้าเรียนในชั้นเรียนต่างๆ และเป็น ผู้มีหน้าที่จัดการเรื่องเวลาเรียน การลดเวลาของการเรียนการสอนในบางกรณีในปีท่ีเด็กเข้า อนุบาลปีแรก รวมทงั้ เปน็ ผ้ทู ี่ตัดสนิ ใจเร่อื งเส้นทางการเรยี นของเด็ก 4. คณะกรรมาธิการโรงเรียน คณะกรรมาธิการโรงเรียนเป็นผู้ที่คอยดูแลให้เด็กได้เข้า เรียนในโรงเรยี นอนุบาลตามกฎหมายของรัฐและตามแนวทางข้อกำหนดของอำเภอหรอื ตำบล 5. ศึกษาธิการประจำภูมิภาค ศึกษาธิการประจำภูมิภาคเป็นผู้ที่ควบคุมการศึกษาภาค บงั คับในแตล่ ะรัฐ 6. สำนักงานการให้คำปรึกษาด้านการอบรมเล้ียงดู สำนักงานการให้คำปรึกษาด้าน การอบรมเล้ียงดูประจำภูมิภาคท่ีโรงเรียนต้ังอยู่จะให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองในกรณีที่เด็กมี พัฒนาการท่ีมีลักษณะพิเศษ และในกรณีท่ีผู้ปกครองมีคำถามพิเศษโดยเฉพาะในเร่ืองเกี่ยวกับ การอบรมเลย้ี งดูบตุ ร 65 รปู แบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินัยในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินัยท่ีโรงเรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีรูปแบบ และกลไก การเสรมิ สร้างวินัยที่โรงเรยี นระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ได้แก่ ผูป้ กครองและการศึกษาภาคบงั คับ มขี อ้ ควรปฏิบตั ิดังนี ้ 1. การร่วมมือกัน ในโรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ กฎหมายกำหนดว่าผู้ปกครองและ โรงเรียนในการศึกษาภาคบังคับจะต้องให้ความร่วมมือซึ่งกันและกัน การร่วมมือน้ีควรจะเป็น การร่วมมือในลักษณะของการเป็นส่วนร่วมกัน โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญร่วมกัน คือ ความสำเร็จ ในการศึกษาและความผาสุกของนักเรยี น 2. การให้ขอ้ มลู ขา่ วสารซ่ึงกันและกนั ไดแ้ ก ่ - โรงเรียนจะแจง้ ให้ผู้ปกครองทราบเกย่ี วกบั เร่อื งสำคัญต่างๆ ทง้ั ที่เกยี่ วกับการเรยี น การสอน เช่น การจัดงาน การจัดทัศนศึกษา ฯลฯ ทง้ั ท่ีไดจ้ ดั ไปแล้ว และท่ไี ด้วางโครงการไว้ และ การจัดการของโรงเรียน เช่น การจัดเด็กให้เข้าโรงเรียน หรือเข้าช้ันเรียน เวลาเรียน ฯลฯ ทาง โรงเรียนจะแจ้งข้อมูลข่าวสารเหล่าน้ีเป็นลายลักษณ์อักษรโดยมีหนังสือไปยังผู้ปกครอง หรือแจ้ง ให้ทราบดว้ ยวาจาเม่ือมีการสังสรรค์ตอนตำ่ ระหว่างครกู ับผปู้ กครอง และในวนั ท่ีเปิดให้ผปู้ กครอง เข้าเยี่ยมก็ได้ ทางโรงเรียนคาดหวังว่าท้ังบิดาและมารดาของนักเรียนจะเข้าร่วมในงานดังกล่าวให้ มากท่ีสุดเท่าท่ีโอกาสจะอำนวย หากทั้งบิดาและมารดาต่างก็ไม่สามารถมาร่วมงานได้ ขอให้แจ้ง ใหค้ รทู อ่ี อกหนงั สอื เชญิ ทราบวา่ ไมส่ ามารถมารว่ มงานได้ และขอใหผ้ ปู้ กครองสอบถามกบั ทางครวู า่ ผู้ปกครองจะสามารถได้รับข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับการนัดพบหรือการประชุมที่ผู้ปกครองไม่ สามารถไปร่วมไดน้ ั้นโดยวธิ ีใดบ้าง - โรงเรียนจะแจ้งให้ผู้ปกครองทราบอย่างสม่ำเสมอเกี่ยวกับพัฒนาการด้านการเรียน และความประพฤติของนักเรียน โดยในแต่ละปีจะมีการพูดคุยกับผู้ปกครองอย่างน้อยปีละหนึ่ง ครง้ั โดยทางโรงเรยี นจะกำหนดโดยตกลงกบั ผปู้ กครองลว่ งหนา้ - หากผู้ปกครองมีความรู้สึกว่าผู้ปกครองทราบความเป็นไปในโรงเรียนหรือ พัฒนาการในโรงเรียนของนักเรียนน้อยเกินไป ขอให้ผู้ปกครองสอบถามไปทางครูประจำช้ันหรือ ทางผ้บู ริหารโรงเรียนได ้ - ผู้ปกครองสามารถขอเข้าเย่ียมชั้นเรียนของบุตรหลายได้ในขณะท่ีครูกำลังทำ การสอนอยู่ ทัง้ นผ้ี ู้ปกครองจะตอ้ งตกลงกบั ครผู ู้สอนลว่ งหนา้ - หากผู้ปกครองพบว่ามีส่ิงใดที่อาจจะกระทบกระเทือนต่อพัฒนาการหรือสมาธิใน การเล่าเรยี นของบตุ รหลาน สามารถแจง้ ต่อครูประจำชัน้ ได้ 66 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมน ี 3. การตัดสนิ ใจสำคัญ มดี งั น้ ี - การตัดสินใจสำคัญต่างๆ เก่ียวกับแผนการเรียนของนักเรียน เช่น การเลื่อนช้ัน จากชั้นอนุบาลไปเรียนชั้นประถมศึกษา และจากชั้นประถมศึกษาไปเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น การให้เล่ือนชั้นไปยังชั้นถัดไป การส่งไปเรียนชั้นพิเศษ ฯลฯ จะกระทำได้หลังจากที่ได้พูดคุบกับ ผู้ปกครองและนักเรียนแล้วเท่าน้ัน และทางโรงเรียนจะให้โอกาสผู้ปกครองแสดงความคิดเห็น และใหค้ ำปรกึ ษาแกผ่ ปู้ กครอง รวมทง้ั ใหโ้ อกาสผปู้ กครองไดศ้ กึ ษาแฟม้ ตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วกบั นกั เรยี นได ้ - การตัดสนิ ใจวา่ นกั เรยี นควรจะเรยี นสาขาใดต่อไป เป็นการตดั สนิ ใจโดยฝา่ ยบรหิ าร ของโรงเรยี น ทางโรงเรยี นจะสง่ หนงั สอื แจง้ การตดั สนิ ใจดงั กลา่ วพรอ้ มทงั้ ใหเ้ หตผุ ลมาถงึ ผปู้ กครอง อย่างเป็นลายลกั ษณ์อักษร หากผปู้ กครองไม่เหน็ ดว้ ยกบั การตัดสินใจดังกล่าว ผปู้ กครองสามารถ ยนื่ คำร้องตอ่ ศึกษาธิกาทค่ี วบคมุ โรงเรียนได ้ 4. การมีส่วนรว่ ม ผ้ปู กครองอาจมีสว่ นร่วมในโรงเรยี นได้ ดังนี้ - หากผู้ปกครองมีความพร้อม และมีโอกาสที่จะให้ความช่วยเหลือเล็กๆ น้อยๆ แกค่ รผู ้สู อน แกช่ นั้ เรียน หรอื แก่โรงเรยี นของบตุ รหลาน เช่น โดยการเปน็ ผูต้ ิดตามในระหวา่ งท่ีครู พานักเรียนไปทัศนศึกษานอกสถานท่ี หรือโดยการให้การสนับสนุนโครงการต่าง ๆ ของโรงเรียน หรือโดยการแปลภาษาให้กับผู้ปกครองของนักเรียนคนอื่น ๆ ฯลฯ โปรดแจ้งให้ครูผู้สอนทราบ การช่วยเหลือดังกล่าวจะช่วยส่งเสริมความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างครูและผู้ปกครอง และทำให้ บรรยากาศในโรงเรียนเป็นบรรยากาศทีด ี - โรงเรียนหลายแห่งมีสภาผู้ปกครอง ซ่ึงประกอบด้วยตัวแทนผู้ปกครองหนึ่งถึง สองคนจากแต่ละช้ัน สมาชิกสภาผู้ปกครองมาจากการเลือกต้ังโดยผู้ปกครองของแต่ละชั้น ซึ่งจะ กระทำกันในตอนตน้ ปกี ารศกึ ษา ตัวแทนผูป้ กครองของช้นั หนงึ่ ๆ จะทำงานร่วมกบั ครปู ระจำชนั้ อย่างใกล้ชิด ท้ังสองฝ่ายจะทำหน้าที่ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูได้แลกเปล่ียนข้อมูลและ ความคิดเห็นซึ่งกันและกันในเร่ืองท่ีเก่ียกับการศึกษาอบรมและการจัดการต่าง ๆ ของโรงเรียน ตัวแทนผู้ปกครองจะเป็นผู้คอยช่วยเหลือเม่ือมีปัญหาใดๆ เกิดข้ึน ให้การสนะบสนุนวาระและ โครงการต่าง ๆ ของชั้นเรียน และเป็นตัวแทนรักษาผลประโยชน์ให้กับผู้ปกครองของนักเรียน ในชั้น สภาผู้ปกครองจะดแู ลในหัวขอ้ ทสี่ ง่ ผลกระทบต่อโรงเรยี น มาตรการเม่ือมีปัญหาทางวนิ ัยในโรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ โรงเรยี นการศกึ ษาภาคบงั คบั มหี นา้ ทด่ี แู ลใหก้ ารดำเนนิ การในโรงเรยี นเปน็ ไปอยา่ งราบรนื่ มีระเบียบ เพื่อที่นักเรียนทุกคนจะได้รู้สึกสบายใจและสามารถเรียนไปได้ดี นักเรียนทั้งหญิงและ ชายจะต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์สำหรับการอยู่ร่วมกันในโรงเรียน ได้แก่ กฎเกณฑ์เม่ืออยู่ใน โรงเรียน และกฎของห้องเรียน และจะต้องปฏิบัติตามคำส่ังของครูผู้สอน ผู้บริหารโรงเรียน และ 67 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินยั ในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมน ี พนักงานโรงเรยี น หากมกี ารละเลยไม่ปฏิบตั ิตามกฎซ้ำแล้วซ้ำอีก หรอื ละเมิดกฎอยา่ งรนุ แรง ทาง โรงเรียนจะแจ้งให้ผู้ปกครองทราบ และจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนท่ีต้องปฏิบัติเม่ือมีสถานการณ์ ยุง่ ยากเกดิ ข้นึ ข้ันตอนท่ีต้องปฏิบัติเม่ือมีสถานการณ์ยุ่งยากเกิดขึ้น อาจเป็นไปได้ที่นักเรียนอาจจะรู้สึก ว่าตนเองไม่มีความสุขในช้ันเรียน หรือผลการเรียนของนักเรียนลดลงอย่างกระทันหัน หรือบางที นักเรียนอาจจะมีปัญหากับนักเรียนด้วยกัน หรือผู้ปกครองอาจจะไม่เห็นด้วยกับการตัดสินใจของ ครผู ูส้ อน ในสถานการณท์ ย่ี งุ่ ยากท่ีมีผลกระทบตอ่ นักเรียน ต่อครูผสู้ อน หรอื ตอ่ ชั้นเรยี น จะต้อง ปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. ผู้ปกครองและครูผู้สอนติดต่อพูดคุยปรึกษาหารือกันถึงสถานการณ์ท่ีกำลังเป็น ประเด็นอยู่และพยายามหาหนทางแก้ไขร่วมกัน โดยปกติมักจะหาทางออกที่เป็นท่ีน่าพอใจได้ ด้วยวธิ นี ี้ 2. ถ้าหากว่าผู้ปกครองและครูผู้สอนไม่สามารถจะหาทางออกได้ และหากฝ่ายใดฝ่าย หน่งึ เห็นวา่ จำเปน็ ก็ให้มกี ารพดู คยุ กันระหว่างผปู้ กครอง ครูผู้สอน และฝ่ายบริหารของโรงเรยี น 3. ถ้าหากว่ายังไม่สามารถหาทางแก้ไขท่ีเป็นท่ีพอใจได้ ไม่ว่าจะในกรณีที่มีคำถามหรือ ปัญหาใดๆ เกิดขน้ึ ผูป้ กครองสามารถนำเร่อื งเข้าแจ้งต่อคณะกรรมการโรงเรยี นได้ การขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ หากการใช้มาตรการท่ีได้ตกลงกันไว้ไม่นำไปสู่ การเปล่ียนแปลงในทางท่ีดีขึ้น