การเข ยนบรรณาน กรมจากเว บ ไม ม ช อผ แต ง

หกมาารยเเวหน้ตุร:ะยกะกรกรออาบบรสสพเี่ ี่เหหมิ ลลพี่ยย่ี มม์ ใเหลญ็กใ่ นหกมราอยบถใงึ หขญนา่ ดหกมราะยดถางึษบรAเิ ว4ณท่ีพมิ พ์เนื้อหาของเอกสารวิจยั

๔๕

๑. ระยะหา่ งระหว่างบรรทดั ของเนอ้ื หา ไมเ่ ว้นบรรทัด (เวน้ ๑ บรรทดั คอมพิวเตอร์) ๑.๑ ไม่เวน้ บรรทดั หรือ เวน้ ๑ บรรทดั คอมพวิ เตอร์ ระหวา่ ง ๑.๑.๑ บทที่ กับ ชอื่ บท ๑.๑.๒ หวั ขอ้ ย่อยกับหวั ข้อย่อย ๑.๑.๓ หวั ขอ้ ยอ่ ย กับ เนื้อหา (ยกเว้นกรณพี มิ พ์เน้อื หาตอ่ เนอื่ งจากหัวข้อย่อย

ใหพ้ มิ พ์ต่อเน่อื งไดเ้ ลย) ๑.๑.๔ เน้อื หา ๑.๑.๕ การขนึ้ ย่อหนา้ ใหม่ระหว่างเนื้อหา

๑.๒ เว้น ๑.๕ บรรทัด หรือ เว้น ๑๒ pts. คอมพิวเตอร์ หรือกด Ctrl ๗ (กด Ctrl กับเลขเจ็ดไทย) ระหวา่ ง

๑.๒.๑ หวั ข้อสาคัญ ๑.๒.๒ หัวข้อสาคัญ กับ หวั ข้อย่อยแรก ๑.๒.๓ ช่อื บท กบั หัวขอ้ สาคญั ๑.๒.๔ หัวข้อสาคัญ กับ ย่อหน้าแรกของหัวขอ้ สาคญั ๒. การพิมพ์หัวข้อย่อยหัวข้อแรก หรือการข้ึนย่อหน้าใหม่ ให้ย่อหน้าเข้ามา ๒ เซนติเมตร หวั ข้อยอ่ ย ๆ ตอ่ ไปให้เริม่ พมิ พต์ รงกบั ตัวอกั ษรตัวแรกของหวั ข้อก่อนหนา้ นั้น

การลาดบั หนา้

๑. สาหรับส่วนนา ได้แก่ บทคัดย่อ Abstract คานา สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญ แผนภาพหรอื สารบัญแผนภูมิ คาอธบิ ายคายอ่ และสัญลักษณ์ ให้ใช้พยัญชนะไทยในการลาดับหน้า โดยให้หน้าพยญั ชนะอยูก่ ึ่งกลางหา่ งจากขอบบนกระดาษ ๑ นวิ้ (ไม่ใช้พยัญชนะ ฃ, ฅ, ฆ)

๒. ในส่วนเน้ือเร่ือง (ได้แก่ บทท่ี ๑ ถึงบทสุดท้าย) ส่วนอ้างอิง (ได้แก่ บรรณานุกรม ภาคผนวก และประวัติย่อผู้วิจัย) ให้ใช้ตัวเลขในการลาดับหน้า โดยให้เลขหน้า อยู่ตรงก่ึงกลาง หา่ งจากขอบบนกระดาษ ๑ นว้ิ

สาหรับหน้าแรกของแต่ละบท หน้าแรกของบรรณานุกรม และหน้าแรกของ ภาคผนวก ไม่ตอ้ งพิมพ์เลขหน้า แต่ใหน้ บั จานวนหน้ารวมดว้ ย

๓. ขนาดตัวพยัญชนะ และเลขที่ใช้กากับหน้าให้ใช้ขนาด ๑๖ ตัวธรรมดาและ เป็นอักษรแบบเดยี วกับท่พี มิ พเ์ นอ้ื หา

๔๖

การพิมพ์บท หัวขอ้ สาคญั หัวขอ้ ยอ่ ย และเนื้อหา

๑. บท เมื่อเริ่มบทใหม่จะต้องข้ึนหน้าใหม่เสมอ และมีเลขประจาบท ให้พิมพ์คาว่า

“บทที่” ไวต้ รงกลางตอนบนสดุ ของหน้ากระดาษ บรรทัดต่อมาเป็น “ชื่อบท” ให้พิมพ์ไว้ตรงกลาง หนา้ กระดาษเช่นกัน

ชือ่ บททย่ี าวเกิน ๑ บรรทดั ให้แบ่งเป็น ๒ - ๓ บรรทดั ตามความเหมาะสม โดยพิมพ์ เรยี งลงมาเป็นลกั ษณะสามเหลย่ี มกลบั หวั และไมต่ อ้ งขดี เส้นใต้ ตัวอักษร ขนาด ๒๔ ตวั หนา

๒. หัวข้อสาคัญ หัวข้อสาคัญในแต่ละบท หมายความถึงหัวข้อหลัก ซึ่งมิใช่เป็น

ชอ่ื เรอ่ื งประจาบท ให้พมิ พ์อย่ชู ดิ รมิ กรอบพิมพ์ดา้ นซ้าย ใช้ตัวอกั ษร ขนาด ๒๐ ตวั หนา ท้งั นี้ การพมิ พห์ วั ขอ้ สาคญั ไมต่ ้องใสห่ มายเลข หรอื ตวั อักษรกากบั และไมต่ อ้ งขีดเส้นใต้ การขึ้นหัวข้อใหม่ หรือข้ึนย่อหน้าของข้อความใหม่ หากในหน้านั้นมีท่ีว่างสาหรับ

พมิ พข์ อ้ ความตอ่ ไปได้ไมเ่ กินหน่งึ – สองบรรทดั แลว้ ใหข้ ้ึนหัวข้อใหม่ หรอื ย่อหนา้ ใหม่ ในหน้าถัดไป

๓. หัวข้อย่อย เป็นรายละเอียดของหัวข้อสาคัญ การพิมพ์หัวข้อย่อย ให้พิมพ์โดย

ยอ่ หน้าเข้าไปประมาณ ๒ ซม. การพมิ พห์ วั ขอ้ ยอ่ ยใช้ตวั อักษร ขนาด ๑๘ ตวั หนา ไมต่ ้องขีดเส้นใต้ และให้ใชต้ วั เลขกากับหัวข้อ โดยไม่ให้ใช้ระบบพยัญชนะไทย อังกฤษเคร่ืองหมายวงเล็บ ( ) และ

วงเล็บเปดิ ) เคร่ืองหมาย หรือสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น - * • หรือเลขโรมัน หรืออ่ืนใดนอกจาก

ระบบตัวเลขในการกาหนดหรือแบง่ เป็นหัวขอ้ ยอ่ ย การพมิ พบ์ รรทัดแรกของหัวข้อย่อย หากมีมากกว่า ๑ บรรทัด การข้ึนบรรทัดใหม่

ใหช้ ดิ ขอบซา้ ย หากมีหัวข้อย่อยต่อ ๆ ไปให้ใช้ระบบตัวเลข และจุดทศนิยมกากับ โดยให้ใช้

จุดทศนยิ มได้ไมเ่ กนิ ๔ หลัก ตามตัวอย่าง ดงั นี้

๑. ……………………………………… ๑.๑ ................(หัวข้อยอ่ ย)

…………………………...................................................................…………..…. ……………………………………………………………………….……………………………………………………………………

๑.๑.๑ ...............................(หัวข้อย่อย)

…………………………………………….…………………………………………..… ………………………………………………………………………………………………………

๑.๑.๑.๑ ……………………….(หัวขอ้ ย่อย)

…………………………………………..……….….…………..…... ………………………………………………………………………………………………………………………………………….…

๑.๑.๑.๒ ……………………….(หัวข้อย่อย)

…………………………………………..……….….…………..…... ……………………………………………………………………………………………………………………………….…….………

ทง้ั นี้ หากการจัดทาหัวข้อย่อยในระบบจุดทศนิยมมีเกินกว่า ๔ หลัก ให้เรียบเรียง ข้นึ หวั ข้อใหม่ แตห่ ัวข้อยอ่ ยนนั้ ตอ้ งมีความสัมพันธ์กบั การอภิปรายผลการวิจยั

๔. เน้ือหา ให้พมิ พ์ด้วยตวั พิมพ์ปกติ ขนาด ๑๖ ตัวธรรมดา

๔๗

ตวั อย่างการพมิ พบ์ ท หัวขอ้ สาคญั หวั ขอ้ ยอ่ ย และเน้อื หา ตามแผนภาพท่ี ๔ – ๒

แผนภาพท่ี ๔ – ๒ ตัวอยา่ งการพมิ พ์บท หัวขอ้ สาคัญ หวั ขอ้ ย่อย และเนือ้ หา

บทที่ ๒ หน่วยขึน้ ตรงกองบญั ชาการกองทพั ไทย

สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ (หัวข้อสาคัญ) เว้นระยะห่าง ๑.๕ บรรทัด / ctrl ๗ เวน้ ระยะหา่ ง ๑.๕ บรรทดั / / ctrl ๗ ยอ่ หนา้ ๒ ซม. ๑.//…วทิ…ย…า…ล…ัย…ป…้อ…ง…ก…นั …รา…ช…อ…า…ณ…า…จ…ัก…ร…(…ห…ัว…ข…้อ…ยอ่…ย…)……...ไ…ม…่เว…น้ บ…ร…รท…ดั ..………………... ……………………………………………………………………….…………………………… พหขอัวมิ งขพหอ้ …ต์ัวยรข…่อง้อยก…กๆับ่อ…ตตนวั…่อหอไน…ปัก้าษใ…นหรั้นเ้ต…รัวม่ิ…แร…ก…๑….๑…/…/…ก……า…ร…บ……ร……หิ ……า……ร……ห……น……่ว…ย…./…./..…..(...ห…...ัว…..ข.…..้อ.…..ย.…..อ่ .….ย..….)..…..…...…...…..................ไ..ม..เ่ .ว..น้..บ...ร…รท…ัด……..…. ๑.๑.๑//การจดั หนว่ ย// (หัวขอ้ ยอ่ ย) ไมเ่ วน้ บรรทัด การพมิ พ์ เน้ือหา ในหวั ข้อ …………………………………………….…………………………………………..… ย่อย ๆ ให้ ……………………………………………………………………………………………………… ใชร้ ะยะ บรรทดั ๑.๑.๑.๑//กองอานวยการ// (หัวข้อย่อย)

…………………………………………..……….….…………..…... ๑ ปกติ

………………………………………………………………………….………………………… ๑.๑.๑.๒//กองพฒั นาการศกึ ษา// (หัวข้อยอ่ ย) ……………………………………………..……………..………… ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………

กรมยุทธการทหาร (หัวข้อสาคัญ) เวน้ ระยะห่าง ๑.๕ บรรทัด / / ctrl ๗ เวน้ ระยะหา่ ง ๑.๕ บรรทดั / / ctrl ๗

………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หมายเ.หตุ ๑. การพมิ พใ์ ช้โปรแกรม Microsoft word 2007 ขน้ึ ไป ๒. ตัวอักษร ใช้แบบ Angsana New หรอื TH SarabunPSK มขี นาดดงั น้ี

๒.๑ บทท่ี ชอ่ื บท ขนาด ๒๔ ตวั หนา ๒.๒ หัวขอ้ สาคญั ขนาด ๒๐ ตัวหนา ตาราง ๒แ.ล๓ะแหัวผขนอ้ ยภอ่ ายพ ขนาด ๑๘ ตวั หนา ๒.๔ เน้อื หา ขนาด ๑๖ ตัวธรรมดา ๓. // หมายถึงการเคาะ Space bar เวน้ ระยะพมิ พต์ ัวพิมพต์ ามจานวนขดี ( // = ๒ เคาะ)

๔. การเว้นระยะบรรทัด ระหว่างหัวข้อสาคัญกับหัวข้อย่อย และ/หรือเน้ือหา เว้นระยะ ๑.๕ บรรทัด

ระหวา่ งหวั ข้อย่อย กับเนอ้ื หา เว้นระยะ ๑ ปกติ

๔๘

ตารางและแผนภาพ

๑. ตาราง

ตารางจะตอ้ งประกอบดว้ ยลาดบั ทีข่ องตาราง ช่ือของตาราง หวั ตาราง สว่ นข้อความ และทมี่ าของตาราง โดยปกติใหพ้ ิมพ์อย่ใู นหน้าเดียวกันทง้ั หมด

ลาดับทขี่ องตาราง ใหจ้ ัดเรียงลาดับแยกแตล่ ะบท เช่น ตารางท่ี ๑ - ๑ ตารางที่ ๑ – ๒ ตารางที่ ๒ - ๑ ตารางท่ี ๒ - ๒)

ในกรณีที่ตารางมีความยาวมากไม่สามารถให้ส้ินสุดในหน้าเดียวได้ให้พิมพ์ส่วน ที่เหลือในหน้าถัดไป แต่ทั้งน้ีต้องพิมพ์ลาดับท่ีของตาราง และชื่อของตาราง โดยมีวงเล็บ (ต่อ) และต้องมีส่วนหัวของตารางและมีส่วนของข้อความในตารางรวมอยู่ด้วยในแต่ละหน้าอย่างน้อย ๒ บรรทัด

สาหรับตารางท่ีไม่สามารถบรรจุข้อความในแนวต้ังได้ อนุญาตให้จัดตารางไว้ ในแนวนอน โดยหันหัวตารางเข้าหาขอบซ้าย (ขอบกระดาษด้านเข้าเล่ม) และให้เลขหน้า อยดู่ า้ นบนเช่นเดยี วกับการใส่เลขหน้าในแนวตง้ั

และให้เขียนที่มาของตาราง ไว้ด้านล่างของตารางน้ัน ๆ กรณีตารางยาวมากกว่า ๑ หนา้ ให้เขยี นท่ีมาของตารางไวใ้ นหน้าสุดท้ายตอนล่างของตารางนั้น ๆ

๒. แผนภาพ

สาหรับ แผนภาพ (ในท่ีนี้ให้หมายรวมถึง รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ) จะต้องประกอบดว้ ยลาดบั ที่ และชอื่ ของแผนภาพ

ลาดับท่ขี องแผนภาพให้จัดเรียงลาดบั เช่นเดียวกบั การจัดพมิ พ์ตารางโดยจัดลาดับ ที่ของแผนภาพแยกแต่ละบท เช่น แผนภาพท่ี ๑ – ๑ แผนภาพท่ี ๑ - ๒ แผนภาพที่ ๒ – ๑ แผนภาพที่ ๒ - ๒) ช่ือแผนภาพอยูด่ ้านบน ทมี่ าอยูด่ ้านลา่ ง ของแผนภาพน้นั ๆ

การเขียนที่มาของตาราง หรือแผนภาพ ให้ใช้หลักเกณฑ์การเขียนการอ้างอิง แบบแทรกอยูใ่ นเรื่อง (มีรูปแบบในการเขยี นประกอบด้วย ชือ่ ผแู้ ตง่ , ปี : เลขหนา้ )

ท่ีมาของตาราง หรือแผนภาพ จะต้องนารายละเอียดไปเขียนไว้ในบรรณานุกรม (ถ้าเป็นตารางหรือแผนภาพท่ีประมวลขึ้นมาเอง ไม่ต้องระบุแหล่งที่มา หรืออาจใช้คาว่า “ประมวล โดยผู้วิจยั ”) และจะต้องจัดทาเป็นสารบญั ตาราง หรือสารบญั แผนภาพ ไว้ต่อจากสารบัญปกติด้วย

