ม.การก ฬาแห งชาต ว ทยาเขต เช ยงใหม

เเผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖

(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)

กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา

เเผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)

กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา

เเผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)

ISBN 978-616-297-484-7

พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๑ จ�ำนวน ๓,๐๐๐ เล่ม จดั ท�ำและเผยแพรโ่ ดย สำ� นกั งานปลัดกระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา ๔ ถนนราชดำ� เนินนอก แขวงวดั โสมนสั เขตปอ้ มปราบฯ กรงุ เทพ ๑๐๑๐๐ โทร. ๐ ๒๒๘๓ ๑๕๔๖ โทรสาร ๐ ๒๓๕๖ ๐๗๐๔ พิมพท์ ี ่ ส�ำนักงานกจิ การโรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก

คำ� นำ�

การจัดท�ำแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางพัฒนาการกีฬาของประเทศ ครอบคลมุ ตง้ั แตก่ ฬี าขน้ั พนื้ ฐาน กฬี ามวลชน กฬี าเพอื่ ความเปน็ เลศิ และกฬี าอาชพี รวมถงึ การบรหิ ารจดั การ ด้านการกีฬา เป็นภารกิจส�ำคัญของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการจัดท�ำแผนพัฒนา การกีฬาแล้วรวม ๕ ฉบับ โดยแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๕ ได้ส้ินสุดในปี ๒๕๕๙ กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกีฬาจงึ ได้จัดท�ำแผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ทส่ี อดคลอ้ ง กบั ยทุ ธศาตรช์ าติ ๒๐ ปี และแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ทงั้ นี้ เพ่อื ให้ประเทศไทยมีทศิ ทางการพัฒนาการกฬี าอย่างตอ่ เนอ่ื งในระยะ ๕ ปี ถัดไป การจัดท�ำแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติฉบับน้ี ได้ค�ำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม และบรบิ ทตา่ งๆ ทง้ั ปจั จยั ภายในและภายนอกทอี่ าจสง่ ผลตอ่ การพฒั นาการกฬี าของประเทศ การประเมนิ ผล การพฒั นาตามแผนพฒั นาการกฬี าในชว่ งทผ่ี า่ นมา ขอ้ เสนอแผนปฏริ ปู การกฬี าของสภาขบั เคลอ่ื นการปฏริ ปู ประเทศ นอกจากนี้ ยังได้ค�ำนึงถึงการมีส่วนร่วมของทุกภาคีท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬาของประเทศ จึงได้ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและบูรณาการความคิดในการก�ำหนดทิศทางการพัฒนา ผ่านการจัดประชุม กลมุ่ ยอ่ ยทว่ั ประเทศเพอื่ ระดมความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน องคก์ รปกครอง ส่วนทอ้ งถนิ่ และประชาชนทุกภาคสว่ น รวมไปถึงการสมั ภาษณผ์ ู้เชย่ี วชาญและผทู้ รงคุณวุฒใิ นอุตสาหกรรม การกีฬา เพื่อน�ำข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะมาประกอบการจัดท�ำแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ฉบับน้ี กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ซง่ึ คณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ติเห็นชอบในหลกั การแล้ว เม่อื วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ หน่วยงานต่างๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน จะได้ใช้เป็นกรอบแนวทางในการจัดท�ำแผนปฏิบัติการประจ�ำปี เพ่ือช่วยผลักดันและขับเคล่ือนการพัฒนาตามแผนสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือให้การกีฬา เป็นส่วนส�ำคัญของวิถีชีวิตประชาชนทุกภาคส่วน และเป็นกลไกส�ำคัญในการสร้างคุณค่าทางสังคมและ คุณภาพชีวิตท่ีดีให้กับคนไทย รวมถึงการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศในระดับสากลและต่อยอดสู่ระดับอาชีพ เพอ่ื สรา้ งอาชพี และรายไดใ้ หก้ บั บคุ ลากรกฬี า โดยจะเชอื่ มโยงไปถงึ การพฒั นาอตุ สาหกรรมการกฬี าเพอื่ สรา้ ง มูลค่าเพ่ิมให้กับเศรษฐกิจของประเทศด้วย ซึ่งนับว่าเป็นมิติใหม่ของการพัฒนาการกีฬาของประเทศ ดังน้ัน จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกภาคส่วนจะได้ใช้แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติฉบับน้ีเป็นแนวทางในการพัฒนา การกีฬาของประเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป

กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า

เเผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)

กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกีฬา

สารบัญ

สรุปสาระสำ� คัญ แผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) หนา้ สว่ นท่ี ๑ บทนำ� ก ส่วนท่ี ๒ สถานการณ์ แนวโน้ม และทศิ ทางการพัฒนาการกฬี า ๑ ๑. สถานการณแ์ ละแนวโนม้ การกฬี าของโลก ๔ ๒. สถานการณแ์ ละแนวโน้มการกีฬาของประเทศไทย ๔ ๓. ผลการพฒั นาการกีฬาในระยะที่ผ่านมา ๑๒ ๔. นโยบายและยทุ ธศาสตรท์ ีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การพัฒนาการกีฬาของประเทศ ๑๕ ๕. สรุปผลการวเิ คราะห์ศกั ยภาพและโอกาสการพฒั นาการกีฬาไทย ๑๘ ส่วนที่ ๓ วิสยั ทศั นแ์ ละเปา้ หมายการพฒั นา ๒๑ ๑. วสิ ัยทศั น์การพัฒนาการกีฬาไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ ๒๒ ๒. เป้าหมายการพัฒนา ๒๒ ๓. เปา้ ประสงค ์ ๒๓ ๔. ตวั ชีว้ ดั ๒๔ ๕. ยทุ ธศาสตร์การพฒั นา ๒๔ สว่ นที่ ๔ ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการกฬี า ในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี ๖ ๒๔ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ : การส่งเสริมใหเ้ กดิ ความรแู้ ละความตระหนักด้านการออกกำ� ลังกายและการกีฬาขั้นพ้นื ฐาน ๒๖ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ : การสง่ เสริมให้มวลชนมกี ารออกก�ำลังกายและมสี ่วนร่วมในกิจกรรมการกฬี า ๒๖ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ : การพัฒนากฬี าเพอื่ ความเป็นเลศิ และตอ่ ยอดเพอ่ื ความส�ำเร็จในระดบั อาชพี ๒๘ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ : การพฒั นาอตุ สาหกรรมการกีฬาเพื่อเป็นสว่ นสำ� คญั ในการสร้างมลู คา่ เพ่ิมทางเศรษฐกจิ ๓๑ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ : การพัฒนาองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมท่ีเกี่ยวข้องกบั การกฬี า ๓๔ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๖ : การยกระดบั การบริหารจดั การด้านการกฬี าใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ๓๖ สว่ นท่ี ๕ การขบั เคลื่อนแผนพัฒนาการกีฬาส่กู ารปฏิบตั ิ ๓๘ ๑. แนวทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการกฬี าส่กู ารปฏบิ ัติ ๔๑ ๒. แนวทางการประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งาน ๔๑ ๓. แนวทางการพฒั นาทีส่ �ำคัญในระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๔๖ ภาคผนวก ๔๖ ๕๓

เเผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)

กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า

สรุปสาระสำ� คญั แผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๖

(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)

๑. บทน�ำ

การกีฬานับได้ว่ามีส่วนส�ำคัญยิ่งต่อการพัฒนาสังคม ดังค�ำกล่าวท่ีว่า “กีฬาสร้างคน คนสร้างชาติ” ดังน้ัน กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาซึ่งมีภารกิจหลักในการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการกีฬา จึงได้ด�ำเนินการจัดท�ำ แผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) เพื่อใหห้ นว่ ยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ท้ังภาครัฐ เอกชน และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น น�ำไปใช้เป็นกรอบทิศทางการด�ำเนินการและเป็นกลไกหลักในการพัฒนาการกีฬาของประเทศ ให้กา้ วไปสู่การเป็นประเทศทมี่ คี วาม “มนั่ คง มงั่ คั่ง และย่งั ยืน” ท้ังน้ี ในขนั้ ตอนการจัดท�ำแผนได้ค�ำนึงถงึ บรบิ ทของประเทศไทยในการพัฒนาการกีฬาภายใต้กรอบการวิเคราะห์ แบบองค์รวม โดยได้มีการศึกษาข้อมูลปฐมภูมิจากการรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ท้ังภาครัฐและเอกชน รวมถึงการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง โดยได้มีการด�ำเนินการตาม ๕ ขั้นตอนหลัก ซ่ึงประกอบด้วย (๑) การศึกษาสภาพแวดล้อมและบริบทของการพัฒนาการกีฬา (๒) การทบทวน นโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้านการกีฬาของหน่วยงานต่างๆ (๓) การศึกษาแผนปฏิรูปการกีฬาของสภาปฏิรูปแห่งชาติ (๔) การประเมินผลการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) (๕) การรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องทุกภาคส่วน ตลอดจนการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เช่ียวชาญ ในวงการกฬี า และการจดั การประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยรบั ฟงั คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะจากผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การกฬี าในทกุ ภมู ภิ าค ของประเทศ แผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ไดม้ งุ่ หวงั ให้การกีฬาเปน็ สว่ นส�ำคญั ของวถิ ชี ีวิต และส่งเสริมให้ประชาชนทุกภาคส่วนมีน้�ำใจนักกีฬาและคุณภาพชีวิตที่ดี ท้ังดา้ นสุขภาพร่างกายและจิตใจ ประกอบกับมี องค์ความรู้ด้านการกีฬา อันจะเป็นพ้ืนฐานในการพัฒนากีฬาไทยสู่ความเป็นเลิศในระดับสากล น�ำมาซึ่งความภาคภูมิใจ และสร้างความสามัคคีแก่คนในชาติ สามารถสร้างอาชีพและรายได้ผ่านการบริหารจัดการท่ีมีธรรมาภิบาลเพื่อพัฒนา อุตสาหกรรมการกีฬาเพื่อเสริมสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่เศรษฐกิจของประเทศ จึงหวังว่าแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติฉบับน้ี จะถูกนำ� ไปใชโ้ ดยทกุ ภาคสว่ น เพือ่ เปน็ กรอบแนวทางในการขับเคล่อื นการพัฒนาการกฬี าของประเทศในระยะเวลา ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ตอ่ ไป

๒. สถานการณ์ แนวโน้ม และทศิ ทางการพัฒนาการกีฬา

๒.๑ การกีฬาของประเทศได้มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองในช่วงท่ีผ่านมา โดยมีนักกีฬาอาชีพคนไทยหลายคน ท่ีประสบความส�ำเร็จในเวทีระดับนานาชาติและสามารถสร้างชื่อเสียงให้แก่ตนเองและประเทศ มีการตราพระราชบัญญัติ หลายฉบบั เพอ่ื สง่ เสรมิ การพฒั นาการกฬี าในประเทศ มีการส่งเสริมกฬี าอาชีพอยา่ งเปน็ รูปธรรม มกี ารจัดสรรงบประมาณ

เเผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ก

กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกีฬา

ท่ีเป็นระบบและมคี วามชัดเจนมากยิง่ ข้นึ รวมไปถงึ การขยายตวั อย่างตอ่ เน่อื งของอตุ สาหกรรมการกฬี า ซ่งึ ในระยะ ๕ ปี ท่ีผ่านมามีอัตราการเติบโตเฉลี่ยสูงกว่าอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศถึง ๓ เท่า โดยมีมูลค่ากว่า ๘๑,๐๐๐ ล้านบาท ในปี ๒๕๕๗ และในแต่ละปีมีนักเท่ียวท้ังชาวไทยและตา่ งชาติท่ีเขา้ ร่วมเล่นและชมกิจกรรมกีฬากว่า ๓ ล้านคน อย่างไรก็ตาม ผลงานภาพรวมของนักกีฬาไทยในมหกรรมกีฬาระดับนานาชาติยังไม่สามารถบรรลุผลได้ตาม เปา้ หมาย เนอื่ งจากขาดความสมำ่� เสมอในผลงาน และประชาชนทวั่ ไปยงั ไมไ่ ดร้ บั การสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ใหอ้ อกกำ� ลงั กาย และเล่นกีฬาอย่างต่อเน่ือง จึงท�ำให้สัดส่วนประชากรที่ออกก�ำลังกายหรือเล่นกีฬาอย่างสม่�ำเสมอลดลงเหลือเพียง รอ้ ยละ ๒๓.๔ ในปี ๒๕๕๘ เมอื่ เทยี บกบั ร้อยละ ๒๖.๑ ในปี ๒๕๕๔ ๒.๒ การทบทวนผลด�ำเนินการตามแผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบับท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ได้แสดง ให้เห็นถงึ ปญั หาอุปสรรคส�ำคญั ในแต่ละประเด็นยทุ ธศาสตร์ ดังนี้ ๑) การพัฒนาการออกก�ำลังกายและการกีฬาขั้นพื้นฐาน ไม่ได้เป็นนโยบายและเป้าหมายหลักส�ำหรับ ระบบการศึกษา จึงท�ำให้ไม่ได้รับความส�ำคัญและก่อให้เกิดการขาดแคลนครูพลศึกษาประจ�ำสถานศึกษา นอกจากน้ี กรมพลศกึ ษาซงึ่ มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบการพฒั นาการออกกำ� ลงั กายและการกฬี าขน้ั พน้ื ฐานขาดอำ� นาจบรหิ ารจดั การในระบบ สถานศกึ ษา จึงท�ำให้เดก็ และเยาวชนจำ� นวนมากขาดโอกาสเข้าถึงการเรยี นการสอนดา้ นพลศกึ ษาท่ีมีคุณภาพ ๒) การพัฒนาการออกก�ำลังกายและการกีฬาเพื่อมวลชน ยังไม่สามารถท�ำได้อย่างต่อเน่ืองและ มีประสิทธิภาพ เน่ืองจากขาดสถานท่ีออกก�ำลังกายสาธารณะท่ีเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน และขาดผู้น�ำ การออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี าทส่ี ามารถใหค้ วามรแู้ ละนำ� การออกกำ� ลงั กายไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งในระดบั ทอ้ งถนิ่ การสนบั สนนุ การออกก�ำลังกายขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินยังขึ้นอยู่กับนโยบายของผู้บริหาร รวมถึงยังไม่ได้เป็นเป้าหมายหลัก ของหน่วยงาน กรมพลศึกษาที่มีหน้าท่ีดูแลรับผิดชอบการออกก�ำลังกายของมวลชนทั้งประเทศขาดเครือข่ายในระดับ ท้องถิ่น มีเพียงเจ้าหน้าที่พลศึกษาประจ�ำอ�ำเภอซึ่งไม่เพียงพอต่อการพัฒนากีฬาเพื่อมวลชน นอกจากนี้ยังขาด การบรู ณาการความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานทีม่ เี ครือขา่ ยในระดบั ทอ้ งถน่ิ อย่างมีประสทิ ธิภาพ ๓) การพฒั นาการกฬี าเพอ่ื ความเปน็ เลศิ ยงั ไมส่ ามารถพฒั นานกั กฬี าไทยใหป้ ระสบความสำ� เรจ็ ในมหกรรม กีฬานานาชาติได้อย่างสม�่ำเสมอ เน่ืองจากขาดบุคลากรการกีฬาที่มีความรู้ความสามารถในระดับนานาชาติโดยเฉพาะ ผฝู้ กึ สอน ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถพฒั นาศกั ยภาพของนกั กฬี าใหท้ ดั เทยี มกบั ประเทศชน้ั นำ� อกี ทงั้ ยงั ไมม่ รี ะบบการจดั การทช่ี ดั เจน และตอ่ เนอื่ งในการพัฒนานกั กฬี าจากข้ันพนื้ ฐานสคู่ วามเปน็ เลศิ จงึ ทำ� ให้การพัฒนานกั กฬี าไทยในปจั จบุ นั ขาดความย่ังยนื ๔) การพัฒนาการกีฬาเพ่อื การอาชพี ไดร้ บั การส่งเสรมิ อย่างต่อเน่อื งในช่วงระยะเวลาที่ผา่ นมา แต่กฬี า เพื่อการอาชีพหลายประเภทยังคงต้องพ่ึงพาความช่วยเหลือจากภาครัฐ และยังไม่สามารถสร้างรายได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ยังขาดการประเมินผลกระทบซ่ึงเกิดจากกฬี าเพ่ือการอาชพี ๕) การพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการกฬี า ประชาชนทั่วไปขาดความเข้าใจขน้ั พ้นื ฐาน และขาด ความตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า บคุ ลากรดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี ามจี ำ� นวนไมเ่ พยี งพอในทกุ ระดบั และองคค์ วามรยู้ งั ไมถ่ กู น�ำไปใช้เทา่ ทค่ี วรในการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาพของประชาชนและพัฒนาศกั ยภาพของนกั กฬี า ๖) การพฒั นาการบรหิ ารจดั การการกฬี าและการออกกำ� ลงั กาย ขาดคณะกรรมการกลางทที่ ำ� หนา้ ทก่ี ำ� กบั ดูแลการกีฬาของประเทศ ท�ำให้การพัฒนาการกีฬาขาดการบูรณาการ กฎ และระเบียบในปัจจุบันหลายข้อไม่เอ้ือ ต่อการพัฒนาการกีฬา และระบบฐานข้อมูลขององค์กรกีฬาต่างๆ ขาดความเป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมไปถึงข้อมูลยังมี ความกระจัดกระจาย เนื่องจากไม่มีหน่วยงานที่คอยก�ำกับดูแลในเรื่องของมาตรฐานด้านระบบข้อมูลและขาดฐานข้อมูล กีฬาส่วนกลาง ท�ำใหก้ ารตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งานเป็นไปได้ยาก