ทางโรงเรียนอาจขอความช่วยเหลอื จากผเู้ ชยี่ วชาญ หากพฤตกิ รรม ของนักเรียนหญิงหรือชายคนใดส่งผลกระทบกระเทือนต่อโรงเรียนอย่างรุนแรง จนทำให้ไม่ สามารถจะดำเนินการเรียนการสอนไปตามปกติได้ คณะกรรมการโรงเรียนสามารถมีหนังสือ ตักเตือนเป็นลายลักษณอักษรได้ หรืออาจจะเตือนว่า ถ้าไม่เลิกพฤติกรรมเช่นน้ัน ก็อาจจะถูกสั่ง พกั การเรียนได ้ การส่ังพักการเรียนของนักเรียน เพื่อความมั่นใจว่าโรงเรียนจะสามารถดำเนินการไปได้ อยา่ งเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย คณะกรรมการโรงเรยี นสามารถสงั่ ใหน้ กั เรยี นหญงิ และชายพกั การเรยี น ได้นานถึงสิบสองสัปดาห์ ในกรณีที่นักเรียนถูกพักการเรียน ผู้เช่ียวชาญท่ีได้รับมอบหมายจาก โรงเรียนจะได้ร่วมกันกับผู้ปกครองและโรงเรียนจัดหากิจกรรมท่ีเหมาะสมให้นักเรียนทำใน ระหวา่ งท่ีถูกพกั การเรยี นตอ่ ไป 68 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินยั ในสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรัฐเยอรมนี กรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับปัจจัยท่ีสร้างความเข้มแข็งให้บุคคลมีวินัย ของประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมนี ปจั จัยทีส่ รา้ งความเขม้ แข็งใหบ้ ุคคลมวี ินัยของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ได้แก่ 1. นโยบายรัฐบาล กฎ ระเบียบที่เก่ียวข้องกับการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับ การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานของเยอรมนี ประกอบด้วย 2. มาตรฐานการศึกษา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนีทีเ่ ปน็ ปัจจยั ช่วยหนุนเสรมิ การเสริมสรา้ งวินยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 3. แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมนี 4. ความร่วมมือของทุกภาคส่วนของสังคมของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีใน การเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศึกษา 5. ระบบกลไกและความรว่ มมอื ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี ได้แก่ (1) การอบรมสงั่ สอนบตุ รหลานของครอบครัวและชมุ ชน (2) ระบบการศึกษาท่ีเน้นให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาได้อย่างเท่าเทียม และเป็นธรรม เพ่ือสร้างพลเมืองที่ชาญฉลาดและมีคุณภาพเพื่อเป็นกำลังสำคัญของการพัฒนา ประเทศ (3) การมีนักวชิ าการ นักจิตวิทยา และผู้ปรับปรุงระบบการศกึ ษาอยู่เป็นจำนวนมาก ส่งผลให้มีการปรับปรุงระบบการศึกษาที่มุ่งมันถ่ายทอดวิชาความรู้ สอนนักเรียนให้ได้รับความรู้ กันอย่างต่อเนื่อง มีตำราวชิ าการ และมีการศกึ ษาหาความรกู้ ันตลอดเวลา (4) ศาสนา ชาวเยอรมันส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ โบสถ์มีความสำคัญต่อชีวิต ชาวเยอรมันมาก และมีกิจกรรมทางศาสนาอย่างต่อเน่ือง ศาสนาช่วยหล่อหลอมให้คนเยอรมัน มีคุณธรรม จริยธรรมและระเบียบวินัย และคนเยอรมันส่วนใหญ่ยังยึดม่ันในคริสต์ศาสนาอย่าง มน่ั คง (5) ชุมชนของเยอรมนีมีส่วนอย่างมากในการล้อมกรอบให้เด็กมีระเบียบวินัย โดย คนในชุมชนจะประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีและเป็นผู้นำในการทำกิจกรรมต่าง ๆ และฝึกฝน เด็กและเยาวชนใหร้ ักการกีฬา และมีกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ตา่ ง ๆ เกิดข้นึ ในชุมชน ที่ลว้ นเปน็ แนวทางในการฝึกฝนระเบียบวินยั ได้เปน็ อยา่ งดี (6) สื่อสารมวลชนตา่ งๆ ไดแ้ ก่ หนังสือ ทีวี ภาพยนตรล์ ว้ นเนน้ และสง่ เสริมเด็กและ เยาวชนให้เป็นคนดีมีคณุ ธรรม (ชมุ พล เท่ียงธรรม 2548) 69 รูปแบบและกลไกการเสริมสรา้ งวนิ ยั ในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ฝ้าย (2014) ได้กล่าวว่า วัฒนธรรมการทำงานของชาวเยอรมันเป็นปัจจัยที่สร้างความ เขม้ แขง็ ใหบ้ คุ คลมวี นิ ยั ได้แก ่ 1. คนเยอรมนั ตง้ั ใจและจดจอ่ กับงาน เวลาทำงานเทา่ กบั เวลาทำงาน ชาวเยอรมันจะไม่ ทำกิจกรรมอ่ืนท่ไี มเ่ กยี่ วข้องกับการทำงานในเวลาทำงาน 2. คนเยอรมันจะทำงานตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้ และส่ือสารอย่างตรงไปตรงมาท่ีช่วยเพ่ิม ประสิทธภิ าพ ในการทำงานและลดความเขา้ ใจผดิ พลาดหรอื คลาดเคลื่อนด้วย 3. คนเยอรมันมีความสมดุลในการใช้ชีวิต แบ่งชีวิตการทำงานออกจากเวลาส่วนตัว ในระหว่างการทำงานเขาจะใจจดใจจ่อและทำงานอย่างมีประสิทธิภาพแต่ก็ใช้ขีวิตหลังเวลา เลกิ งานอยา่ งคุ้มค่าเช่นกัน 3. ธุรกิจให้ความเคารพต่อการเป็นพ่อแม่ของพนักงาน เยอรมนีจะมีระบบให้ลาหยุด สำหรบั การคลอดบุตรและการเลยี้ งดูบุตร 4. คนเยอรมนั เชื่อมนั่ ในการทำงานเป็นทมี เขาเช่อื วา่ การทำงานรว่ มกันกบั คนอ่ืน จะได้ มุมมองท่ีหลากหลายมากกว่า และหากมีใครคนหนึ่งขาดไป งานต้องเดินไปได้ตามแผนที่วางไว้ โดยไม่สะดุด ปัจจัยท่ีสร้างความเข้มแข็งให้บุคคลมีวินัยของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี โดยปจั จยั ทสี่ รา้ งความเขม้ แขง็ ใหบ้ คุ คลมวี นิ ยั ของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี ประกอบดว้ ย 1. นโยบายรฐั บาล กฎ ระเบียบทเี่ กย่ี วข้องของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรัฐเยอรมนที ่ี เป็นปัจจัยช่วยหนุนเสริมการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้แก่ 1) รัฐธรรมนญู สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนั หมวด 1 สิทธิมลู ฐาน มาตราท่ี 1, 2, 6, 7, 9, และ 12 2) ระบบประกนั สังคมของเยอรมนี 3) สิทธิและหนา้ ทข่ี องเดก็ ในเยอรมนี 4) กฎระเบียบสำหรับ การอยู่ร่วมกันระหว่างเพื่อนบ้าน (บ้านเช่า) 5) กฎหมายท่ีว่าด้วยการศึกษาภาคบังคับของรัฐ 6) กฎระเบยี บเกยี่ วกบั การทง้ิ ขยะ 7) กฎระเบยี บเกย่ี วกบั การรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม และ 8) มาตรฐาน กฎระเบยี บ และแนวทางปฏิบัตทิ ี่ใช้ในการพฒั นาอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศของ เยอรมน ี นอกจากนโยบายรัฐบาล กฎ ระเบียบท่ีเก่ียวข้องจะเป็นปัจจัยช่วยหนุนเสริม การเสรมิ สร้างวินัยในสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานแล้ว ยังมสี ่ิงท่ีช่วยสนับสนนุ อีก ไดแ้ ก่ 1. การมีจิตสำนึกของคนเยอรมันและการมีกฎหมายเป็นตัวช่วยที่เป็นปัจจัยช่วย หนุนเสริมการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอีกด้วย ดังท่ี เสรี พงศ์พิศ (2558, //www.phongphit.com) กลา่ วว่า “ข้นึ รถไฟใตด้ นิ ทปี่ ระเทศเยอรมนี ไม่มีร้ัวกนั มีแต่เสาสำหรับตอกบัตร ไม่มีบัตรก็ขึ้นรถไฟได้และไม่มีคนขายตั๋ว ตรวจต๋ัวเหมือนรถประจำ ทางในประเทศไทย แต่จะมีคนมาตรวจตั๋วเป็นคร้ังคราวแบบสุ่มตรวจโดยมาแบบนอกเคร่ืองแบบ พอรถไฟออก อาจจะมีใครตนหนึ่งบนรถไฟที่แสดงบัตรเจ้าหน้าท่ีและขอตรวจต๋ัว ใครไม่มีต๋ัว 70 รปู แบบและกลไกการเสริมสรา้ งวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี จะแกต้ วั หรอื อา้ งวา่ มตี ว๋ั แตล่ มื ตอกตว๋ั หรอื ตวั๋ หาย หรอื เหตผุ ลอะไรกต็ าม คนตรวจตวั๋ ไมฟ่ งั ทงั้ นนั้ เขียนใบสง่ั ปรบั ตรงน้ัน คิดเปน็ เงนิ ไทยประมาณ 2,000 บาท แต่ที่แรงกว่าค่าปรับ คอื การอบรม หรือการประจานทำให้คนที่ถูกปรับหน้าแดงด้วยความอาย คนตรวจต๋ัวพูดว่า คุณต้องมีความ รับผิดชอบต่อส่วนรวมโดยการจ่ายค่าโดยสาร ไม่เอาเปรียบคนอ่ืน รถไฟน้ีมาจากภาษีอากรของ ประชาชนทกุ คน จะต้องชว่ ยกันทำใหร้ ถไฟสามารถใหบ้ ริการได้ ถา้ ทกุ คนไม่จา่ ยค่ารถไฟ วนั หนง่ึ รถไฟก็ต้องหยุดให้บริการ แล้วทุกคนก็จะเดินทางลำบากขึ้น คนเยอรมันข้ึนช่ือว่าเป็นคนมีวินัย ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ อย่างเคร่งครัด แต่กระนั้นก็ยังมีคนไม่เคารพกฎหมาย ซง่ึ ส่วนใหญ่ ไมใ่ ชค่ นเยอรมัน แต่เป็นคนมาจากหลายประเทศ มาทำงานจนต้ังถ่ินฐานในเยอรมนี คนเยอรมนั เชือ่ ว่า การมวี ินยั เปน็ เรอื่ งจติ สำนึกเป็นอันดับแรม และมีกฎหมายเปน็ ตัวช่วย การทำ ผิดกฎหมาย กฎจราจร คนเยอรมันจะไม่คิดว่าเป็นหน้าท่ีของตำรสจเท่าน้ัน แต่ละช่วยกันต่อว่า ไมว่ า่ ด้วยสายตา หรือด้วยคำพูดตำหนกิ ารกระทำดังกล่าว” 2. การเคารพกฎกติกาของสังคมที่กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด ดังท่ี ปาติจจาชน (Patijjachon, 2552) กล่าวว่า จากการสังเกตลักษณะนิสัยในการข้ามถนนของคนเยอรมันตาม เมอื งใหญ่ เช่น เบอร์ลนิ แฟรงค์เฟริ ์ต เปน็ ต้น คนจะยืนรอข้ามถนน ณ จดุ ทมี่ ีสญั ญาณไฟจราจร เขาจะไมเ่ ดินขา้ มถนนตราบใดที่ยงั ไมม่ สี ญั ญาณไฟเขยี