อัญพจน์

สานักงานราชบัณฑิตยสภา ไดใ้ หค้ วามหมายของ อญั พจน์ ไว้ ดงั นี้ “คาว่า อัญพจน์ (อา่ นว่า อัน-ยะ-พด) ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Quotation (อ่านว่า โคว-เท-ชั่น) หมายถึง ข้อความท่ีคัดลอกมาจากแหล่งอื่น การคัดลอกต้องให้คงข้อความและ การสะกดคาต้องเหมือนของเดิมทุกประการ เมื่อนาอัญพจน์ลงตีพิมพ์ในเอกสารใหม่ ต้องใช้ เคร่อื งหมาย อญั ประกาศ (อา่ นว่า อัน-ยะ-ปฺระ-กาด) หรอื เคร่ืองหมายคาพูด “..............” ครอ่ มข้อความ

ดังกล่าว ถ้าอัญพจน์มีความยาวเกิน ๔ บรรทัด ให้เขียนเป็นย่อหน้าใหม่ โดยให้ย่อเข้ามามากกว่า ปรกติ และถ้าตอ้ งการใหอ้ ญั พจน์เด่น กอ็ าจใช้ตัวอกั ษรท่ตี า่ งจากข้อความอื่นได้”

๔๙

ในการเขียนเอกสารวิจัยส่วนบุคคลของนักศึกษา วปอ. “อัญพจน์” เป็นการคัด หรือยกข้อความ คาพดู จากผ้เู ขียน หรือของผูอ้ นื่ มากล่าวไวใ้ นเอกสารวจิ ัย ฯ ของตน เพื่อช่วยเพิ่มคุณค่าน้าหนักและ ความเชือ่ ถอื ทงั้ นี้ ข้อความที่กล่าวถึงควรสั้น ๆ ไม่ควรนาข้อความท่ียาวเกิน๑ หน้ากระดาษมาอ้าง เพราะถา้ ขอ้ ความยาวเกนิ ๑ หน้ากระดาษ อาจทาให้ผู้อ่านพล้ังเผลอว่าข้อความท่ีอ้างถึงนั้นเป็นตัว เน้ือเร่ือง นอกจากน้ีข้อความยาว ๆ มักมีข้อความอื่น ๆ ซ่ึงไม่เก่ียวข้องโดยตรงปะปนอยู่กับเร่ืองท่ี ตอ้ งการ ซ่ึงอาจทาใหผ้ ู้อา่ นสับสน การอ้างอิงถอ้ ยคาจึงตอ้ งพยายามอา้ งแต่เฉพาะขอ้ ความให้สั้นที่สุด เพื่อมิใหข้ ้อความทีอ่ า้ งอิงทาลายความสาคัญของเน้ือเรื่อง และทาให้ผ้อู ่านไขวเ้ ขว

อญั พจนอ์ าจมาจากเอกสาร หรือบทความใด ๆ ท่ีผู้วิจัยเห็นว่าถูกต้องเหมาะสม เช่น จากหนังสือ บันทึกของทางราชการหรือเอกชน จดหมายหรือการสัมภาษณ์ ข้อสาคัญ ข้อความ หรือคาพูดท่ียกมาอา้ งองิ จะต้องเหมือนของเดมิ ทุกประการ ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งใสเ่ ครอ่ื งหมายอญั ประกาศ (Quotation Mark) “………………….” ไวร้ ะหว่างถ้อยคาที่ยกมาด้วย ข้อท่ีพึงปฏิบัติคือต้องไม่แทรก คาพูดหรือเพิม่ เตมิ ขอ้ ความของเราเขา้ ไปในระหว่างอญั พจนท์ ี่ยกมา หากจาเป็นให้ใส่วงเล็บข้อความ ท่เี พ่มิ เตมิ นัน้ ใหเ้ หน็ ชัดเจน

การเขยี นอญั พจน์ มีหลักเกณฑ์ ดงั น้ี ๑. ถา้ เปน็ ขอ้ ความสั้น ๆ ไม่เกนิ ๔ บรรทัด ให้เขียนต่อไปกับข้อความโดยเอาข้อความ ทยี่ กมาน้นั ใสไ่ วใ้ นเครือ่ งหมายอญั ประกาศ “…………….” เช่น

“วัตถุประสงค์ของชาติ คือ จุดหมายหรือเป้าหมายสาคัญ ซึ่งชาติต้องมุ่งไปถึงด้วย การใชค้ วามพยายามและจากขุมกาลงั ท้ังปวงของชาติ”

๒. ถ้าเป็นข้อความท่ียาวเกิน ๔ บรรทัด ให้ยกข้อความนั้นมาพิมพ์ขึ้นบรรทัดใหม่ โดยย่อหนา้ เข้ามาจากขอบซ้ายของหน้าพิมพ์ ๔ ระยะตัวพมิ พ์ และระยะบรรทัดแคบกว่าธรรมดา และไม่ตอ้ งใสเ่ ครื่องหมายอญั ประกาศ เชน่

//// การทาแผนสงครามเปน็ เร่ืองละเอียดซับซ้อนต้องใช้ความรู้ประสบการณ์และรายละเอียดมาก โดยเฉพาะการตรวจสอบสภาพของกองทัพต่าง ๆ ว่ามีความพร้อมเพียงใด สถิติ ข้อมูล ความตอ้ งการตอ้ งมหี ว้ งเวลา ไม่ใช่ทาได้อย่างง่ายและรวดเร็วทุกอย่างต้องมีข้ันตอน แผนการ สงครามท่ีดี จะต้องกาหนดลงไปให้ครอบคลุมในรายละเอียดในด้านความต้องการกาลังคน ทรัพยากรที่ต้ังฐานทัพ ระบบอาวุธ วัสดุและสิ่งจาเป็นอื่น ๆ และจะต้องคาดถึงภัยคุกคามท่ี จะเกดิ ขึน้ ในอนาคตด้วย

//// (ขดี ) หมายถึง การเวน้ ระยะพมิ พ์ดว้ ยการเคาะ Space bar โดยเวน้ ตามจานวนขดี //// = ๔ เคาะ

๓. การคดั ลอกขอ้ ความจากภาษาต่างประเทศ ควรแปลเป็นภาษาไทยเสียก่อน ถ้าเป็น การแปลมาทงั้ หมดจะตอ้ งใส่เคร่ืองหมายอัญประกาศ แต่ถ้าเป็นการถอดความหรือเก็บใจความมา ไม่ต้องใสเ่ คร่ืองหมายอัญพจน์แต่อยา่ งใด

๕๐

๔. เมอ่ื ลอกข้อความมาบางตอน มวี ธิ กี ารทาดงั น้ี ๔.๑ ถ้าตัดขอ้ ความขา้ งหน้า หรือข้างหลังหรือตัดท้ังข้างหน้าและข้างหลังให้ใส่จุด

๓ จดุ ไว้ตรงทต่ี ดั ออก ๔.๑.๑ ในกรณที ขี่ ้อความไม่เกนิ ๔ บรรทัด เชน่ “ความมั่นคงแห่งชาติคือ สภาวะของชาติท่ีปลอดจากการรุกราน

ทางทหารหรอื การโจมตีทางทหาร หรือปลอดจากการบอ่ นทาลายทางการเมอื งหรือเศรษฐกจิ …” ๔.๑.๒ กรณีทข่ี อ้ ความมากกว่า ๔ บรรทัด เชน่

//// คุณธรรมท่ีทุกคนควรจะศึกษาและนอ้ มนามาปฏบิ ตั ิ ประการแรกคอื การรกั ษาสัจ ความจรงิ ใจต่อตัวเอง ที่จะประพฤติปฏิบัติแต่ส่ิงที่เป็นประโยชน์ และชอบธรรม ประการทสี่ อง คอื การรู้จกั ข่มใจตนเอง ยึดใจตนเองใหป้ ระพฤติอยู่ในความสจั ความดีนนั้ ประการที่สาม คือ การอดทน อดกลั้น อดออม ที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัจไม่ว่าจะด้วย ประการใด ประการท่ีส่ี คือ การรู้จักละอายความชั่ว ความทุจริต และรู้จักละประโยชน์ส่วนน้อยของตน เพอื่ ประโยชน์สว่ นใหญ่ของบ้านเมือง…

๔.๒ ถ้าตดั ขอ้ ความออกไปยาวมาก ๆ ใหใ้ สจ่ ดุ เวน้ บรรทดั เช่น

////…มีการยอมรับกันว่า จุดมุ่งหมายทางเศรษฐกิจของชุมชนทุก ๆ แห่ง มี ๔ ประเภท คือ ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ (Economic Progress) เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Stability) เสรีภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Freedom) และความยุติธรรมทางเศรษฐกิจ (Economic Justice) .…………………………………………………………………………………………….………... ………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………….…………………………………..… ซ่ึงแทบทุกประเทศในโลกยอมรบั จดุ ม่งุ หมายปลายทางเศรษฐกิจ ๔ ประการ ที่ไดก้ ลา่ วมานี้

๔.๓ สาหรบั โคลง กลอน บทร้อยกรอง ก็เช่นกนั ดงั ตัวอยา่ ง

……………………….………………… …………………………………….

อันความคิดวิทยาเหมือนอาวธุ ประเสรฐิ สุดซ่อนใสเ่ สยี ในฝกั

สงวนคมสมนึกใครฮกึ ฮัก จึงค่อยชกั เชอื ดฟนั ใหบ้ รรลัย

๔.๔ การเขยี นทมี่ าของขอ้ ความทอี่ า้ งองิ อาจเขยี นไว้หนา้ หรอื หลงั ขอ้ ความนนั้ ๆ ก็ได้ เชน่

๔.๔.๑ เขยี นไว้หนา้ ข้อความ

พลเอกเปรม ตณิ สลู านนท์ (๒๕๒๘ : ๗๓) เคยให้โอวาทแก่ผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตร วชิ าการปกครองทอ้ งท่ี ไวด้ ังนี้

“หากจะเปรยี บประเทศของเราดุจดงั ตน้ ไทร นักปกครองท้องทกี่ เ็ ปรยี บเสมือน รากไทรทย่ี ดึ ลาต๔น้ .๔ไว.้ก๒ับเแขผยี น่ นดไวนิ ้หลคังวขาม้อมคัน่วาคมงแข็งแรงตน้ ไทรและความรม่ เยน็ จากรม่ ใบนั้น จะเกิดข้ึนได้กต็ อ่ เม่ือ รากไทรปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีหล่อเลย้ี งลาต้นได้…”

“… ส่งิ ทขี่ าดไม่ได้สาหรบั นักปกครองทอ้ งท่กี ็คือ ปณิธานสว่ นตนในการมุง่ บาบัดทกุ ข์บารงุ สุขแก่ ประชาชน และมงุ่ สร้างสรรคค์ วามเจรญิ ใหแ้ ก่ท้องถ่ิน” (พลเอก เปรม ติณสลู านนท์, ๒๕๒๘ : ๗๓)

บทท่ี ๔ การอา้ งอิง

การอ้างอิง คอื การอา้ งถึงแหล่งที่มาของข้อมูลที่ใช้ในการเรียบเรียงเอกสารทางวิชาการ และรายงานการวิจัยประเภทต่าง ๆ มี ๒ วธิ ี คอื

๑. การอา้ งอิงแบบแทรกอยู่ในเนอ้ื เรอ่ื ง ๒. การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ (Footnotes) หรือแบบแยกจากเนือ้ เรอ่ื ง การอา้ งองิ แบบแทรกอยู่ในเนื้อเร่ือง คือ การระบุที่มาของข้อมูลไว้ในวงเล็บติดต่อกับ ข้อความทต่ี ้องการอา้ งอิง เป็นแบบท่ีสะดวกตอ่ การเขียนการพิมพ์ และประหยัดเนื้อท่ีกระดาษพิมพ์ จึงเป็นทน่ี ยิ มใช้ในปจั จบุ ัน ท้งั สองแบบนี้ ให้นกั ศกึ ษาเลอื กใช้การอ้างอิงชนิดท่ี ๑ เป็นหลัก ยกเว้น ตอ้ งอา้ งอิงด้วยเชงิ อรรถ แต่ตอ้ งเปน็ แบบเดียวกนั ทงั้ เล่ม จะเปล่ยี นไปเปลี่ยนมาไมไ่ ด้ การอ้างองิ แบบเชิงอรรถ คือ การอ้างอิงเพ่ือแสดงแหล่งที่มาของข้อมูล อธิบายความ หรือโยงข้อความโดยมิให้แทรกปนอยู่ในเน้ือเร่ือง การอ้างอิงแบบน้ีมีรายละเอียด และรูปแบบ คล้ายคลึงกับแบบบรรณานุกรม ทาให้เสียเวลาในการจัดพิมพ์ให้ถูกต้องตามแบบแผนที่กาหนด และตอ้ งจดั หน้าใหเ้ ชงิ อรรถกบั ข้อความที่อา้ งอิงอยู่ในหนา้ เดียวกัน ปจั จุบนั การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ จงึ ไมเ่ ป็นที่นยิ ม

การอา้ งอิงแบบแทรกอย่ใู นเนื้อเรื่อง

รูปแบบการอ้างอิงแบบแทรกอยู่ในเน้ือเร่ืองมีหลายรูปแบบ วปอ. ขอแนะนาให้ใช้ รปู แบบระบบ ช่อื - ปี (Author - Date) เพียงแบบเดียว

๑. รูปแบบ โดยท่ัวไปประกอบด้วย ๓ ส่วน คือ ชื่อผู้แต่ง ปีท่ีพิมพ์ และ/หรือเลขหน้าของ

หนงั สือที่อา้ งอิง โดยใส่ไว้ในวงเล็บท้ายข้อความที่ต้องการอ้างอิง หรืออ้างอิงไว้หลังชื่อผู้แต่ง ตาม รปู แบบ และตัวอย่าง

๑.๑ กรณอี า้ งอิงท้ายขอ้ ความ ใช้รปู แบบ

…/(ชอ่ื ผแู้ ต่ง,/ ปี/:/เลขหน้า)…

๑.๒ กรณอี ้างอิงไว้หลงั ช่อื ผู้แตง่ ใช้รปู แบบ

... ชื่อผู้แต่ง/(ปี/:/เลขหนา้ )/....