ข เเผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกฬี า

๒.๓ แนวโนม้ ของการกฬี าของโลกและภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตม้ กี ารเปลยี่ นแปลงไปในเชงิ บวกเหน็ ไดจ้ าก มีพัฒนาการท่ีเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่อง อันเนื่องมาจากการผสมผสานค่านิยมใหม่ในการตระหนักถึงการมีสุขภาพท่ีดี ของประชาชน และสถานการณ์โลกท่ีเปลี่ยนแปลงไปจากวิถีชีวิตของประชาชน ควบคู่ไปกับการมองเห็นโอกาสทางธุรกิจ ของผู้ประกอบการต่างๆ ในหลายภูมิภาค ซ่ึงเป็นเสมือนปัจจัยเร่งการพัฒนาการกีฬาให้มีแนวโน้มเจริญเติบโตในอนาคต จงึ เปน็ สาเหตทุ ช่ี ดั เจนวา่ การกฬี าของประเทศไทยจะมกี ารพฒั นาอยา่ งไมห่ ยดุ นงิ่ ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม โดยแนวโนม้ และ ปัจจัยท่ีคาดวา่ จะส่งผลกระทบตอ่ การพฒั นาการกฬี าในอนาคต ๗ ประเดน็ ได้แก่ (๑) ความตระหนกั ในข้อดขี องการรักษา สุขภาพ เปน็ ปจั จยั หลักที่คนจะหนั มาเลน่ กีฬาและออกกำ� ลังกายเพ่ิมขน้ึ (๒) นานาประเทศจะมกี ารผลักดันการกีฬาให้กบั มวลชนอย่างต่อเนื่องส�ำหรับประชากรทุกกลุ่ม (๓) กีฬาชนิดท่ีให้ความตื่นเต้น เร้าใจ ก�ำลังมีความนิยมมากขึ้นในหมู่ ผทู้ ต่ี อ้ งการความแปลกใหมแ่ ละทา้ ทาย (๔) การแขง่ ขนั ทางการคา้ ทเี่ พมิ่ ขนึ้ จะสง่ ผลใหม้ กี ารแขง่ ขนั ทางการตลาดอยา่ งเขม้ ขน้ (๕) การด�ำเนินชีวิตในสังคมเมือง ซึ่งมีวิถีชีวิตท่ีเร่งรีบและมีข้อจ�ำกัดด้านเวลา ส่งผลให้ไม่สามารถวางแผนและออกแบบ การออกก�ำลังกายและกีฬาให้เหมาะสมกับชีวิตประจ�ำวันได้ (๖) ระบบอาสาสมัครกีฬาจะมีบทบาทมากขึ้นในการสร้าง คณุ คา่ ทางสงั คม และสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ใหก้ บั วงการกฬี า และ (๗) การพฒั นาของเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ซงึ่ จะชว่ ยเพมิ่ ชอ่ งทาง ในการเข้าถึงและการมีส่วนร่วมในการเล่นหรือการชมกีฬา ทั้งนี้ แนวโน้มหรือปัจจัยส�ำคัญดังกล่าวคาดว่าส่งผลกระทบ ต่อการปรับเปล่ยี นรปู แบบการกีฬาของไทยและการวางแผนการพัฒนาการกีฬาของประเทศในอนาคต ๒.๔ การพัฒนาวิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนาของแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ จึงได้ค�ำนึงถึงสภาวการณ์ ด้านการพัฒนาการกีฬาของประเทศในปัจจุบัน โดยมุ่งเน้นที่การพัฒนาจุดอ่อนและเสริมสร้างจุดแข็ง และแนวโน้ม ที่อาจจะส่งผลกระทบกับการพัฒนาการกีฬาของประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยสามารถพร้อมรับมือและใช้ประโยชน์จาก สภาพแวดลอ้ มและบรบิ ททอ่ี าจเปลยี่ นแปลงไป และใชป้ ระโยชนจ์ ากแนวโนม้ เหลา่ น้ี ในขณะเดยี วกนั ไดม้ กี ารกำ� หนดกรอบ แนวคิดการด�ำเนินการ โดยพิจารณาจากกฎหมาย นโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงาน ท่ีมีความเก่ียวข้องกับการพัฒนา การกีฬาอย่างมีนัยส�ำคัญของประเทศ เพื่อให้ทิศทางการพัฒนาการกีฬาเป็นไปอย่างสอดคล้องกับการพัฒนา ของประเทศ ดงั นี้ ๑) ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. .... มีการบัญญัติเร่ืองการกีฬาและบทบาทหน้าที่ของ การกีฬาไว้อย่างชัดเจนในร่างรัฐธรรมนูญ มาตรา ๗๑ วรรคแรก กล่าวคือ “รัฐพึงเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว อันเป็นองค์ประกอบพ้ืนฐานท่ีส�ำคัญของสังคม จัดให้ประชาชนมีท่ีอยู่อาศัยอย่างเหมาะสม ส่งเสริมและพัฒนาการสร้าง เสริมสุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรงและมีจิตใจเข้มแข็ง รวมท้ังส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาไปสู่ความเป็นเลิศ และเกิดประโยชนส์ งู สุดแกป่ ระชาชน” ๒) ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของรัฐบาล ประกอบด้วย (ร่าง) ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ยุทธศาสตร์ประชารัฐ และยุทธศาสตร์ประเทศไทย ๔.๐ ที่มุ่งเน้นในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชน การพัฒนาเศรษฐกจิ ของชาตดิ ว้ ยนวตั กรรม และมงุ่ สู่การมีส่วนรว่ มของภาครฐั ภาคเอกชน และประชาชน อย่างใกล้ชิด ในการท่ีจะขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศไปสู่เป้าหมายท่ีจะลดความเหลื่อมล้�ำ พัฒนาคุณภาพคน เพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ๓) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) มกี ารกำ� หนดการพฒั นา ประเทศ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาด้วยการยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและค�ำนึงถึง “การพัฒนาท่ีย่ังยืน” โดยใช้ “คนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา” โดยในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการกีฬา คือ มุ่งลดปัจจัยเส่ียงทางสุขภาพและส่งเสริม ให้ประชาชนมีพฤติกรรมทางสุขภาพท่ีดี ในลักษณะของ (๑) การส่งเสริมการพัฒนาความรู้ในการดูแลสุขภาพ

เเผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ค

กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา

(๒) พัฒนารูปแบบการออกก�ำลังกายและโภชนาการที่เหมาะสมกับแต่ละวัย สนับสนุนการสร้างสภาพแวดล้อมและการ รณรงค์ให้มีการตลาดเชิงกิจกรรมท่ีเอื้อต่อการส่งเสริมทางกายและสุขภาพแก่ประชากรกลุ่มต่างๆ (๓) การสร้างกลไก ในการจดั ทำ� นโยบายสาธารณะทต่ี อ้ งคำ� นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ และ (๔) การพฒั นาอตุ สาหกรรมการกฬี าอยา่ งครบวงจร ๔) วาระการปฏริ ปู ด้านการกีฬา ตามวาระปฏิรูปท่ี ๑๙ การกีฬาทเี่ กิดจากการรวบรวมความคดิ เห็นจาก ทุกภาคส่วนโดยเฉพาะจากความประสงค์ของประชาชนท่วั ประเทศ ซงึ่ ผา่ นความเหน็ ชอบของสภาปฏริ ูปแหง่ ชาติ (สปช.) และสภาขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ (สปท.) ตามลำ� ดบั ผา่ นการพจิ ารณาของคณะรฐั มนตรี การพจิ ารณาจากสว่ นราชการ ทเี่ กยี่ วขอ้ งรวม ๑๔ หนว่ ยงาน ซง่ึ มกี ระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี าเปน็ หนว่ ยรบั ผดิ ชอบในการประสานงาน ทมี่ สี าระสำ� คญั มุ่งเน้นว่า การกีฬาจะต้องตอบสนองสังคมและประชาชนในเร่ืองของ (๑) การพัฒนาคุณภาพชีวิตท้ังด้านร่างกาย จิตใจ และวนิ ยั ของพลเมอื งดว้ ยการกฬี า (๒) การมสี ว่ นรว่ มและการบรกิ ารสาธารณะของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ (๓) การสง่ เสรมิ การสรา้ ง มลู คา่ เพมิ่ ทางเศรษฐกจิ จากการกฬี า (๔) การปฏริ ปู นโยบายและโครงสรา้ งเพอ่ื พฒั นาระบบการขบั เคลอ่ื นการกฬี าของชาติ (๕) การปฏิรูปและการพัฒนาการกีฬาเพ่ือความเป็นเลิศในทุกระดับ และ (๖) การสร้างสัมพันธภาพและแสดงศักยภาพ ทางการกฬี าของประเทศไทยในระดับสากล ทั้งนี้ การพิจารณานโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนงานข้างต้น สามารถจัดท�ำกรอบแนวคิดการด�ำเนินการจัดท�ำ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ท่ีมุ่งเน้น (๑) การพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิต ของประชาชน (๒) การพัฒนากีฬาเพ่ือความเป็นเลิศในทุกระดับ (๓) การพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาอย่างครบวงจร (๔) การบริหารจัดการการกีฬาที่เป็นระบบด้วยกลไกท่ีมีประสิทธิภาพโดยอยู่บนพ้ืนฐานของความทันสมัย มีมาตรฐาน ทวั่ ถงึ และเปน็ ธรรม ซง่ึ จะตอ้ งมกี ารพฒั นาระบบการมสี ว่ นรว่ มของหนว่ ยงานภาครฐั และภาคประชาชนตงั้ แตร่ ะดบั ทอ้ งถน่ิ

๓. วสิ ัยทัศน์ เปา้ ประสงค์ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ และแนวทางการพฒั นา

แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ และแนวทางการพฒั นา ดังนี้ ๓.๑ วิสัยทัศน์ “การกฬี าเปน็ สว่ นสำ� คญั ของวถิ ชี วี ติ ประชาชนทกุ ภาคสว่ น และเปน็ กลไกสำ� คญั ในการสรา้ งคณุ คา่ ทางสงั คม และสง่ เสริมเศรษฐกิจของประเทศ” โดยมีหลกั แนวคดิ เพอื่ การก�ำหนดแนวทางการพัฒนา ดงั น้ี ๑) การกีฬาเป็นส่วนส�ำคัญของวิถีชีวิตประชาชนทุกภาคส่วน โดยส่งเสริมให้ประชาชนทุกคน มีความตระหนักถึงประโยชน์ของกีฬาโดยเฉพาะเด็กและเยาวชน เพิ่มโอกาสให้ประชาชนทุกคนได้เล่นกีฬาหรือชมกีฬา ทีต่ นเองตอ้ งการอย่างเทา่ เทยี ม ๒) การกีฬาเป็นกลไกส�ำคัญในการสร้างคุณค่าทางสังคม โดยสร้างปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนา กีฬาเพื่อความเป็นเลิศ อาทิ บุคลากรการกีฬา โครงสร้างพ้ืนฐานด้านการกีฬา กิจกรรมด้านการกีฬา องค์กรกีฬา องค์ความรู้วิทยาศาสตร์การกีฬา และนโยบายในการผลักดันกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ อันจะสร้างแรงบันดาลใจและน�ำมา ซ่งึ ความสามคั คีแกค่ นในชาติ ๓) การกีฬาเป็นส่วนส�ำคัญในการส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศ โดยจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการกีฬาท่ีมีมาตรฐานและอยู่ในระดับช้ันน�ำของภูมิภาคเอเชีย รวมท้ังการสร้างกิจกรรมด้านการกีฬาในทุกระดับ เพื่อเปน็ สว่ นสำ� คัญในการพฒั นาเศรษฐกจิ ไทย ผลกั ดันให้ภาครัฐและเอกชนมีส่วนรว่ มในการสรา้ ง ส่งเสรมิ และสนับสนุน อุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา และส่งเสริมการบริหารจัดการกีฬาให้มีมาตรฐานที่ดี ท�ำให้การกีฬาไทย เป็นทน่ี า่ สนใจสำ� หรบั คนไทยและต่างชาติ ทั้งนกั กฬี า ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน

ง เเผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา

๓.๒ เปา้ ประสงค์ ๑) ประชาชนทุกภาคส่วนมีความสนใจในการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬา โดยมีสัดส่วนประชากร ทอี่ อกก�ำลังกายและเล่นกีฬาอยา่ งสม�่ำเสมอ ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๓๐ ของประชากรทั่วประเทศ ๒) นักกีฬาผู้แทนของประเทศไทยประสบความส�ำเร็จในการแข่งกีฬาท้ังในระดับภูมิภาค ระดับทวีป และระดับโลก เพ่ือสร้างความสมัครสมานสามัคคีและน�ำมาซ่ึงความภาคภูมิใจแก่คนในชาติ โดยเป็นเจ้าเหรียญทอง ในการแข่งขันซีเกมสแ์ ละอาเซียนพาราเกมส์ และไม่น้อยกวา่ อันดบั ที่ ๖ ในการแขง่ ขันเอเชียนเกมส์และเอเชยี นพาราเกมส์ และไมน่ อ้ ยกวา่ อนั ดบั ที่ ๗ ของประเทศจากทวปี เอเชยี ในมหกรรมกฬี าโอลมิ ปกิ เกมสแ์ ละไมน่ อ้ ยกวา่ อนั ดบั ท่ี ๖ ของประเทศ จากทวปี เอเชยี ในมหกรรมกีฬาพาราลมิ ปิกเกมส์ ๓) อุตสาหกรรมการกีฬาของประเทศไทยสามารถช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของประเทศและ มีการเติบโตต่อเนื่องอย่างย่ังยืน โดยมีอัตราการเติบโตของรายได้จากอุตสาหกรรมการกีฬาไม่ต�่ำกว่าอัตราการเติบโต โดยเฉล่ยี ในระยะ ๕ ปที ่ผี า่ นมา ๓.๓ ตัวช้วี ัด ๑) ประชากรทกุ ภาคสว่ นออกกำ� ลงั กายและเล่นกีฬาอย่างสม�่ำเสมอไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๓๐ ของประชากร ท้งั ประเทศ (สดั สว่ นประชากรทม่ี ีการเลน่ กฬี า/ออกก�ำลังกาย หรือการทำ� กจิ กรรมนันทนาการภายใต้การสำ� รวจกจิ กรรม ทางกายส�ำหรับกล่มุ ประชากรทีม่ ีอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ของสำ� นกั งานสถิติแห่งชาต)ิ ๒) อนั ดบั การแข่งขันกฬี าในมหกรรมกีฬาระดบั นานาชาติของนักกีฬาไทยไม่ต�่ำกว่า อันดับท่ี ๗ ของเอเชีย ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเกมส์ อันดับท่ี ๖ กีฬาเอเชียนเกมส์ และอันดับที่ ๑ กีฬาซีเกมส์ และอันดับของนักกีฬา คนพิการไทย ไม่ต�่ำกว่าอันดับท่ี ๖ ของเอเชียในการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกเกมส์ อันดับท่ี ๖ กีฬาเอเชียนพาราเกมส์ และอนั ดบั ที่ ๑ กฬี าอาเซียนพาราเกมส์ ๓) มลู คา่ อตุ สาหกรรมการกีฬามอี ัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยไม่ต่�ำกวา่ รอ้ ยละ ๕ ต่อปี ๓.๔ ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นา ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การส่งเสริมให้เกิดความรู้และความตระหนักด้านการออกก�ำลังกายและการกีฬา ข้ันพ้ืนฐาน เพื่อให้เด็กและเยาวชนทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษา ได้รับการศึกษาด้านพลศึกษาที่มีคุณภาพ อย่างทั่วถึงจากครูพลศึกษาท่ีมีคุณภาพและจ�ำนวนเพียงพอต่อความต้องการ มีการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาข้ันพื้นฐาน ได้อย่างถูกต้อง รู้กฎและกติกา จนสามารถถึงขั้นดูกีฬาเป็นเล่นกีฬาได้ มีทัศนคติที่ดี มีระเบียบวินัยและน้�ำใจนักกีฬา รวมถึงมีการจัดวางระบบโครงข่ายในสถานศึกษาและชุมชน เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและครอบครัว ในการผลักดันให้การออกก�ำลงั กายและการเลน่ กฬี าเป็นส่วนหน่ึงของวิถชี วี ิตต้งั แต่ปฐมวยั โดยมีแนวทางทส่ี �ำคญั ไดแ้ ก่ ๑) การเร่งสร้างและพฒั นาพลศึกษาและสุขศกึ ษาในสถานศกึ ษาทวั่ ประเทศ ๒) การส่งเสริมการพฒั นาการออกก�ำลงั กายและการกฬี าขนั้ พื้นฐานในชมุ ชนท้องถ่ินนอกสถานศึกษา ๓) การจดั วางระบบโครงข่ายและสรา้ งความเช่ือมโยงระหว่างสถานศกึ ษาและชมุ ชน

เเผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จ

กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา

ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ การส่งเสริมใหม้ วลชนมีการออกกำ� ลังกายและมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมการกีฬา เสริมสร้างการออกก�ำลังกายส�ำหรับประชาชนทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ยุทธศาสตร์น้ีถือว่ามีความส�ำคัญ ส�ำหรับประชาชนทั่วไป ทั้งน้ี เพราะการออกก�ำลังกายหรือการเล่นกีฬาจะท�ำให้สุขภาพพลานามัยแข็งแรง ลดค่าใช้จ่าย ในการรกั ษาพยาบาล ลดปญั หาสงั คม สามารถใชป้ ระโยชนใ์ นการแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ และอบายมขุ โดยมกี ารสรา้ งโอกาส การเข้าถึงกิจกรรมการออกก�ำลังกายและการเล่นกีฬา และมีการจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก แก่ประชาชนทุกกลุ่มอย่างทั่วถึง รวมไปถึงการส่งเสริมให้ประชาชนมีจิตสาธารณะ และพัฒนาระบบอาสาสมัครการกีฬา โดยมีแนวทางทีส่ ำ� คัญ ไดแ้ ก่ ๑) การจัดหาและพัฒนาสถานที่และอุปกรณ์กีฬาที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อการออกก�ำลังกาย และการเล่นกฬี าของมวลชน ๒) การเสรมิ สรา้ งความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การออกกำ� ลงั กายและการเลน่ กฬี าสำ� หรบั ประชากรทกุ กลมุ่ ๓) การส่งเสรมิ การพัฒนาอาสาสมัครและบุคลากรการกีฬาเพอื่ มวลชนอยา่ งเป็นระบบ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนากีฬาเพ่อื ความเป็นเลศิ และต่อยอดเพื่อความส�ำเร็จในระดบั อาชพี มุ่งเน้นด้านการสร้างและการพัฒนานักกีฬาของชาติให้ประสบความส�ำเร็จในการแข่งขันในระดับต่างๆ เพื่อสร้างช่ือเสียง เกียรติยศ และเกียรติภูมิของประเทศชาติให้ทัดเทียมกับนานาชาติ สามารถสร้างความภาคภูมิใจและ เปน็ เครือ่ งมือในการรวมจิตใจซ่ึงจะเป็นการสรา้ งความรัก ความสามคั คีของคนในชาติ อกี ท้งั ยงั สง่ เสรมิ การพัฒนาตอ่ ยอด นกั กฬี าทมี่ คี วามเปน็ เลศิ ไปสกู่ ารกฬี าเพอ่ื การอาชพี อยา่ งเตม็ ตวั สามารถสรา้ งรายไดจ้ ากความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ และ ประสบการณ์ โดยจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานท่ีพร้อมรองรับการพัฒนา ประกอบกับการจัดให้มีระบบสวัสดิการช่วยเหลือ และสง่ เสริมการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการรว่ มพฒั นาตลอดเสน้ ทางอาชพี นกั กีฬา โดยมีแนวทาง ทสี่ ำ� คญั ได้แก่ ๑) การเฟน้ หาและพัฒนานักกีฬาทีม่ คี วามสามารถทางการกฬี าเพื่อความเป็นเลิศ ๒) การพฒั นาบคุ ลากรการกฬี าอยา่ งเปน็ ระบบและมมี าตรฐานสากล เพอื่ การพฒั นากฬี าเพอ่ื ความเปน็ เลศิ และการอาชพี อยา่ งย่งั ยืน ๓) การสรา้ งและพัฒนาศูนย์บรกิ ารการกฬี าและศูนย์ฝึกกฬี าแห่งชาติท่เี ปน็ มาตรฐาน ๔) การสง่ เสรมิ และจัดเตรยี มการดูแลสวสั ดกิ ารและสวสั ดภิ าพของนักกฬี าและบคุ ลากรการกฬี า ๕) การสง่ เสริมและพฒั นากฬี าเพอ่ื การอาชีพอย่างเป็นระบบ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ การพฒั นาอตุ สาหกรรมการกฬี าเพอื่ เปน็ สว่ นสำ� คญั ในการสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกจิ ม่งุ พัฒนาอตุ สาหกรรมการกีฬาแบบครบวงจร สามารถสรา้ งมลู คา่ เพิ่ม และส่งเสรมิ เศรษฐกิจของประเทศ โดยมีการสนับสนุนการท�ำธุรกิจท่ีเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการกีฬา อาทิ ธุรกิจการผลิตเส้ือผ้าและอุปกรณ์กีฬา ธุรกิจ เพ่ือการบริการเก่ียวกับการกีฬา ธุรกิจการจัดกิจกรรมการแข่งขันต่างๆ รวมถึงสถาบันพัฒนากีฬาอาชีพทุกระดับ พร้อมทั้งมุ่งพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงกีฬา และจัดตั้งเมืองกีฬา เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านการกีฬาของภูมิภาค โดยมีแนวทางทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ๑) การส่งเสรมิ และสนับสนุนอตุ สาหกรรมการกีฬา ๒) การพฒั นาการกฬี าเพ่อื การทอ่ งเท่ยี วและนันทนาการ (Sport Tourism)

ฉ เเผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการท่องเทย่ี วและกฬี า

ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ การพฒั นาองค์ความรแู้ ละนวัตกรรมที่เกีย่ วข้องกบั การกฬี า มุ่งเน้นดา้ นการสร้างและการพฒั นาสขุ ภาพของประชาชนและสมรรถภาพของนักกีฬา ทั้งทางดา้ นร่างกาย และจิตใจ รวมไปถึงเทคนิคทักษะกีฬาในช่วงการแข่งขันตลอดจนพัฒนาไปสู่ความสามารถสูงสุดของแต่ละบุคคล อย่างเป็นระบบ โดยจัดให้มีโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีมีมาตรฐานและเพียงพอต่อความต้องการ พร้อมทั้งส่งเสริมการวิจัยและ พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การกฬี า และสรา้ งความตระหนกั และการนำ� องคค์ วามรไู้ ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ สงู สดุ กับประชาชนและนกั กีฬาทุกกลมุ่ มีแนวทางการพฒั นาท่สี ำ� คัญ ไดแ้ ก่ ๑) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาท้ังในส่วนกลาง ภูมิภาค และระดบั ท้องถิน่ ๒) การพฒั นาและการสร้างเครือข่ายองคค์ วามรแู้ ละนวัตกรรมทางการกีฬา ๓) การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางการกีฬา เพื่อน�ำไปพัฒนาขีดความสามารถของนักกีฬา และสขุ ภาพของประชาชน ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๖ การยกระดับการบรหิ ารจดั การดา้ นการกฬี าใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการทางการกีฬา โดยเสริมสร้างการบูรณาการต้ังแต่ระดับนโยบายจนถึงระดับ ปฏิบัติการ ผ่านกลไกของคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติท่ีจะมีการจัดต้ังขึ้น รวมไปถึงพัฒนาระบบฐานข้อมูล ที่มีมาตรฐานเพื่อประโยชน์ในการเช่ือมโยงข้อมูลส�ำหรับการติดตามและประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ อีกท้ังส่งเสริม การยกระดับการบริหารจัดการขององค์กรกีฬาต่างๆ ให้ทัดเทียมสากล และอยู่บนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล โดยมแี นวทางการพัฒนาที่สำ� คญั ได้แก่ ๑) การสรา้ งความร่วมมอื ของหนว่ ยงานภาครัฐ และภาคเอกชนท่ีเกย่ี วข้องกับการกฬี า ๒) การพัฒนาฐานข้อมูลด้านการออกก�ำลังกายและการกีฬาต้ังแต่ระดับชาติ ภูมิภาค และท้องถ่ิน เพือ่ การตดิ ตามและประเมนิ ผล ๓) การยกระดบั การบรหิ ารจดั การกฬี าบนพ้นื ฐานของหลักธรรมาภิบาล

๔. การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ

การขับเคล่ือนแผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ไปสกู่ ารปฏบิ ัติใหม้ ีประสิทธภิ าพ และมีความสอดคล้องกันตั้งแตร่ ะดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบตั ิการ ควรให้ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมจากทกุ ภาคสว่ น ๔.๑ ระดับนโยบาย คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ (ท่ีจะจัดตั้งข้ึนตาม ร่างพระราชบัญญัติ นโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. ....) ก�ำกับดูแลนโยบายที่เก่ียวข้องกับการออกกําลังกายและการกีฬา พิจารณาก�ำหนด นโยบายและจัดท�ำแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติเพ่ือเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบ พร้อมทั้งประสานแผน ทั้งในระดบั นโยบายและระดบั พืน้ ที่

เเผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ช

กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา

๔.๒ ระดบั การขบั เคลอ่ื นแผน โดยกระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี าเปน็ เจา้ ภาพหลกั รว่ มกบั สำ� นกั งานเลขานกุ าร คณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติ (ที่จะจัดต้ังขึ้นตามร่างพระราชบัญญัตินโยบายการกีฬาแห่งชาติ พ.ศ. ....) ท�ำหน้าที่ในการน�ำนโยบายและข้อส่ังการในระดับนโยบายแจ้งประสานไปยังหน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้อง รวมทั้งติดตาม ความกา้ วหนา้ การดำ� เนนิ การ และนำ� เสนอขอ้ แนะนำ� และปญั หาอปุ สรรคเสนอตอ่ คณะกรรมการนโยบายการกฬี าแหง่ ชาติ โดยหน่วยงานหลัก ท่ีเป็นส่วนราชการและหน่วยงานในส่วนของกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา ที่รับผิดชอบ ในการผลักดันแผนในแต่ละยทุ ธศาสตร์ไปสู่ระดับการปฏบิ ัติการ ๔.๓ ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร ประกอบดว้ ย สว่ นราชการตา่ งๆ หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชนทม่ี ภี ารกจิ เก่ียวข้องกับการพฒั นาการออกกำ� ลงั กายและการกฬี า สมาคมกฬี า ชมรมกฬี า สโมสรกฬี า สถาบันอุดมศกึ ษา สถานศกึ ษา รวมทงั้ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ทกุ ระดบั เปน็ ผรู้ บั นโยบายจากคณะกรรมการนโยบายการกฬี าแหง่ ชาตแิ ละคณะรฐั มนตรี ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ โดยสอดประสานงานและเช่อื มโยงการด�ำเนินงานให้มุ่งสกู่ ารขับเคลื่อนแผนในแตล่ ะยุทธศาสตร์

ซ เเผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า

บทน�ำ ส่ว๑นท่ี

การกฬี านบั เปน็ สว่ นส�ำคัญต่อการพฒั นาสงั คมและเศรษฐกจิ ของประเทศ เพื่อให้เกิดความมน่ั คง มงั่ คงั่ และยง่ั ยนื ดงั ค�ำกล่าวท่ีว่า “กฬี าสร้างคน คนสร้างชาติ” ซงึ่ มีนยั คือการที่ประเทศชาติจะพัฒนาได้น้นั จำ� เปน็ ตอ้ งมบี ุคลากรการกีฬา โครงสร้างพ้ืนฐานด้านการกีฬา กิจกรรมด้านการกีฬา องค์กรกีฬา องค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการกีฬา และนโยบายในการผลักดันกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ เพื่อพัฒนาการกีฬาให้สามารถสร้างประชาชนท่ีมีคุณภาพ นอกจากนี้ ความส�ำเร็จด้านการกีฬาของประเทศสามารถเป็นดัชนีบ่งชี้ถึงความส�ำเร็จและความเจริญทางเศรษฐกิจของประเทศ ในภาพรวม ดังนั้น กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาจงึ มภี ารกจิ หลักในการก�ำหนดนโยบายและแผนยทุ ธศาสตร์การพฒั นา ในทกุ ระดบั ใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวทางพฒั นาของประเทศ รวมทง้ั จดั ทำ� แผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาตเิ พอ่ื เปน็ กรอบและทศิ ทาง การด�ำเนินการพัฒนาการกีฬาให้แก่หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา นับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติได้ถูกจัดท�ำขึ้นท้ังหมด ๕ ฉบับ โดยมุ่งเน้นเพื่อให้คนไทยได้รับการส่งเสริมให้ออกก�ำลังกาย และเล่นกีฬาจนเป็นวิถีชีวิต มีสุขภาพท่ีดี มีน�้ำใจนักกีฬา เพ่ือพัฒนานักกีฬาของชาติให้ประสบความส�ำเร็จในการแข่งขัน ระดับตา่ งๆ อันจะสร้างความภาคภูมใิ จและน�ำมาซ่งึ ความสามัคคีของคนในชาติ และเพอ่ื ยกระดบั การบริหารจดั การกฬี า ทกุ มติ อิ ยา่ งเปน็ ระบบตามหลักธรรมาภบิ าลให้เกิดการสรา้ งรายได้ สรา้ งอาชพี และพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ อย่างไรก็ตาม ผลการด�ำเนินงานในระยะเวลาท่ีผ่านมายังประสบปัญหาและอุปสรรคส�ำคัญหลายประการ อาทิ ขาดบคุ ลากรดา้ นการพลศึกษา ขาดการส่งเสรมิ และโครงสรา้ งพืน้ ฐานส�ำหรบั การออกกำ� ลังกายและการเล่นกีฬาในระดบั ท้องถิ่น ขาดระบบพัฒนานักกีฬาและบุคลากรกีฬาในระยะยาว บุคลากรการกีฬายังขาดความเป็นมาตรฐาน ขาดการจัดเก็บข้อมูล ติดตาม และประเมินผลอย่างเป็นระบบ ขาดการด�ำเนินการน�ำแนวทางของแผนพัฒนาฯ ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ตลอดจนขาดการบูรณาการท�ำงานของกลไกการบริหารจัดการกีฬา ซ่ึงประเด็นเหล่านี้ ลว้ นมคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การแกไ้ ขและพฒั นาตอ่ ไป ทง้ั นี้ แผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) จะเข้าสู่ระยะเวลาสิ้นสุดของแผน และถือเป็นช่วงเวลาท่ีส�ำคัญของประเทศ คือ ช่วงเวลาแห่งการปฏิรูปประเทศไทย ให้ก้าวไปสู่การเป็นประเทศท่ีมีความ “ม่ันคง ม่ังคั่ง และยั่งยืน” กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาจึงได้ด�ำเนินการจัดท�ำ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) เพื่อเป็นกรอบทิศทางการพัฒนาการกีฬาของประเทศ และเป็นกลไกส�ำคัญในการปฏิรูปการกีฬาของประเทศให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม อันจะน�ำไปสู่การลดความเหล่ือมล้�ำ ของสังคม พัฒนาสุขภาพคุณภาพชีวิต สร้างความสามัคคีและความภาคภูมิใจของคนในชาติ ตลอดจนสร้างมูลค่าเพ่ิม ทางเศรษฐกจิ ให้แกป่ ระเทศต่อไป การจัดท�ำแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) รวมถึงแนวทางการขับเคลื่อน แผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาตฯิ สกู่ ารปฏบิ ตั นิ นั้ ไดม้ กี ารเนน้ กระบวนการทำ� งานทผ่ี า่ นการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของทกุ ภาคสว่ น ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) สภาขบั เคล่อื นการปฏิรูปประเทศ (สปท.) และภาคประชาชน โดยม ี การสัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เช่ียวชาญด้านการกีฬากว่า ๒๕ ท่าน จัดประชุมกลุ่มย่อยเพ่ือรวบรวมข้อมูล

เเผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 1

กระทรวงการท่องเท่ียวและกฬี า

ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะจากผทู้ ีเ่ ก่ยี วขอ้ งดา้ นการกฬี าจากทกุ ภาคสว่ น ใน ๔ ภมู ภิ าค และสว่ นกลาง โดยมีผเู้ ขา้ ร่วม รวมทง้ั ส้ินกว่า ๔๐๐ คน และการจัดประชุมเพือ่ รับฟงั ความคิดเหน็ ตอ่ ขอ้ เสนอรา่ งแผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จากทกุ ภาคสว่ น ท้ังภาครฐั ภาคเอกชน ภาควิชาการ ท้องถน่ิ และสื่อมวลชน โดยมผี ู้เขา้ รว่ ม กว่า ๓๕๐ ท่าน ตลอดจนการท�ำงานผ่านกลไกการมีส่วนร่วมจากผู้แทนของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น คณะท�ำงานจัดท�ำแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติหรือคณะท�ำงานพัฒนาการกีฬา เพ่ือให้ได้แผนพัฒนาการกีฬาระดับชาติ ที่เกิดจากกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนอย่างแท้จริงและสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกัน อีกท้ังได้มีการพัฒนา กรอบการวิเคราะหแ์ บบองค์รวมเพื่อสงั เคราะห์เป็นวิสยั ทัศนก์ ารพัฒนาการกีฬา กำ� หนดประเดน็ ยุทธศาสตร์ ค้นหาปัจจยั และกลไกการด�ำเนินยุทธศาสตร์ และก�ำหนดแนวทางการขับเคล่ือนแผนพัฒนาฯ สู่การปฏิบัติ โดยสามารถสรุป ขน้ั ตอนในการศกึ ษาและจัดทำ� แผนพฒั นากฬี าได้ ๔ ขัน้ ตอนหลัก ดังน้ี (๑) ศึกษาสภาพแวดล้อมและบริบทของภาคการกีฬาและอุตสาหกรรมการกีฬา โดยการศึกษาสถานการณ์และ แนวโน้มของการกีฬาท่ัวโลกและในประเทศ การวิเคราะห์ผลกระทบของสภาพแวดล้อมและบริบทท่ีเปลี่ยนไป และ การทบทวนและเปรียบเทียบทิศทางการพัฒนาการกีฬาของประเทศกรณีศึกษาตัวอย่างด้านการพัฒนาการกีฬาที่ ประเทศไทยควรน�ำไปปรับใช้ เพ่ือรับมือกับบริบทท่ีเปล่ียนไปและยกระดับขีดความสามารถให้สอดคล้องกับโอกาส ท่เี ขา้ มาใหม่ (๒) ทบทวนนโยบายและแผนยทุ ธศาสตรด์ า้ นการกฬี าของหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ตงั้ แต่ (รา่ ง) กรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ตลอดจนแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานต่างๆ ภายใต้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เพ่ือให้การพัฒนาทั้งด้านสังคม และเศรษฐกิจของประเทศเป็นไปอยา่ งสอดคลอ้ งและมที ิศทางเดยี วกัน (๓) ศึกษาแผนปฏิรูปการกีฬาของประเทศไทยของสภาปฏิรูปแห่งชาติ ที่เกิดจากการรวบรวมความคิดเห็นจาก ทุกภาคส่วนโดยเฉพาะจากความประสงค์ของประชาชนท่ัวประเทศ ซึ่งประกอบไปด้วย ๖ พันธกิจ ๖ ยุทธศาสตร์ ๓๗ แนวทาง ๑๐๐ โครงการ เพ่ือนำ� มาปรบั ใชก้ บั แผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) (๔) ทบทวนผลการด�ำเนนิ งานของแผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) เพ่อื ตดิ ตาม ผลการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง รวมทง้ั การประเมนิ ผลการพฒั นาตามตวั ชวี้ ดั ทแ่ี สดงถงึ ผลสำ� เรจ็ ตามเปา้ หมาย ท่ีก�ำหนดไว้ของการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติในระยะท่ีผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ตลอดจน ปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการพัฒนาการกีฬาท่ีผ่านมาเพ่ือน�ำบทเรียนมาปรับใช้ในการจัดท�ำแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั น้ี

2 เเผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า

๑ สภาพแวดลอ้ มและบรบิ ท คณะท�ำงานจดั ท�ำแผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ = การวิจัยขัน้ ปฐมภมู ิ การกฬี าของประเทศไทย คณะท�ำงานพัฒนาการกฬี า = การวจิ ัยขัน้ ทตุ ยิ ภูมิ และของโลก = การนำ� เสนอเพื่อพิจารณา/ใหข้ ้อเสนอแนะ/เหน็ ชอบ

๒ การพัฒนากีฬาของประเทศ บทวเิ คราะห์ (ร่าง) คณะ คณะรฐั มนตรี คแู่ ขง่ และประเทศตน้ แบบ สถานการณ์ แผนพฒั นาการกีฬา กรรมการ รายส�ำคญั การกฬี า แห่งชาติ ฉบบั ที่ ๖ ยกร่าง

๓ นโยบาย/แผนยทุ ธศาสตร์ที่ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - เกย่ี วข้องกบั การกีฬาของ ๒๕๖๔) ประเทศไทย ๕ ๔ ผลการดำ� เนนิ งานตามแผน ฉบบั ที่ ๕ การประชุมเพื่อรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ต่อ (รา่ ง) แผนฯ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ๕ การสัมภาษณ์

เชงิ ลึกผู้เช่ียวชาญ ดา้ นการกฬี า

๕ การประชุมกลุ่มยอ่ ย ในภูมภิ าคเพอื่ รับฟงั ความคิดเห็น

กระบวนการจัดทำ� แผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ

แผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติฉบบั น้ไี ดม้ งุ่ หวังว่า ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ เด็กและเยาวชนทว่ั ประเทศสามารถเข้าถงึ การเรยี นการสอนวชิ าพลศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพ ประชากรทกุ ภาคสว่ นมกี ารออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี าอยา่ งสมำ�่ เสมออนั จะนำ� มาส่สู ขุ ภาพท่ดี ที ั้งด้านร่างกายและจิตใจ นักกีฬาไทยสามารถประสบความส�ำเรจ็ ในการแข่งกฬี าทงั้ ในระดบั อาเซยี น เอเชยี และโลกเพ่ือสร้างความสามัคคีและน�ำมาซ่ึงความภูมิใจให้แก่ประชาชนในประเทศ อุตสาหกรรมการกีฬาช่วยสร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจของประเทศและมีการเติบโตต่อเน่ืองอย่างย่ังยืน องค์ความรู้ด้านการกีฬาได้รับการพัฒนาและถูกน�ำไปใช้ ประโยชนใ์ นการสง่ เสรมิ การพฒั นาการกฬี าของประเทศ การบรหิ ารจดั การดา้ นการกฬี าไดร้ บั การยกระดบั ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และมีการบูรณาการความร่วมมอื ระหวา่ งหนว่ ยงานภาครัฐและภาคเอกชนทกุ ระดบั

เเผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 3

กระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬา

สว่๒นท่ี สถานการณ์ แนวโนม้ และทศิ ทางการพฒั นากีฬา

การกีฬาถือเป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งในการด�ำเนินชีวิตของประชากรทั่วโลกมาเป็นเวลานาน มีพัฒนาการ หลากหลายมิติและมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ท้ังน้ี เน่ืองจากได้เกิดการพัฒนาความรู้ในเชิงวิทยาศาสตร์หลายสาขา ท่ีมีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ประชากรท่ัวโลกมีสุขภาวะท่ีดี จึงน�ำมาสู่ความตระหนักรู้ในเรื่องสุขภาพ และคุณภาพชีวิตอันเกิดมาจากการออกก�ำลังกาย การเล่นกีฬา และการร่วมกิจกรรมนันทนาการ เพื่อพัฒนาสุขภาพ พลานามยั และเพ่ิมปฏิสัมพนั ธอ์ นั ดขี องคนในสังคมทุกระดบั ซ่งึ หลายประเทศสามารถใชเ้ ปน็ เครือ่ งมือส�ำคัญในการแกไ้ ข ปัญหาความมั่นคงของมนุษย์ และความม่ันคงทางสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จนเป็นท่ียอมรับ อยา่ งกวา้ งขวางวา่ การเลน่ กฬี าเปน็ วธิ ที ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพมากทสี่ ดุ วธิ หี นง่ี ทชี่ ว่ ยใหป้ ระชากรทวั่ โลกสามารถเพมิ่ ประสบการณ์ ชีวติ ด้านสังคม และอยูร่ ่วมกนั อยา่ งเปน็ สขุ

๑. สถานการณแ์ ละแนวโน้มการกีฬาของโลก

๑.๑ สถานการณก์ ารกฬี า กระแสโลกาภิวฒั นแ์ ละววิ ัฒนาการทางดา้ นอุตสาหกรรมต่างๆ ทไ่ี ด้แปรเปลีย่ นไปตามยุคสมัย ไดก้ อ่ ใหเ้ กิด ค่านยิ ม วถิ ีชีวิตใหม่ การประกอบอาชพี และการสร้างมูลคา่ ในเชิงสังคมและเศรษฐกจิ ในแต่ละประเทศทม่ี ีความแตกต่าง กนั ออกไป การพฒั นากฬี าทว่ั โลกในอดตี ทผี่ า่ นมา มปี รากฏการณท์ เี่ ปน็ แรงผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การพฒั นาการกฬี าใน ๒ มติ ิ ดงั น้ี ๑.๑.๑ พัฒนาการทางการกีฬาในภาพรวม (Megatrends) ปัจจัยส�ำคัญท่ีขับเคล่ือนการเติบโต ของการกีฬาและอุตสาหกรรมการกีฬาสามารถจ�ำแนกออกเป็น ๕ ประการหลกั ได้แก่ ๑) ความตื่นตัว การเอาใจใส่สุขภาพและการออกก�ำลังกายที่เพิ่มมากข้ึน การมีรูปร่าง และบุคลิกภาพท่ีดีอันเกิดจากการมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ได้รับการยอมรับว่าเป็นส่วนส�ำคัญในการท�ำให้ตัวเองดูดี และน่าดึงดูดในยุคสมัยนี้ โดยมีสื่อต่างๆ เป็นตัวชี้น�ำ จนท�ำให้ประชาชนทั่วไปเร่ิมตระหนักว่าสุขภาพและพลานามัย เปน็ เร่ืองที่จ�ำเป็นตอ้ งใส่ใจเพ่อื ทำ� ใหต้ นดูดอี ยเู่ สมอ ประกอบกบั ความรนุ แรงของการเป็นโรคและแนวโนม้ ค่าใชจ้ า่ ยในการ รกั ษาโรคทเ่ี พ่ิมมากขน้ึ จงึ หันมาสนใจดแู ลสขุ ภาพตนเองมากยิ่งขึน้ ๒) การผลกั ดนั และสง่ เสรมิ การกฬี ามวลชนโดยภาครฐั รฐั บาลทวั่ โลกโดยเฉพาะประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ โดยส่วนใหญ่มีนโยบายส่งเสริมการกีฬาให้กับประชากรในทุกระดับ ทุกพื้นที่ และทุกมิติภายในประเทศ ผ่านกิจกรรม ระดับประเทศ ระดับภมู ิภาค ระดับทอ้ งถ่ิน และระดับชุมชน ซงึ่ ปจั จยั สำ� คัญท่ผี ลกั ดันใหเ้ กิดนโยบายและกิจกรรมส่งเสรมิ การกีฬา คือ สังคมผู้สูงอายุท่ีต้องการมีชีวิตหลังเกษียณอายุท่ีดี การมีอายุขัยโดยเฉล่ียท่ียาวนานขึ้น ความต่ืนตัว และการเอาใจใส่สุขภาพ การเปล่ียนแปลงของค่านิยมต่อการกีฬาในกลุ่มประชาชน และการเรียกร้องถึงความเสมอภาค ของกลุม่ ผดู้ อ้ ยโอกาสและคนพิการ ๓) โลกาภิวัตน์กับเศรษฐกิจการกีฬาท่ีเปลี่ยนไป ในยุคที่การส่ือสารสามารถส่งผ่านข้อมูล ได้อยา่ งรวดเรว็ และการบรโิ ภคขอ้ มูลขา่ วสารอย่างไร้ขีดจำ� กดั ทำ� ให้เกดิ พลวตั (Dynamic) ของเศรษฐกิจของการกฬี าโลก ทเี่ ปลย่ี นไป อาทิ นกั กฬี าอาชพี นยิ มทจี่ ะเลอื กเลน่ ชนดิ กฬี าหรอื แขง่ ขนั กฬี าในประเทศทใ่ี หค้ า่ ตอบแทนสงู กวา่ การทำ� ธรุ กจิ

4 เเผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา

และการค้าขายออนไลน์เพ่ือตอบสนองกลุ่มลูกค้ากีฬาจากท่ัวทุกมุมโลกแทนการมุ่งเน้นขายแค่กลุ่มลูกค้าเดิม การพัฒนา การกฬี าในเชิงธรุ กจิ การค้า และการมุ่งตอบสนองกลุม่ ผชู้ มทเ่ี ปน็ เป้าหมายบางกลุ่มอายเุ ป็นพิเศษเพอ่ื เพิม่ ก�ำไร ๔) การปรับเปล่ียนวิถีชีวิตของประชากร วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงจากในอดีต โดยจากเดมิ มวี ถิ ชี วี ติ สว่ นใหญอ่ ยใู่ นทพ่ี กั อาศยั เปน็ ชวี ติ ทเ่ี รยี บงา่ ยและไมเ่ รง่ รบี แตใ่ นปจั จบุ นั มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งออกเดนิ ทาง เพอ่ื ไปประกอบอาชพี นอกบา้ น และในเวลาทจ่ี ำ� กดั ทำ� ใหต้ อ้ งปรบั เปลย่ี นวถิ ชี วี ติ ซงึ่ สง่ ผลใหเ้ กดิ รปู แบบการออกกำ� ลงั กายใหมๆ่ ที่เหมาะสมกับการใช้ชีวิตแบบคนรุ่นใหม่มากขึ้น อาทิ การออกก�ำลังกายกลุ่มเล็ก การเล่นโยคะ และการออกก�ำลังกาย ในฟิตเนสท่ีมีบริการหลากหลายรูปแบบ รวมไปถึงการวางแผนการออกก�ำลังกายหรือการเล่นกีฬาที่เหมาะสม กบั ความชอบของตวั เอง (Personalized Sports) เพื่อให้สามารถจัดการเวลาการใชช้ วี ิตของตนในแตล่ ะวนั ๕) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิตอล วิทยาศาสตร์การกีฬา เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารในยุคสังคมดิจิตอลในปัจจุบัน ช่วยเพิ่มการมีส่วนร่วมและสร้างสรรค์ประสบการณ์ใหม่ระหว่างนักกีฬาและ ผชู้ มกฬี า อนิ เทอรเ์ นต็ และสอ่ื สงั คมออนไลนไ์ ดร้ บั การพฒั นาใหก้ ลายมาเปน็ สอ่ื กลางรปู แบบใหมท่ ช่ี ว่ ยใหเ้ กดิ การรวมกลมุ่ คน ที่มีความนิยมหรือชื่นชอบการชมกีฬาท่ีคล้ายคลึงกันเพ่ิมมากข้ึน นอกจากน้ี เทคโนโลยีสมัยใหม่ยังช่วยเสริมสร้างให้เกิด ธุรกิจใหม่ที่เก่ียวกับการกีฬา ในขณะเดียวกันวิทยาศาสตร์การกีฬาก็มีพัฒนาการอย่างมากจนสามารถก่อให้เกิดรายได ้ จากผลิตภัณฑ์และบริการ ซึ่งการพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์การกีฬาในการสร้างนวัตกรรม และ อุปกรณก์ ารกฬี าทีช่ ว่ ยเพม่ิ สมรรถภาพให้กับผ้ใู ชป้ ระโยชน์และนักกฬี า ๑.๑.๒ พัฒนาการทางการกีฬาเฉพาะกลุ่ม (Segment - specific trends) สามารถจ�ำแนกแนวโน้ม ของการพัฒนาการกฬี าเฉพาะกลมุ่ ในภาพรวมของโลกและภมู ิภาคออกเป็น ๒ กลมุ่ ได้แก่ ๑) กฬี าอาชีพ (Professional Sports) แบง่ ออกเป็น ๓ มิติ ดังน้ี (๑) ผู้ชมกีฬาท่ัวโลกนิยมรับชมกีฬาฟุตบอลเป็นอันดับหนึ่ง ซึ่งสร้างรายได้สูงกว่า ๓๙ พนั ลา้ นเหรียญสหรฐั ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ และเมอื่ พิจารณาจำ� แนกตามภูมิภาคจะเห็นไดว้ า่ ทวีปเอเชยี มจี �ำนวนผ้ชู มกฬี า ที่สูงสุดถึง ๒.๗ พันล้านคน แต่สามารถสร้างรายได้ได้เพียง ๑๑ พันล้านเหรียญสหรัฐ เมื่อเทียบกับผู้ชมกีฬาในทวีป อเมริกาเหนอื ซึ่งมีเพียง ๐.๒ พันล้านคน แตก่ ลบั สามารถสรา้ งรายไดก้ ว่า ๓๑ พันล้านเหรยี ญ ดังน้นั ผชู้ มกฬี าในเอเชยี จึงมีโอกาสในการเติบโตทั้งจ�ำนวนและรายได้ นอกจากน้ี จ�ำนวนนักกีฬาและกิจกรรมทางการกีฬาในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้มีแนวโน้มลดลงด้วยอัตราการถดถอยมากกว่าร้อยละ ๑.๒ ต่อปี ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๒๕๕๘ เน่อื งมาจากเยาวชนให้ความสนใจการเล่นกฬี าที่น้อยลง อกี ทง้ั นกั กีฬาหลายคนไดห้ นั เหไปเลน่ กฬี าในภมู ิภาคและไปอยใู่ น อตุ สาหกรรมหรอื ภาคการผลิตอื่น (๒) ผลิตภัณฑ์ทางการกีฬา ห่วงโซ่แห่งคุณค่า (Value Chain) ของอุตสาหกรรมการกีฬา เพ่ืออาชีพได้ครอบคลุมหลากหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมีรัฐบาลในฐานะเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬา สโมสรกฬี า องคก์ รการจดั กจิ กรรมกฬี า หนว่ ยงานใหบ้ รกิ ารโครงสรา้ งพน้ื ฐาน จนถงึ สอื่ ประชาสมั พนั ธ์ ผถู้ า่ ยทอดลขิ สทิ ธกิ์ ฬี า อีกทั้งผู้ผลิตอุปกรณ์ทางการกีฬาต่างๆ นอกจากนี้ ยังมีความเก่ียวเน่ืองเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมอ่ืนๆ ซ่ึงสามารถ สรา้ งรายได้เขา้ สูป่ ระเทศและส่งเสรมิ การพัฒนาของนกั กฬี าได้ (๓) รายได้จากการกีฬา ในปี ๒๕๕๘ การกีฬาเพื่ออาชีพทั่วโลกสามารถสร้างรายได้กว่า ๑๔๕ พันล้านเหรียญสหรัฐ โดยในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๘ มีอัตราการเจริญเติบโตกว่าร้อยละ ๒.๖ ต่อปี ในขณะทบี่ างภมู ภิ าคมอี ตั ราการเตบิ โตของอตุ สาหกรรมการกฬี าสงู กวา่ อตั ราการเจรญิ เตบิ โตของ GDP อกี ดว้ ย และคา่ บตั ร เข้าชมกีฬาเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนรายได้ของอุตสาหกรรมการกีฬา อย่างไรก็ดี รายได้จากสปอนเซอร์มีแนวโน้ม

เเผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 5

กระทรวงการท่องเท่ียวและกฬี า

เติบโตเร็วท่ีสุด ร้อยละ ๕.๓ ต่อปี ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๘ เมื่อเทียบกับอัตราการเจริญเติบโตของรายได้ จากคา่ บัตรเขา้ ชมกีฬาที่มเี พียงรอ้ ยละ ๒.๕ ต่อปี ๒) กฬี าเพอื่ ความบันเทิงและนันทนาการ (Recreational Sports) แบง่ ออกเป็น ๓ มติ ิ ดังนี้ (๑) ผเู้ ลน่ กฬี า ความนยิ มของการรกั สขุ ภาพทวั่ โลกสง่ ผลใหร้ ายไดโ้ ดยรวมของสถานออกกำ� ลงั กาย ท่ัวโลกเติบโตกว่าร้อยละ ๔.๔ ต่อปี ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ และมีมูลค่ากว่า ๘๔ พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี ๒๕๕๗ ทั้งนี้ เม่ือส�ำรวจอัตราความตื่นตัวของประชากร พบว่าภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีอัตราความตื่นตัว ของประชากรท่ีสูงเมื่อเทียบกับภูมิภาคอ่ืนท่ัวโลก นอกจากน้ีมูลค่าของการน�ำเข้าอุปกรณ์ทางการกีฬาในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ได้เติบโตข้ึนกว่าร้อยละ ๗.๔ ต่อปี ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ บ่งช้ีถึงความต้องการ ทเ่ี พมิ่ มากขนึ้ อย่างต่อเนื่องในการเลน่ กีฬาเพอ่ื การนนั ทนาการ (๒) ผลิตภัณฑ์ทางการกีฬา รัฐบาลของนานาประเทศได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการกีฬา ท่ีสามารถช่วยขับเคล่ือนการเปล่ียนแปลงเชิงสังคมและคุณภาพชีวิตของประชากร ดังน้ันรัฐบาลในหลากหลายประเทศ จงึ ไดจ้ ดั สรรเงนิ ทนุ ดา้ นการกฬี าเพอื่ สง่ เสรมิ ความเขา้ ถงึ ของกฬี าสำ� หรบั ประชากรทกุ กลมุ่ ในประเทศ อาทิ สหราชอาณาจกั ร ซ่ึงเป็นหนึ่งในประเทศชั้นน�ำทางด้านการเล่นกีฬา ได้จัดสรรเงินจ�ำนวนกว่า ๑๔๘ ล้านปอนด์ส�ำหรับการส่งเสริมการเล่น กฬี าในประเทศ อกี ท้ังการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและผลติ ภณั ฑก์ ารกฬี าท่หี ลากหลาย ในระหว่างปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๓ (๓) รายไดจ้ ากการกฬี า ผผู้ ลติ อปุ กรณท์ างการกฬี าทวั่ โลก มอี ตั ราการเตบิ โตของรายไดโ้ ดยเฉลย่ี สงู กว่ารอ้ ยละ ๗.๘ ต่อปี ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๙ – ๒๕๕๘ และมรี ายไดร้ วมกวา่ ๕๕ พนั ล้านเหรยี ญสหรัฐ ในปี ๒๕๕๘ เน่ืองด้วยความตื่นตัวในการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพและเพ่ือการนันทนาการในทุกภูมิภาค นอกจากน้ี มูลค่าการส่งออก ของผลติ ภณั ฑก์ ฬี าในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตส้ งู ถงึ ๑ พนั ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ในปี ๒๕๕๗ โดยมอี ตั ราการเจรญิ เตบิ โต กวา่ รอ้ ยละ ๘.๕ ต่อปี ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ นอกจากนี้ การกีฬาและนันทนาการกีฬาทั่วโลกได้สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ (Gross Value Added: GVA) โดยมีอัตราการเติบโตข้ึนอย่างต่อเนื่อง ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๘ ประมาณร้อยละ ๒.๒ ต่อปี๑ และคิดเป็น ร้อยละ ๑.๒๔ เม่ือเทียบกับค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมท่ัวโลก (Gross Domestic Product: GDP) แสดงให้เห็นว่าการกีฬา และนนั ทนาการสามารถสรา้ งมลู คา่ เพมิ่ ทางเศรษฐกจิ ของโลกในภาพรวมไดอ้ ยา่ งมเี สถยี รภาพ และมแี นวโนม้ วา่ จะสามารถ เพิ่มระดับการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจได้อย่างมีนัยส�ำคัญในอนาคต โดยในช่วงระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๘ อตุ สาหกรรมการกฬี าโลกสามารถสรา้ งรายไดร้ วม ๕ – ๖ แสนลา้ นเหรยี ญสหรฐั และมอี ตั ราการเตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอื่ งประมาณ รอ้ ยละ ๓.๘ ต่อปี โดยรายได้ทเี่ กดิ ขึน้ จ�ำแนกได้ ๒ กลมุ่ หลกั คือ ๑) รายได้จากกีฬาเพื่อการอาชีพ (Professional Sports Revenue) มีสัดส่วนประมาณร้อยละ ๒๓ ในปี ๒๕๕๘ เมอื่ เทยี บกบั รายไดร้ วมจากอตุ สาหกรรมการกฬี าทงั้ หมด โดยมสี ดั สว่ นตอ่ รายไดท้ ง้ั หมดและอตั ราเตบิ โตเฉลย่ี สะสมตอ่ ปี (Compound Annual Growth Rate: CAGR) ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๘ ตามประเภทของรายได้ ได้แก่ (๑) ค่าบัตรเข้าชมการแขง่ ขนั กฬี า มีสดั ส่วนตอ่ รายไดร้ ้อยละ ๓๑.๒ และ CAGR รอ้ ยละ ๒.๕ (๒) ค่าสปอนเซอร์ มีสัดสว่ น ต่อรายได้รอ้ ยละ ๓๐.๘ และ CAGR รอ้ ยละ ๕.๓ (๓) คา่ ลขิ สทิ ธกิ์ ารถา่ ยทอด มสี ัดส่วนตอ่ รายไดร้ ้อยละ ๒๔.๒ และ CAGR รอ้ ยละ ๓.๘ (๔) การจ�ำหน่ายสนิ คา้ ท่รี ะลกึ มสี ัดสว่ นต่อรายได้ร้อยละ ๑๓.๘ และ CAGR ร้อยละ ๓.๘

๑ IHS Markit

6 เเผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬา

๒) รายได้จากกีฬาเพื่อความบันเทิงและนันทนาการ (Recreational Sports Revenue) มีส่วนแบ่ง ประมาณร้อยละ ๗๗ ในปี ๒๕๕๘ เม่ือเทียบกับรายได้รวมของอุตสาหกรรมทั้งหมด โดยมีสัดส่วนต่อรายได้ทั้งหมด และอตั ราเติบโตเฉล่ียสะสมต่อปี ในช่วงปี ๒๕๕๓ – ๒๕๕๘ ตามประเภทของรายได้ ได้แก่ (๑) ชุดกฬี า มสี ัดส่วนต่อรายได้ ร้อยละ ๓๔.๒ และ CAGR ร้อยละ ๓.๐ (๒) รองเท้ากีฬา มีสัดส่วนต่อรายได้ร้อยละ ๒๐.๘ และ CAGR ร้อยละ ๓.๙ (๓) สถานออกกำ� ลงั กาย มสี ัดสว่ นตอ่ รายไดร้ ้อยละ ๑๘.๑ และ CAGR ร้อยละ ๔.๒ (๔) อุปกรณก์ ีฬา มีสดั สว่ นตอ่ รายได้ ร้อยละ ๑๔.๖ และ CAGR รอ้ ยละ ๒.๗ (๕) อาหารบ�ำรงุ สขุ ภาพ มสี ดั ส่วนต่อรายไดร้ อ้ ยละ ๑๐.๑ และ CAGR รอ้ ยละ ๙.๙ และ (๖) เครื่องดื่มบ�ำรุงสขุ ภาพ มีสดั ส่วนตอ่ รายได้รอ้ ยละ ๒.๒ และ CAGR ร้อยละ ๕.๗ ๑.๒ แนวโน้มการกฬี าท่สี ำ� คัญ แนวโน้มของการกีฬาท้ังในภาพรวมของโลกและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้มีการเปลี่ยนแปลงไป ในเชิงบวก โดยมีพัฒนาการที่เป็นรูปธรรมและเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ทั้งน้ี เกิดจากการผสมผสานของค่านิยมใหม่ ในดา้ นทศั นคตแิ ละความตระหนกั ถงึ การมสี ขุ ภาพทดี่ จี ากการออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี าของประชาชน และสถานการณโ์ ลก ทเี่ ปลยี่ นแปลงไปอนั สง่ ผลตอ่ วถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ของประชาชน ควบคกู่ บั การเลง็ เหน็ โอกาสทางธรุ กจิ ของผปู้ ระกอบการตา่ งๆ ในหลายภมู ภิ าค ซง่ึ เปน็ เสมอื นปจั จยั ผลกั ดนั การพฒั นาการกฬี าใหม้ แี นวโนม้ เจรญิ เตบิ โตในอนาคต จงึ เปน็ เหตผุ ลทช่ี ดั เจนวา่ การกีฬาของประเทศไทยจะมกี ารพฒั นาอย่างตอ่ เนื่องทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยสามารถสรุปแนวโน้มการกีฬาทสี่ ำ� คัญ ในอนาคตได้ ๗ ประการ ดังน้ี ๑.๒.๑ การเอาใจใส่ต่อสุขภาพและการออกก�ำลังกาย เกิดจากค่านิยมการยอมรับว่าการมีรูปร่างและ บุคลิกภาพที่ดีอันเกิดจากการมีสุขภาพร่างกายท่ีแข็งแรง ได้รับการยอมรับว่าเป็นส่วนส�ำคัญในการท�ำให้ตัวเองดูดี และน่าดึงดูดในยุคสมัยน้ี จนท�ำให้ประชาชนทั่วไปเร่ิมตระหนักว่าสุขภาพและพลานามัยเป็นเรื่องที่จ�ำเป็นต้องใส่ใจ เพื่อท�ำให้ตนดูดีอยู่เสมอ และหันมาให้ความสนใจในการรักษาสุขภาพและใช้ประโยชน์จากการบริการทางด้านสุขภาพ และการออกกำ� ลังกาย ๑.๒.๒ การผลักดันการกีฬาเพ่ือมวลชนอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลในหลายประเทศต่างมีนโยบายส่งเสริม การกีฬาให้กับประชากรทุกกลุ่ม ทุกพ้ืนที่ และทุกมิติภายในประเทศ โดยการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนากีฬาเพ่ือมวลชน ผา่ นกจิ กรรมทหี่ ลากหลายและงา่ ยตอ่ การเขา้ ถงึ สำ� หรบั ประชาชนทว่ั ไป กอปรกบั การเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายอุ นั เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ที่ผลักดันให้เกิดนโยบายและกิจกรรมส่งเสริมการกีฬาเพื่อมวลชนอย่างต่อเน่ือง จนเกิดเป็นความต่ืนตัวและการเอาใจใส่ สุขภาพของประชาชนทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทกุ วัย รวมถึงคนพกิ ารและผดู้ อ้ ยโอกาส ๑.๒.๓ ความนิยมกีฬาผาดโผน (X - treme Sport) นับเป็นกีฬาชนิดใหม่สำ� หรับประชาชนที่ชมชอบ ความทา้ ทาย ความตื่นเตน้ และการผจญภัย ซง่ึ ก�ำลังได้รบั ความนิยมและแพรห่ ลายในหลายประเทศทว่ั โลก และเปน็ กฬี า ทสี่ รา้ งมลู คา่ หรอื รายไดท้ างเศรษฐกจิ ไดส้ งู ดงั นน้ั เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการและความชน่ื ชอบกฬี าทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป อาทิ ปนี ผา และ ดงิ่ พสธุ า ผปู้ ระกอบการหรอื เจา้ ของธรุ กจิ ใหบ้ รกิ ารออกกำ� ลงั กายและกฬี า จำ� เปน็ ตอ้ งพฒั นาสถานประกอบการ และธรุ กจิ ใหส้ ามารถรองรบั กฬี าผาดโผนอยา่ งครบวงจรและยกระดบั ใหเ้ ปน็ กฬี าของคนรนุ่ ใหม่ โดยควรจดั เตรยี มโครงสรา้ ง พ้ืนฐานส�ำหรับรองรับความต้องการของผู้เล่นกีฬาที่คาดว่าจะเพ่ิมสูงขึ้นในอนาคต ในขณะเดียวต้องค�ำนึงถึงมาตรฐาน ความปลอดภยั เนื่องจากกีฬาผาดโผนมคี วามเสยี่ งในระดบั สงู มากเมอื่ เปรยี บเทยี บกบั กฬี าประเภทอืน่ ๑.๒.๔ การแขง่ ขนั ทางการคา้ ทท่ี วคี วามรนุ แรงมากขนึ้ สบื เนอ่ื งจากการเปดิ เสรที างการคา้ (Free Trade) ในระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ มในปจั จบุ นั สง่ ผลใหเ้ กดิ บรรยากาศการแขง่ ขนั ทางการคา้ ทเ่ี ขม้ ขน้ ยง่ิ ขนึ้ มกี ารพฒั นาการกฬี า ในเชิงพาณิชย์เพ่ิมมากข้ึน กอปรกับการน�ำกลยุทธ์ทางการตลาดสมัยใหม่มาใช้ประโยชน์ท�ำให้เกิดสภาวะการแข่งขันทาง

เเผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 7

กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา

ธุรกิจท่ีเพ่ิมสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรวมถึงการแข่งขันในวงการธุรกิจการกีฬาด้วย อย่างไรก็ดี สถานการณ์การแข่งขัน ทางการค้าดังกล่าวช่วยให้ประชาชนมีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับการเคล่ือนไหวทางการกีฬามากข้ึน นอกจากนี้ การตลาดยคุ ใหมเ่ ปน็ ปจั จยั ผลกั ดนั ใหผ้ ปู้ ระกอบการจำ� เปน็ ตอ้ งกำ� หนดกลยทุ ธใ์ นการวางตำ� แหนง่ ของธรุ กจิ การวางตำ� แหนง่ ผลิตภณั ฑ์ รวมถึงการก�ำหนดสว่ นแบ่งการตลาดให้ชัดเจน เพือ่ ใหท้ ราบสถานะของตนเอง สถานะของค่แู ขง่ ขนั และปัจจัย แวดล้อมต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กรเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจในภาวะการแข่งขันทางการค้าและค่าใช้จ่าย ด้านการกฬี าท่ีเพ่มิ มากขึ้น ๑.๒.๕ การกีฬากบั วิถีชีวติ สมยั ใหม่ ดว้ ยวิถชี วี ิตของคนในปจั จุบนั ได้เปลีย่ นแปลงไปจากในอดีต จากเดิม ทใ่ี ชช้ วี ติ สว่ นใหญอ่ ยใู่ นทพ่ี กั อาศยั เปน็ ชวี ติ ทเ่ี รยี บงา่ ยและไมม่ คี วามรบี รอ้ น แตใ่ นปจั จบุ นั มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งใชช้ วี ติ สว่ นใหญ่ อยนู่ อกบา้ นเพอื่ ไปประกอบอาชพี ซง่ึ ตอ้ งเปลย่ี นวถิ ชี วี ติ ทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยความเรง่ รบี และมเี วลาจำ� กดั จงึ กอ่ ใหเ้ กดิ การออกกำ� ลงั กาย ชนิดใหม่ๆ ที่เหมาะสมกับการใช้ชีวิตแบบคนรุ่นใหม่มากข้ึน และท�ำให้ประชาชนผู้ออกก�ำลังกายจะต้องวางแผน และจดั การเวลาในการออกกำ� ลังกายและการเลน่ กีฬาให้เหมาะสมกับวิถีชวี ิตของตวั เอง ๑.๒.๖ อาสาสมคั รการกฬี า การเป็นอาสาสมคั รทางกีฬาจากประชาชนหลากหลายระดบั จากหลากหลาย หนว่ ยงาน มีสว่ นส�ำคญั ในการช่วยพัฒนาการกฬี าของประเทศให้กระจายไปไดท้ กุ ระดับ ตั้งแต่การเปน็ ผนู้ �ำออกก�ำลังกาย อาสาสมัครในการจดั การแข่งขันกีฬา ตลอดจนการเปน็ อาสาสมัครช่วยพฒั นาระบบการกีฬาของประเทศ ๑.๒.๗ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารรปู แบบใหมเ่ พอ่ื ประโยชนต์ อ่ วงการกฬี า จากการพฒั นา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารท่ีมีความก้าวหน้าอย่างไม่หยุดนิ่ง โดยเฉพาะพัฒนาการของสื่อออนไลน์ อาท ิ social media gadget และ application สำ� หรบั โทรศพั ท์มือถืออัจฉรยิ ะ (Smart Phone) ซงึ่ มผี ลอย่างมากต่อวงการ กีฬาอาชีพ ในฐานะเป็นสื่อกลางเช่ือมต่อระหว่างผู้ชมกีฬาในทุกพ้ืนท่ีกับนักกีฬาท่ีชื่นชอบการติดตามผลการแข่งขัน แบบทันต่อสถานการณป์ จั จุบนั (Real Time) และการท�ำกิจกรรมออนไลนร์ ่วมกัน ในขณะที่วงการกฬี าเพ่อื นนั ทนาการ สามารถใชป้ ระโยชนผ์ า่ น Application ในการออกกำ� ลงั กาย การวเิ คราะหส์ รรี ะ การเกบ็ ประวตั สิ ขุ ภาพ และการออกกำ� ลงั กาย ในรปู แบบทเ่ี หมาะสมแต่ละปัจเจกบุคคล แนวโน้มในอนาคตดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงความส�ำคัญของการกีฬาที่มีผลต่อการด�ำเนินวิถีชีวิตของประชาชน ทุกกลุ่ม ทุกเพศ และทุกช่วงวัยเพิ่มมากขึ้น และส่งผลต่อรูปแบบการพัฒนาการกีฬาในอนาคต โดยเฉพาะการกีฬา เพ่ือมวลชน และการส่งเสริมการกีฬาเพื่อสร้างรายได้และเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ อีกทั้งส่งผล ให้เกิดรูปแบบการกีฬาใหม่ๆ ท่ีตอบสนองกับการด�ำเนินชีวิตในปัจจุบันและความนิยมชื่นชมเฉพาะกลุ่มคน นอกจากน ้ี ในยุคสังคมดิจิตอลยังสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารรูปแบบใหม่ รวมทั้งนวัตกรรม ทางการกีฬาเพื่อส่งเสริมกิจกรรมการกีฬาและสุขภาพของประชาชน สร้างความเป็นเลิศในเส้นทางอาชีพการกีฬา และการเพิ่มศักยภาพอุตสาหกรรมการกฬี า ๑.๓ การพฒั นาการกฬี าของประเทศที่ส�ำคัญ ประเทศคู่แขง่ และประเทศตน้ แบบตา่ งๆ ทวั่ โลกจำ� นวน ๖ ประเทศ มปี ระเดน็ การเรยี นรู้ทีส่ ำ� คัญ ดังนี้ ๑.๓.๑ ประเทศแคนาดา๒ มคี วามคลง่ั ไคลใ้ นกฬี าเปน็ อยา่ งมาก โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ กฬี าฤดหู นาวซง่ึ นบั เปน็ ส่วนหน่ึงของวัฒนธรรมของประเทศ โดยมีเด็กและเยาวชนเข้าร่วมเล่นกีฬาประเภทนี้เป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะ

๒ นโยบายการกีฬาแคนาดา พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๖๕ (Canada’s Sports Policy 2012-2022)

8 เเผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการท่องเทย่ี วและกฬี า

ฮอกกน้ี ำ้� แขง็ ชาวแคนาดาโดยทว่ั ไปถอื วา่ มคี วามตน่ื ตวั กบั กจิ กรรมทางการกฬี าตา่ งๆ ทจ่ี ดั ขนึ้ ในประเทศ มกี ารจดั ตง้ั โครงการ ท่ีส่งเสริมการเข้าถึงได้ของกีฬาในทุกระดับ และการพัฒนาระบบฝึกซ้อมนักกีฬาที่มีการก�ำหนดดัชนีวัดผลการพัฒนา ความสามารถและการสนับสนนุ ทางการเงนิ หากแต่ท่ีจริงแล้วประชาชนสว่ นใหญ่มีความสนใจเล่นกฬี ากระจุกตัวอยู่เพยี ง ไม่ก่ีประเภท เช่น ฟุตบอล กอล์ฟ ว่ายน�้ำ อีกท้ังจากการส�ำรวจพบว่ามีประชากรในทุกกลุ่มวัย เล่นกีฬาอย่างสม�่ำเสมอ ลดลงในชว่ งสองทศวรรษทผ่ี า่ นมากวา่ ร้อยละ ๑๗ (พ.ศ. ๒๕๓๕ – ๒๕๕๓) สืบเนื่องจากวถิ ชี วี ิตทเ่ี ปลยี่ นไป และมีเวลาวา่ ง ลดน้อยลง วสิ ยั ทศั นก์ ารพฒั นาการกฬี า คอื การใหค้ วามสำ� คญั กบั การสรา้ งวฒั นธรรมการกฬี าทสี่ รา้ งสรรคซ์ งึ่ สนบั สนนุ ความเปน็ เลศิ ทางการกฬี า ในการบรรลวุ สิ ยั ทศั นด์ งั กลา่ ว ทางรฐั บาลแคนาดาไดก้ ำ� หนด ๕ พนั ธกจิ หลกั ดงั นี้ (๑) การพฒั นา จิตส�ำนึกรักกีฬาและความสามารถในการเล่นกีฬาแก่ประชาชน (๒) การพัฒนากิจกรรมการออกก�ำลังกายและกีฬา นันทนาการ (๓) การพัฒนานักกีฬา (๔) การพัฒนากีฬาเพ่ือความเป็นเลิศขั้นสูง (๕) การใช้กีฬาเพ่ือยกระดับสังคม และเศรษฐกิจของประเทศ จึงได้มีการมุ่งเน้นด้านการเสริมสร้างความต่ืนตัวทางด้านการกีฬา และพัฒนานักกีฬาให้มี ความเป็นเลิศต้ังแต่ระดับท้องถิ่นสำ� หรับการแข่งขันในเวทีโลกในระยะยาวโดยการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์การกีฬา ดังน้ันประเทศไทยควรก�ำหนดกรอบหน้าที่และความรับผิดชอบของหน่วยงานกีฬาระดับจังหวัดให้ชัดเจน และพัฒนา ความเปน็ เลศิ ของนกั กีฬาผ่านองคค์ วามรดู้ ้านวิทยาศาสตร์การกฬี า ๑.๓.๒ ประเทศสหราชอาณาจักร๓ ในช่วงทศวรรษท่ีผ่านมา ได้มีความพยายามในการพัฒนาการกีฬา ของประเทศโดยการกระตุ้นให้ประชากรหันมามีส่วนร่วมกับการกีฬามากข้ึน การสร้างนักกีฬาเพ่ือความส�ำเร็จในระดับ นานาชาติ และส่งเสริมการพัฒนาการกีฬาในเชิงพาณิชย์ ซึ่งผลปรากฏว่าส่งผลเชิงบวกให้กับประชากรในประเทศ ทงั้ ในเชงิ สงั คมและเศรษฐกจิ โดยพบวา่ ประชากรมคี วามตนื่ ตวั และสนใจการออกกำ� ลงั กายมากขนึ้ โดยมใิ ชเ่ พยี งประชาชน คนธรรมดาเท่านั้นที่มีจิตส�ำนึกรักการกีฬาแต่รวมไปถึงผู้พิการและชนกลุ่มน้อยอีกด้วย ในขณะเดียวกันสหราชอาณาจักร สามารถสร้างผลงานท่ียอดเยี่ยม คว้าล�ำดับที่ ๒ ในการแข่งขันโอลิมปิกเกมส์เม่ือปี ๒๕๕๙ ณ ประเทศบราซิล มชี ัยเหนือประเทศมหาอำ� นาจอย่างสาธารณรัฐประชาชนจีนไปได้ วสิ ยั ทศั นก์ ารพฒั นาการกฬี า คอื การเพม่ิ พนู ประโยชนจ์ ากการเลน่ กฬี าและอทิ ธพิ ลเชงิ บวกของการกฬี าตอ่ สงั คม ในการบรรลุวิสัยทศั น์ดงั กล่าวทางรฐั บาลสหราชอาณาจักรได้ก�ำหนด ๕ พันธกจิ หลกั ดังนี้ (๑) การพัฒนาคุณภาพชวี ิตทางกาย (๒) การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ทางจิตใจ (๓) การเนน้ การพฒั นานักกฬี า (๔) การใชก้ ารกฬี าพฒั นาสงั คมและชมุ ชน (๕) การใชก้ ารกฬี าพฒั นาเศรษฐกจิ จงึ ไดม้ งุ่ เสรมิ สรา้ งสขุ ภาพ รา่ งกายและจติ ใจ ทดี่ ขี องประชาชน สง่ เสรมิ การพฒั นานกั กฬี า และการพฒั นาชมุ ชน สงั คม และเศรษฐกจิ ผา่ นการกฬี า อกี ทง้ั ยงั มกี ารบรหิ าร จดั การโครงสรา้ งพ้นื ฐานด้านการกฬี าให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ดงั นน้ั ประเทศไทยควรจดั สรรงบประมาณสนับสนุนโครงการ รเิ รมิ่ ในการเลน่ กฬี า การพฒั นาอาสาสมคั รในการฝกึ ฝนการเลน่ กฬี าแกป่ ระชาชนทว่ั ไป และสง่ เสรมิ การจดั การแขง่ ขนั กฬี า ในทกุ ระดบั รวมไปถงึ มงุ่ พฒั นาการกฬี าเชงิ พาณชิ ยแ์ ละการบรหิ ารทรพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพอื่ ยกระดบั อตุ สาหกรรม การกีฬาของประเทศ ๑.๓.๓ ประเทศสิงคโปร์๔ มีมุมมองต่อการกีฬาคือกิจกรรมสัญลักษณ์ที่สื่อถึงภาวะสุขภาพร่างกาย และแรงใจท่ีดี นอกจากนี้ สิงคโปร์ยังมุ่งเตรียมตัวเป็นเจ้าภาพในการจัดกิจกรรมทางการกีฬาระดับโลกอย่างต่อเน่ือง ไมว่ า่ จะเป็นการแขง่ ขนั หรอื การจดั การประชมุ มีการสนนั สนนุ และประชาสมั พนั ธก์ ารท่องเทย่ี วเชิงกฬี า (Sport Tourism)

๓ กลยทุ ธ์กีฬาประเทศสหราชอาณาจักร ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ (A New Strategy for an Active Nation 2018-2022) ๔ วิสัยทัศน์สงิ คโปร์ พ.ศ. ๒๕๗๓ (Singapore’s Vision 2030)

เเผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 9

กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา

โดยใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยเพื่อพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน และสร้างสื่อโฆษณาต่างๆ เพื่อดึงนักท่องเท่ียวเข้ามาสร้างรายได้ ให้กับประเทศ ในขณะเดียวกันได้มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการกีฬาให้รองรับประชาชนทุกภาคส่วนรวมไปถึง ผู้สูงอายุ มีการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยกี ารกีฬามาใช้ในการส่งเสรมิ การท่องเทย่ี วเชงิ กฬี า มรี ะบบบริหารจดั การสถานกฬี าที่ สามารถสร้างมูลค่าเพิม่ อยา่ งยงั่ ยนื นอกจากน้ี ยังเน้นการเพมิ่ โอกาสในการเขา้ ถึงของประชาชนท่ัวไปและนกั กฬี าทีมชาติ วิสัยทัศน์การพัฒนาการกีฬา คือ การพัฒนาประเทศให้น�ำเสนอประสบการณ์ทางกีฬาเพ่ือหล่อหลอม ประชาชนทกุ ภาคสว่ นใหม้ รี า่ งกายทแี่ ขง็ แรง ในการบรรลวุ สิ ยั ทศั นด์ งั กลา่ ว ทางรฐั บาลสงิ คโปรไ์ ดก้ ำ� หนด ๔ เปา้ หมายหลกั ดังนี้ (๑) การพัฒนาการกฬี าเพอ่ื อนาคต (๒) การพัฒนาการกีฬาเพือ่ สร้างสังคมไร้พรมแดน (๓) การพฒั นาการกฬี าให้เปน็ เสมอื นภาษาประจำ� ชาติ (๔) การพฒั นาระบบรองรบั เพอื่ ความสำ� เรจ็ ทางกฬี า จงึ ไดม้ งุ่ เนน้ การสรา้ งระบบนเิ วศทางการกฬี า ให้สอดคล้องกับแนวโน้มของอุตสาหกรรมการกีฬาโลกและการชูกีฬาให้เป็นภาษาแห่งชาติที่สร้างความภาคภูมิใจ ดังน้ัน ประเทศไทยควรปรบั ปรงุ โครงสรา้ งทางพน้ื ฐานใหร้ องรบั ประชาชนทกุ กลมุ่ และทกุ ชว่ งอายุ รองรบั การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว เชงิ กีฬาในอนาคต พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การสถานกฬี า และมุ่งเนน้ พฒั นาชนิดกีฬาท่มี ีศักยภาพ ๑.๓.๔ ประเทศญ่ีปุ่น๕ ได้มกี ารพฒั นาการกฬี ามาอย่างตอ่ เนอื่ งต้ังแต่อดตี มกี ารเสรมิ สร้างกีฬาขั้นพ้ืนฐาน ต้ังแต่ระดับเยาวชนในสถานศึกษา และพัฒนาวงจรอาชีพนักกีฬา ผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสิน อย่างเป็นระบบผ่านความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐและเอกชน โดยในทศวรรษที่ผ่านมาญ่ีปุ่นได้มองกีฬาเป็นเคร่ืองมือในการสร้างสังคม ซึ่งประชาชนทุกคน สามารถรว่ มกันแบง่ ปนั ความสุขและความตน่ื เตน้ ของการเลน่ หรอื การชมกีฬา วสิ ยั ทศั นก์ ารพฒั นาการกฬี า คอื การกฬี าสามารถเตมิ เตม็ ชวี ติ และสรา้ งสงั คมทผ่ี คู้ นมคี วามสขุ ในการบรรลุ วสิ ยั ทศั นด์ งั กลา่ ว ทางรฐั บาลญปี่ นุ่ ไดก้ ำ� หนด ๗ พนั ธกจิ หลกั ดงั นี้ (๑) การเพมิ่ โอกาสในการเลน่ กฬี าใหก้ บั เดก็ และเยาวชน (๒) การสร้างกิจกรรมทางการกีฬาให้กับทุกช่วงชีวิต (๓) การยกระดับสิ่งแวดล้อมทางการกีฬา (๔) การยกระดับ ความสามารถในการแข่งขนั ทางการกฬี า (๕) การสง่ เสรมิ การแลกเปลีย่ นความรใู้ นระดบั สากล (๖) การสง่ เสรมิ การบริหาร จัดการกีฬาที่โปร่งใส (๗) การสร้างระบบบูรณาการระหว่างองค์กรกีฬาส่วนกลางและท้องถ่ิน จึงได้มุ่งสนับสนุนการกีฬา ตลอดช่วงชีวิต ไม่ว่าจะเป็นในหมู่เด็กและเยาวชนหรือผู้สูงอายุ และการสร้างระบบนิเวศการกีฬาท่ีครบถ้วน ดังนั้น ประเทศไทยควรพฒั นากจิ กรรมทางการกฬี าสำ� หรบั ประชาชนทกุ เพศ ทกุ วยั และการสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ระดบั นานาชาติ ในการแลกเปลย่ี นองค์ความรเู้ ชงิ กีฬา ๑.๓.๕ ประเทศนิวซีแลนด๖์ มีการพฒั นาการกฬี าภายใตแ้ ผนการพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติเฉกเชน่ เดยี วกบั ประเทศไทย โดยในฉบับท่ใี ชช้ ว่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๓ นัน้ ได้มีเปา้ หมายมงุ่ สร้างระบบการกฬี าท่ีไดม้ าตรฐานสากล เพ่ือผลักดันให้เด็กและเยาวชนได้เข้าถึงการกีฬา ให้ประชากรท่ัวไปได้มีส่วนร่วมกับกิจกรรมการกีฬา และนักกีฬาได้ ประสบความสำ� เรจ็ ในเวทโี ลก มกี ารเนน้ ปรบั ปรงุ หลกั สตู รการศกึ ษาเพอ่ื เพมิ่ การพฒั นาการกฬี าในสถานศกึ ษา และการจดั ตง้ั โครงการพัฒนาทักษะความสามารถผู้ฝึกสอน และเพ่ิมสัดส่วนการสนับสนุนทางด้านการเงินแก่นักกีฬา ท้ังนี้เม่ือแผน ฉบบั ทแี่ ลว้ สน้ิ สดุ ลง นวิ ซแี ลนดม์ สี ดั สว่ นจำ� นวนประชากรทอ่ี อกกำ� ลงั กายโดยเฉลยี่ มากกวา่ ประเทศอยา่ งออสเตรเลยี และ องั กฤษ โดยเดก็ และเยาวชนในประเทศไดเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมกฬี ามากกวา่ ๙๐๐,๐๐๐ กจิ กรรม ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั นกั กฬี านวิ ซแี ลนด ์ ยังประสบความส�ำเร็จมากขึ้นในมหกรรมกีฬาโอลิมปิก โดยมีล�ำดับท่ีดีข้ึน ๑๐ ล�ำดับในลอนดอนเกมส์ (พ.ศ. ๒๕๕๕) เมอ่ื เปรยี บเทยี บกับ ปกั กงิ่ เกมส์ (พ.ศ. ๒๕๕๑) นอกจากน้ี ยังมกี ารด�ำเนนิ การพัฒนาการกฬี าในโครงการใหม่ๆ มากมาย อาทิ การเปิดตัวโครงการเส้นทางนักกีฬาสู่โพเดียม การริเริ่มโปรแกรมฝึกสอนโค้ชกีฬาข้ันสูง การสร้างสถานกีฬาใหม ่ ทั่วประเทศ และการร่างแผนเฉพาะเพอื่ ผลักดนั การใช้การจัดแข่งกฬี าเพ่ือพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ

๕ แผนการกีฬาพื้นฐานญีป่ ุ่น พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๖๕ (Basic Sports Plan 2012-2022) ๖ แผนกลยทุ ธก์ ารกฬี านิวซแี ลนด์ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๓ (Sports NZ Group Strategic Plan 2015-2020)

10 เเผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา

วิสัยทัศน์การพัฒนาการกีฬา คือ เป็นประเทศที่ประสบความส�ำเร็จทางด้านกีฬาผ่านการสร้างระบบนิเวศ การกีฬาท่ียกระดับคุณภาพชีวิตและสร้างแรงบันดาลใจส�ำหรับคนในชาติ ในการบรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าว ทางรัฐบาล นวิ ซแี ลนดไ์ ด้ก�ำหนด ๓ เป้าหมายหลัก ดงั น้ี (๑) การเพิม่ สดั ส่วนประชากรท่ีมสี ่วนรว่ มกบั การกฬี า (๒) การพฒั นาการกฬี า สคู่ วามส�ำเรจ็ ในการแข่งขันระดบั นานาชาติ (๓) การเรง่ สรา้ งความก้าวหน้าของระบบบริหารจัดการกีฬา จึงได้มุง่ เพ่มิ อตั รา การเล่นกีฬาในทุกระดับของประชาชน พัฒนากีฬาภายในสถานศึกษา พัฒนาคุณภาพของผู้ฝึกสอน อันจะน�ำมาสู่โอกาส ในการคว้าชัยชนะท่ีมากขึ้นในการแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติ ดังน้ัน ประเทศไทยควรส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง ผู้ฝกึ สอน มหาวิทยาลยั หรือหนว่ ยงานวจิ ัยเพอื่ ประยกุ ตใ์ ช้นวัตกรรมดา้ นการกีฬาในการพฒั นาความเปน็ เลศิ ของนกั กฬี า และผฝู้ กึ สอน และการยกระดับหลักสตู รการกีฬาในสถานศึกษาเพอ่ื สรา้ งแรงจงู ใจตงั้ แตเ่ ยาวว์ ัย ๑.๓.๖ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า๗ นบั เปน็ ประเทศทถี่ อื วา่ ประสบความสำ� เรจ็ อยา่ งสงู ในการแขง่ ขนั กฬี าระดบั นานาชาติ ไม่ว่าจะเป็นกีฬาสมัครเล่น หรือกีฬาอาชีพ โดยมีการผลิตนักกีฬาที่มีความสามารถสูงออกมาได้อย่างต่อเน่ือง มกี ารวางเสน้ ทางอาชพี นกั กฬี าและบคุ ลากรการกฬี าอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง ประกอบกบั การสนบั สนนุ โครงการพฒั นา ความเป็นเลศิ ทางดา้ นกีฬาสำ� หรบั ท้งั นักกฬี าและผู้ฝกึ สอน อกี ท้ังยังมบี รรทัดฐานของกีฬาอาชีพทีส่ ามารถชว่ ยสรา้ งรายได้ และอาชพี ใหแ้ กท่ งั้ นกั กฬี าและผปู้ ระกอบการธรุ กจิ ทเี่ กย่ี วขอ้ งไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ โดยถงึ แมก้ ฬี าจะเปน็ วถิ ชี วี ติ ของประชาชน ชาวสหรัฐอเมริกา กลับพบว่าท่ัวประเทศมีประชากรที่ประสบภาวะโรคอ้วนเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ ๒๗.๖ ในปี ๒๕๕๖ ซึ่งในปี ๒๕๕๗ นั้น คณะกรรมการโอลิมปิกสหรัฐอเมริกา (USOC) ร่วมกับ National Governing Bodies (NGB) ได้ร่วมกันออกแบบแผนพัฒนาประเทศสหรัฐอเมริกาฉบับแม่บท เพ่ือช่วยให้ประชาชนสามารถพัฒนาศักยภาพและใช้ การกฬี าเพื่อยกระดบั คุณภาพชวี ติ ได้ วสิ ยั ทศั นก์ ารพฒั นาการกฬี า คอื สรา้ งประสบการณเ์ ชงิ บวกสำ� หรบั นกั กฬี าในทกุ ระดบั เพอ่ื สรา้ งแรงบนั ดาลใจ แกเ่ ยาวชนในการเลน่ กฬี าในระยะยาว ในการบรรลวุ สิ ยั ทศั นด์ งั กลา่ ว รฐั บาลสหรฐั อเมรกิ าไดก้ ำ� หนด ๔ เปา้ หมายหลกั ดงั นี้ (๑) การเพมิ่ จำ� นวนนกั กฬี าในประเทศ (๒) การพฒั นาทกั ษะกฬี าพนื้ ฐาน (๓) การปทู างสำ� หรบั การใชศ้ กั ยภาพทางการกฬี า สูงสุด (๔) การสร้างความสนใจและความรักในการกีฬา จึงได้มุ่งปลูกฝังความรักในกีฬาในทุกช่วงอายุ และสร้างระบบ ท่ีสามารถพัฒนาและเติมเต็มศักยภาพทางการกีฬา ดังน้ัน ประเทศไทยควรสร้างโครงการท่ีมีเส้นทางในการเติบโตของ นกั กฬี าอยา่ งชดั เจน และการสง่ เสรมิ นกั กฬี าทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ ใหส้ ง่ ตอ่ ความรสู้ นู่ กั กฬี ารนุ่ ถดั ไปผา่ นบทบาทครผู ฝู้ กึ สอน รวมถึงการศึกษาทบทวนแนวทางการพัฒนาของประเทศต้นแบบที่ส�ำคัญดังกล่าว สามารถสรุปปัจจัยท่ีส่งผลส�ำเร็จ (Key Success Factor) ได้ ๓ ประการ ดังนี้ ๑) รฐั บาลควรมงุ่ เนน้ การสรา้ งความตน่ื ตวั และสง่ เสรมิ การเลน่ กฬี าในประชาชนทกุ กลมุ่ และทกุ ชว่ งอายุ ตัง้ แต่เยาว์วยั โดยพฒั นากฬี าให้เป็นส่วนสำ� คัญของวถิ ชี ีวติ เพอื่ สขุ ภาพทางรา่ งกายและจิตใจทีแ่ ขง็ แรง ๒) การพัฒนาความเปน็ เลิศทางกฬี า ประกอบไปดว้ ย ๒ มติ ยิ อ่ ย คอื การพัฒนานักกีฬาและการพฒั นา ผู้ฝึกสอน ซ่ึงต้องด�ำเนินไปอย่างต่อเน่ืองและเป็นระบบ อีกทั้งรัฐบาลควรให้ความสนับสนุนทางด้านการเงิน การก�ำหนด เส้นทางอาชีพให้ชัดเจน และการน�ำเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การกีฬามาพัฒนาขีดความสามารถเพื่อต่อยอด ถึงความสำ� เร็จ ๓) รฐั บาลควรมงุ่ เนน้ สนบั สนนุ การลงทนุ จากทง้ั ทางภาครฐั และและเอกชนในอตุ สาหกรรมการกฬี า และ ระบบนเิ วศการกฬี า เพ่ือเปน็ กลไกในการขับเคลอ่ื นเศรษฐกจิ ชาติอยา่ งแข็งแรงและยั่งยืน

๗ แผนพัฒนาประเทศสหรัฐอเมรกิ าฉบับแม่บท พ.ศ. ๒๕๕๗ (American Development Model 2014)

เเผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 11

กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า

ขอ้ ควรระวังหรอื ส่งิ ที่ควรหลีกเล่ยี ง (Pitfalls) ๓ ประการ ไดแ้ ก่ ๑) การพฒั นาการกฬี าอยา่ งไรท้ ศิ ทาง ขาดระบบและความตอ่ เนอ่ื งในการทำ� งานระหวา่ งภาคที เี่ กยี่ วขอ้ ง ซ่งึ จะทำ� ให้การด�ำเนินงานเปน็ ไปไดด้ ว้ ยความล่าช้าและไม่สมั ฤทธผิ์ ล ๒) การไมป่ รบั เปลยี่ นนโยบายภาครฐั ใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวโนม้ การกฬี าทเี่ ปลย่ี นแปลง อาทิ สงั คมผสู้ งู วยั หรอื เทคโนโลยีท่แี ปรเปลยี่ นไป จะท�ำให้ขาดประสทิ ธิภาพการพฒั นาในองคร์ วม ๓) การเน้นการพัฒนากีฬาเพียงด้านใดด้านหนึ่งอาจน�ำไปสู่ความไม่สมดุลของระบบนิเวศและ ความไม่ย่ังยืนของอุตสาหกรรมการกีฬาในระยะยาว อาทิ ความเป็นเลิศของนักกีฬา โดยขาดการพฒั นาทักษะกีฬาพืน้ ฐาน แกป่ ระชาชน

๒. สถานการณแ์ ละแนวโนม้ การกฬี าของประเทศไทย

๒.๑ สถานการณ์การกฬี าโดยรวม การกีฬามีส่วนเกี่ยวข้องกับประชากรทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ท้ังประชาชนท่ัวไป กลุ่มนักกีฬาและผู้เล่น เพอ่ื การอาชพี กลมุ่ คนพกิ าร และกลมุ่ นกั ทอ่ งเทย่ี ว ขน้ึ อยกู่ บั วตั ถปุ ระสงคใ์ นการเลน่ กฬี าของแตล่ ะกลมุ่ บคุ คล ปจั จบุ นั คนไทย มีแนวโนม้ การออกกำ� ลังกายและเล่นกฬี าลดลงในทุกกลมุ่ อายุ โดยเฉพาะในกลุม่ เยาวชนช่วงอายุ ๑๑ – ๑๔ ปี ซ่งึ มอี ตั รา การลดลงถึงร้อยละ ๑๕ ในช่วงเวลา ๕ ปีท่ีผ่านมา (ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) รวมถึงประชากรเพศชายที่ม ี ส่วนร่วมในกิจกรรมทางการกีฬาที่ลดลงโดยเฉลี่ยร้อยละ ๒.๕ ต่อปี โดยลดลงจากร้อยละ ๓๓ ของประชากรเพศชาย ทั้งประเทศ ในปี ๒๕๔๗ เหลือเพียงร้อยละ ๒๗ ในปี ๒๕๕๔ ในขณะท่ีประชากรเพศหญิงยังมีส่วนร่วมในกิจกรรม ทางการกีฬาอย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอ อยู่ที่ประมาณร้อยละ ๒๕ ของประชากรเพศหญิงทั้งประเทศ เม่ือพิจารณา ตามประเภทของกจิ กรรมการออกกำ� ลงั กาย พบวา่ ประชากรเพศชายมกี ารออกกำ� ลงั กายดว้ ยกจิ กรรมแอโรบกิ หรอื การเดนิ ในสดั ส่วนที่เพ่ิมมากข้ึน ในขณะทีป่ ระชากรเพศหญิง มสี ดั ส่วนการออกก�ำลงั กายประเภทฟิตเนสมากข้นึ อย่างมีนยั ส�ำคัญ โดยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ ๒ ในปี ๒๕๔๗ เป็นร้อยละ ๒๑ ในปี ๒๕๕๔ โดยเม่ือพิจารณาตามประเภทของกลุ่มประชากร พบวา่ ในปี ๒๕๕๘ ประชาชนท่วั ไป มจี �ำนวน ๑๖ ล้านคนท่อี อกกำ� ลงั กาย โดยกลมุ่ ที่มีอายุน้อย (๑๕ - ๒๙ ปี) เข้าร่วม การออกกำ� ลงั กายมากทส่ี ดุ ถงึ รอ้ ยละ ๔๕ ซง่ึ สาเหตหุ ลกั ในการออกกำ� ลงั กายเนอ่ื งมาจากความตอ้ งการมสี ขุ ภาพทแี่ ขง็ แรง โดยปัจจัยนสี้ ง่ ผลถึงรอ้ ยละ ๗๖ กลุ่มนักกีฬามีประมาณ ๒๖๐,๐๐๐ ราย ที่จดทะเบียนกับทางการกีฬาแห่งประเทศไทย โดยหากจ�ำแนก ตามประเภทกีฬา พบว่ามีนักกีฬาฟุตบอล (ร้อยละ ๑๖) และนักกีฬาลู่ลาน (ร้อยละ ๑๐) นับว่ามีจ�ำนวนมากที่สุด ในขณะที่กีฬาประเภทเดี่ยว อาทิ กีฬาแบดมินตัน และเทนนิส ก็ได้รับความนิยมอย่างสูงเช่นกัน นอกจากน้ี ยังพบว่า มีกลมุ่ คนพกิ ารประมาณ ๒,๗๐๐ รายตอ่ ปี ท่ีเข้าร่วมการแขง่ ขันระดับชาตแิ ละนานาชาตปิ ระจ�ำปี ซ่ึงไดร้ ับการสนบั สนนุ อย่างต่อเน่ืองจากสมาคมกีฬาคนพิการแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ส.ก.พ.ท.) นอกจากน้ี ในปัจจุบัน การท่องเท่ียวเชิงกีฬาได้รับการส่งเสริมและได้รับความนิยมเพิ่มมากข้ึน ซ่ึงจากสถิติตัวเลขได้บ่งชี้ว่าในแต่ละปีมีกลุ่ม นกั ทอ่ งเท่ยี วท้งั ในและนอกประเทศกว่า ๓ ล้านคน ท่เี ขา้ ร่วมกจิ กรรมดหู รือเล่นกฬี าในประเทศไทย โดยกจิ กรรมทีไ่ ดร้ บั ความนิยมสงู ได้แก่ กอลฟ์ มวยไทย ดำ� น้ำ� ข่ีจกั รยาน วง่ิ มาราธอน ข่จี ักรยานยนต์ และกีฬาทางนำ้� เปน็ ต้น ซึง่ เปน็ กจิ กรรม ทีไ่ ดร้ ับการสนับสนุนจากทงั้ ภาครัฐและเอกชนอย่างตอ่ เน่ืองและเป็นอย่างดี ในรอบทศวรรษทผี่ า่ นมา ประเทศไทยไดม้ กี ารสง่ เสรมิ กฬี าเพอ่ื ความเปน็ เลศิ และไดส้ ง่ นกั กฬี าไทยเขา้ รว่ มมหกรรม กีฬาระดบั นานาชาติหลายรายการ แตผ่ ลงานในภาพรวมยังขาดความสมำ่� เสมอ ดังเห็นได้จากผลงานโดยสรุปของนักกีฬา ซึ่งยงั ไม่แสดงใหเ้ ห็นถงึ การพฒั นาอยา่ งชัดเจนและยงั ไมต่ า่ งจากจดุ ที่ประเทศเคยยืนอย่ใู นช่วงทศวรรษทผ่ี า่ นมา