วใหข้ ้าม แม้ว่าในช่วงเวลานน้ั จะไมร่ ถผ่าน กต็ าม หันมามองคนทใี่ ช้รถบ้าง คนทีข่ บั รถก็จะจอดรอตามจงั หวะสัญญาณให้คนข้ามไป เขากจ็ ะ ไม่มีวันออกรถโดยเด็ดขาด ตราบเท่าที่เขายังไม่ได้รับสัญญาณไฟเขียวให้ไป แม้จะไม่มีคน ข้ามถนนแล้วก็ตาม เห็นวิถีการใช้ชีวิตในการข้ามถนนของคนเยอรมันแล้ว แสดงให้เห็นถึง คุณลักษณะที่เด่นชัดของคนประเทศนี้ คือ การเคารพกฎกติกาของสังคมท่ีกำหนดไว้อย่าง เครง่ ครัด 2. หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนีที่เป็น ปัจจยั ช่วยหนนุ เสรมิ การเสรมิ สร้างวนิ ัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ได้แก่ 2.1 หลักสตู รระดบั อนบุ าลสำหรับเด็กทม่ี อี ายุสามขวบถึงหกขวบในโรงเรียนอนบุ าล 2.2 หลักสูตรระดบั ประถมศึกษา 2.3 หลักสูตรระดับประถมศกึ ษา 2.4 หลกั สตู รมธั ยมศกึ ษาตอนปลายสายสามัญ 2.5 หลักสูตรอาชีวศึกษา 71 รปู แบบและกลไกการเสริมสร้างวินยั ในสถานศึกษาระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนี 3. แนวทางและกระบวนการการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ไดแ้ ก ่ 3.1 แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนอนุบาล อยู่ในการศึกษา ภาคบังคับ ดังนั้น โรงเรียนอนุบาลซ่ึงใช้เวลาเรียนทั้งส้ินสองปี จึงถือเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา ภาคบังคับท่ีมีระยะเวลาเรียนสิบเอ็ดปี แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียน อนุบาล เริ่มต้นต้ังแต่เม่ือเด็กอายุประมาณ 3 ขวบ เด็กก็จะไปเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาล โรงเรียนอนุบาลก็จดั การเรียนการสอนให้แกเ่ ดก็ ปฐมวัยมคี วามสามารถและทกั ษะ ไดแ้ ก ่ - ความสามารถทางสังคม เด็กจะได้เรียนรู้ที่จะติดต่อกับผู้อื่น รู้จักบอกกล่าว ความตอ้ งการของตนเอง รจู้ กั รบั ฟังผู้อน่ื เข้าใจผู้อ่ืน เกรงใจผ้อู ่นื รู้จกั เลน่ และทำงานรว่ มกบั ผู้อื่น เคารพกฎกติกา และรู้จักท่ีจะจัดการกับ ความขัดแย้ง เด็กจะได้เรียนรู้ว่าการอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม ใหญ่จำเป็นจะต้องมีระเบียบกฎเกณฑ์ เด็กจะเรียนรู้ว่า การวางกฎเกณฑ์ร่วมกันน้ันทำได้อย่างไร และจะอยู่กับกฎเกณฑ์น้ันอย่างไร เด็กจะเรียนรู้ว่าทำอย่างไรจึงจะสามารถทำให้ความต้องการ และผลประโยชนข์ องตนเองไปกันไดอ้ ยา่ งราบร่ืนกบั ความต้องการและผลประโยชน์ของเดก็ อื่น - ความสามารถแห่งตน โรงเรียนจะส่งเสริมให้เด็กพัฒนาความสามารถในการ ประจกั ษต์ นเองและส่งิ แวดลอ้ ม ให้ร้จู กั แสดงออกและสอื่ สารในสิง่ ทต่ี นเองคดิ เห็น ต้องการ หรือ รู้สึก เด็กจะเล่าส่ิงที่ตนได้พบเห็นหรือประสบมา เด็กจะได้ฟังเร่ืองาวต่างๆ เรียนรู้มโนทัศน์ใหม่ๆ จะได้ฝึกการฟังอย่างต้ังใจ ฝึกการสังเกตอย่างพินิจพิจารณา และเรียนรู้ที่จะเรียบเรียงสิ่งท่ีตนได้ ประสบออกมาเป็นถอ้ ยคำ เด็กจะไดร้ บั การฝึกหัดให้รูจ้ ักแสดงออกถึงความรูส้ กึ ของตนเองท้ังโดย การใชภ้ าษาและโดยใชเ้ ครอื่ งมอื การแสดงออกอยา่ งสรา้ งสรรคอ์ น่ื ๆ เดก็ จะไดเ้ รยี นรทู้ จี่ ะแสดงออก โดยวิธีอันหลากหลายถึงความสุขและความเพลิดเพลินจากการที่เด็กได้เคลื่อนไหวตัวเด็กจะ พัฒนาความสามารถในการเคลื่อนไหวตัวเองให้กว้างขวางและละเอียดมากยิ่งขึ้น เด็กจะทำอะไร ต่างๆ ด้วยตัวเองได้มากข้ึน ทำให้มีความมั่นใจในตัวเองเพ่ิมขึ้น เด็กจะได้เรียนรู้การอยู่กับความ สำเรจ็ และความลม้ เหลว และเพ่มิ สมรรถนะในการตัง้ สมาธแิ ละความอดทน - ความสามารถเฉพาะด้าน ในช้ันอนุบาล เด็กจะขยายขอบเขตความสามารถ ในการมีปฏสิ มั พันธก์ บั สิง่ แวดลอ้ มใหก้ ว้างขวาง และประณีตยงิ่ ขนึ้ เด็กจะไดท้ ดลองใช้วัสดตุ ่าง ๆ หลากหลายชนดิ เรยี นรู้และฝึกหดั การใชเ้ ครื่องมือ อุปกรณ์ และเครอ่ื งดนตรตี า่ ง ๆ เพม่ิ พนู และ กลั่นกรองประสบการณ์กับสัตว์และพืช เด็กจะเรียนรู้ที่จะนำประสบการณ์ในการใช้ส่ือต่าง ๆ มาใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชน์ จะไดร้ บั การฝกึ ฝนใหร้ จู้ กั ทศิ ทางและทต่ี ง้ั ของตนเอง รวมทงั้ บรเิ วณใกลเ้ คยี ง และในการจราจรบนถนน ครูหรือผู้สอนจะเป็นผู้คอยสนับสนุนเด็กในการพยายามแก้ปัญหาของ ตนเอง และสนบั สนุนใหเ้ ด็ก ๆ สนุกกบั การเรียนรู้ เด็กจะได้รับการชมเชย และหากจำเปน็ เดก็ จะ 72 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สร้างวนิ ยั ในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมน ี ได้รับ ความช่วยเหลือในการหาช่องทางในการแก้ไขปัญหา เด็กจะเรียนรู้และสามารถอธิบายให้ เห็นถงึ ความสัมพันธ์ และความสมำ่ เสมอของกฎเกณฑต์ า่ ง ๆ รวมทั้งจะได้ฝกึ การจำส่งิ เหลา่ น ี้ - การเล่นและการเรียน ส่ิงท่ีสำคัญท่ีสุดในชั้นอนุบาล คือ การเล่น เด็กจะได้ เรียนรู้ในระหว่างท่ีกำลังเล่น และเล่นในระหว่างที่กำลังเรียน ห้องเรียนของเด็กอนุบาล สถานที่ และวัสดุต่างๆ จะเปิดโอกาสให้แก่เด็ก และให้การกระตุ้นเด็กในการละเล่นต่าง ๆ อย่างเต็มท่ี เวลาเล่น เด็กจะได้พัฒนาความสามารถของตน และขยายประสบการณ์ของตนให้กว้างขวามขึ้น หรือให้ลุ่มลึกยิ่งขึ้น เพิ่มพูนทักษะ และค้นหาความสนใจอื่น ๆ ของตนเอง เด็กจะเรียนรู้ที่จะ ตัดสินใจอย่างเป็นอิสระด้วยตนเองว่าจะเลือกใช้วัสดุใดและรูปแบบการเล่นแบบใด เด็กจะเป็น ผู้ตัดสินใจเองว่าจะเล่นกับเด็กคนใด และจะใช้กฎเกณฑ์ใดในการเล่นนั้น ท้ังน้ี ครูหรือผู้สอนจะ เป็นผทู้ ่ีคอยดแู ลและสนบั สนนุ - รูปแบบการทำงาน เด็กจะมีโอกาสในการพัฒนาความสามารถเฉพาะของตน ให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้นในการทำโครงการและในห้องประชุมเชิงปฏิบัติการต่างๆ ในการเรียนบทเพลง และบทกลอน ในการพินจิ ดหู นังสอื ท่มี ีรปู ภาพประกอบเป็นหลัก ในการฟงั เรอ่ื งราวตา่ งๆ และใน การออกกำลังกายในท่โี ลง่ นอกอาคารและในโรงเรยี น 3.2 แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนประถมศึกษา เม่ือ นักเรียนเล่ือนช้ันมาเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนจะสนับสนุนให้นักเรียนหาความรู้ พัฒนาความสามารถ สร้างทัศนคติ และทักษะในการปฏิบัติโดยมีเป้าหมายเพ่ือให้เด็กและ เยาวชนรู้ทิศทางและปรับตัวเองให้กลมกลืนกับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้เพ่ือให้นักเรียนพัฒนาไป เป็นผู้ท่ีมีบุคลิกภาพเป็นตัวของตัวเองและเป่ียมด้วยความรับผิดชอบสามารถเรียนจบอาชีวศึกษา หรอื การศกึ ษาขน้ั สงู ตอ่ ไปหลงั จากจบการศกึ ษาภาคบงั คบั แลว้ นกั เรยี นจะไดฝ้ กึ หดั ทกั ษะพนื้ ฐานของ การอ่าน การเขียน และการคำนวณ นักเรียนจะเรียนรู้และทำความเข้าใจโลกรอบตัวและเรียนรู้ เทคนิคการทำงานจากครู นักเรียนจะต้องทำแบบฝึกหัดด้วยตนเองและต้องมีความรับผิดชอบ ตอ่ งานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย โดยผู้ปกครองจะต้องร่วมมือกับโรงเรียนในการปลูกฝงั วินยั ดังต่อไปน ้ี 1) รักษาความสัมพันธ์กับครูผู้สอนและเข้าร่วมงานและกิจกรรมต่างๆ ของ โรงเรยี น 2) ผปู้ กครองจะต้องดูแลใหน้ กั เรยี นนอนหลบั อยา่ งเตม็ ท่ี ไดร้ ับประทานอาหาร ท่มี ีคณุ คา่ และจะต้องนำอาหารวา่ งมารับประทานที่โรงเรยี นด้วย 3) ผู้ปกครองจะต้องไม่ขับรถมาส่งนักเรียนท่ีโรงเรียน แต่ควรฝึกเดิน หรือป่ัน จักรยานมาโรงเรียนโดยลำพงั ได้ 4) ผู้ปกครองจะต้องดูแลให้บุตรหลานทำการบ้านให้เสร็จเรียบร้อยและให ้ บุตรหลานเตรียมกระเปา๋ สำหรับการเรยี นในวนั ตอ่ ไปด้วย 73 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมน ี 5) ผู้ปกครองจะต้องเช่ือมั่นในความสามารถที่จะเรียนรู้ของบุตรหลาน และจะ ต้องปลอ่ ยใหเ้ ขาทำสง่ิ ต่าง ๆ ดว้ ยตนเองใหม้ ากท่ีสดุ เท่าทีจ่ ะทำได้ 6) ผู้ปกครองจะต้องชมเชยบุตรหลานเพื่อแสดงให้เห็นว่าเขาพยายามที่จะ เรยี นรแู้ ละชมเชยความอดทนของเราเม่อื เขาประสบปญั หา 7) ผู้ปกครองจะต้องไม่ตำหนิบัตรหลานเม่ือเขาทำอะไรผิดพลาด แต่ช่วยให้เขา เรียนรูจ้ ากความผิดพลาด 8) ผู้ปกครองจะต้องพูดคุยกับบุตรหลานว่าเขาเรียนอะไรบ้างท่ีโรงเรียน จงฟัง เขาพูดดว้ ยความอดทน ตอบคำถามของเขา เล่านทิ านให้เขาฟงั และอา่ นหนงั สอื ใหเ้ ขาฟังดว้ ย 9) ผู้ปกครองจะต้องทำกิจกรรมกับบุตรหลาน พาเขาไปเที่ยวในสถานที่ต่างๆ เพ่อื ใหเ้ ขาเรยี นรูก้ วา้ งขวางยง่ิ ขึ้น 10) ผู้ปกครองจะต้องพาบุตรหลานไปห้องสมุดอย่างสม่ำเสมอและกระตุ้นให้ เขาอ่านหนังสือ 11) ผู้ปกครองจะต้องวางระเบียบการใช้สื่อใหม่ๆ ไม่ปล่อยให้ใช้ส่ือเทคโนโลยี มากเกินไป 3.3 แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี นในระดบั มธั ยมศกึ ษาของเยอรมนมี