๕๒

ตัวอย่าง การอา้ งอิงทา้ ยข้อความ เช่น สมมติฐานในการวิจัย หมายถึง ข้อความที่คาดคะเนไว้ล่วงหน้าถึงความสัมพันธ์ ระหว่างของสองสิ่ง หรือมากกว่าหรือระหว่างสองตัวแปรหรือมากกว่า ซ่ึงสามารถทดสอบ ความสัมพันธ์นั้น ๆ ได้ ท้ังนี้ เพ่ืออธิบายข้อเท็จจริงหรือพยากรณ์ปรากฏการณ์ต่าง ๆ (เครือวัลย์ ล้มิ ปยิ ะศรีสกลุ , ๒๕๓๐ : ๘๔)

ตวั อย่าง การอา้ งอิงไว้หลงั ชือ่ ผู้แตง่ เช่น เครือวัลย์ ล้ิมปิยะศรีสกุล (๒๕๓๐ : ๘๔) ได้กล่าวถึงความหมายของสมมติฐาน ในการวิจัย ไว้ว่า หมายถึง ข้อความท่ีคาดคะเนไว้ล่วงหน้าถึงความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่ง หรือมากกว่าหรือระหว่างสองตัวแปรหรือมากกว่า ซ่ึงสามารถทดสอบความสัมพันธ์น้ัน ๆ ได้ ท้งั น้ี เพอื่ อธิบายข้อเทจ็ จรงิ หรอื พยากรณ์ปรากฏการณต์ ่าง ๆ

การอ้างองิ แบบชือ่ - ปี นี้ จะต้องทาบรรณานุกรมไว้ท้ายเล่ม โดยเรียงตามลาดับ พยัญชนะชื่อผู้แต่ง และแยกประเภทเอกสาร แยกภาษา ยกเว้นกรณีท่ีมีเอกสารอ้างอิงน้อย อาจไม่แยกประเภทเอกสารกไ็ ด้ แต่ต้องแยกภาษา

๒. การลงรายการอา้ งอิงแบบ ชอื่ - ปี ๒.๑ ช่ือผู้แต่ง ใช้ระบบเดียวกับการลงรายการอ้างอิงแบบเชิงอรรถ ยกเว้น

ชื่อชาวต่างประเทศ ลงเฉพาะนามสกุล เทา่ น้ัน ๒.๑.๑ ผ้แู ต่งท่มี ฐี านนั ดรศักด์ิ บรรดาศกั ดิ์ และสมณศักดิ์ ให้ใสห่ น้าช่ือดว้ ย เช่น

(สมเด็จกรมพระยาวชิรญาณวโรรส, ๒๕๑๔ : ๑๔๗)

๒.๑.๒ ผู้แต่งท่ีมียศทางทหาร ตารวจ เป็นนายแพทย์ แพทย์หญิง สัตวแพทย์ หรือมีตาแหน่งทางวิชาการ เช่น ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ไม่ต้องใส่ยศ หรือตาแหน่งทาง วิชาการ เช่น

(วศิษฐ เดชกุญชร, ๒๕๓๕ : ๖๓)

๒.๑.๓ สาหรับผู้แต่งท่ีเป็นสถาบัน อาจใช้ชื่อย่อของสถาบันได้ในกรณีท่ีอักษร ยอ่ นัน้ ใช้เปน็ ทางราชการ หรือเปน็ ทย่ี อมรบั กันอย่างแพรห่ ลายแล้ว เช่น

(สานักงานคณะกรรมการปราบปรามยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ, ๒๕๓๕ : ๖๑) หรอื (ป.ป.ส.,๒๕๓๕ : ๖๑)

๕๓

๒.๑.๔ ผแู้ ต่งต้งั ๒ คนข้ึนไป ๒.๑.๔.๑ กรณที ่มี ีผู้แต่ง ๒ คน ใหใ้ ช้ และ ๒.๑.๔.๒ กรณีผแู้ ต่ง ๓ คน ให้ใช้เครื่องหมายจุลภาค ( , ) ค่ันระหว่าง

คนท่ี ๑ กบั คนท่ี ๒ ๒.๑.๔.๓ ผู้แต่งมากกว่า ๓ คนข้ึนไป ให้ใส่ช่ือสกุลผู้แต่งคนแรกเท่าน้ัน

แลว้ ตามดว้ ย และคณะ หรอื คนอ่ืน ๆ กรณภี าษาต่างประเทศ ใหใ้ ช้คาว่า et al. หรือ and others

ตัวอยา่ งเชน่

(ดารณี ธารวัชรศาสตร์ และ เสถยี ร ศรีรุ่งเรอื ง, ๑๙๙๔ : ๓๑๓–๓๒๙)

(Pattigrew, Ferlie and McKee, 1999: 93-123)

(อานนั ต์ จนั ทรกลุ และคณะ, ๒๕๔๐ : ๓๖)

๒.๑.๕ ในกรณีท่ีตอ้ งการอ้างอิงงานของผ้แู ต่งหลายคนพร้อมกันใหเ้ รยี งตามลาดบั ปี พิมพ์ กอ่ น-หลงั โดยค่นั ดว้ ยเครอื่ งหมายอัฒภาค ( ; ) เชน่

(เจอื สตะเวทิน, ๒๕๑๖ : ๗๘ – ๘๒ ; ทองสขุ นาคโรจน,์ ๒๕๑๙ : ๘๙ – ๙๕ ; เปลื้อง ณ นคร, ๒๕๒๒ : ๖๐ – ๖๗)

๒.๑.๖ ในกรณที ี่มีการอ้างองิ เอกสารทผ่ี ูอ้ นื่ นามาอ้างไว้ก่อนแลว้ ถือวา่ ไมใ่ ชก่ าร อา้ งจากเอกสารโดยตรง ให้ลงรายการอา้ งอิง โดยใชค้ าว่า “อ้างถงึ ใน” สาหรับเอกสารภาษาไทย และ ใชค้ าว่า “Quoted in” สาหรบั เอกสารภาษาตา่ งประเทศ เช่น

(สุภาค อินคงทอง, ๒๕๒๔ : ๑๐๕ อ้างถึงใน ขวญั ใจ ฮลี ีย์, ๒๕๓๓ : ๒) ๒.๑.๗ หากไม่ปรากฏชื่อผู้แตง่ ให้ลงชื่อเรื่อง และขีดเสน้ ใต้ช่ือเรือ่ งด้วย เช่น

(คาแนะนาการเขยี นเอกสารวจิ ัยส่วนบคุ คล, ๒๕๓๕ : ๔๘)

๒.๑.๗ ผแู้ ต่งท่ใี ช้นามแฝง ใหใ้ สช่ ื่อนามแฝงได้เลย โดยตามด้วยคาวา่ นามแฝง สาหรบั ภาษาไทย หรอื Pseud สาหรับภาษาต่างประเทศ เช่น

(พนมเทียน นามแฝง , ๒๕๒๐ : ๕๐ - ๕๖)

๕๔

๒.๒ เอกสารแปล ๒.๒.๑ กรณที ไี่ มร่ ะบชุ อื่ ผู้แต่งในภาษาเดิม

รปู แบบ …/(ชื่อผแู้ ปล,/ผู้แปล,/ ปี/:/หน้า)… ตัวอยา่ ง …/(อปั สร ทรัยอัน, ผแู้ ปล, ๒๕๔๐ : ๔๐) .../(Mckee, Trans., 1999 : 50)

๒.๒.๒ กรณีทรี่ ะบุชือ่ ผ้แู ตง่ ในภาษาเดมิ

รปู แบบ …/(ชื่อผแู้ ต่ง,/ป/ี :/หน้า)… ตัวอย่าง …/(ไพรซ,์ ๒๕๔๐ : ๔๐)

๒.๓ บทสมั ภาษณ์ บรรยาย ปาฐกถา

รูปแบบ …/(ชอ่ื ผใู้ หส้ มั ภาษณ,์ /สมั ภาษณ,์ /ป)ี … ตัวอย่าง …/(ชวลติ ยงใจยุทธ, สมั ภาษณ์, ๒๕๔๔)

๒.๔ กฎหมายทปี่ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา

รูปแบบ …/(ชื่อกฎหมาย,/ปีท่ีประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา)… ตัวอยา่ ง …/(รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย, ๒๕๔๐)

๒.๕ เอกสารที่ไมต่ ีพิมพ์ ๒.๕.๑ เอกสารอัดสาเนา

รูปแบบ …/(ช่ือผแู้ ต่ง,/ประเภทของเอกสาร,/ปี : หนา้ )/… ตัวอย่าง …/(กระทรวงพาณชิ ย,์ อดั สาเนา, ๒๕๔๓ : ๒)

๒.๕.๒ ข้อบงั คบั ระเบยี บ คาสั่ง ประกาศ

รปู แบบ …/(ช่อื หน่วยงาน,/ขอ้ บงั คบั ,//ป)ี /… ตัวอยา่ ง …/(กระทรวงกลาโหม, ข้อบงั คบั , ๒๕๔๓)

๕๕

๒.๖ บทความหรอื คอลมั นใ์ นหนงั สือพิมพ,์ วารสาร

รูปแบบ …/(ชื่อผู้แตง่ หรอื ชอ่ื คอลมั น,์ /ป/ี :/หนา้ )/…

หรอื …/(หวั ขอ้ ขา่ วหรอื ช่อื บทความ,/ป:ี /หนา้ )/… ตวั อย่าง …/(นติ ภิ ูมิ เนาวรตั น,์ ๒๕๔๔ : ๒) …/(มงั กรห้าเลบ็ , ๒๕๔๔ : ๓)

…/(ผลกระทบจากสารพษิ , ๒๕๔๔ : ๖)

๒.๗ ฐานข้อมูลอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ประกอบด้วยฐานขอ้ มลู CD-ROM และฐานขอ้ มูลระบบออนไลน์ (Online)

รูปแบบ …/(ช่อื ผแู้ ต่ง หรอื ชื่อผู้สรา้ งฐานข้อมูล,/ประเภทของฐานขอ้ มลู ,/ ปที ี่ผลิตหรือปที สี่ บื คน้ )/… หรอื ตัวอย่าง …/(ช่ือเรอ่ื ง,/ประเภทของฐานขอ้ มลู ,//ปที ีผ่ ลิตหรือปที ส่ี บื ค้น)/… …/(Cowhey, Online, 1999)…/(ยาบ้า, ออนไลน์, ๒๕๔๙)

การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ

๑. ประเภทของเชิงอรรถ นักศึกษาสามารถใช้การอ้างอิงแบบเชิงอรรถได้

ใน ๓ กรณีดงั น้ี ๑.๑ เชิงอรรถอ้างอิง (Citation Footnotes) คือ เชิงอรรถที่แสดงแหล่งท่ีมาของ

หลักฐานท่ีนามาใช้ประกอบการเขียน ซึ่งผ้อู า่ นสามารถย้อนกลับไปตรวจสอบจากหลกั ฐานดง้ั เดิมได้ ๑.๒ เชิงอรรถเสริมความ (Content Footnotes) คือเชิงอรรถท่ีอธิบายหรือให้

ความหมายเพิ่มเตมิ จากทีป่ รากฏอยูใ่ นเน้ือเรื่อง ๑.๓ เชิงอรรถโยง (Cross-Reference Footnotes) คือเชิงอรรถท่ีต้องการโยง

ข้อความในหนา้ หน่ึงกับหน้าอื่น ๆ ซงึ่ อยใู่ นงานชนิ้ เดยี วกัน หรือชิน้ อื่น ๆ หรอื หน้าอ่ืนซ่งึ มีรายละเอยี ด อยแู่ ล้ว เพอื่ หลีกเลี่ยงการกล่าวซา้

๒. การให้หมายเลขเชิงอรรถ เชิงอรรถท้ัง ๓ ประเภท เรียงลาดับโดยใช้หมายเลข

กากับแตล่ ะบท เมื่อขนึ้ บทใหม่เรม่ิ ตน้ หมายเลข ๑ ใหม่ เชน่ บทท่ี ๑ มี ๑๐ เชิงอรรถ ก็จะให้หมายเลข ๑ ๒ ๓ จนถึง ๑๐ ซึ่งเป็นเชิงอรรถสุดท้ายในบท เมื่อขึ้นบทใหม่ก็เริ่มหมายเลขเชิงอรรถ ๑ ใหม่ อีกเร่อื ย ๆ ไป กาหนดขนาดตัวอักษรของเชงิ อรรถเป็นขนาด ๑๖ (ธรรมดา)

การให้หมายเลขเชิงอรรถในเน้ือหา กระทาได้โดยเม่ือจบข้อความท่ีต้องการอ้างอิง ให้ใสห่ มายเลขทีข่ อ้ ความนั้น แล้วจึงลงรายการในเชิงอรรถ โดยใหเ้ ขยี นอยู่ส่วนล่างของหน้าท่ีอ้างถึง

๕๖

(ไมพ่ มิ พร์ วมอยูท่ า้ ยบทหรอื ทา้ ยเล่ม) ก่อนจะพิมพ์เชิงอรรถให้ขีดเส้นทึบค่ันบรรทัดสุดท้ายของเนื้อ เรื่องระยะบรรทัดห่าง ๑.๕ เท่า หรือ ๑.๕ บรรทัด ยาวจากขอบซ้าย ๒ น้ิว เม่ือเริ่มบรรทัดแรก จะต้องย่อหน้าประมาณ ๒ เซนติเมตร ถ้าพิมพ์ไม่จบบรรทัดเดียวกัน ให้ขึ้นบรรทัดใหม่ โดยล้าไป ข้างหน้าชิดขอบซ้ายของหน้ากระดาษ ให้พิมพ์หมายเลขเชิงอรรถต่ากว่าเส้นคั่นขวาง ๑ เท่า ตัวอย่างในแผนภาพที่ ๗ – ๓ แบบการวางตาแหน่งเชงิ อรรถ

๓. ขอ้ ความในเชิงอรรถแตล่ ะเชงิ อรรถควรจบในหนา้ เดยี วไมค่ วรข้ามไปหนา้ ต่อไป ๔. การอา้ งอิงในเชิงอรรถอ้างอิงทุกรายการ ตอ้ งนาไปเรยี งไวใ้ นบรรณานกุ รม ท้ายเลม่ ๕. การลงรายการในเชิงอรรถอา้ งองิ แบ่งได้เปน็ ส่สี ว่ นทสี่ าคัญ ได้แก่ส่วนท่ีเกี่ยวกับ

ผู้แตง่ (ซ่งึ อาจเป็นชอ่ื คนหรอื หนว่ ยงาน) สว่ นทเ่ี ปน็ ชือ่ หนงั สือ (รวมทงั้ ช่อื บทความ) ส่วนทบ่ี อกครั้งทพ่ี มิ พ์ สถานทพ่ี ิมพ์ สานกั พมิ พ์ และปีท่พี มิ พ์ และสว่ นหนา้ ทีอ่ ้างองิ

๖. เครอ่ื งหมายท่ใี ช้ค่ันรายการเชงิ อรรถอ้างอิงระหว่างสี่ส่วนน้ี ใช้เครื่องหมาย

มหัพภาค ( . ) ส่วนท่ีเครอ่ื งหมายท่ีใชค้ ่นั ระหวา่ งภายในแต่ละส่วนเอง ใช้เครื่องหมาย จุลภาค ( , ) ยกเวน้ ระหว่างสถานทีพ่ ิมพ์ กบั สานกั พมิ พ์ ใหใ้ ช้เคร่ืองหมายทวิภาค ( : )

๗. การลงรายการในเชงิ อรรถอ้างอิง

หลักฐานของการอ้างอิงในเชิงอรรถมีหลายประเภท เช่น หนังสือ บทความใน หนังสอื บทความในวารสาร บทความในหนังสือพิมพ์ วิทยานิพนธ์หรือเอกสารวิจัย เอกสารราชการ เอกสารไมต่ ีพิมพ์และการสมั ภาษณ์ เป็นตน้ การลงรายการในเชงิ อรรถจะแตกตา่ งกนั ไปตามประเภท ของหลักฐาน ซึ่งจะแสดงตวั อยา่ งพอเปน็ สงั เขปดงั นี้

๗.๑ หนังสอื รปู แบบ

ผแู้ ต่ง.//ชื่อเรื่อง.//คร้งั ท่พี ิมพ,์ //(สถานท่พี ิมพ์ : สานักพิมพ,์ ปีทีพ่ ิมพ)์ .//หน้า.

๗.๑.๑ ผู้แต่ง ช่ือผู้แต่งให้ใช้ตามที่ปรากฎในหน้าปกในของหนังสือ อาจเป็น บคุ คล หรอื สถาบัน ก็ได้ ผู้แตง่ ทมี่ ีราชทินนาม ฐานนั ดรศกั ดิ์ สมณศักดแิ์ ละยศ ใหใ้ ส่ไวด้ ้วย

ผแู้ ต่งทม่ี ีฐานะเป็นผ้รู วบรวมหรอื บรรณาธิการ ให้กากับคาว่า ผู้รวบรวม หรือบรรณาธิการ ไว้ท้ายชอ่ื โดยใส่เคร่ืองหมายจุลภาคคน่ั ระหวา่ งชอื่ ผูแ้ ต่งและคาดงั กลา่ ว

สาหรบั ภาษาอังกฤษใช้คาว่า comp. (หรือ comps.) หรือ ed. (หรือ eds.) ผู้แต่งที่มี ๒ คน ให้ใช้คาว่า “และ” กรณีเป็นภาษาอังกฤษ ใช้คาว่า “and” ระหวา่ งผู้แตง่ คนแรก และคนที่ ๒ สาหรับผู้แต่งที่มี ๓ คน ให้ใส่เครื่องหมายจุลภาคคั่นระหว่างคนที่ ๑ และ ๒ และใช้คาว่า “และ” กรณีเปน็ ภาษาองั กฤษ ใช้คาว่า “and” เชื่อมระหวา่ งผ้แู ตง่ คนท่ี ๒ และ ๓ ผู้แต่งที่มากกว่า ๓ คนข้ึนไป ให้ใส่เฉพาะช่ือผู้แต่งคนแรก แล้วตาม ด้วยคาวา่ “และคณะ” กรณีเปน็ ภาษาอังกฤษ ใชค้ าวา่ “et al.” หรอื “and others.”

๕๗

หนังสือท่ีไม่ปรากฏนามผูแ้ ตง่ ให้ใชช้ ือ่ เร่ืองขน้ึ ต้นในรายการผู้แตง่ ๗.๑.๒ ช่ือเรื่อง ให้ใช้ตามที่ปรากฏในหน้าปกใน ชื่อเร่ืองภาษาต่างประเทศ จะใช้อักษรตัวใหญ่ขึ้นต้นทุกคา หรือจะใช้อักษรตัวใหญ่ขึ้นต้นเฉพาะคาแรกก็ได้ แต่เมื่อใช้แบบใด แบบหนึง่ แลว้ จะต้องเป็นแบบเดียวกันตลอด ช่ือเร่อื งให้ขดี เสน้ ใต้ หรอื ใช้อักษรตัวเข้ม หรือตัวเอน แบบใดแบบหนึ่งกไ็ ด้

การวางตาแหน่งเชิงอรรถ ตามแผนภาพที่ ๔ – ๓ แผนภาพท่ี ๔ – ๓ แบบการวางตาแหน่งเชงิ อรรถ

๑.๕ น้ิว หรือ ๓.๗๕ ซม. เน้อื หาบรรทัดแรกของหน้า........................................................................

เนอ้ื หาบรรทดั สุดท้ายของเนือ้ หาในหนา้ ก่อนพมิ พเ์ ชงิ อรรถ

เว้นระยะบรรทัด ๑.๕

ตเี ส้นทบึ ยาว ๒ นิว้

๒ ซม. เวน้ ระยะบรรทัด ๑

๑ วชิ าญ ศิริชัยเอกวฒั น.์ “ยทุ ธศาสตรก์ ารประมงทะเลไทย”.

(เอกสารวิจยั สว่ นบคุ คล, วิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร, ๒๕๓๙). หนา้ ๘๐. 000000 ๒อมร รักษาสตั ย์. “กระบวนการพฒั นา”, ในทฤษฎีและแนวคิด

ในการพฒั นาประเทศ. อมร รักษาสตั ย์ และ ขัตตยิ า กรรณสูต, บรรรณาธกิ าร.

(กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ ๒๕๐๘). หนา้ ๑๓๕ – ๑๓๙.

๑ น้ิว หรอื ๒.๕ ซม.

หมายเหตุ กรอบสเ่ี หลีย่ มแทนกระดาษขนาด เอ ๔

๗.๑.๓ ครั้งท่ีพิมพ์ หนังสือท่ีพิมพ์มากกว่าหนึ่งคร้ัง ให้ใส่คร้ังท่ีพิมพ์ของ หนงั สอื เล่มทอี่ า้ งถงึ ดว้ ย (พิมพ์ครงั้ ที่ ๑ ไมต่ ้องใส่)

๗.๑.๔ ช่ือเมืองท่ีพิมพ์ ให้ระบุช่ือเมืองที่สานักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์น้ันตั้งอยู่

โดยใช้ช่อื เมืองตามท่ปี รากฏในหนงั สือ ถา้ ไม่ปรากฏช่ือเมืองให้คาว่า ม.ป.ม. กรณีเป็นภาษาอังกฤษ ใช้คาวา่ N.P.

๕๘

๗.๑.๕ สถานท่ีพมิ พ์ ให้ใช้ตามที่ปรากฏในหน้าปกใน ในกรณีท่ีมีทั้งสานักพิมพ์ และโรงพิมพ์ ใหใ้ ช้ชอ่ื สานกั พิมพ์ คาท่ีเป็นส่วนหน่ึงของสานักพิมพ์ เช่น ห้างหุ้นส่วนจากัด Inc., Ltd. ให้ตัดออก ส่ิงพิมพ์อาจให้ใช้ชื่อหน่วยราชการ สถาบันฯ ท่ีจัดพิมพ์ไว้ในรายการสานักพิมพ์ได้ ในกรณที ี่ไมป่ รากฏสถานที่พมิ พ์ ใหใ้ ช้คาว่า ม.ป.ท. กรณีเปน็ ภาษาอังกฤษ ใช้คาว่า n.p.

๗.๑.๖ ปีพิมพ์ ใส่เฉพาะตวั เลข ไมต่ ้องระบคุ าวา่ พ.ศ. หรอื ค.ศ. ถ้าไม่ปรากฏ ปที ี่พมิ พ์ ใหใ้ ชค้ าวา่ ม.ป.ป. กรณีเป็นภาษาองั กฤษ ใช้คาว่า n.d.

๗.๑.๗ หน้า ใส่เลขหน้าที่ใช้อ้างอิง เชิงอรรถภาษาไทยให้ลงคาว่า “หน้า” เชงิ อรรถภาษาองั กฤษใหล้ งคาว่า “p.”

หมายเหตุ สามารถใส่ “ (ปีพิมพ์)” ไว้ต่อจาก “ผู้แต่ง” ตามสมัยนิยมได้ แตใ่ หเ้ ลือก แบบใด แบบหน่ึงเหมอื นกันทัง้ เชิงอรรถ และบรรณานกุ รม

ตวั อย่าง ๒ ซม. ๑ธงชัย สันติวงษ์ และ ชยั ยศ สนั ติวงษ์. พฤติกรรมบุคคลในองค์การ. พิมพ์คร้ังท่ี ๒,

(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพไ์ ทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๓๓). หน้า ๑๐. ๒พลตรี ศิริ ทิวะพันธ์ุ และ พันโท สมจริง สิงหเสนี. เสียงปืนดับที่เขาค้อ.

(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม, ๒๕๒๖). หน้า ๓๗. ๓มัณฑนา ศรีขจรวุฒิศักด์ิ, ศศิธร เล็กสุขศรี และ สมรัชนี อ่องเอิบ. ประเมินผล

แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๔) ระยะคร่ึงแผนระดับก่อนประถม ศึกษา. (กรุงเทพมหานคร : กองประเมินผลการศึกษา สานักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ, ๒๕๓๔). หนา้ ๙.

๔Office of the National Culture Commission. Essays on Cultural Thailand. (Bangkok : Office of the National Culture Commission, 1990). p.44.

๕สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธ์ุ, (บรรณาธิการ). ประเทศไทย : ประเด็นและการท้าทายทาง นโยบายการพฒั นาประเทศ. (กรุงเทพฯ : สมาคมนกั วิจัยมหาวทิ ยาลยั ไทย, ๒๕๔๐). หนา้ ๑๐๑.

๗.๒ หนังสอื แปล รูปแบบ

ผู้แต่ง.//ชอ่ื เรอื่ ง.//แปลโดย ผูแ้ ปล, /(สถานท่ีพิมพ์ : สานักพมิ พ,์ ปีที่พมิ พ)์ .//หนา้ .

ตวั อยา่ ง

๒ ซม. ๑วิลเลี่ยม สตีเวนสัน. นายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ. ทรงแปลโดยพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดชฯ. (กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อมั รินทร์พรนิ้ ตง้ิ แอนดพ์ บั ลิชชิ่ง, ๒๕๓๖). หน้า ๖๙.

๒Andre Beaufre. Strategy of Action. Translated by R.H.Barry. (New York : Frederick A. Praeger, 1967). p.33.

๕๙

๓จอร์ช แน้ช, แดน วอลดอร์ฟ และโรเบิร์ต อี ไพรซ์. มหาวิทยาลัยกับชุมชนเมือง. แปลโดยอปั สร ทรัยอัน และคนอืน่ ๆ. (กรุงเทพมหานคร : บริษัท อัมรินทร์พริ้นต้ิง แอนด์พับลิชชิ่ง, ๒๕๓๖). หนา้ ๖๙.

๗.๓ เอกสารท่มี ผี อู้ น่ื อา้ งไวแ้ ลว้ ในกรณีที่ผวู้ จิ ัยไม่สามารถหาต้นฉบับเอกสารเดมิ ได้ ซ่ึงอาจเป็นเพราะหนังสือ

เก่าหายาก ไม่มีจาหน่ายแล้ว ก็ให้ใช้เอกสารที่มีผู้อื่นอ้างไว้แล้วได้ โดยให้ใช้เอกสารผู้แต่งเดิมขึ้นต้น แล้วตามดว้ ยคาวา่ อ้างถงึ ใน (Quoted in) แลว้ ตามดว้ ยเอกสารท่ีผู้ทาการวจิ ัยนามาใช้

ตัวอยา่ ง ๒ ซม. ๑ สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ. ตานานหอพระสมุด หอพระมณเฑียรธรรม

หอวชิรธรรม หอพุทธศาสนสังคหะ และหอสมุดสาหรับพระนคร. (พระนคร : โรงพิมพ์โสภณ พิพรรฒธนากร, ๒๔๙๕). หน้า ๑๑๔. อา้ งถงึ ในแม้นมาส ชวลิต. ประวัติหอสมุดแห่งชาติ. (พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๐๙). หนา้ ๓๘.

๗.๔ บทความหรอื บทหน่งึ ในหนงั สอื รปู แบบ

ผูเ้ ขยี นบทความ.// “ช่อื บทความ”, /ใน/ช่ือหนังสือ.//ชอ่ื ผูร้ วบรวม หรอื ช่ือบรรณาธิการ.//(สถานที่พมิ พ์ : สานักพมิ พ,์ ปีที่พิมพ)์ .//หน้า.

ตัวอยา่ ง ๒ ซม. ๑อมร รักษาสัตย์. “กระบวนการพัฒนา”, ใน ทฤษฎีและแนวคิดในการพัฒนา

ประเทศ. อมร รักษาสัตย์ และ ขัตติยา กรรณสูต, บรรณาธิการ. (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๐๘). หนา้ ๑๓๕ - ๑๓๙.

๒โสภณ รัตนากร. “หมายเหตุคดีตามฎีกาท่ี ๒๔๐๕/๒๕๑๖”, ใน แนวฎีกาวิธี พจิ ารณาความแพง่ ๒๕๑๖-๒๕๒๗ พรอ้ มหมายเหตุท้ายฎีกา ขอ้ วินิจฉัยและข้อสังเกต. (กรุงเทพฯ : ฝา่ ยวิชาการกล่มุ เนติธรรม, ๒๕๒๗). หนา้ ๒๑ - ๒๒.

๓Carl Weinberg and Philip Reidford. “Humanistic Educational Psychology”, in Humanistic Foundations of Education. Carl Weinbergy,Ed. (Eaglewood Cliffs, NJ : Prentice-Hall, 1972). p.105.

๗.๕ วารสาร รูปแบบ

ผ้เู ขียนบทความ.// “ชอ่ื บทความ”, /ชอื่ วารสาร.//ปีที่ หรือเลม่ ท/่ี (ฉบบั ท)ี่ ,/วัน เดือน ปี. หน้า.

๖๐

อธบิ าย ๑. ชื่อวารสาร ให้ใช้ตามท่ีปรากฎในหน้าปกในของวารสาร ขีดเส้นใต้ชื่อ วารสาร หรอื ใชอ้ ักษรตัวหนา หรือตวั เอน แบบใดแบบหน่ึง ๒. ปที ่ี (Volume) ใหใ้ สเ่ ฉพาะตวั เลข โดยไมต่ ้องมีคาว่า ปีที่ ๓. เล่มที่ (Number) ให้ใส่เฉพาะตัวเลข ไม่ต้องมีคาว่าเล่มที่ ถ้าวารสารใด ไมม่ เี ล่มท่ี ให้ใส่ฤดู เช่น Fall, Summer ฯ ๔. ฉบบั ที่ ถ้าไม่มี ปที ี่หรอื เล่มทใ่ี ห้ลงเฉพาะฉบบั ที่ โดยไม่ต้องใชว้ งเล็บ ๕. วัน เดือน ปี ให้ใส่ วัน เดือน ปี ของฉบับท่ีวารสารออก อาจมีแต่ปี หรือเดือน ปี หรือ วัน เดือน ปี ก็ได้

ตวั อย่าง ๒ ซม. ๑วฒุ ิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์. “การบริหารกาลังคนภาครัฐ : แนวทางในอนาคต”,

พัฒนบริหารศาสตร์. ๑๐ (๔), เมษายน ๒๕๓๘. หนา้ ๒๑๕. ๒Christopher C Brown. “Creating Automated Bibliography Using Internet-

Accessible Online Library Catalog”, Database. 17 (1), 1994. p.67-71. ๗.๖ หนังสือพิมพ์ รูปแบบ ผูเ้ ขยี นบทความ.// “ชื่อบทความ”, /ชอื่ หนังสือพมิ พ.์ //วัน เดอื น ปี.//หนา้ .

ตัวอยา่ ง ๒ ซม. ๑ประสงค์ วิสุทธิ์. “สิทธขิ องเดก็ ”, มติชน. ๑๙ มนี าคม ๒๕๓๗. หน้า ๑๘. ๒“Naval Warfare with Fleet Command”, Bangkok Post. 15 September

1999. p.6.

๗.๗ วทิ ยานพิ นธ์ รายงานการวิจัย เอกสารวิจยั รูปแบบ

ผู้เขียน.// “ชือ่ เร่ือง”. // (ระดบั วทิ ยานพิ นธ์, สาขา, มหาวทิ ยาลัย หรือสถาบัน, ป)ี .// หน้า.

ตวั อยา่ ง ๒ ซม. ๑วิชชุกร นาคชน. “การปรับบทบาทของทหารไทยหลัง พ.ศ.๒๕๑๖-ปัจจุบัน”. (วิทยานพิ นธ์ รฐั ศาสตรมหาบณั ฑติ , สาขาวิชาการปกครอง, มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๓๐). หนา้ ๑๑๔.

๒วิชาญ ศิริชัยเอกวัฒน์. “ยุทธศาสตร์การประมงทะเลของไทย”. (เอกสารวิจัย ส่วนบุคคล, วทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร, ๒๕๓๙). หน้า ๘๐.

๖๑

๓Napaporn Kaewnimitchai. “An Analysis of College Student Culture in Thai Higher Education Institutions”. (Doctoral Dissertation, Graduate School, Chulalongkorn University, 1996). p.209.

๗.๘ เอกสารไม่ตพี ิมพ์ เอกสารอัดสาเนา หนงั สอื ราชการ และเอกสารอื่น ๆ เช่น รายงานการประชมุ สมั มนา สนธิสัญญา ระเบยี บ คาส่ัง ฯลฯ

รปู แบบ

ชอื่ ผู้แตง่ หรือชอื่ หน่วยงาน.// “ชื่อเร่ือง”.(ถ้ามี)//(ประเภทของเอกสาร./ป)ี .//หน้า.

ตัวอยา่ ง ๒ ซม. ๑อาทร จันทวิมล. “วัฒนธรรมกับความมั่นคงแห่งชาติ”. (เอกสารประกอบการ บรรยาย หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจกั ร รนุ่ ที่ ๔๐. ๑๕ มถิ ุนายน ๒๕๔๑). หน้า ๗.

๒วทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร. “รายงานการศกึ ษากิจการภาคเหนือ ของนักศึกษา วทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร รุน่ ท่ี ๔๐”. ๒๕๔๐. หนา้ ๒๐.

๓กระทรวงมหาดไทย. “หนงั สอื ด่วนมาก ท่ี มท.๐๓๐๓/ว.๒๑๗ เรือ่ งการจดั ตงั้ กรอ. จังหวัด”. ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๓๐.