ี 4 รปู แบบ ไดแ้ ก่ (สถานเอกอคั รราชฑตู ณ กรงุ เบอรล์ นิ , 2552 หนา้ 18) 1. เฮาพ์ชูเล (Hauptschule) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่เน้นความรู้ ท่ัวไป เช่น ภาษาเยอรมัน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาต่างประเทศ มีต้ังแต่ เกรด 5-9 เม่ือจบเกรด 9 แล้วจะได้รับประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนต้นเฮาพ์ชูลอับชลุส (Hauptschulabschluss) สามารถเรียนต่อด้านอาชีพประเภทช่างหรืออาจจะเรียนต่อเกรด 10 ตอ่ ไปก็ได้ เพราะการเรยี นสายอาชพี บางสาขาจะต้องจบเกรด 10 2. เรอาลชูเล (Realschule) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นเช่นกัน แต่จะมี ต้ังแต่เกรด 5-10 วิชาที่เรียนจะมีมากกว่าโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นแบบเฮาพ์ชูเล และเมื่อ เรยี นจบเกรด 10 จะไดร้ ับประกาศนยี บตั รมทิ ลเ์ ลเรไรเฟ (Mittlere Reife) และสามารถเรียนต่อ สายอาชพี ทุกสาขาได้ 3. กึมนาซิอุม (Gymnasium) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีท้ังระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น เกรด 5-10 และระดับเตรียมอุดมศึกษา เกรด 11-13 การเรียนจะเน้นทาง ด้านวิชาการมากกว่า ดังน้ัน นักเรียนท่ีจะเรียนกึมนาซิอุมจะต้องเป็นนักเรียนที่เรียนดี เมื่อสำเร็จ การศึกษาจะได้รับประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายท่ีเรียกว่า อบิทัวร์ (Abitur) และ สามารถเข้าเรยี นตอ่ ในระดับอดุ มศกึ ษาได ้ 74 รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินยั ในสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมน ี 4. เกซัมท์ชูเล (Gesamtschule) เป็นโรงเรียนมัธยมประสม คือ นำรูปแบบ โรงเรียนมัธยมศึกษาทั้งสามแบบท่ีกล่าวมาแล้วมารวมอยู่ด้วยกัน จะเปิดสอนตั้งแต่เกรด 5-13 นักเรียนท่ีเข้าเรียนในโรงเรียนแบบน้ีสามารถท่ีจะเลือกเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบใดแบบ หนึ่งในสามแบบได้ เมื่อเรียนไปแล้วเห็นว่าไม่เหมาะสมกับความสามารถของตน ก็อาจจะย้ายไป เรยี นโรงเรยี นแบบที่เหมาะสมกับตนได ้ การปลูกฝังวินัยของโรงเรียนมัธยมศึกษา เป็นการปลูกฝังวินัยต่อเน่ืองมาจาก โรงเรียนประถมศึกษาโดยโรงเรียนคาดหวังให้นักเรียนหญิงและชายรู้จักการทำงานอย่างเป็น อิสระด้วยตนเองมากข้ึน การศึกษาวิชาทั่วไปจะได้รับการปลูกฝังให้หยั่งรากลึกมากขึ้น นักเรียน หญิงและชายยังจะได้รับการตระเตรียมเพื่อการเลือกสาขาวิชาชีพท่ีจะเรียนหรือโรงเรียนช้ันสูงที่ จะเรียนตอ่ ไปดว้ ย (กระทรวงศึกษาธกิ ารแห่งรฐั เบิร์น ข, 2013) โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษามหี นา้ ทด่ี แู ลใหก้ ารดำเนนิ การในโรงเรยี นเปน็ ไปอยา่ งราบรนื่ มีระเบียบ เพื่อท่ีนักเรียนทุกคนจะได้รู้สึกสบายใจ และสามารถเรียนไปได้ดี นักเรียนท้ังหญิงและ ชายจะต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์สำหรับ การอยู่ร่วมกันในโรงเรียน ได้แก่ กฎเกณฑ์เมื่ออยู่ใน โรงเรียนและกฎของห้องเรียน และจะต้องปฏิบัติตามคำสั่งของครูผู้สอน ผู้บริหารโรงเรียน และ พนกั งานโรงเรยี น หากมกี ารละเลยไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎซ้ำแล้วซำ้ อีก หรือละเมดิ กฎอย่างรุนแรง ทาง โรงเรียนจะแจ้งให้ผู้ปกครองทราบ และจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนท่ีต้องปฏิบัติเมื่อมีสถานการณ์ ยุ่งยากเกดิ ข้นึ ข้ันตอนที่ต้องปฏิบัติเม่ือมีสถานการณ์ยุ่งยากเกิดขึ้น อาจเป็นไปได้ท่ีนักเรียน อาจจะรู้สึกว่าตนเองไม่มีความสุขในชั้นเรียน หรือผลการเรียนของนักเรียนลดลงอย่างกระทันหัน หรือบางทีนักเรียนอาจจะมีปัญหากับนักเรียนด้วยกัน หรือผู้ปกครองอาจจะไม่เห็นด้วยกับ การตัดสินใจของครูผู้สอน ในสถานการณ์ที่ยุ่งยากที่มีผลกระทบต่อนักเรียน ต่อครูผู้สอน หรือ ต่อช้ันเรยี น จะต้องปฏบิ ตั ิ ดงั น ี้ 1. ผู้ปกครองและครูผู้สอนติดต่อพูดคุยปรึกษาหารือกันถึงสถานการณ์ที่กำลัง เป็นประเด็นอยูแ่ ละพยายามหาหนทางแกไ้ ขร่วมกนั โดยปกติมักจะหาทางออกทีเ่ ปน็ ทีน่ า่ พอใจได้ ดว้ ยวธิ นี ี้ 2. ถา้ หากวา่ ผปู้ กครองและครผู สู้ อนไมส่ ามารถจะหาทางออกได้ และหากฝา่ ยใด ฝ่ายหนึ่งเห็นว่าจำเป็น ก็ให้มีการพูดคุยกันระหว่างผู้ปกครอง ครูผู้สอน และฝ่ายบริหารของ โรงเรยี น 3. ถ้าหากว่ายังไม่สามารถหาทางแก้ไขที่เป็นท่ีพอใจได้ ไม่ว่าจะในกรณีท่ีมี คำถามหรือปญั หาใด ๆ เกดิ ขน้ึ ผู้ปกครองสามารถนำเรอ่ื งเข้าแจ้งต่อคณะกรรมการโรงเรยี นได ้ 75 รปู แบบและกลไกการเสริมสร้างวนิ ัยในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรัฐเยอรมนี การขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ หากการใช้มาตรการท่ีได้ตกลงกันไว ้ ไม่นำไปสู่การเปล่ียนแปลงในทางท่ีดีขึ้น ทางโรงเรียนอาจขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ หาก พฤติกรรมของนักเรียนหญิงหรือชายคนใดส่งผลกระทบกระเทือนต่อโรงเรียนอย่างรุนแรง จนทำให้ไม่สามารถจะดำเนินการเรียนการสอนไปตามปกติได้ คณะกรรมการโรงเรียนสามารถมี หนังสอื ตักเตือนเปน็ ลายลกั ษณอกั ษรได้ หรอื อาจจะเตอื นวา่ ถ้าไมเ่ ลกิ พฤติกรรมเชน่ นัน้ กอ็ าจจะ ถูกสง่ั พักการเรียนได ้ การสงั่ พกั การเรยี นของนกั เรยี น เพอ่ื ความมนั่ ใจวา่ โรงเรยี นจะสามารถดำเนนิ การ ไปได้อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย คณะกรรมการโรงเรียนสามารถสั่งให้นักเรียนหญิงและชาย พักการเรียนได้นานถึงสิบสองสัปดาห์ ในกรณีที่นักเรียนถูกพักการเรียน ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับ มอบหมายจากโรงเรยี นจะไดร้ ว่ มกนั กบั ผปู้ กครองและโรงเรยี นจดั หากจิ กรรมทเี่ หมาะสมใหน้ กั เรยี น ทำในระหวา่ งท่ีถกู พกั การเรียนตอ่ ไป 3.4 แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย หลังจากสำเรจ็ การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานแล้ว เยาวชนสว่ นใหญม่ กั จะเขา้ เรยี นวิชาชพี โดยจะต้องเรยี น ที่โรงเรียนและฝึกงานที่บริษัทหรือโรงงานสัปดาห์ละสองถึงสามวันด้วย เยาวชนเหล่าน้ีจะต้องมี วินัยท้ังในการเรียนที่โรงเรียนและในระหว่างการฝึกงานท่ีบริษัทหรือโรงงานและเยาวชนที่มีความ สามารถเชิงวิชาการก็จะเรียนต่อที่โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญและหากเรียนดีก็ สามารถเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยโดยไม่ต้องสอบเข้า ดังน้ัน หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามญั จึงช่วยหนุนเสรมิ การเสริมสรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน การเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียน Gymnasium และ Gesamtschule โดยท่ัวไปจะแบ่งเป็นวิชาพ้ืนฐาน (Grundkurse) มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้เรียนรู้ถึง วิธีคิดวิเคราะห์และการสร้างงานทางวิชาการ ให้รู้ถึงข้อมูลที่แท้จริงและปัญหาท่ีซับซ้อนของ ความรู้ท่ีสอนในวิชาหนึ่งๆ อีกกลุ่มวิชาหนึ่ง อาจจะเรียกเทียบได้กับภาษาไทยว่า วิชาหลัก หรือ วิชาเอก (Leistungskurse) การสอนวิชาในกลุ่มนี้จะเน้นเนื้อหาท่ีมากและลึกกว่าในกลุ่มวิชา พนื้ ฐาน โดยนำเสนอใหเ้ รยี นรถู้ งึ ทฤษฎแี ละแบบแผนตามหลกั วชิ าการของสาขาวชิ านน้ั ๆ นกั เรยี น จะตอ้ งเลือกวิชาหลัก 2 วิชา ในช่วงปลายเกรด 11 เพอ่ื เรียนเปน็ วิชาหลักในเกรด 12 และ 13 ในช่วงปลายปีการศึกษาของเกรด 13 รฐั 14 รฐั ของเยอรมนจี ะมกี ารสอนรวม ทเ่ี รียกวา่ Zentralabitur ซึ่งเป็นการสอบขอ้ เขยี นโดยใช้ขอ้ สอบเดียวกนั เปน็ ข้อสอบทีจ่ ัดทำโดย หนว่ ยราชการในกระทรวงวฒั นธรรมของแตล่ ะรฐั เมอื่ สอบผา่ น จะไดป้ ระกาศนยี บตั รมธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย (Abitir) บางคร้งั เรียกว่า Allgemeine 76 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมนี 3.5 แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนอาชีวศึกษา การจัด การศึกษาด้านอาชีวศึกษา ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นรูปแบบทวิภาคี (Dual system) โดยนักเรียน จะเรียนวิชาทฤษฎีในโรงเรียนและจะฝึกงานในโรงงานหรือสถานประกอบการ ซึ่งโรงงานหรือ สถานประกอบการในเยอรมนีถือเป็นหน้าท่ีในการต้องรับนักเรียนเข้าฝึกงานในโรงงานโดยมีครูฝึก เป็นผู้สอนภาคปฏิบัติให้ตั้งแต่เร่ิมเข้าฝึกงานจนจบหลักสูตรเป็นช่างชำนาญงาน นักเรียนท่ีเข้า ฝึกงานในโรงงานจะต้องมีระเบียบวินัยอย่างสูง