๔Suthilak Ambhanwong. “Present Scene in Library Education in Universities, Thailand”. (Paper Presented at the 1st Conference on Asian Cooperation. Taipei : Taiwan, 19-22 August 1974).

๕Vaikiotis, Michael R.J.. “Shades of Suvanaphum : Thailand in the New Regional Order 1988-1996”. (Proceeding of the 6th International Conference on Thai Studies Themes I Globalization: impact on and coping strategies in Thai society. Chiangmai : Thailand, 14-17 October 1996).

๖The European Communities. “Treaty on European Union”. (Luxembourg : Office for Official Publications of the European Communities. 1992).

๗.๙ สมั ภาษณ์ รูปแบบ

ผใู้ หส้ มั ภาษณ์,/ตาแหนง่ (ถา้ มี).//สมั ภาษณ.์ //วนั เดือน ปี. ตัวอย่าง ๒ ซม. ๑ พลเอก ชวลิต ยงใจยทุ ธ, รกั ษาการผบู้ ัญชาการทหารสงู สุด. สมั ภาษณ์. ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๓๒.

๒Vishidh Prachuabmon, Director, Institute of Population Studies, Chulalongkorn University. Interview. 25 February 1996.

๖๒

๗.๑๐ บรรยายปาฐกถา รปู แบบ

ผบู้ รรยายหรอื ปาฐกถา, ตาแหนง่ (ถา้ มี).//บรรยายเรอ่ื ง “…………….”.// ณ…………………………..….,/วัน เดอื น ปี.

ตวั อย่าง ๒ ซม. ๑วนั มหู ะหมัด นอมะทา, รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงคมนาคม. บรรยายเร่ือง “กระทรวง

คมนาคมกับความมนั่ คงแห่งชาติ”. ณ วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร, ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๔๔. ๗.๑๑ กฎหมาย รูปแบบ “ชอ่ื กฎหมาย”, ราชกจิ จานุเบกษา.//ปีท่ี หรอื เลม่ ท/่ี (ฉบบั ท)่ี ,/วนั /เดอื น/ปี,/หน้า.

ตวั อย่าง ๒ ซม. ๑”รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๔๐”, ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ที่ ๔๑,

๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๐, หน้า ๔๐ – ๙๐. ๗.๑๒ ฐานขอ้ มูลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รปู แบบ

ผูแ้ ต่ง.//“ชือ่ เรื่อง”.//(ประเภทของสอื่ ท่เี ขา้ ถงึ ).//เข้าถงึ ได้จาก : แหล่งข้อมลู /สารนเิ ทศ,/ป.ี

ตัวอย่าง ๒ ซม. ๑“ยาม้า ยาบา้ ”. (ออนไลน์). เขา้ ถึงได้จาก : http : // www.au.ac.th/newabac/

special/e/index. Html, 2540. ๒Shah Sandeep. “Medical Manual by Ferri from K2 now Available”.

(Online). Available : http : //www.altavista. digital. com / cgi-bin / news? msg @ comp% 2 csy% 2 cpogrammer% 26 medical, 1997.

๓H Danials and J. Anghileri. “Secondary Mathematics and Special Education Needs”. (CD-Rom). Available : ERIC (1992-March 1996), 1995.

หมายเหตุ ชื่อเว็บไซต์ สามารถขีดเส้นใต้หรือไม่ก็ได้ แต่ให้เลือกแบบใดแบบหนึ่ง เหมือนกัน ท้งั เชิงอรรถและบรรณานุกรม

๖๓

๘. การลงรายการเชงิ อรรถอ้างอิงซ้า

เม่ือต้องการอ้างซ้าเอกสารหรือส่ิงพิมพ์ที่เคยอ้างมาแล้ว หรือท่ีเคยทาเชิงอรรถ ไวแ้ ล้วในบทเดยี วกัน การทาเชงิ อรรถในกรณนี ี้จะทาเพยี งย่อ ๆ เทา่ น้นั ซงึ่ เรยี กวา่ เชงิ อรรถแบบยอ่ การลงรายกายเชงิ อรรถซ้าหรอื เชิงอรรถแบบย่อน้ี มรี ูปแบบการเขียนแตกตา่ งกัน ๓ กรณี ดงั น้ี

๘.๑ กรณซี ้าโดยไมม่ ีเชิงอรรถอ่ืนมาคั่น การทาเชิงอรรถกรณีนี้จะใช้คาว่า “Ibid.” ซึ่งแปลว่า “ในเรื่องเดียวกัน” (in the same place) มาจากภาษาลาตินว่า Ibidem. ภาษาไทยใช้ “เร่อื งเดยี วกัน” โดยมีหลักการใช้คานี้คือ ภายในบทหนึ่งถ้ากล่าวถึง หนังสือ หรือข้อความท่ีอ้างอิง มากกว่าคร้งั หนงึ่ ก็ไม่จาเป็นต้องอา้ งข้อความในเชงิ อรรถซา้ ทง้ั หมด แต่ใชค้ าว่า เร่ืองเดยี วกัน หรือ Ibid. (เม่ือเป็นเอกสารภาษาตา่ งประเทศ) แทนพึงระวังว่า เร่ืองเดียวกัน หรือ Ibid. ใช้ในกรณีท่ีอ้างซ้าถึง งานช้ินเดียวกันกับท่ีเคยอ้างมาก่อนหน้าโดยต่อเนื่องกันมา ไม่มีการอ้างข้อความรายอื่น ๆ ค่ันอยู่ ถา้ เปน็ การอ้างต่างหนา้ กนั ก็ระบเุ พยี งเลขหน้า หรือถา้ ต่างเล่มกันกร็ ะบเุ ลม่ ทีด่ ว้ ย

ตวั อยา่ ง

๒ ซม. ๑Fred U.Carver. The New School Excertive : a Theory of Administration. 2nd ed. (New York : Harper & Row, 1984). p.10

๒Ibid. ๓Ibid., p.63 -65. ๔ขจร สุขพานิช. ฐานันดรไพร่. (กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ, ๒๕๑๙). หน้า ๒ ๕เรอ่ื งเดยี วกัน. หน้า ๔.

๘.๒ กรณอี ้างซ้าโดยมีเชิงอรรถอื่นมาคั่น ใช้คาว่า “op.cit.” มาจากภาษาลาติน ว่า opere citato แปลว่า ในสิ่งที่ได้อ้างอิงมาแล้ว (in the work cited) ภาษาไทยใช้ว่า “เรื่องเดิม” มีหลักการใชด้ งั น้ี คือ เมอ่ื อ้างซ้าถึงสง่ิ ที่ไดอ้ า้ งองิ มาแลว้ แต่ตา่ งหนา้ กันและมกี ารอ้างรายอื่นคั่นอยแู่ ล้ว

๘บุญช่วย ศรีสวัสด์ิ. ชาวเขาในประเทศไทย. (ธนบุรี : อมรการพิมพ์, ๒๕๐๐). หน้า ๓๘๒.

๙คณะสารวจสหประชาชาติ. รายงานการสารวจความต้องการทางเศรษฐกิจและสงั คม ในอาณาบริเวณท่ีปลูกฝ่ินของประเทศไทย (พระนคร : โรงพิมพ์สานักทาเนียบนายกรัฐมนตรี, ๒๕๑๑). หน้า ๕.

๑๐บญุ ชว่ ย ศรสี วัสด์ิ. เรือ่ งเดิม. หน้า ๓๗๙ - ๓๘๐.

๘.๓ กรณีอ้างซ้าในเล่มเดียวกันหน้าเดียวกัน แต่มีการอ้างรายการอ่ืนคั่นอยู่ ใช้คาวา่ “loc.cit.” มาจากภาษาลาติน Loco citato ซ่ึงแปลว่า “ในที่เดียวกันกับท่ีเคยยกมากล่าว อ้างแล้วนั้น” (in the place cited) ภาษาไทยใช้ว่า “เรื่องเดียวกัน หน้าเดียวกัน” สาหรับหนังสือ ต่างประเทศให้ใช้นามสกุลของผแู้ ตง่ อยู่หน้าคาวา่ loc.cit. เช่น

๖๔

๑๑Amitai Etzioni. Modern Organization. (New Jersey : Prentice-Hall, 1956).

  1. 4 -13.

๑๒Brain Chapman. The Professional of Government.. (London : Ruskin House, George Allen & Unwin, 1959). p.49.

๑๓Etzioni. loc.cit.

สาหรับหนังสือภาษาไทยให้ใช้ชื่อและนามสกุลนาหน้า “เร่ืองเดียวกัน, หนา้ เดียวกนั .” เช่น

๑๘สมพงษ์ เกษมสิน. การบริหาร. (พระนคร : โรงพิมพส์ ว่ นทอ้ งถ่นิ , ๒๕๑๑). หนา้ ๕๑. ๑๙อุทัย หิรญั โต. ทฤษฎีและแนวทางปฏิบัติทางรัฐประศาสนศาสตร์. (พระนคร : มงคล การพมิ พ์, ๒๕๑๗). หนา้ ๕. ๒๐สมพงษ์ เกษมสนิ . เรือ่ งเดยี วกนั , หนา้ เดียวกนั .

สรปุ Ibid. ภาษาไทยใชค้ าว่า เร่อื งเดยี วกนั .

op.cit. ภาษาไทยใชค้ าว่า เร่อื งเดิม. loc.cit. ภาษาไทยใช้คาวา่ เร่อื งเดยี วกัน, หน้าเดียวกัน.

บทท่ี ๕ การเขยี นบรรณานกุ รม

คาวํา “บรรณานุกรม” ตรงกับภาษาอังกฤษวํา Bibliography ในภาษาไทยใช๎หลาย อยาํ งตํางกัน เชํน เอกสารอ๎างองิ เอกสารและตาราประกอบการเขียนหรือหนังสืออุเทศ อยํางไรก็ดี บรรณานกุ รม คือ รายชอื่ หนงั สือ สิ่งพมิ พ์หรือเอกสารอ๎างอิงท่ีนามาใช๎ในการวิจัย ดังน้ัน บรรณานุกรม จงึ เปน็ ทร่ี วบรวมหลักฐานของเอกสารทั้งท่ีได๎รับการอ๎างอิง และที่ผู๎เขียนได๎ศึกษาค๎นคว๎าในการวิจัยน้ัน ๆ บรรณานกุ รมเป็นประโยชน์คือเป็นการยนื ยนั วาํ ขอ๎ มลู ทผ่ี วู๎ จิ ยั กลาํ วถงึ ได๎มาจากการค๎นควา๎ อยาํ งจรงิ จงั จากแหลงํ ขอ๎ มูลตาํ ง ๆ และเป็นประโยชน์ตอํ ผูอ๎ ํานในกรณที ี่สนใจจะค๎นคว๎าเรือ่ งน้นั ๆ เพมิ่ เติม

หลกั เกณฑก์ ารจัดทาบรรณานุกรม

๑. การพิมพ์รายการบรรณานุกรม บรรทัดแรกของรายการให๎พิมพ์ชิดขอบซ๎ายของ กรอบพิมพ์ หากรายการใดมีความยาวเกิน ๑ บรรทัด บรรทัดตํอไปให๎เว๎นระยะยํอหน๎า ๒ ซม. แล๎วจงึ เร่มิ พมิ พ์ขอ๎ ความตํอไป

การพิมพ์ช่ือเรื่องให๎ใช๎ตามที่ปรากฎในหน๎าปกใน ช่ือเร่ืองภาษาตํางประเทศจะใช๎ อักษรตวั ใหญํขนึ้ ตน๎ ทกุ คา หรือจะใชอ๎ ักษรตวั ใหญํขน้ึ ต๎นเฉพาะคาแรกก็ได๎ แตเํ มอ่ื ใชแ๎ บบใดแบบหนงึ่ แล๎ว จะต๎องเป็นแบบเดียวกันตลอด ช่ือเรื่องให้ขีดเส้นใต้ หรือใช้อักษรตัวเข้ม หรือตัวเอน แบบใด แบบหนึง่ ก็ได้

จรนิ ทร์ เทศวานิช. “ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาเทคโนโลกี ารเกษตรเพ่อื เพม่ิ ศักยภาพการแขํงขัน ๒ ซม. ระหวาํ งประเทศ”. เอกสารวิจัยสํวนบคุ คล, วิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร, ๒๕๔๓.

๒. การเขยี นบรรณานุกรมคล๎ายคลึงกบั การเขียนเชิงอรรถ จะแตกตาํ งกันเฉพาะการลง รายการชื่อผ๎ูแตํงสาหรับภาษาตํางประเทศ กลําวคือในการเขียนบรรณานุกรม หนังสือผู๎แตํงเป็น ชาวตํางประเทศให๎ใช๎นามสกุลข้ึนกํอน แล๎วตามด๎วยชื่อตัว ยกเว๎นช่ือภาษาจีน ซ่ึงชื่อตัวนาหน๎า ชอื่ สกลุ แบบคนไทย จะเขยี นแบบชอ่ื ไทย เชํน Chin Kin Wah สํวนผ๎ูแตํงท่ีเป็นคนไทยใช๎เหมือนกับ เชงิ อรรถ

๓. คานาหน๎าท่ีเป็นฐานันดรศักด์ิ บรรดาศักดิ์ สมณศักด์ิ และยศ ให๎ใสํไว๎ตํอจาก ช่ือผ๎แู ตํง เชํน

ฐานันดรศักดิ์ นราธปิ พงศ์ประพันธ์, กรมหม่ืน, จุลจักรพงษ์, พระองคเ์ จ๎า. บรรดาศกั ดิ์ อนุมานราชธน, พระยา. สมณศกั ด์ิ พระพุทธโฆษาจารย์ (วาสน)์ , สมเด็จ.

๖๖

ยศ เนตร เขมะโยธนิ , พลเอก. (หรือ พล.อ.) เชิดชาย เหลาํ หลา๎ , พลตรี. (หรอื พล.ต.) ฯลฯ

๔. คานาหน๎านามนอกจากที่กลําวไว๎ในข๎อ ๓ เชํน นาย นางสาว นาง ดร. อาจารย์ นายแพทย์ ให้ตัดออกทั้งหมด เวน้ นามแฝง

๕. หนังสอื ของหนวํ ยราชการ องค์การ สมาคม มลู นิธิ ฯลฯ ให๎เขียนนามหนํวยกํอน แล๎วตามด๎วยประเภทและชนดิ ของหนํวย เชํน กรม, กระทรวง, สานัก, สานักงาน, มหาวิทยาลัย, สถาบนั , ศูนย์วิจัย

ตัวอย่าง หนวํ ยราชการ มหาดไทย, กระทรวง. สมาคม ภาษา และหนังสอื , สมาคม. ๖. การเรยี งลาดบั บรรณานุกรม ๖.๑ แยกภาษาไทยกับภาษาตํางประเทศ โดยภาษาไทยมากํอน ในแตํละภาษา เรียงลาดับตามพยญั ชนะกอํ น หลัง ๖.๒ ถ๎าเอกสารอ๎างอิงมีช้ันความลับ ให๎แยกเป็น ๒ ตอน ตอนหน่ึงสาหรับ เอกสารอา๎ งองิ ที่มีชน้ั ความลบั และอกี ตอนหน่ึงสาหรับเอกสารอ๎างองิ ท่ีไมํมีชน้ั ความลับ ๖.๓ ในบรรณานุกรมแตํละภาษา หากมีเอกสารอ๎างอิงเป็นจานวนมากและ ตาํ งประเภทกัน อาจจะจัดกลํุมหรือแยกประเภทเอกสารน้ันให๎ชัดเจน โดยเรียงลาดับประเภทของ เอกสารดังนี้

๖.๓.๑ หนงั สือ (Books) ๖.๓.๒ วารสาร หนงั สอื พมิ พ์ (Journals, Newspapers) ๖.๓.๓ เอกสารวิจัย วิทยานิพนธ์ หรือรายงานวิจัย (Thesis, Dissertation, Research Report) ๖.๓.๔ สมั ภาษณ์ (Interview) ๖.๓.๕ บรรยาย หรอื ปาฐกถา (Lecture, Speech) ๖.๓.๖ กฎหมาย (Regulations) ๖.๓.๗ เอกสารทไี่ มตํ ีพิมพ์ (Non-Published Document) ๖.๓.๘ ฐานข๎อมลู อิเล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Data Base) ๖.๔ บรรณานกุ รมแตลํ ะประเภทตามข๎อ ๖.๓ ใหจ๎ ัดเรียงตามลาดับพยัญชนะ (ตาม หลักการเรียงตามพจนานกุ รม) ได๎แกํ จดั เรยี น ก – ฮ หรือ A - Z

๖๗

รปู แบบการจดั ทาบรรณานกุ รม

ภาษาไทย (๒๐)

หนังสอื (๑๘)

รูปแบบ ชอ่ื ผ๎แู ตํง.//ชื่อหนงั สอื .//สถานทพี่ มิ พ/์ :/สานกั พมิ พ,์ /ปที ีพ่ มิ พ์.

ตวั อย่าง จุฬา๒ลงกซรมณ. ม์ หา๒ว๕ทิ ๒ยา๐ล.ัย,คณะรัฐศาสตร์. การเมืองและสังคม. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ฉตั รทิพย์ นาถสภุ า. เศรษฐกิจหมูํบ๎านในอดีต. กรงุ เทพฯ : เจริญวทิ ย์การพิมพ์, ๒๕๒๘. ชยั เรอื งศิลป์. ประวัติสังคมไทยโบราณกํอนศตวรรษ ๒๕. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์, ๒๕๒๓. พชิ ญ์ สมพอง. สังคมชาวบ๎านนา. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์มหาวิทยาลยั รามคาแหง, ๒๕๒๑. รชั นีกร เศรษฐโฐ. สังคมวิทยาชนบท. กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๘. สัญญา สญั ญาวิวฒั น์. ทฤษฎสี งั คมวทิ ยา : เนือ้ หาและแนวการใชเ๎ บื้องตน๎ . พิมพ์ครัง้ ท่ี ๒,

๒ ซม. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , ๒๕๒๙.

วารสารและหนังสอื พมิ พ์ (๑๘)

รูปแบบ ชอ่ื ผ๎แู ตงํ .// “ช่อื บทความ”,/ชอื่ วารสาร.//ปีที่ หรือเลํมท/ี่ (ฉบบั ท)่ี ,/วัน/เดอื น/ปี./หนา๎ .

ตวั อย่าง วุฒิพงษ์ เพียบจริยาวัฒน์. “การบรหิ ารกาลงั คนภาครัฐ : แนวทางในอนาคต”, พฒั นบริหาร ศาสตร.์

๒ ซม. (๒๘), เมษายน ๒๕๓๑. หน๎า ๑๙๘ - ๒๓๐. ศกั ด์ชิ ยั บารุงพงศ์. “ฐานทพั กับจติ ใตส๎ านกึ ”, มตชิ น. ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๓๒. หน๎า ๘.

๖๘

วิทยานพิ นธ์ รายงานการวจิ ัย เอกสารวิจยั (๑๘)

รูปแบบ ผเ๎ู ขยี น.// “ช่อื เรอ่ื ง”. //ระดับวิทยานพิ นธ,์ /สาขา/, มหาวทิ ยาลัยหรอื สถาบัน,/ ป.ี

ตัวอย่าง

ประชา คุณะเกษม. “บทบาทของอาเซียนในการแก๎ไขปัญหากัมพูชา”. เอกสารวิจัยสํวนบุคคล, ๒ ซม. วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร, ๒๕๒๗.

วิชชุกร นาคธน. “การปรับบทบาทของทหารไทยหลงั พ.ศ.๒๕๑๖ - ปจั จุบนั ศกึ ษากรณีมติ ขิ อง การพฒั นาเพ่อื ความมน่ั คง”. วทิ ยานพิ นธ์รฐั ศาสตรมหาบณั ฑติ , สาขาวิชาการ ปกครอง, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๐.

สัมภาษณ์ (๑๘)

รปู แบบ ผ๎ูใหส๎ ัมภาษณ์,/ตาแหนํง.//สัมภาษณ์.//วัน เดือน ปี.

ตวั อยา่ ง ชวลิต ยงใจยุทธ, พลเอก, รฐั มนตรวี าํ การกระทรวงกลาโหม. สมั ภาษณ์. ๑๑ กนั ยายน ๒๕๔๔.

บรรยาย ปาฐกถา (๑๘)

รปู แบบ ผบ๎ู รรยาย,/ตาแหนงํ .//บรรยายเร่ือง “……….”.//ณ ………., /วัน เดือน ป.ี ตวั อยา่ ง วนั มูหะหมัด นอมะทา, รัฐมนตรวี าํ การกระทรวงคมนาคม. บรรยายเรอื่ ง “กระทรวงคมนาคมกับ

๒ ซม. ความม่นั คงแหงํ ชาติ”. ณ วิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร, ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๔๔.

กฎหมาย (๑๘)

รูปแบบ “ช่อื กฎหมาย”, ราชกิจจานเุ บกษา.//ปีที่ หรอื เลํมท/่ี (ฉบับท่ี),/วนั / เดอื น/ปี,/หนา๎ .

ตัวอย่าง “รฐั ธรรมนญู แหํงราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.๒๕๔๐”, ราชกิจจานุเบกษา. เลมํ ที่ ๔๑, ๑๕ พฤศจกิ ายน

๒ ซม. ๒๕๔๐, หน๎า ๔๐–๙๐.

๖๙

เอกสารไมต่ ีพิมพ์ (๑๘)

(รวมถงึ หนงั สอื ราชการ และเอกสารอนื่ ๆ เชน่ รายงานการประชมุ สมั มนา สนธสิ ัญญา ระเบยี บ คาสงั่ ฯลฯ)

รปู แบบ ชอ่ื ผแ๎ู ตงํ หรอื ชอ่ื หนํวยงาน.// “ชื่อเรื่อง”.(ถ๎ามี)//ประเภทของเอกสาร./ป.ี

ตัวอยา่ ง

นายกรัฐมนตรี, สานัก. “คาส่ังที่ ๖๖/๒๕๒๓ เร่ือง นโยบายการตํอสู๎เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์”. ๒ ซม. ลงวันท่ี ๒๓ เมษายน ๒๕๒๓.

ประวทิ ย์ สขุ วิบูลย์. “สานกั ขาํ วกรองแหํงชาตกิ ับการพัฒนานโยบายความม่ันคงแหงํ ชาติ”. เอกสารประกอบการบรรยาย ณ วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร. ๑๖ มิถุนายน ๒๕๓๕.

ป้องกนั ราชอาณาจกั ร, วทิ ยาลยั . “รายงานการประชมุ วิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร คร้งั ที่ ๑ ๒๕๓๕”. ๑๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๕.

ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร, วทิ ยาลัย. “รายงานการศึกษากจิ การภาคเหนือของนักศึกษาวิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจกั ร รํุนที่ ๓๔”. ๒๕๓๕.

มหาดไทย, กระทรวง. “หนงั สือดํวนมาก ที่ มท ๐๓๐๓/ว.๒๑๗ เรื่อง การจดั ตง้ั คณะกรรมการรวํ ม ภาครัฐบาลและเอกชนเพือ่ แกไ๎ ขปัญหาทางเศรษฐกจิ (กรอ.)”. ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๐.

สมภพ อมาตยกุล. “จรรยาบรรณทางการประกอบธุรกจิ ” .คาบรรยาย ณ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร. ๑๘ มิถุนายน ๒๕๓๕.

หอการค๎าไทย, สภา. “หอการค๎ากบั การพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมในภูมภิ าค”. เอกสารประกอบการ สัมมนาหอการค๎าท่ัวประเทศ ครั้งที่ ๖ ณ โรงแรม เจ บี อาเภอหาดใหญํ จังหวัด สงขลา ๑๗ - ๑๘ กันยายน ๒๕๓๑.

ฐานข้อมลู อิเลก็ ทรอนิกส์ (๑๘)

รูปแบบ ผูแ๎ ตํง.//”ชือ่ เรือ่ ง”.//(ประเภทของสอ่ื ทเ่ี ข๎าถึง).//เข๎าถงึ ไดจ๎ าก : แหลํงขอ๎ มลู /สารนเิ ทศ, ป.ี

ตวั อยา่ ง ข้อมูลท่มี ีเนือ้ หาเต็มบนอินเตอรเ์ นต็

“ยาม๎า ยาบา๎ ”. (ออนไลน)์ . เขา๎ ถงึ ไดจ๎ าก : http : //www.au.ac.th/newabac/ special/ index.html, ๒ ซม. ซม. 2540.

๗๐

ข้อมลู /สารนิเทศอ่นื ๆ บนอินเตอรเ์ นต็ “New Standards for TVs that World be Compatible for PCs”. (Online). Available :

๒ ซม. http : // www.cnn.com / TECH / 9704 / 07 / tv.standards. reut / index. Html, 1997.

Shah, Sandeep. “Medical Manual by Ferri from K2 now Available”. (Online). Available : http : //www. altavista. digital. com / cgi-bin / news? Msg @ comp% 2 csy%2 enewton% 2 cpogrammer% 26 medical, 1997.

หมายเหตุ ช่อื เวบ็ ไซต์ สามารถขดี เสน้ ใต้หรอื ไมก่ ็ได้ แตใ่ ห้เลือกแบบใดแบบหน่ึง เหมือนกันทงั้ เชิงอรรถและบรรณานกุ รม

ภาษาตา่ งประเทศ (๒๐)

Books (๑๘)

Bundy, William P. Ed. The World Economic Crisis. New York : W.W.Norton, 1975. Chin Kin Wah. Ed. Defence Spending in Southeast Asia. Singapore : Institute of

Southeast Asian Studies. 1987. Defence of New Zealand : Review of Defence Policy 1987. Wellington : V.R.Ward,

  1. Leifer, Michel. Ed. The Balance of Power in East Asia. Hong Kong : Macmillan, 1986. Seferovic, Mensur. Ed. Tito - Supreme Commander. Belgrade : Narodna Armija,
  1. Thailand, Ministry of Foreign Affairs. Documents of the Kampuchean Problem 1979 –

1985. Bangkok : Thai Watana Panich, 1985.

Journals and Newspapers (๑๘)

Bonavia, David. “In Economy, Learn From Sichuan”, Far Eastern Economic Review. November 1980. p.30-31.

Staar, Richard F. “Checklist of Communist Parties in 1988”, Problems of Communism. January - February 1989. p.33 - 56.

Supree, Louis. “What Future for Afghanistan”, The Nation. February 15, 1989. p.9. Sukphisit, Suthon. “Symbol of Strength”, Bangkok Post. September 15, 1999. p.6.

๗๑

Research, Report and Thesis (๑๘)

Buppha Devahuti. “Use of Computer in Serials Control in Thai Libraries”. Master’s Thesis, Department of Library Science, Graduate School, Chulalongkorn University, 1975.

Non-Published Document (๑๘)

Suthilak Ambhanwong. “Present Scene in Library Education in Universities, Thailand”. Paper presented at the 1st Conference on Asian Cooperation, Taipei : Taiwan, 19-22 August 1974.

Electronic Data Base (๑๘)

Cowhey, Peter F. and Mckcown, M Margaret. “The Promise of a New World Information Order”. (Online). Available : gopher ://11 198.80.3… lobal/promise. Txt, 1996.

Noam, Eli M. “Telecommunication Policy ISSUES for the Next Century”. (Online). Available : gopher:// 198.80.36… / global / telcom. Txt, 1994.

๗๒

การเรียงลาดบั บรรณานุกรม

การเรยี งลาดับคาในบรรณานุกรมน้ัน ให๎เรียงตามพจนานุกรมโดยเรียงลาดับรูปอักษร ทง้ั สระและพยัญชนะ ไมํได๎เรียงตามเสยี งอักษร

๑. เรียงตามรูปพยญั ชนะ

ก ข ฃ* ค ฅ* ฆ* ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏฐฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ปผฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ * หมายถงึ พยญั ชนะทีไ่ มนํ ามาใชใ๎ นการจัดลาดบั หน๎า

๒. เรียงตามรูปสระ

อะ อั อั/อะ อา อา อิ อี อึ อื อุ อู เอ เอะ เอา เอาะ เอิ เอีย เอยี ะ เออื เออื ะ แอ แอะ

โอ โอะ ใอ ไอ

๓. การเรยี งคาตามรูปวรรณยุกต์

คาท่ีไมมํ ีรูปวรรณยุกตจ์ ะมากํอนคาท่มี รี ูปวรรณยุกต์ เชนํ เสอื มากอํ น เสือ้ และ ป้า

มากอํ น ปา๋ คอื เรยี งตามลาดับ เอก โท ตรี จัตวา

การเรียงลาดบั คาทม่ี ีรูปวรรณยุกต์

ลาง ลาํ ง ลา๎ ง เสือ เสอ่ื เสื้อ วาย วาํ ย วา๎ ย

ราย ราํ ย รา๎ ย นา นํา น๎า ทอง ทอํ ง ทอ๎ ง

๔. พยญั ชนะภาษาองั กฤษ

AB CD E F GH I J K L MN O P Q R S T U V W X YZ

๗๓

ตวั อยา่ งการจดั เรียงบรรณานุกรม

ตัวอย่างที่ ๑ กรณเี อกสารไมม่ ชี ั้นความลับ จัดเรียงดังนี้

บรรณานุกรม

ภาษาไทย (๒๐)

หนังสือ (๑๘) เว้น ๑.๕ บรรทดั / ๑๒ pts.

เวน้ ๑.๕ บรรทดั / ๑๒ pts.

............................................................................................................................. ................................ ๒ ซม. .....................................................................................................................................

............................................................................................................................. ................................

.....................................................................................................................................

วารสาร หนังสอื พมิ พ์ (๑๘) เวน้ ๑.๕ บรรทดั / ๑๒ pts.

..........................................................เ.ว..น้ ...๑.....๕...บ...ร.ร..ท...ัด.../...๑..๒....p..t..s.............................................................. ๒ ซม. ....................................................................................................................................

............................................................................................................................. ................................ ๒ ซม. ....................................................................................................................................

เอกสารวิจยั (๑๘) เว้น ๑.๕ บรรทดั / ๑๒ pts.

เว้น ๑.๕ บรรทัด / ๑๒ pts.

............................................................................................................................. ................................ ๒ ซม. ......................................................................................................................................

ฐานขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนิกส์ (๑๘) เว้น ๑.๕ บรรทัด / ๑๒ pts.

..................................................................เ.ว..น้ ...๑.....๕...บ...ร..ร.ท...ดั .../...๑..๒....p..t..s..................................................... ๒ ซม. ...................................................................................................................................

ภาษาตา่ งประเทศ (๒๐) เว้น ๑.๕ บรรทัด / ๑๒ pts. เว้น ๑.๕ บรรทดั / ๑๒ pts. Books (๑๘) เว้น ๑.๕ บรรทัด / ๑๒ pts.

............................................................................................................................. ............................... ๒ ซม. .....................................................................................................................................

............................................................................................................................. ............................... ๒ ซม. .....................................................................................................................................

๗๔

Journals (๑๘)

เวน้ ๑.๕ บรรทดั / ๑๒ pts.

............................................................................................................................. ............................... ๒ ซม. .....................................................................................................................................

Research Report (๑๘) เว้น ๑.๕ บรรทดั / ๑๒ pts.

เว้น ๑.๕ บรรทดั / ๑๒ pts.

............................................................................................................................. ............................... ๒ ซม. ..................................................................................................................................

Electronic Data Base (๑๘) เวน้ ๑.๕ บรรทัด / ๑๒ pts.

..................................................................เ..ว..้น...๑.....๕...บ...ร.ร..ท..ดั..../...๑..๒....p..t..s..................... ............................... ๒ ซม. .....................................................................................................................................