และอยู่ในความดูแลอย่างใกล้ชิดของครูฝึก การทำงานทุกอย่างต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบซึ่งโรงงานมีการกำหนดมาตรฐานในการทำงานเอา ไว้อย่างชัดเจน จึงทำให้คนเยอรมันมีระเบียบวินัยสูงในการทำงาน ส่งผลให้เกิดบุคลากรท่ีมี คณุ ภาพ เปน็ กำลังคนทีส่ ำคญั ของประเทศ (ชุมพล เทีย่ งธรรม, 2548) และจากการสัมภาษณเ์ อก อัครราชฑูตไทยประจำเยอรมนีเก่ียวกับการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมไปถึง การปลูกฝังระเบียบวินัยในการทำงาน และการจัดการเรียนรู้ท่ีได้จากการทำงานจริง (Work based learning)ท่ีประกอบด้วยการเรียนรู้เนื้อหาความรู้ ทักษะท่ีได้จากการลงมือปฏิบัต และ การปลูกฝังระเบียบวินัยในระหว่างการฝึกปฏิบัติงาน(ปวีณา สิงห์บูรณา ข, 2558, คลิปวิดีโอ เร่อื ง โลก 360 องศา ตอน Developing science and technology for the nation) 4. สภาพความร่วมมือของทุกภาคส่วนของสังคมของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนี ในการเสรมิ สร้างวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ไดแ้ ก ่ 4.1 ครอบครัว ชุมชน และสังคม การได้รับการปลูกฝังเกี่ยวกับวินัยอย่างต่อเน่ือง ตั้งแต่ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน การปลูกฝังเกี่ยวกับวินัยอย่างต่อเน่ืองตั้งแต่ครอบครัว โรงเรยี น และชมุ ชน ประกอบด้วยครอบครวั ชาวเยอรมันทว่ั ไปจะสอนบุตรหลานก่อนเขา้ โรงเรียน โดยยึดหลัก 3 ด้าน ได้แก่ 1) การสอนให้บุตรหลานมีความรู้ท่ัวไปทางสังคม เช่น การรักษา มารยาท ห้ามใช้กำลังรุนแรง และการหลีกเล่ียงการพูดคุยด้วยเสียงดัง 2) การสอนให้บุตรหลาน มีทักษะในการสร้างสรรค์งานฝีมือตามความสนใจ และ 3) การสอนบุตรหลานให้มีความฉลาด ทางอารมณ์ ความรบั ผิดชอบ และความเป็นผู้นำ การปฏิบัติตนให้อยู่ในกฎหมายและกฎระเบียบทางสังคมเป็นเรื่องปกติในวิถี ของคนเยอรมัน เชน่ เราจะเหน็ เด็กเล็กๆ เดินทางไปโรงเรียนเองด้วยจกั รยาน โดยเด็กๆ จะสวม อปุ กรณ์ปอ้ งกนั ตามกฎหมายตามทีไ่ ดเ้ รยี น จากโรงเรยี นหรือร้ตู ามท่ีผู้ปกครองแนะนำ เชน่ หมวก กนั นอ๊ ค สนับศอก สนับเข่า รวมถงึ การปฏิบตั ติ ามกฎจราจรอยา่ งเคร่งครัด เชน่ การขับขจี่ กั รยาน การข้ามถนนตามสัญญาณไฟ โดยมีผู้ใหญ่ที่ร่วมเดินทางด้วยเป็นแบบอย่างที่ดี ต้ังแต่ในวัยเด็ก ชาวเยอรมันจึงคุ้นเคยกับการปฏิบัติตนตามกฎหมายและกฎระเบียบ และถือปฏิบัติกันเป็นปกติ จนกระทง่ั เปน็ ผใู้ หญ ่ 77 รูปแบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินยั ในสถานศึกษาระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี การเดินทางในเยอรมนีมีความสะดวกสบาย มีเส้นทางท่ัวถึง ตรงเวลา ไม่แพง นักเรียนต้ังแต่ชั้นอนุบาลจนกระทั่งผู้ใหญ่นิยมเดินทางด้วยจักรยาน รถเมล์ หรือรถไฟฟ้า แต่ก็มี บ้างที่ใช้รถยนต์ส่วนตัว โดยอัตราการมียานพาหนะส่วนบุคคลประมาณ 350 คันต่อประชากร 1,000 คน อาจเป็นเพราะระบบขนส่งมวลชนของเมือง มีความสะดวกสบาย ราคาบัตรโดยสาร ขนส่งมวลชนแบบรวมทุกประเภท เช่น บัตร 1 ใบ สามารถใช้ได้กับท้ังรถเมล์ รถไฟฟ้าขนส่ง มวลชนที่สะดวกสบาย ไม่แพง จึงทำให้ประชาชนนิยมใช้บริการ ลดการใช้พาหนะส่วนบุคคล ส่งผลต่อการประหยัดพลังงานประเภทน้ำมัน และลดการก่อมลพิษท่ีเกิดจาการใช้พาหนะส่วน บคุ คลจำนวนมาก (เฟ่ืองอรุณ ปรีดีดลิ ก, 2555 หน้า 36) ชุมชนและสังคมได้จัดตั้งชมรมต่างๆ ตามความต้องการและความสนใจสำหรับ สมาชิกท่ีเป็นเด็กและเยาวชน ได้แก่ ชมรมทางด้านกีฬา ดนตรี มายากล การทำอาหาร ฯลฯ ชมรมต่าง ๆ เหล่านี้มีระเบียบ และกฎกติกาต่าง ๆ ให้เด็กและเยาวชนท่ีเป็นสมาชิกถือปฏิบัติ ชมรมต่าง ๆ เหล่าน้ีจึงมีการจัดกิจกรรมและฝึกระเบียบวินัยในสังคมให้แก่เด็กและเยาวชนด้วย ดงั นัน้ โรงเรียนจงึ ไมใ่ ชห่ นว่ ยงานเดยี วท่รี บั ผิดชอบในการพฒั นาระเบียบวินยั ใหแ้ กน่ ักเรียน สังคม ของเยอรมนีก็ร่วมรับผิดชอบจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับวัยและความสนใจของเด็กและเยาวชน พร้อมกับฝึกระเบียบวินัยในการใช้ชีวิตในชุมชนให้แก่เด็กและเยาวชนด้วย (แดเนียล บูชเลอร์, 2560) การบ่มเพาะทางสังคม ซึ่งอาจเกิดจากการท่ีบุคคลต้องอยู่กับสิ่งใดส่ิงหนึ่งเป็น เวลานาน เหมือนการดูดซับ ซึมซาบเอาข้อปฏิบัติบางอย่างของสังคมเยอรมันเข้ามาในตัวบุคคล สังคมเยอรมันได้บ่มเพาะลักษณะนิสัยความเป็นเยอรมันบางอย่างได้แก่ ความตรงต่อเวลา ความ สะอาด ความเป็นระเบียบ ความมีวินัย การเคารพความเป็นส่วนตัวให้เข้าไปอยู่ในคนที่ได้ไปใช้ ชีวิตในเยอรมนีเปน็ ระยะเวลายาวนาน (หนูพดั ลูกพอ่ เพิ่ม, 2012 หนา้ 13) 4.2 สภาหอการค้าอุตสาหกรรม สภาหอการค้าอุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานท่ีทาง รัฐบาลรับรองและมอบอำนาจให้ตามกฎหมายให้ทำหน้าท่ีเกี่ยวกับการอาชีวศึกษาระบบ Dual system ด้วยโดยทำหน้าท่ีประสานงานระหว่างโรงเรียนกับสถานประกอบการหรือโรงงานในการ ฝึกงานให้กับนกั เรยี น สภาหอการค้าอุตสาหกรรมของเยอรมนีเป็นหน่วยงานท่ีมีบทบาทสำคัญใน การเชื่อมโยงการศึกษาและ ภาคธุรกิจเข้าไว้ด้วยกันตั้งแต่ข้ันตอนในการกำหนดหลักสูตร การเรียนรู้ และการสอน การลงทะเบยี น การสอน และ การรับรองวฒุ กิ ารศึกษา สภาหอการคา้ อตุ สาหกรรมเป็นตวั แทนของบรษิ ทั เอกชนในการจดั การฝกึ อบรมวิชาชีพ เพื่อให้ไดบ้ ุคลากรท่เี ป็น แรงงานท่ีมีทักษะและขีดความสามารถในตลาดแรงงาน รวมท้ังเป็นแรงงานท่ีมีระเบียบวินัย ในการทำงานอย่างดยี ่งิ หลงั จากทผ่ี ่านการฝกึ งานแล้ว นักเรยี นจะไดง้ านทำทนั ท ี 78 รปู แบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินัยในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี ดังนนั้ จึงอาจกลา่ วได้ว่า สภาหอการคา้ อุตสาหกรรมของเยอรมนเี ปน็ หนว่ ยงาน ที่มีส่วนสำคัญในการพัฒนาระเบียบวินัยในการทำงานให้แก่นักเรียน ซ่ึงเม่ือเข้าสู่ตลาดแรงงาน แล้ว ก็จะเป็นแรงงานที่ทำงานได้จริงและมีระเบียบวินัยในการทำงาน (ปวีณา สิงห์บูรณา ค, 2558 รายการโลก 360 องศา ชุดเยอรมนี ตอน Dual System: When education and industry come to collaboration) 4.3 บริษัท โรงงาน และสถานประกอบการ การจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา ซึ่ง ส่วนใหญ่จะเป็นรูปแบบทวิภาคี (Dual System) โดยนักเรียนจะเรียนวิชาทฤษฎีในโรงเรียนและ จะฝึกงานในโรงงานหรือสถานประกอบการ ซึ่งโรงงานหรือสถานประกอบการในเยอรมนีถือเป็น หน้าที่ในการต้องรับนักเรียนเข้าฝึกงานในโรงงานโดยมีครูฝึก เป็นผู้สอนภาคปฏิบัติให้ตั้งแต่เร่ิม เข้าฝึกงานจนจบหลักสูตรเป็นช่างชำนาญงาน นักเรียนท่ีเข้าฝึกงานในโรงงานจะต้องมีระเบียบ วินัยอย่างสูง และอยู่ในความดูแลอย่างใกล้ชิดของครูฝึก การทำงานทุกอย่างต้องปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ซ่ึงโรงงานมีการกำหนดมาตรฐานในการทำงานเอาไว้อย่างชัดเจน จึงทำให้คนเยอรมันมี ระเบยี บวนิ ัยสงู ในการทำงาน สง่ ผลให้เกดิ บุคลากรทมี่ คี ุณภาพ เป็นกำลังคนท่สี ำคัญของประเทศ (ชมุ พล เที่ยงธรรม, 2548) บรษิ ทั โรงงาน และสถานประกอบการลว้ นแสดงความรบั ผิดชอบตอ่ สิ่งแวดล้อม ร่วมกับประชาชน เมื่อประชาชนไปซื้อของจะนำถุงผ้าหรือกระเป๋าไปด้วยโดยไม่ต้องใช้ถุง พลาสติก และหากใครตอ้ งการถุงพลาสตกิ จะต้องเสยี เงนิ เพม่ิ เป็นพเิ ศษ ร้านค้าต่างๆ มีกลยุทธ์ท่ีแสดงถึงความรับผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อมร่วมกับ ประชาชน เช่น ตามซุปเปอร์มาร์เก็ตหลายแห่งจะมีตู้สำหรับใส่ขวดพลาสติกท่ีไม่ใช้แล้วอัตโนมัติ เม่ือประชาชนใสข่ วดพลาสตกิ เสรจ็ แล้วกดปุ่ม จะได้ สลปิ แทนเงินสดสำหรับไปซ้อื ของในซปุ เปอร์ มาเกต็ 5. สภาพระบบกลไกและความร่วมมือในการส่งเสริมสนับสนุนการเสริมสร้างวินัยใน สถานศึกษาระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมนี ประกอบด้วย 5.1 การเลือ่ นช้ันจากชน้ั อนุบาลขึน้ ไปเรียนช้นั ประถมศึกษา มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 5.1.1 การรว่ มมือกันของครชู นั้ อนบุ าลและครปู ระถมศึกษา เด็กจะเร่มิ เข้าสเู่ สน้ ทางซ่ึงเด็กจะได้ดำเนินต่อไปเม่ือเข้าเรียนระดับประถมศึกษา การเรียนในชั้นอนุบาลและในระดับ ประถมศึกษามีเป้าหมายร่วมกัน คือ การส่งเสริมความสามารถของเด็กท้ังในด้านความสามารถ แห่งตน ความสามารถทางสังคม และความสามารถเฉพาะด้าน แม้ว่าหลักสูตรและรูปแบบ การเรยี นการสอนอาจจะแตกตา่ งกนั ครูและผู้สอนต่างกม็ หี น้าท่ีเดยี วกนั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งในการดแู ล การเลือ่ นชน้ั ของเดก็ จากช้นั อนบุ าลไปเข้าเรยี