หมายเหตุ ๑. ถ้าเอกสารมจี านวนน้อยใหแ้ ยกเฉพาะภาษาไทยกบั ภาษาตา่ งประเทศไม่จาเปน็ ต้อง แยกประเภท ๒. ถา้ มีภาษาเดียวไมต่ ้องระบหุ ัวข้อภาษา ๓. ตัวเลขในวงเล็บ คอื ขนาดตัวพิมพ์หัวข้อ

๗๕

ตวั อย่างที่ ๒ กรณเี อกสารทมี่ ีช้นั ความลับอยใู่ นรายการบรรณานกุ รม

ให๎จัดเรียงบรรณานุกรมที่มีชั้นความลับมากํอน แล๎วตามด๎วยบรรณานุกรมท่ีไมํมีช้ัน ความลับ โดยแยกตามประเภทของบรรณานุกรม (หนังสือ วารสารและหนังสือพิมพ์ เอกสารวิจัย ฐานขอ๎ มลู อิเลก็ ทรอนิกส์ ฯลฯ)

เอกสารทีม่ ชี ้นั ความลบั (๑๘)

............................................................................................................................. ............................... ๒ ซม. ....................................................................................................................................

............................................................................................................................. ................................ ๒ ซม. ....................................................................................................................................

เอกสารทไ่ี ม่มีชัน้ ความลับ (๑๘)

............................................................................................................................. ............................... ๒ ซม. ..................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................... . ๒ ซม. .....................................................................................................................................

บทท่ี ๖ การเขยี นบทความทางวชิ าการ ของวิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร

การเขียนบทความวิชาการ (Academic Article) เป็นส่วนหน่ึงในหลักสูตรการศึกษา ของวิทยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักรฯ ทน่ี ักศกึ ษาจะต้องดาเนินการให้เป็นไปตามกรอบเวลาท่ีกาหนด โดยวิทยาลัยฯ มีความมุ่งหมายให้นักศึกษาได้มีโอกาสบูรณาการองค์ความรู้อันสืบเนื่องมาจาก ประสบการณใ์ นการปฏบิ ัตงิ าน หรือมาจากการคน้ ควา้ บนพน้ื ฐานของความสนใจ

บทความทางวชิ าการท่ีนาเสนอองค์ความรู้และมขี ้อเสนอแนะท่เี ป็นประโยชน์ในวงกว้าง จะไดร้ บั การพิจารณาตีพิมพใ์ นเอกสารเผยแพร่ทางวชิ าการของวทิ ยาลัยฯ ได้แก่ วารสารรัฏฐาภิรักษ์ หรือเอกสารข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายดา้ นความมัน่ คง (NDC Security Review)

บทความทางวิชาการทตี่ ้องดาเนนิ การ ประกอบด้วย บทความรายบุคคล จานวน ๑ เรื่อง และบทความกล่มุ จานวน ๑ เรื่อง มลี กั ษณะเปน็ งานเขยี นทางวชิ าการขนาดสนั้ ท่นี าเสนอองค์ความรู้ และข้อคิดเห็นอย่างเฉพาะเจาะจง มีประเด็นการวิเคราะห์ที่ชัดเจนเป็นระบบ สอดคล้องกับ สถานการณ์ปัจจุบัน ประเด็นปัญหาสาคัญ แนวทางการพัฒนาในอนาคตและการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ชาติ มกี ระบวนการเขยี นทน่ี ่าเชอ่ื ถอื ไดต้ ามหลกั วชิ าการ และรปู แบบเป็นไปตามที่กาหนด ในเอกสารคมู่ ือการเขียนเอกสารวจิ ัยสว่ นบุคคลของ วปอ. (เอกสารหมายเลข ๐๐๖) และมาตรฐาน ของศูนยด์ ชั นกี ารอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index Center : TCI)

ตามระเบยี บ กระทรวงกลาโหมวา่ ด้วยวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการ ป้องกันประเทศ กาหนดใหจ้ ัดทารายงานสว่ นบคุ คล เพือ่ นาเสนอผลงานจากความรแู้ ละประสบการณ์ ของนักศกึ ษา เสนอต่อวิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั รฯ ภายในเวลาที่กาหนด และถือว่าเป็นส่วนหนึ่ง ในการพิจารณาว่าสาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ ซึ่งทางวิทยาลัยฯ กาหนด ให้นาเสนอรายงานส่วนบุคคล ในรปู แบบของบทความทางวชิ าการ

บทความทางวิชาการ มีวัตถุประสงค์ในการนาเสนอความรู้ความคิดใหม่ ๆ รวมทั้ง ประสบการณ์ของผู้เขียนเกย่ี วกับเรอื่ งนั้น ๆ บนพนื้ ฐานของวิชาการในเรื่องน้นั ๆ หรืออาจจะเปน็ การ แสดงความคิดเห็นในเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ วิชาการในเร่ืองนั้นๆ เพื่อนาเสนอแนวคิดใหม่ ๆ เกย่ี วกับเร่อื งนัน้ ๆ หรือเพื่อต้ังคาถามหรือประเด็นใหม่ ๆ ที่จะกระตุ้นให้ผู้อ่านเกิดความสนใจท่ีจะ ศกึ ษาคน้ ควา้ ในเรือ่ งนนั้ ตอ่ ไป บทความทางวิชาการเป็นช่องทางหนึ่งที่จะเผยแพร่ความรู้ ความคิด และประสบการณ์ของตนเองสู่สาธารณะ และช่วยให้ได้พัฒนาความคิดและความรู้ใหม่ ๆ ความรู้ และความคดิ เหลา่ น้ีควรจะได้มาจากการท่ีผู้เขียนได้ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ วิจารณ์มาอย่างดีแล้ว จนกระทง่ั เกดิ แนวคดิ ใหม่ ๆ ต่อเน่ืองออกไป ในทางท่ีจะสร้างสรรค์วิชาการเร่ืองน้ัน ๆ ให้งอกงาม ต่อไปอีก บทความทางวิชาการที่ดี ควรมีส่วนช่วยกระตุ้นให้ผู้อ่านได้แนวคิดแนวทางในการนา

๗๗

ความคิดน้ันไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ในรูปแบบหนง่ึ หรอื ช่วยกระตนุ้ ใหผ้ อู้ ่านเกิดการพัฒนาความคิดใน เร่ืองนัน้ ๆ ต่อไป

ลกั ษณะสาคญั ของบทความทางวิชาการ

บทความทางวชิ าการจึงควรมีลักษณะสาคญั ๆ ดงั นี้ ๑. มีการนาเสนอความรู้ ความคิดท่ีตั้งอยู่บนพ้ืนฐานทางวิชาการท่ีเชื่อถือได้ในเรื่องนั้น ๆ โดยมหี ลกั ฐานทางวชิ าการอ้างองิ ๒. มกี ารวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ให้ผ้อู า่ นเห็นประเด็นสาคัญอันเป็นสาระประโยชน์ที่ผู้เขียน ต้องการนาเสนอแกผ่ อู้ า่ น ซงึ่ อาจจาเปน็ ต้องใช้ประสบการณส์ ่วนตัว หรือประสบการณ์และผลงาน ของผู้อ่นื มาใช้ ๓. มีการเรียบเรียงเน้ือหาสาระอย่างเหมาะสม เพ่ือช่วยให้ผู้อ่านเกิดความกระจ่าง ในความรคู้ วามคดิ ทนี่ าเสนอ ๔. มีการอ้างอิงทางวิชาการและใหแ้ หลง่ อ้างองิ ทางวิชาการอยา่ งถกู ต้อง เหมาะสมตาม หลกั วิชาการ และจรรยาบรรณของนกั วิชาการ ๕. มกี ารอภิปรายใหแ้ นวคดิ แนวทางในการนาความรู้ ความคิดที่นาเสนอไปใช้ให้เป็น ประโยชน์ หรือมีประเด็นใหม่ ๆ ท่ีกระตุ้นให้ผู้อ่านเกิดความต้องการสืบเสาะหาความรู้หรือพัฒนา ความคิดในประเด็นน้นั ๆ ต่อไป

คาแนะนาในการเขียนบทความทางวชิ าการ

วิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักรฯ ได้ปฏบิ ตั ิตามแนวทางการเขยี นบทความทางวิชาการตาม รูปแบบของ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index Centre-TCI) ดังนั้น จึงให้ดาเนินการโดยมีรูปแบบการจัดพิมพ์บทความทางวิชาการ และตัวอย่างการเขียนบทความ ทางวิชาการทา้ ยเอกสาร สรปุ ไดด้ ังน้ี

๑. รายละเอยี ดการจัดพมิ พบ์ ทความวิชาการ ๑.๑ ความยาวของของเนอ้ื หาในบทความรายบคุ คล ไม่น้อยกว่า ๕ หน้ากระดาษ A 4

และบทความกลมุ่ จานวน ๑๑ - ๑๕ หนา้ กระดาษ A 4 โดยไม่นับรวมตารางและแผนภาพ (รปู ภาพ แผนท่ี แผนภูมิ และกราฟ)

๑.๒ ขนาดตวั อักษรในการพิมพ์ ๑.๒.๑ ใชต้ ัวอักษร Angsana New หรือ TH SarabunPSK ๑.๒.๒ ชื่อบทความฯ / ช่อื เร่ือง ใชต้ วั อกั ษรเข้ม ขนาด ๒๔ ๑.๒.๓ ช่ือนักศึกษาผู้เขียนบทความฯ และหลักสูตรการศึกษา ให้เขียนท้ัง

ภาษาไทย และภาษาองั กฤษ ใช้ตวั อักษรเขม้ ขนาด ๑๘ ๑.๒.๔ เนือ้ หาในบทความฯ ใชต้ ัวอักษรขนาด ๑๖

๒. เนื้อหาในบทความเป็นเรื่องราวท่ีมาจากความรู้ และประสบการณ์ของนักศึกษา ปรากฏการณ์ท่ีกาลงั เกิดขนึ้ หรือเหตุการณ์ที่น่าสนใจ รวมท้ังแนวความคิดของนักศึกษาในเรื่องนั้น ๆ

๗๘

โดยดาเนนิ เรือ่ งตามลาดบั ตั้งแต่ปัญหาที่พบเห็นจนถึงการเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหานั้น ๆ ทั้งน้ี กรดาเนินเรอ่ื งขอให้มีความสมั พันธต์ ่อเน่อื งกัน ผอู้ า่ นสามารถลาดบั เหตุการณ์เรอ่ื งราวไดง้ า่ ย

๓. ส่วนประกอบของบทความวิชาการ บทความวิชาการทว่ี ิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักรฯ ให้นักศึกษาจัดทามีส่วนประกอบ

๓ สว่ น คือ ส่วนนา ส่วนเน้อื หา และสว่ นอ้างองิ ๓.๑ ส่วนนา ส่วนนาจะเป็นส่วนที่ผู้เขียนจูงใจให้ผู้อ่านเกิดความสนใจในเรื่องนั้น ๆ

ซ่งึ สามารถใช้วิธีการและเทคนิคตา่ ง ๆ ตามแต่ผ้เู ขยี นจะเหน็ สมควร เชน่ อาจใช้ภาษาที่กระตุ้น จูงใจ ผ้อู า่ นหรอื ยกปญั หาท่กี าลังเปน็ ท่ีสนใจขณะน้นั ข้นึ มาอภปิ ราย หรือตงั้ ประเดน็ คาถามหรอื ปัญหาที่ท้า ทายความคิดของผู้อา่ นหรอื อาจจะกล่าวถึงประโยชน์ท่ีผู้อ่านจะได้รับจากการอ่าน เป็นต้น นอกจาก จะเปน็ สว่ นทใ่ี ช้จูงใจผ้อู ่านแลว้ สว่ นนาเปน็ สว่ นที่ผู้เขียนสามารถกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการเขียน บทความน้ัน หรือให้คาช้ีแจงที่มาของการเขียนบทความน้ัน ๆ รวมทั้งขอบเขตของบทความนั้น เพ่ือช่วยให้ผู้อ่านไม่คาดหวังเกินขอบเขตที่กาหนด นอกจากนั้นผู้เขียนอาจใช้ส่วนนานี้ในการ ปูพ้ืนฐานทีจ่ ะเป็นในการอา่ นเรื่องนนั้ ให้แก่ผอู้ ่าน หรือให้กรอบแนวคดิ ที่จะชว่ ยให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหา สาระทนี่ าเสนอตอ่ ไป

๓.๒ ส่วนเน้ือหา การเขียนเน้ือหาของบทความวิชาการ เป็นการนาเสนอเน้ือหา สาระสาคญั ของเร่อื งซงึ่ ในสว่ นน้ี ควรคานงึ ถงึ ประเดน็ สาคัญ ๆ ดังต่อไปน้ี

๓.๒.๑ การจดั ลาดับเนื้อหาสาระ ผู้เขียนควรมีการวางแผนจัดโครงสร้างของ เน้ือหาสาระที่จะนาเสนอ และจัดลาดับเนื้อหาสาระให้เหมาะสมตามธรรมชาติของเน้ือหาสาระน้ัน การนาเสนอเนือ้ หาสาระควรมคี วามตอ่ เนอื่ งกนั เพื่อชว่ ยใหผ้ ้อู า่ นเข้าใจสาระนน้ั ไดโ้ ดยง่าย

๓.๒.๒ การเรียบเรียงเน้ือหา ในส่วนนี้ต้องอาศัยความสามารถของผู้เขียน ในหลายด้านนอกเหนือจากความเข้าใจในเน้ือหาสาระ เช่น ด้านภาษา ด้านสไตล์การเขียน ด้านวิธีการ นาเสนอเปน็ ตน้

๓.๒.๓ ด้านการใช้ภาษา การเขียนบทความทางวิชาการ จะต้องใช้คาใน ภาษาไทยหากคาไทยนนั้ ยังไม่เปน็ ท่ีเผยแพร่หลาย ควรใส่คาภาษาต่างประเทศไว้ในวงเล็บ ในกรณีท่ี ไม่สามารถหาคาไทยได้ จะเป็นต้องทับศพั ทก์ ็ควรเขียนคาน้ันใหถ้ ูกต้องตามหลกั เกณฑข์ องราชบัณฑติ สถาน ไมค่ วรเขยี นภาษาไทยและต่างประเทศปะปนกันในลกั ษณะทเี่ รยี กว่า “ไทยคา อังกฤษคา” เพราะ จะทาให้งานเขียนน้ันมีลักษณะของความเป็นทางการ (formal) ลดลง ผู้เขียนบทความ ทางวชิ าการ จาเปน็ ตอ้ งพิถีพิถันในเร่ืองการเขียนตัวสะกดการันต์ต่าง ๆ ให้ถูกต้องตามพจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน และควรตรวจทานงานของตนไมใ่ ห้ผิดพลาด เพราะงานนั้นจะเป็นแหล่ง อ้างอิงทางวิชาการต่อไป

๓.๒.๔ ดา้ นสไตลก์ ารเขียน ผู้เขียนแต่ละคนย่อมมีสไตล์การเขียนของตนซ่ึงจะ เป็นเอกลกั ษณ์และเป็นเสรีภาพของผูเ้ ขยี น อยา่ งไรกต็ าม ไม่ว่าผู้เขียนจะใชส้ ไตลอ์ ะไร ส่ิงท่ีควรคานึง ก็คือ ผเู้ ขียนจะตอ้ งเขยี นอธบิ ายเรอ่ื งนัน้ ๆ ให้ผู้อ่านเกิดความกระจ่างมากที่สุด ซ่ึงอาจต้องใช้เทคนิค ต่าง ๆ ที่จาเป็น เช่น การจัดลาดับหัวข้อ การยกตัวอย่างที่เหมาะสม การใช้ภาษาที่กระชับ ชดั เจน และเหมาะสมกับผอู้ า่ น เป็นต้น