นในโรงเรียนประถมศกึ ษา 79 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินยั ในสถานศึกษาระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมน ี 5.2.2 การเลื่อนไปเข้าปีการศึกษาท่ี 1 ของชั้นประถมศึกษาข้ึนอยู่กับระดับ พัฒนาการของเด็ก โดยหลักการแล้ว เด็กทุกคนจะเล่ือนไปเรียนปีการศึกษาแรกของช้ันประถม ศึกษาหลงั จากอยู่โรงเรียนอนบุ าลมาครบสองปแี ลว้ อยา่ งไรกต็ าม ในบางกรณี เด็กบางคนอาจจะ ได้ขึ้นไปเรียนช้ันประถมศึกษาก่อนหรือหลังหนึ่งปี ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับระดับของพัฒนาการของเด็ก การเลื่อนชัน้ จะกระทำในวันเปิดเทอมของปกี ารศกึ ษาใหม ่ 5.2.3 การตัดสินใจเกี่ยวกับเส้นทางการเรียนของเด็ก การเลื่อนช้ันจากอนุบาล ไปเข้าชั้นประถมศกึ ษา คือ การตดั สินใจเกย่ี วกับเส้นทางการเรียนของเด็ก คณะผูบ้ รหิ ารโรงเรียน จะทำการตัดสินใจดังกล่าวบนพ้ืนฐานของคำขอของครูผู้สอนชั้นอนุบาลโดยให้ผู้ปกครองมี ส่วนร่วมด้วย และหากจำเป็น อาจจะให้สำนักงานให้คำปรึกษาเร่ืองการอบรมเลี้ยงดูเด็กของรัฐ มารว่ มออกความคิดเหน็ ด้วยก็ได ้ เอกสารบันทึกระดับพัฒนาการของเด็ก ครูผู้สอนจะตัดสินระดับการเรียนและ พัฒนาการของเด็กโดยอาศัย การสังเกตอย่างมีจุดมุ่งหมายเฉพาะและดูจากการทำงานของเด็ก แต่ละคน การตัดสินจะได้รับการบันทึกไว้ในเอกสารบันทึกระดับพัฒนาการของเด็ก เอกสารนี้จะ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กในเร่ืองของความสามารถแห่งตน ความสามารถทางสังคม และความสามารถเฉพาะด้าน นอกจากน้ันแล้ว เอกสารยังบรรจุข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรม ความ สามารถและความก้าวหน้าทางการเรียนของเด็ก รวมท้ังคำขอของครูผู้สอนให้เล่ือนช้ันเด็กไปเข้า เรียนช้ันประถมศึกษาอีกด้วย ในการสนทนากับผู้ปกครองเน่ืองในโอกาสท่ีเด็กจะได้รับการเล่ือน ขึ้นไปเรียนเกรด 1 ของการเรียนระดับประถมศึกษา ครูผู้สอนจะได้พูดคุยกับผู้ปกครองเก่ียวกับ ระดับพัฒนาการของเด็ก เอกสารบันทึกระดับพัฒนาการของเด็กน้ีจะถูกเก็บไว้ในแฟ้มเอกสาร ของโรงเรียนอนุบาลและโรงเรียนประถมศึกษา สิ่งเหล่านี้ช่วยหนุนเสริมการเสริมสร้างวินัยของ สถานศึกษา 5.2 การร่วมมือระหว่างผู้ปกครองและโรงเรียน ผู้ปกครองที่มีบุตรหลานศึกษาอยู่ ในสถานศึกษาการศกึ ษาภาคบงั คับ มีขอ้ ควรปฏิบัติ ดงั น ้ี 5.2.1 การร่วมมือกัน ในโรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ กฎหมายกำหนดว่า ผู้ปกครองและโรงเรียนในการศึกษาภาคบังคับจะต้องให้ความร่วมมือซึ่งกันและกัน การร่วมมือน้ี ควรจะเป็นการร่วมมือในลักษณะของการเป็นส่วนร่วมกัน โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญร่วมกัน คือ ความสำเร็จในการศกึ ษาและความผาสกุ ของนกั เรียน 5.2.2 การใหข้ อ้ มลู ข่าวสารซง่ึ กนั และกัน ไดแ้ ก ่ ก. โรงเรียนจะแจ้งให้ผู้ปกครองทราบเก่ียวกับเรื่องสำคัญต่างๆ ทั้งท่ี เกี่ยวกับการเรียนการสอน เช่น การจัดงาน การจัดทัศนศึกษา ฯลฯ ท้ังที่ได้จัดไปแล้ว และท่ีได้ วางโครงการไว้ และการจัดการของโรงเรยี น เช่น การจดั เดก็ ให้เขา้ โรงเรยี นหรือเข้าชัน้ เรยี น เวลา 80 รูปแบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินัยในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนี เรียน ฯลฯ ทางโรงเรียนจะแจ้งข้อมูลข่าวสารเหล่าน้ีเป็นลายลักษณ์อักษรโดยมีหนังสือไปยัง ผู้ปกครอง หรือแจ้งให้ทราบด้วยวาจาเม่ือมีการสังสรรค์ตอนต่ำระหว่างครูกับผู้ปกครอง และใน วันท่ีเปิดให้ผู้ปกครองเข้าเย่ียมก็ได้ ทางโรงเรียนคาดหวังว่าท้ังบิดาและมารดาของนักเรียนจะเข้า ร่วมในงานดังกล่าวให้มากท่ีสุดเท่าที่โอกาสจะอำนวย หากท้ังบิดาและมารดาต่างก็ไม่สามารถมา ร่วมงานได้ ขอให้แจ้งให้ครูที่ออกหนังสือเชิญทราบว่าไม่สามารถมาร่วมงานได้ และขอให้ ผูป้ กครองสอบถามกับทางครวู ่า ผู้ปกครองจะสามารถไดร้ ับข้อมลู ขา่ วสารเกีย่ วกบั การนดั พบหรอื การประชมุ ทผี่ ปู้ กครองไม่สามารถไปร่วมไดน้ นั้ โดยวธิ ใี ดบา้ ง ข. โรงเรียนจะแจ้งให้ผู้ปกครองทราบอย่างสม่ำเสมอเกี่ยวกับพัฒนาการ ด้านการเรียน และ ความประพฤติของนักเรียน โดยในแต่ละปีจะมีการพูดคุยกับผู้ปกครองอย่าง นอ้ ยปีละหนง่ึ ครั้ง โดยทางโรงเรียนจะกำหนดโดยตกลงกบั ผู้ปกครองล่วงหนา้ ค. หากผู้ปกครองมีความรู้สึกว่าผู้ปกครองทราบความเป็นไปในโรงเรียน หรือพัฒนาการในโรงเรียนของนักเรียนน้อยเกินไป ขอให้ผู้ปกครองสอบถามไปทางครูประจำช้ัน หรอื ทางผ้บู ริหารโรงเรยี นได้ ง. ผู้ปกครองสามารถขอเข้าเย่ียมชั้นเรียนของบุตรหลายได้ในขณะท่ีครู กำลงั ทำการสอนอยู่ ทั้งนผ้ี ูป้ กครองจะต้องตกลงกับครูผู้สอนลว่ งหน้า จ. หากผู้ปกครองพบว่ามีส่ิงใดที่อาจจะกระทบกระเทือนต่อพัฒนาการ หรอื สมาธใิ นการเลา่ เรียนของบตุ รหลาน สามารถแจง้ ตอ่ ครปู ระจำช้ันได้ 5.3 การตัดสนิ ใจสำคญั มดี ังน ้ี 5.3.1 การตัดสินใจสำคัญต่างๆ เก่ียวกับแผนการเรียนของนักเรียน เช่น การเลื่อนชั้นจากช้ันอนุบาลไปเรียนช้ันประถมศึกษา และจากช้ันประถมศึกษาไปเรียนช้ัน มัธยมศึกษาตอนต้น การให้เลื่อนช้ันไปยังชั้นถัดไป การส่งไปเรียนชั้นพิเศษ ฯลฯ จะกระทำได้ หลงั จากทไ่ี ดพ้ ดู คบุ กบั ผปู้ กครองและนกั เรยี นแลว้ เทา่ นน้ั และ ทางโรงเรยี นจะใหโ้ อกาสผปู้ กครอง แสดงความคิดเห็น และใหค้ ำปรกึ ษาแก่ผปู้ กครอง รวมทง้ั ให้โอกาสผปู้ กครองได้ศึกษาแฟม้ ต่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวกบั นกั เรยี นได้ 5.3.2 การตัดสินใจว่านักเรียนควรจะเรียนสาขาใดต่อไป เป็นการตัดสินใจโดย ฝ่ายบริหารของโรงเรียน ทางโรงเรียนจะส่งหนังสือแจ้งการตัดสินใจดังกล่าวพร้อมท้ังให้เหตุผลมา ถึงผู้ปกครองอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร หากผู้ปกครองไม่เห็นด้วยกับการตัดสินใจดังกล่าว ผูป้ กครองสามารถยื่นคำรอ้ งตอ่ ศึกษาธกิ าทค่ี วบคุมโรงเรยี นได้ 81 รปู แบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินยั ในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนี 5.4 การมีสว่ นรว่ ม ผปู้ กครองอาจมสี ่วนร่วมในโรงเรยี นไดด้ ังน ้ี 5.4.1 หากผู้ปกครองมีความพร้อม และมีโอกาสที่จะให้ความช่วยเหลือเล็กๆ น้อยๆ แก่ครูผู้สอน แก่ชั้นเรียน หรือแก่โรงเรียนของบุตรหลาน เช่น โดยการเป็นผู้ติดตามใน ระหว่างที่ครูพานักเรียนไปทัศนศึกษานอกสถานที่ หรือโดยการให้การสนับสนุนโครงการต่างๆ ของโรงเรียน หรือโดยการแปลภาษาให้กับผู้ปกครองของนักเรียนคนอ่ืนๆ ฯลฯ โปรดแจ้งให้คร ู ผู้สอนทราบ การช่วยเหลือดงั กลา่ วจะชว่ ยส่งเสรมิ ความสมั พันธท์ ่ีดรี ะหวา่ งครแู ละผูป้ กครอง และ ทำให้บรรยากาศในโรงเรียนเป็นบรรยากาศทีด ี 5.4.2 โรงเรียนหลายแห่งมีสภาผู้ปกครอง ซ่ึงประกอบด้วยตัวแทนผู้ปกครอง หนงึ่ ถึงสองคนจากแตล่ ะชั้น สมาชิกสภาผปู้ กครองมาจากการเลือกตั้งโดยผู้ปกครองของแต่ละชนั้ ซึ่งจะกระทำกันในตอนต้นปีการศึกษา ตัวแทนผู้ปกครองของช้ันหน่ึง ๆ จะทำงานร่วมกับครู ประจำชั้นอย่างใกล้ชิด ท้ังสองฝ่ายจะทำหน้าท่ีส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูได้แลกเปล่ียนข้อมูล และความคิดเห็นซึ่งกันและกันในเร่ืองท่ีเกี่ยกับการศึกษาอบรมและการจัดการต่าง ๆ ของ โรงเรยี น ตวั แทนผูป้ กครองจะเปน็ ผู้คอยช่วยเหลอื เม่อื มีปัญหาใด ๆ เกิดขนึ้ ใหก้ ารสนบั สนุนวาระ และโครงการต่าง ๆ ของชัน้ เรียน และเปน็ ตัวแทนรักษาผลประโยชน์ใหก้ บั ผู้ปกครองของนักเรียน ในชั้น สภาผปู้ กครองจะดูแล ในหวั ข้อท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ โรงเรียน 5.5 กระบวนการแก้ไขสถานการณ์ยุ่งยากในโรงเรียนภาคบังคับ หากนักเรียนหรือ ผู้ปกครองเกิดความรู้สึกว่านักเรียนไม่มีความสุขในชั้นเรียนหรือผลการเรียนของนักเรียนลดลง อย่างกระทันหัน หรือนักเรียนมีปัญหากับนักเรียนคนอื่นๆ หรือผู้ปกครองไม่เห็นด้วยกับ การตดั สินใจของครูผู้สอน ผูป้ กครองอาจดำเนินการตามขนั้ ตอนดงั นี ้ 5.5.1 ผปู้ กครองและครผู สู้ อนตดิ ตอ่ อกี ฝา่ ยหนง่ึ พดู คยุ ปรกึ ษากนั ถงึ สถานการณ ์ ทีก่ ำลังเปน็ อยู่ และพยายามหาหนทางแกไ้ ขรว่ มกันโดยปกต ิ 5.5.2 ถ้าหากผู้ปกครองและครูผู้สอนไม่สามารถหาทางออกได้และหากฝ่ายใด ฝ่ายหน่ึงเห็นว่าจำเป็น ก็ให้มีการพูดคุยกันระหว่างผู้ปกครอง ครูผู้สอน และฝ่ายบริหารของ โรงเรยี น 5.5.3 ถ้าหากว่าไม่อาจจะหาทางแก้ไขท่ีเป็นที่พอใจได้ไม่ว่ากรณีที่มีคำถามหรือ ปญั หาใด ๆ เกดิ ข้นึ ผ้ปู กครองสามารถนำเรือ่ งเข้าแจง้ คณะกรรมการโรงเรียนได ้ 5.6 มาตรการเมื่อมีปัญหาทางวินัยในโรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ โรงเรียน การศึกษาภาคบงั คับมหี น้าทดี่ ูแลใหก้ ารดำเนนิ การในโรงเรียนเป็นไปอย่างราบร่นื มรี ะเบยี บ เพอ่ื ท่ีนักเรียนทุกคนจะได้รู้สึกสบายใจ และสามารถเรียนไปได้ดี นักเรียนท้ังหญิงและชายจะต้อง ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์สำหรบั การอยู่รว่ มกนั ในโรงเรียน ไดแ้ ก่ กฎเกณฑเ์ ม่ืออย่ใู นโรงเรียน และกฎ 82 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สร้างวินยั ในสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมนี ของห้องเรียน และจะต้องปฏิบัติตามคำสั่งของครูผู้สอน ผู้บริหารโรงเรียน และพนักงานโรงเรียน หากมีการละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎซ้ำแล้วซ้ำอีก หรือละเมิดกฎอย่างรุนแรง ทางโรงเรียนจะมี มาตรการดังน ้ี 5.6.1 จะแจ้งใหผ้ ปู้ กครองทราบ และจะตอ้ งปฏิบตั ิ 5.6.2 ปฏิบัตติ ามขนั้ ตอนทีต่ ้องปฏิบัติเมื่อมสี ถานการณ์ยงุ่ ยากเกดิ ข้ึน 5.6.3 หากปฏิบัติตามขั้นตอนในข้อ 5.4.2 แล้ว ไม่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงใน ทางทีด่ ขี น้ึ ทางโรงเรียนอาจจะขอความชว่ ยเหลอื จากผู้เช่ียวชาญ 5.6.4 หากพฤติกรรมของนักเรียนส่งผลกระทบกระเทือนต่อโรงเรียนอย่างแรง จนไม่สามารถดำเนินการเรียนการสอนไปตามปกติได้ คณะกรรมการโรงเรียนสามารถมีหนังสือ ตกั เตอื นเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรได ้ 5.6.5 ถา้ ไมเ่ ลกิ พฤตกิ รรมเชน่ นนั้ คณะกรรมการโรงเรยี นกส็ ง่ั ใหน้ กั เรยี นพกั การเรยี น ได้นานถึงสิบสองสัปดาห์ ในกรณีนักเรียนถูกสั่งพักการเรียน ผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับมอบหมายจาก โรงเรียนจะได้ร่วมมือกับผู้ปกครองและโรงเรียนจัดหากิจกรรมท่ีเหมาะสมในนักเรียนทำใน ระหวา่ งถูกพักการเรียนตอ่ ไป 5.7 การปฏิบัติของผู้ปกครองในการสนับสนุนให้บุตรหลานประสบความสำเร็จใน การเรยี น ไดแ้ ก ่ 5.7.1 การแสดงความสนใจต่อบตุ รหลาน ไดแ้ ก่ - รักษาความสัมพันธ์กับครูผู้สอน และเข้าร่วมงานและกิจกรรมต่างๆ ทุกอย่างของโรงเรียนเท่าท่ีจะเป็นไปได้ ด้วยวิธีน้ี ผู้ปกครองย่อมแสดงให้บุตรหลานเห็นว่า โรงเรียนเป็นสิ่งสำคัญ การแลกเปลีย่ นและการรว่ มมอื กับครผู สู้ อนยอ่ มมีสว่ นชว่ ยทำใหบ้ ุตรหลาน ของผู้ปกครองได้รบั การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ อยา่ งเต็มท่ ี - ใหบ้ ตุ รหลานเลา่ ใหผ้ ปู้ กครองฟงั วา่ ไดเ้ รยี นรอู้ ะไรและไดร้ บั ประสบการณ ์ ทโี่ รงเรยี นอะไรบา้ ง 5.7.2 การสรา้ งแรงจูงใจและคอยชว่ ยเหลือสนบั สนนุ ดังน้ ี - คอยดูแลให้บุตรหลานได้นอนหลับอย่างเต็มอิ่ม ได้รับประทานอาหาร เชา้ ทม่ี ีคณุ ค่า และมาโรงเรยี นพร้อมกับอาหารวา่ งในกระเปา๋ - ไม่ขับรถมาส่งบุตรหลานที่โรงเรียน แต่ควรให้บุตรหลานเดินหรือ ขี่จักรยานมาโรงเรียนกับผู้ปกครอง จนกว่าบุตรหลานจะสามารถเดินหรือขี่จักรยานมาโรงเรียน โดยลำพงั ได้ - ดูแลให้บุตรหลานของท่านทำการบ้านให้เสร็จเรียบร้อยและให ้ บุตรหลานเตรียมกระเป๋าสำหรับวันตอ่ ไปให้เรียบรอ้ ย 83 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินัยในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี - จงมีความเช่ือม่ันในความสามารถในการเรียนรู้ของบุตรหลานของท่าน จงปล่อยให้บุตรหลานทำส่ิงตา่ งๆ ด้วยตัวเองใหม้ ากที่สุดเทา่ ทจ่ี ะมากได้ อาจกล่าวได้ว่า ปัจจัยที่สร้างความเข้มแข็งให้บุคคลมีวินัยของประเทศสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี ประกอบด้วย (1) นโยบายรัฐบาล กฎ ระเบียบท่ีเกี่ยวข้องของประเทศ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีท่ีเป็นปัจจัยช่วยหนุนเสริมการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ 1) รัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน หมวด 1 สิทธิมูลฐาน มาตราที่ 1, 2, 6, 7, 9, และ12 (2) ระบบประกนั สังคมของเยอรมนี 3) สทิ ธิและหน้าท่ีของเด็กใน เยอรมนี 4) กฎระเบยี บสำหรบั การอยูร่ ่วมกันระหวา่ งเพ่อื นบา้ น (บ้านเช่า) 5) กฎหมายทว่ี ่าดว้ ย การศึกษาภาคบงั คับของรัฐ 6) กฎระเบียบเก่ยี วกบั การทง้ิ ขยะ 7) กฎระเบียบเกี่ยวกับ การรกั ษา สิง่ แวดลอ้ ม และ 8) มาตรฐาน กฎระเบยี บ และแนวทางปฏบิ ัตทิ ใี่ ช้ในการพัฒนาอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศของเยอรมนี (2) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรัฐ เยอรมนี ที่เป็นปัจจัยช่วยหนุนเสริมการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ 1) หลักสูตรระดับอนุบาลสำหรับเด็กที่มีอายุสามขวบถึงหกขวบในโรงเรียนอนุบาล 2) หลักสูตร ระดับประถมศึกษา 3) หลักสูตรระดับประถมศึกษา 4) หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายสาย สามญั 5) หลกั สตู รอาชวี ศกึ ษา (3) แนวทางและกระบวนการการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ไดแ้ ก่ 1) แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรยี นอนุบาล 2) แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนประถมศึกษา 3) แนวทางและ กระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น 4) แนวทางและกระบวนการ เสริมสร้างวินัยในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย และ (5) แนวทางและกระบวนการเสริมสร้าง วินัยในโรงเรียนอาชีวศึกษา (4) สภาพความร่วมมือของทุกภาคส่วนของสังคมของประเทศ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้แก่ 1) ครอบครัว ชุมชน และสังคม 2) สภาหอการค้าอุตสาหกรรม และ 3) บริษัท โรงงาน และสถานประกอบการ และ (5) สภาพระบบกลไกและความร่วมมือในการส่งเสริมสนับสนุน การเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนี ประกอบดว้ ย 1) การเล่ือนชั้นจากชั้นอนุบาลข้ึนไปเรยี นช้ันประถมศกึ ษา 2) การร่วมมือ ระหว่างผู้ปกครองและโรงเรียน 3) กระบวนการแก้ไขสถานการณ์ยุ่งยากในโรงเรียนภาคบังคับ 4) มาตรการเม่ือมีปัญหาทางวินัยในโรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ และ 5) การปฏิบัติของผู้ ปกครองในการสนบั สนนุ ให้บตุ ร 84 รูปแบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินัยในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี งานวิจัยท่เี กีย่ วขอ้ ง พินโย พรมเมือง, ปราณี คืมยะราช และทองคำ เกษจนั ทร์ (2559) ไดท้ ำการวิจัย เร่อื ง การพัฒนาพฤติกรรมเชิงคุณธรรมจริยธรรมของตัวแทนผู้นำในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและ เยาวชนในสถานศึกษาโดยใช้ KIT MODEL โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับ พฤติกรรมทางด้านคุณธรรมจริยธรรมจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้ทางด้านคุณธรรม จริยธรรม การรับรู้ความสามารถแห่งตนในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และความพึงพอใจใน การพัฒนาคุณธรรมโดยใช้กระบวนการ KITMODEL และเพ่ือพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตาม กระบวนการ KIT MODEL โดยใช้การวจิ ัยเชงิ ปฏิบัติการ กลมุ่ เปา้ หมาย คือ ผนู้ ำองคก์ รปกครอง ส่วนท้องถน่ิ และผนู้ ำเยาวชนในสถานศกึ ษา แบ่งตามระยะของการวิจัย ดงั นี้ ระยะที่ 1 การฝึก อบรม ประชากร จำนวน 60 คน และได้กลมุ่ ตวั อยา่ ง จำนวน 21 คน ระยะท่ี 2 ติดตาม พัฒนา และประเมนิ ผล 3 โรงเรียน คอื โรงเรยี นเทศบาล 2 วดั สวา่ งคงคา โรงเรยี นดอนไทรงามพทิ ยาคม และวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ ผลการวิจัย พบว่า กระบวนการ KIT MODEL สามารถพัฒนา พฤติกรรมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมได้ โดยบูรณาการกระบวนการ KIT MODEL ให้เขา้ กบั บรบิ ทของแต่ โรงเรียนในแต่ละพ้ืนที่ เพราะผลจากการวิจัย พบว่า การบูรณาการกระบวนการ KIT MODEL เข้ากับบริบทของโรงเรียนสามารถที่จะพัฒนาพฤติกรรมทางด้านคุณธรรมจริยธรรมได้ กล่าวคือ โรงเรียนเทศบาล 2 วัดสว่างคงคา ใช้กิจกรรมการแบ่งเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ผลจากการใช้กิจกรรมนี้ผสมผสมกับกระบวนการKIT MODEL มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมทางด้านคุณธรรมจริยธรรมอยู่ในระดับปานกลางในทิศทางบวก โรงเรียนดอนไทรงาม พิทยาคมใช้บทละคร ซึ่งเป็นไปตามหลักการของกระบวนการ KITMODEL และให้บทบาทกลุ่ม ผู้นำเยาวชนมีบทบาทที่สาคัญเกือบทุกด้าน อีกทั้งยังน้อมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนและการดาเนินชีวิตอีกด้วย ผลการใช้กิจกรรม KIT MODEL