๗๙

๓.๒.๕ ด้านวิธกี ารนาเสนอ การนาเสนอเนื้อหาสาระให้ผู้อา่ นเขา้ ใจไดง้ า่ ยและ ได้อย่างรวดเร็วน้ัน จาเป็นต้องใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการนาเสนอเข้าช่วย เช่น การใช้ส่ือประเภท ภาพ แผนภมู ิ ตาราง กราฟ เป็นต้น ผู้เขยี นควรมีการนาเสนอสื่อต่าง ๆ นี้อย่างเหมาะสม และ ถูกตอ้ งตามหลักวชิ าการ เชน่ การเขยี นชื่อตาราง การให้หวั ขอ้ ตา่ ง ๆ ในตาราง เป็นต้น

๓.๒.๖ การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ และการนาเสนอความคิดของ ผู้เขียน บทความท่ดี ี ควรมกี ารนาเสนอความคดิ เห็นของผู้เขียน ซ่ึงอาจออกมาในลักษณะของการ วิเคราะห์ วิจารณ์ ข้อมูล เนื้อหาสาระ ให้เป็นประเด็นที่เป็นส่วนของการริเร่ิมสร้างสรรค์ของ ผเู้ ขียน ซ่ึงอาจจะนาเสนอไปพร้อม ๆ กับการนาเสนอเน้ือหาสาระ หรืออาจจะนาเสนอก่อนการ นาเสนอข้อมูลหรือเนื้อหาสาระก็ได้ แล้วแต่สไตล์การเขียนของผู้เขียน หรือความเหมาะสมกับ ลักษณะเนอื้ หาของเรอื่ งนั้น ๆ

๓.๓ ส่วนอ้างอิง ได้แก่ เอกสารอ้างอิง (References) ในเนื้อหา และจัดทา บรรณานกุ รม (Bibliography) ทา้ ยบทความ

๔. มีการนาเสนอข้อมูลที่เข้าใจง่าย และเป็นระบบ ใช้ศัพท์และภาษาทางวิชาการ อยา่ งเหมาะสม มีตาราง แผนภูมิ แผนภาพ หรืออ่ืน ๆ ประกอบได้ตามความจาเป็น เพ่ือให้เข้าใจง่าย และชดั เจน

๕. มีการค้นคว้าอ้างอิงจากแหล่งอ้างอิงที่เช่ือถือได้ ทันสมัย เป็นระบบ ถูกต้องตาม แบบแผน จัดทาเป็นเอกสารอ้างอิงในเน้ือหา และรวบรวมจัดทาเป็นบรรณานุกรมท้ายบทความ โดยรูปแบบการพิมพ์สว่ นอา้ งองิ เปน็ ไปตามรปู แบบการพมิ พข์ องวิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั รฯ

ขอ้ กาหนดของบทความทางวิชาการ

๑. เป็นหัวข้อเปิดนักศึกษาสามารถเลือกหัวข้อเรื่องที่นักศึกษามีความถนัด และ มีประสบการณ์ หรอื ประสงค์จะเขียนเพื่อให้ผู้อ่านเกิดความรู้ ความเข้าใจ ทราบข้อเท็จจริงในเร่ือง นั้น ๆ หรืออาจเป็นข้อคิดเห็น แนวทางปฏิบัติ แนวทางการแก้ไขปัญหา และนาไปใช้ประโยชน์ อนึ่ง สาหรับบทความกลุ่ม วปอ.ฯ จะเป็นผู้จัดกลุ่มให้กับนักศึกษา ในจานวนระหว่าง ๓ – ๕ คน โดยพจิ ารณาจากประเดน็ เรือ่ งทที่ าเอกสารวจิ ัยฯ และจะประกาศให้ทราบเปน็ การล่วงหน้า

๒. ใหน้ กั ศึกษาพจิ ารณาเบอ้ื งต้นว่า เนื้อหาสามารถเผยแพรไ่ ด้ และต้องไม่มีช้นั ความลับ เนื่องจากวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักรฯ จะพิจารณานาเผยแพร่ทางเว็บไซต์ของหน่วย

๓. ใหน้ ักศกึ ษาสง่ บทความทางวิชาการในรูปเอกสารที่จัดพิมพ์ตามรูปแบบที่วิทยาลัย ป้องกันราชอาณาจักรฯ กาหนดเป็นเอกสาร ๒ ชุด พร้อมแผ่นบันทึกข้อมูล ๑ แผ่น (บันทึกเป็น Microsoft Word 2007 ขน้ึ ไป) ทกี่ องเอกสารวจิ ยั และห้องสมุดฯ ภายในระยะเวลาท่กี าหนด

๔. นักศึกษาสามารถดูตัวอย่าง การเขียนส่วนเน้ือหาของบทความทางวิชาการได้จากวารสาร รัฏฐาภิรักษ์ ซ่ึงเป็นวารสารของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรและบทความวิชาการของนักศึกษา รุ่นท่ผี ่านมา ทจี่ ดั เกบ็ ไว้ทีห่ อ้ งสมดุ ของวิทยาลยั ฯ

๕. เม่อื นกั ศึกษาสง่ บทความฯ แลว้ จะได้รับการอนมุ ัตจิ ากผอู้ านวยการวิทยาลยั ป้องกัน ราชอาณาจักรฯ ใหเ้ ปน็ ส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสตู รของวทิ ยาลยั ฯ

บรรณานกุ รม

ภาษาไทย

กลาโหม, กระทรวง. “ระเบียบกระทรวงกลาโหม ว่าด้วย วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบัน วิชาการปอ้ งกนั ประเทศ พทุ ธศักราช ๒๕๔๗”. ลงวันท่ี ๒๘ ตุลาคม ๒๕๔๗.

กลาโหม, กระทรวง. “ระเบียบกระทรวงกลาโหม ว่าด้วย วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบัน วชิ าการป้องกันประเทศ (ฉบับท่ี ๒) พทุ ธศักราช ๒๕๕๑”. ลงวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๑.

“การเรียงลาดับพจนานุกรม”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : //www.thaijb619.blogspot.com, ๒๕๕๒.

คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สานักงาน. “จรรยาบรรณนักวิจัย และแนวทางปฏิบัติ”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : //www.riclib.nrct.go.th/ebook/Researcher/20Ethics%20 Thai.pdf, ๒๕๕๖.

คารณ พสิ ณฑย์ ุทธการ. การปฏริ ูปยทุ ธศาสตร์ทางเรอื . เอกสารวิจยั สว่ นบคุ คล. วทิ ยาลัยป้องกันราช อาณาจักร. ๒๕๕๙.

เครือวัลย์ ล้ิมปิยะศรีสกุล. การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๐.

จ้อย นันทิวชั รนิ ทร์, ม.ล.. แบบบรรณานกุ รมและเชิงอรรถ. พระนคร : ไทยวัฒนาพานชิ , ๒๕๑๔. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คู่มือการพิมพ์วิทยานิพนธ์. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒. ชินวุธ สุนทรสีมะ, พ.อ.. หลักและวิธีการทาวิทยานิพนธ์ รายงานประจาภาคและเอกสารวิจัย.

พมิ พ์ครั้งที่ ๕, กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๓๕. เทคโนโลยีพระจอมเกล้า, สถาบัน. คู่มือการจัดทาวิทยานิพนธ์. กรุงเทพ : บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน

เทคโนโลยพี ระจอมเกล้า ฯ, ๒๕๓๐. ป้องกันราชอาณาจักร, วิทยาลัย. “ระเบียบวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกัน

ประเทศ ว่าดว้ ย การใหร้ างวัลเอกสารวิจัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗”. ลงวนั ท่ี ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗. ป้องกันราชอาณาจกั ร, วิทยาลัย. “เอกสาร วปอ. หมายเลข ๐๐๖ คาแนะนาการเขียนเอกสารวิจัย ส่วนบุคคล ประจาปีการศกึ ษาพุทธศักราช ๒๕๖๐ - ๒๕๖๑”. ๒๕๖๑. ไพโรจน์ ตีรณธนากลุ . การวิจยั สกู่ ารเขียนบทความและรายงาน. กรุงเทพ ฯ : ศูนย์ส่งเสริมกรุงเทพ, ๒๕๒๘. ราชบัณฑติ ยสภา, สานักงาน. “อัญพจน์”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : //www.royin.go.th/? knowledges=อัญพจน์-๓-กรกฎาคม-๒๕๕๑, ๒๕๖๑ สมหวัง พริ ิยานุวัฒน์. การวจิ ยั เชงิ บรรยาย. กรุงเทพ ฯ : บารมกี ารพมิ พ์, ๒๕๒๕. สุชาติ ประสิทธ์ิรัฐสินธุ์. ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์, ๒๕๓๔.

๘๑

สนุ ทรี หงั สสตู . การควบคมุ ทางบรรณานกุ รมเบ้ืองต้น. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๒๓. อัศวิน ตีระวัฒนพงษ์. (เรียบเรียง). คู่มือจัดพิมพ์บทนิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษม

บัณฑิต. กรุงเทพฯ : บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั เกษมบณั ฑติ , ๒๕๔๒. อมรเทพ ณ บางชา้ ง, พลเรือโท. การปฏิรูปการกาหนดนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ. เอกสารวิจัย

ส่วนบุคคลดเี ด่น วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักร, ๒๕๕๐. อาภารัตน์ มหาขันธ์, “องค์กรนวัตกรรม : การสร้างวัฒนธรรมและระบบนิเวศนวัตกรรม”,

ในบทความสว่ นบคุ คล นกั ศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกัน ราชอาณาจักร ร่นุ ท่ี ๕๘, ๒๕๕๘.

ภาษาตา่ งประเทศ

American Psychological Association. Publication manual of the American Psychological Association. 5th Ed., Washington, DC : Author, 2002.

Isaac, Stephen and William, Michael B. Handbook in Research and Evaluation. San Diago, California : Edits Publishers, 1983.

Turabian, Kate I. A Manual for Writers of Term Papers, Theses and Dissertations. 5th Ed., Chicago and London : The University of Chicago Press, 1982.

ภาคผนวก

ผนวก ก

ตัวอยา่ งรูปแบบการพิมพ์ เอกสารวิจยั สว่ นบุคคล ของนกั ศกึ ษา วปอ.

๘๔

ชอ่ื เรื่องท่ีทาการวจิ ัยทม่ี คี วามยาวเกิน ๑ บรรทดั ใหจ้ ดั พมิ พเ์ รียงลงมาเปน็ ลกั ษณะสามเหล่ยี ม หัวกลบั

โดย

ยศ – ชือ่ – สกลุ (คาเต็ม) ตาแหน่งปจั จบุ นั

ช่ือหน่วยงานระดบั กรม หรือ ชื่อกระทรวง

นกั ศึกษาวิทยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักร หลักสตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจักร ร่นุ ท่ี ........... ประจาปีการศกึ ษา พทุ ธศักราช ๒๕XX - ๒๕XX

๑ ๑/๒ น้วิ

๘๕

หนงั สอื รบั รอง (๒๔) เว้นระยะ ๑.๕ บรรทัด

๒ ซม. วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ได้อนุมัติให้เอกสารวิจัย ส่วนบุคคล เรื่อง “………………………………………………………….……………………………..…………...……...” ลกั ษณะวิชา …………………………… ของ …… (ยศ – ช่อื – สกลุ คาเตม็ ) ………………………….…..……… เป็นส่วนหน่งึ ของการศึกษาตามหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รนุ่ ที่ ........... ประจาปกี ารศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕XX – ๒๕XX

เว้น ๒ บรรทดั

พลโท

เว้น ๑.๕ บรรทัด

(ระบชุ อื่ – นามสกลุ ผอ.วปอ.สปท.) ผูอ้ านวยการวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั ร

สถาบันวิชาการป้องกนั ประเทศ

หมายเหตุ ๑. นกั ศึกษาตอ้ งพิมพห์ นงั สอื รับรองมาด้วย และไม่ตอ้ งใส่ลาดับหนา้ ๒. ตวั เลขในวงเลบ็ คือขนาดตวั พมิ พ์ ๓. การพมิ พต์ ัวเลขไทย หรอื เลขอารบคิ ก็ได้ แต่ให้เหมอื นกนั ท้งั เล่ม ยกเวน้ ในสรุปยอ่ ให้แยกออกจากตวั เลม่ และให้ใชเ้ ลขอารบคิ

๘๘๖๖ ๑ นว้ิ พิมพ์ ก ๑/๒ น้ิว บทคัดย่อ (๒๔)

เรือ่ ง (๑๘) เว้นระยะ ๑.๕ บรรทดั

………………………………………………………………………………………………………………

ลักษณะวิชา (๑๘) ...……………………………………………………………………………. ………………………….

ผูว้ ิจยั (๑๘) ………………………………………………. หลกั สตู ร (๑๘) วปอ. รุ่นท่ี (๑๘) …….

เว้นระยะ ๑.๕ บรรทัด

๒ ซม. เร่ิมพมิ พ์น้ือหา ให้ใช้ขนาดตวั อักษรขนาด ๑๖ ตวั ธรรมดา ........….…………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….…………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….……………………………………

หมายเหตุ :

๑.บทคดั ย่อ มีความยาวไม่เกิน ๑ หน้า ระบุถึงวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย ขอบเขตของ การวจิ ัย วิธีดาเนนิ การวจิ ยั ผลการวิจยั และขอ้ เสนอแนะ โดยให้เขียนเป็นร้อยแกว้ ตดิ ตอ่ กันไปไม่ต้องแยกเป็นหวั ขอ้

๒. ตวั เลขในวงเล็บทา้ ยคอื ขนาดตัวพิมพ์ ๓. ช่ือลักษณะวชิ าประกอบดว้ ย ยุทธศาสตร์ สังคมจติ วทิ ยา การเมอื ง การทหาร

การเศรษฐกจิ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๔. ให้ใช้พยัญชนะไทยในการลาดบั หนา้ เรียงตามลาดับ เริ่มต้งั แต่ ก ไม่ใช้ ฃ ฅ ฆ สาหรับหน้าบทคัดย่อนใ้ี ห้เร่ิมพมิ พ์ ก

๘๗ 1 นว้ิ

พิมพ์ ข 1/2 นว้ิ

Abstract (24) เว้นระยะ 1.5 บรรทัด

Title (18) ………………………………………………………………………………………………………………….…

Field (18) ………………………………………..……………...

Name (18) ………………………………..…… Course (18) NDC Class (18) …………

ยอ่ หนา้ 2 ซม. เวน้ ระยะ 1.5 บรรทัด

เริม่ พมิ พ์เนอ้ื หา ให้ใช้ขนาดตัวอกั ษรขนาด 16 ตวั ธรรมดา ...................…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หมายเหตุ : 1. ความยาวไมเ่ กิน 1 หนา้ ระบุ Objectives of Research, Scope of Research, Methodology,

Results และ Recommendations โดยเขยี นเป็นรอ้ ยแกว้ ตดิ ต่อกนั ไม่ตอ้ งแยกเปน็ หัวข้อ และ ถา้ มีตวั เลขใหใ้ ชเ้ ลขอารบิค

2. Class ใหใ้ สร่ ุ่นท่ี...... เชน่ Class 62

3. Field ใหใ้ ส่ชื่อลักษณะวิชาดังน้ี ยทุ ธศาสตร์ (Strategy) การเมอื ง (Politics) การเศรษฐกจิ (Economics) สงั คมจติ วิทยา (Social – Psychology) การทหาร (Military) วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology)

4. ตัวเลขในวงเลบ็ คือขนาดของตัวพมิ พ์ ท้ังนี้ในสว่ นของคาว่า Title Field Name Course และ Class ให้พมิ พ์เป็นตวั เข้ม

5. สาหรบั หน้า Abstract นีใ้ หพ้ ิมพล์ าดับหน้าตอ่ จากหน้าบทคดั ย่อ และให้ใชพ้ ยัญชนะไทยในการจดั ลาดับหนา้

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