สร้างความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุดและมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมทางด้าน คุณธรรมจริยธรรมอยู่ในระดับค่อนข้างสูง และวิทยานาฏศิลปกาฬสินธุ์ใช้กิจกรรมกติกาสร้าง ความเป็นระเบียบวินัยในการอาศัยอยู่หอพัก การเดินเข้าแถว การถอดรองเท้า โดยมีกลุ่มผู้นำ เยาวชนเป็นควบคุมดูแล พบว่า ความมีวินัยมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมอย่ใู นระดบั คอ่ นขา้ งสูง คือ รักษส์ ิง่ แวดล้อม พอเพยี ง และเสียสละเพอ่ื ส่วนรวม ไพศาล ม่ันอกและไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2557) ศึกษาเรื่อง การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบ มสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมของนกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาขนาดเลก็ มวี ตั ถปุ ระสงค ์ เพื่อศึกษาสภาพคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน เพ่ือพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน และเพื่อ ติดตามและประเมินการดำเนินงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนวิเศษชัยชาญ 85 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินยั ในสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมน ี วิทยาคม ผลการวิจัย พบว่าสภาพคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนก่อนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ มีความเพียร ความขยันอดทน มีสติปัญญา และความซื่อสัตย์ ผลการพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม พบวา่ ในการวางแผนใชก้ ลยทุ ธ์ 5 อยา่ ง คอื การเขา้ คา่ ย การสอน สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม วันพุธพบพระละกิเลศ ส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมใน ชีวิตประจาวัน และศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด และผลการติดตามและประเมินการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมหลังการปฏิบัติการท้ัง 2 วงรอบ พบว่า โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดทั้ง 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ซอ่ื สัตยส์ ุจรติ ขยันอดทน สตปิ ัญญา และความเพียร รณวีร์ พาผล (2556) ทำวิจัยเร่ือง การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ความมั่นคงทาง อารมณ์ เพื่อการบริโภคสื่อและข่าวสารของเยาวชนในแขวงนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ เป็น การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคส่ือและข่าวสาร เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคสื่อและข่าวสารสารของเยาวชน และ เพ่ือหาแนวทาง ส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมความมั่นคงทางอารมณ์ในการบริโภคสื่อและข่าวสารอัน ชาญฉลาดของเยาวชนให้สามารถเรียนรู้และปรับตนเองเข้ากับสถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงไปได้ อย่างแท้จริง ประชากรและกลุ่มเป้าหมาย คือ เยาวชนผู้อาศัยอยู่ในแขวงนครพิงค์ จังหวัด เชียงใหม่ จานวน 400 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามเก่ียวกับ พฤติกรรมการบริโภคสื่อและข่าวสารของเยาวชน แบบสอบถามต้นทุนชีวิตสาหรับเยาวชนใน แขวงนครพิงค์ แบบประเมินทัศนคติ (ความคิดเห็น) ของเยาวชนเกี่ยวกับการบริโภคสื่อและ ข่าวสาร แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจคุณธรรมจริยธรรมเพื่อการบริโภคสื่อและข่าวสาร แบบ ประเมินความพึงพอใจต่อการอบรม และแบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับความมั่นคงของ มนษุ ย์และสงั คมสว่ นบุคคล สถิตทิ ีใ่ ช้ คือ คา่ เฉลีย่ และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั พบว่า เยาวชนมีพฤติกรรมการบริโภคส่ือและข่าวสารทางอินเทอร์เน็ต, โทรทัศน์ และโทรศัพท์มือถือ อยู่ในระดับมาก และใช้อินเตอร์เน็ตเพ่ือค้นหาข้อมูลทั่วไป/สินค้าบริการ ดาวน์โหลดหนัง ภาพ ฟังเพลง ดูทีวี วีดิโอ ฟังวิทยุพูดคุย สนทนา ออนไลน์ เล่นเกม และมีพฤติกรรมการสื่อสารใน เฟสบุ๊ค เพ่ือการส่ือสารกับเพื่อน และคนรู้จัก เพื่อหาข้อมูลข่าวสารในส่ิงที่ตนชอบหรือสนใจ ปจั จยั ทมี่ ีอิทธพิ ลตอ่ การบรโิ ภคส่อื และขา่ วสารของเยาวชน ได้แก่ความรวดเรว็ ของขา่ วสาร ความ สะดวกในการใช้ส่ือ ความถูกต้องของข่าวสาร ความน่าเช่ือถือของข่าวสาร ข่าวสารมีเนื้อหา รายละเอียดครบถ้วน และค่าใช้จ่ายในการใช้สื่อ ตามลาดับทั้งหมดล้วนมีอิทธิพลต่อการบริโภค สื่อและข่าวสารของเยาวชน และห้องส่วนตัวและท่ีบ้านเป็นสถานที่มีอิทธิพลเอ้ือให้เยาวชน บริโภคสื่อและข่าวสาร การส่งเสริมให้เยาวชนมีความตระหนักในคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น มีความมั่นคงทางอารมณ์ มีสถาบันครอบครัวท่ีอบอุ่น สถาบันการศึกษาที่ให้การศึกษาอบรม 86 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินยั ในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี ส่ังสอน มีความใฝ่รู้พัฒนาตนเองอยู่เสมอ สถาบันศาสนา ชุมชน วัฒนธรรมประเพณี และ กัลยาณมิตร ล้วนมีส่วน ในการส่งเสริมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ความม่ันคงทางอารมณ์เพ่ือ การบริโภคสื่อและข่าวสารอย่างชาญฉลาดของเยาวชน ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของ เยาวชนผู้เข้าร่วมอบรมพบว่าเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับความรู้ความเข้าใจคุณธรรม จริยธรรม ความม่ันคงทางอารมณ์ เพื่อการบริโภคส่ือและข่าวสาร คิดเป็นร้อยละ 62.97 และ มีความพอใจต่อโครงการอบรมอยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยมีค่าเท่ากับ 4.11 ผลการวิเคราะห์ ทัศนคติในการบริโภคสื่อและข่าวสารของเยาวชนผู้เข้ารับการอบรม พบว่า เยาวชนมีทัศนคติใน การบริโภคส่ือและข่าวสารอย่างชาญฉลาดท่ีเป็นไปในทางบวก อยู่ในระดับมากที่สุด ท่ีเป็นไปใน ทางลบอยู่ในระดับปานกลาง การรู้ทันสื่อและข่าวสารอยู่ในระดับปานกลาง ความตระหนักใน ผลกระทบของส่ือและข่าวสารที่เป็นไปในทางบวกอยู่ในระดับมากและท่ีเป็นไปในทางลบ อยู่ใน ระดับปานกลาง ความมั่นคงทางอารมณ์ในการบริโภคสื่อและข่าวสาร ท่ีเป็นไปในทางบวกอยู่ใน ระดับมาก และท่ีเป็นไปในทางลบ อยู่ในระดับปานกลาง ผลการประเมินความม่ันคงของมนุษย์ และสังคมส่วนบุคคล พบว่า เยาวชนกลุ่มตัวอย่างมีความรู้สึกมั่นคงในมิติต่างๆ ดังนี้ ระดับต่ำ ได้แก่ มิติด้านการมีงานทำและรายได้ ระดับค่อนข้างต่ำได้แก่ มิติด้านการสนับสนุนทางสังคมอยู่ ระดับปานกลาง ไดแ้ ก่ มิติด้านครอบครวั มิตดิ ้านความม่ันคงส่วนบุคคล และ มติ ิดา้ นการศกึ ษา ระดับปานกลางค่อนข้างสูง ได้แก่มิติสุขภาพอนามัยและมิติทางสังคมและวัฒนธรรม และระดับ สูง ได้แก่มิติท่ีอยู่อาศัยและส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ โดยมีความพึงพอใจกับระบบการบริการ การรกั ษาของโรงพยาบาลที่ไปใช้บริการอยูใ่ นระดับปานกลาง ไพศาล มนั่ อก และไพฑูรย์ สนิ ลารตั น์ (2557) ทำวิจัยเรอ่ื ง การวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบ มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดเล็ก: กรณีศึกษา ของนักเรียนโรงเรียนวิเศษชัยชาญวิทยาคม การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาสภาพคุณธรรมจริยธรรมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และติดตามและ ประเมินผลการดาเนินงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนวิเศษชัยชาญวิทยาคม ผลการวิจัย พบว่า สภาพคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนวิเศษชัยชาญวิทยาคม ก่อน ดำเนินการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม พบว่านักเรียนในโรงเรียนวิเศษชัยชาญวิทยาคมมีคุณธรรม จริยธรรม 4 ด้านโดยภาพรวมมีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากท้ัง 4 ด้านได้แก่ การมี ความเพียร การมีความขยันอดทน การมี สติปัญญา และการมีความซ่ือสัตย์สุจริต ผลการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนโรงเรียน วิเศษชัยชาญวิทยาคมในรอบท่ี 1 ในการวางแผนคณะผู้วิจัยใช้กลยุทธ์ 5 อย่าง ได้แก่ กลยุทธ ์ การเข้าค่ายคุณธรรม กลยุทธ์การสอนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม กลยุทธ์วันพุธพบพระ ละกิเลส กลยุทธ์ส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในชีวิตประจาวัน และกลยุทธ์ศูนย์ 87

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