12 เเผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า

ปี สรปุ ผลงานของนักกีฬาไทย อนั ดบั โอลิมปิกเกมส์ สถานท่ี จ�ำนวนเหรียญ ๒๕ ๒๕๔๗ เอเธนส์ ๘ ๓๑ ๒๕๕๑ ปักกิ่ง ๔ ๕๗ ๒๕๕๕ ลอนดอน ๔ ๓๕ ๒๕๕๙ รโิ อเดจาเนโร ๖ เอเชยี นเกมส์ ๖ ๒๕๔๕ ปซู าน ๔๒ ๕ ๒๕๔๙ โดฮา ๕๔ ๙ ๒๕๕๓ กวางโจว ๕๒ ๖ ๒๕๕๗ อินชอน ๔๗

ท่ีมา : การกฬี าแหง่ ประเทศไทย

๒.๒ สถานการณอ์ ตุ สาหกรรมการกีฬา อุตสาหกรรมการกีฬาของประเทศในปัจจุบัน ประกอบด้วย ๒ สาขาหลัก คือ (๑) ภาคการผลิตสินค้า (๒) ภาคบริการการกีฬา โดยภาคการผลิตสินค้าประกอบด้วย อุปกรณ์กีฬา เสื้อผ้ากีฬา อุปกรณ์วิทยาศาสตร์การกีฬา การก่อสร้างสนามกีฬา ในขณะที่ภาคบริการการกีฬา ประกอบด้วย การศึกษาเก่ียวกับการกีฬา สโมสรกีฬาอาชีพ สโมสรกฬี าเพอื่ บรกิ ารบคุ คลทวั่ ไป นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า นกั กายภาพบำ� บดั ผปู้ ระกอบการวทิ ยาศาสตรก์ ารฟน้ื ฟสู ขุ ภาพ เวชศาสตรก์ ารกฬี า นกั กฬี าอาชพี ผบู้ รหิ ารทางการตลาดการกฬี า เอเยนตท์ างการกฬี า ผจู้ ดั การนกั กฬี า ทปี่ รกึ ษากฎหมาย ดา้ นการกีฬา การแขง่ ขันกฬี าอาชีพ การโฆษณาประชาสัมพนั ธ์ทางการกฬี า การเป็นผสู้ นบั สนุนการกีฬา ผ้ปู ระกอบการ และเจ้าของสนามกีฬา โดยสามารถแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรมและธุรกิจที่เก่ียวข้องกับการกีฬา๘ ออกเป็น ๑๒ กลุ่ม ได้แก ่ (๑) กลุ่มธุรกิจประเภทสถานท่ีบริการออกก�ำลังกาย (๒) กลุ่มสโมสรกีฬาสมัครเล่น (๓) กลุ่มสื่อสารมวลชนกิจกรรม การตลาดและโฆษณา การประชาสัมพันธ์ทางการกีฬา (๔) กลุ่มการจัดการแข่งขันกีฬา (๕) กลุ่มการจัดการท่องเที่ยว เชิงกฬี าและนันทนาการ (๖) กลุ่มการจดั การสทิ ธิประโยชน์และลขิ สทิ ธทิ์ างการกีฬา (๗) กลมุ่ การบรกิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ การกฬี า (๘) กลุม่ สถาบนั ผ้ผู ลิตบุคลากรการกฬี า (๙) กลมุ่ ผคู้ า้ ปลกี และคา้ สง่ อปุ กรณ์กีฬา (๑๐) กลมุ่ ผ้ผู ลิตอปุ กรณ์กีฬา (๑๑) กลุ่มผนู้ ำ� เขา้ และสง่ ออกอุปกรณก์ ฬี า (๑๒) กลุ่มกีฬาอาชีพ ดา้ นจำ� นวนผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมและธรุ กจิ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การกฬี า ผปู้ ระกอบการสว่ นใหญด่ ำ� เนนิ การ ในธุรกิจสถานออกก�ำลังกาย แข่งขันกีฬา และให้ความรู้ทางกีฬาคิดเป็นร้อยละ ๔๗.๑๑๙ ในปี ๒๕๕๗ รองลงมาคือ ธุรกิจขายปลีกสินค้าเกี่ยวกับกีฬาคิดเป็นร้อยละ ๒๗.๓๐ ในขณะท่ีธุรกิจท่ีมีการด�ำเนินการน้อยที่สุด คือ ธุรกิจขายผลิต

๘ ผลการศกึ ษาของกระทรวงการท่องเทีย่ วและกฬี า สำ� นกั งานสภาทป่ี รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ และสมาคมจดั การกฬี าแห่งประเทศไทย ๙ กรมพัฒนาธุรกจิ การค้า กระทรวงพาณิชย์

เเผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 13

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

และจำ� หน่ายเคร่ืองด่ืมกีฬา คิดเปน็ เพยี งร้อยละ ๐.๒๕ โดยในระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ อุตสาหกรรมการกฬี าของ ประเทศไทยมีพฒั นาการที่ดอี ย่างตอ่ เนื่อง สอดคล้องกบั แนวโนม้ เชิงบวกของการกฬี าในภาพรวมของโลก ผลประกอบการ มีอัตราการเติบโตอย่างต่อเน่ืองเฉล่ียปีละประมาณร้อยละ ๙.๙ โดยในปี ๒๕๕๗ มีผลประกอบการรวมประมาณ ๘๑,๒๐๐ ล้านบาท ในขณะที่อตั ราการเตบิ โตของผลติ ภัณฑม์ วลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) เฉลี่ยต่อปีอยู่ที่ประมาณร้อยละ ๒.๘ ระหว่างช่วงเวลาเดียวกัน อย่างไรก็ดี จากการคาดการณ์พบว่าอุตสาหกรรม การกีฬาไทยนั้น จะมีแนวโน้มอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปีลดลงภายในระยะ ๕ ปีข้างหน้า ซึ่งเป็นช่วงเวลาเดียวกัน กบั แผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ประกอบกับในสภาวะปัจจุบัน อุตสาหกรรมการกีฬาของประเทศไทยยังไม่ได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐ อย่างเป็นรูปธรรม ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบ ก�ำกับดูแล และมีบทบาทในการเสริมสร้างบรรยากาศการลงทุนในธุรกิจ ท่ีเกี่ยวข้องกับการกีฬา รวมไปถึงการพัฒนาฐานข้อมูลกลางส�ำหรับเก็บและรวบรวมข้อมูลที่เก่ียวข้องกับอุตสาหกรรม การกีฬา ท�ำให้ภาครัฐขาดเครื่องมือในการวางแผนและก�ำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาไทยให้เติบโต อย่างยั่งยืน ท้ังน้ีการเติบโตของอุตสาหกรรมการกีฬาไทยที่ผ่านมา มีปัจจัยขับเคลื่อนหลัก คือ ภาคเอกชนและแนวโน้ม ความนยิ มดา้ นการกฬี าทเ่ี พมิ่ ขน้ึ จากตา่ งประเทศ ซงึ่ แนวโนม้ เหลา่ นอ้ี าจเปลยี่ นไปตามสภาวะแวดลอ้ มและสภาพเศรษฐกจิ ของโลก ดังน้ัน จึงมีความจ�ำเป็นอย่างย่ิงในการก�ำหนดกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาให้ชัดเจน รวมไปถึง การก�ำหนดแนวทางการปฏิบัตแิ ละหน่วยงานรบั ผิดชอบอย่างเป็นรปู ธรรม

๒,๗๙๖ ๑,๓๐๓

๔๗.๑%

๑๐๐% ๗๕๕

๒๗.๓%

๓๘๐

๑๒.๗% ๒๑๖ ๗ ๖ ๗.๘% ๐.๒% ๐.๒% ๑๒๙ ๔.๗%

รวม กจิ กรรม การขายปลกี การขายสง่ การผลติ ชดุ และ การด�ำเนินการ การด�ำเนินการ การผลิตและ นนั ทนาการ สนิ ค้า และสง่ ออกสนิ ค้า อุปกรณก์ ฬี า ใหเ้ ชา่ สถานที่ ซ่อมบ�ำรุง จำ� หน่าย การแข่งขันกฬี า เกยี่ วกับกีฬา เก่ยี วกับกฬี า และอุปกรณก์ ีฬา เกี่ยวกบั เครอ่ื งดม่ื กฬี า และการดำ� เนิน การกีฬา การให้ความรู้ ทางกีฬา

จำ� นวนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมและธุรกจิ ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการกีฬา ปี ๒๕๕๗

ที่มา : กรมพฒั นาธรุ กิจการค้า กระทรวงพาณชิ ย์ (๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙)

14 เเผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกฬี า

๕๕.๗ ๖๐.๓ +๙.๙% ๗๖.๘ ๘๑.๒ ๒๒.๑ ๒๓.๐ ๗๐.๒ ๒๖.๙ ๒๗.๒ ๒๖.๘ ๑๘.๓ ๑๙.๐ ๒๘.๑ ๓๐.๐ ๖.๑ ๒๓.๐ ๗.๔ ๗.๔ ๑๖.๐.๑ ๑.๖ ๖.๙ ๗.๑ ๗.๑ ๘.๒ ๖.๕ ๗.๑ ๑.๓ ๕.๕ ๑.๕ ๖.๒ ๑.๑ ๓.๔ ๑.๔ ๔.๔

๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗

การผลิตชุดและอุปกรณก์ ฬี า การขายปลีกสนิ คา้ เกยี่ วกับกฬี า กิจกรรมนันทนาการและการแข่งขันกีฬา การด�ำเนนิ การให้ความรู้เร่อื งกฬี า การขายสง่ และสง่ ออกสนิ ค้าเกย่ี วกบั กีฬา การด�ำเนนิ การใหเ้ ช่าสถานท่ีและอปุ กรณ์กฬี า การผลิตและจำ� หนา่ ยเคร่ืองดมื่ กีฬา การด�ำเนินการซ่อมบำ� รุงเกย่ี วกับการกฬี า

ผลประกอบการอตุ สาหกรรมและธรุ กิจทเ่ี ก่ียวข้องกบั การกีฬาระหวา่ งปี ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗

ท่มี า : กรมพฒั นาธุรกิจการคา้ กระทรวงพาณิชย์ (๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙)

๓. ผลการพฒั นาการกีฬาในระยะที่ผา่ นมา

การดำ� เนนิ งานพัฒนาการกีฬาของประเทศในช่วง ๓๐ ปที ผ่ี ่านมา นับตง้ั แต่แผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๓๑ – ๒๕๓๙) ถงึ ปจั จบุ ันคอื แผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ไดใ้ หค้ วามสำ� คัญ กบั วสิ ยั ทศั นแ์ ละเปา้ หมายเพอื่ ใหค้ นไทยไดร้ บั การสง่ เสรมิ ใหอ้ อกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี าจนเปน็ วถิ ชี วี ติ มสี ขุ ภาพทด่ี ี มนี ำ้� ใจ นกั กฬี า เพอื่ พฒั นานกั กฬี าของชาตใิ หป้ ระสบความสำ� เรจ็ ในการแขง่ ขนั ระดบั ตา่ งๆ สรา้ งความภาคภมู ใิ จและความสามคั คี ของคนในชาติ และเพ่ือยกระดบั การบรหิ ารจัดการกีฬาทกุ มติ อิ ย่างเป็นระบบตามหลกั ธรรมาภิบาลใหเ้ กดิ การสรา้ งรายได้ สร้างอาชีพ และพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ได้ก�ำหนดประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทาง การพัฒนาตามกลมุ่ เป้าหมายดา้ นกฬี า ๔ ด้าน ได้แก่ กีฬาขนั้ พ้นื ฐาน กีฬาเพ่ือมวลชน กฬี าเพ่อื ความเป็นเลิศ และกีฬา เพ่ือการอาชีพ และแนวทางการสนับสนุนเพื่อพัฒนาการกีฬา ๒ ด้าน คือ การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การกีฬา และการบริหารจัดการกีฬาและการออกก�ำลังกาย โดยก�ำหนดวัตถุประสงค์ไว้ ๒๑ วัตถุประสงค์ ๕๑ ตัวช้ีวัด ๘๗ มาตรการ ซ่ึงผลการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ในภาพรวม ยังไม่ประสบผลสำ� เร็จตามเปา้ หมายของแผน มีเพยี ง ๒๖ ตัวช้วี ดั จาก ๕๑ ตวั ชี้วัดท่ีเป็นไปตามเปา้ หมาย

เเผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 15

กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกีฬา

ผลการประเมินแผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)

ยทุ ธศาสตร์ เป็นไป ตวั ชว้ี ดั เป้าหมาย เป็น มาตรการ เปา้ หมาย ตามตัวชีว้ ัด ไม่เป็น ไปตาม ไมเ่ ปน็ ไปตาม ๔ มาตรการ ไปตาม ๑๐ ๑) กฬี าขัน้ พน้ื ฐาน ๓ ตัวช้วี ดั ๔ มาตรการ ๖ ๒) กฬี าเพ่ือมวลชน ๒ ๑๑ ๓ ๓๓ ๓) กฬี าเพื่อความเป็นเลศิ ๔ ๑ ๑๑ ๑ ๗ ๑๗ ๔) กีฬาเพ่อื การอาชีพ ๗ ๒ ๑๒ ๗ ๕ ๑๐ ๕) วิทยาศาสตรแ์ ละ ๖ ๗ ๖ ๒๖ เทคโนโลยีการกีฬา ๔ ๒ ๑๑ ๑๑ ๖) บรหิ ารการกฬี า ๔ ๖ ๘ และออกก�ำลังกาย ๕ ๙๕๖

โดยผลการดำ� เนนิ งานตามประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ง้ั ๖ ดา้ น ของแผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) สรุปผลการพฒั นาไดด้ ังน้ี ๓.๑ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการออกก�ำลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาการกีฬายังไม่ได้เป็นเป้าหมาย การพัฒนาหลักของระบบการศึกษาไทย ขาดการวางพื้นฐานการเล่นกีฬาที่ครอบคลุมให้กับเด็กและเยาวชน ขาดความเหมาะสมในการจดั เวลาสำ� หรบั การออกกำ� ลงั กายของเดก็ และเยาวชนในสถานศกึ ษา ตลอดจนขาดแคลนบคุ ลากร ด้านพลศึกษาหรือครูพลศึกษาท่ีมีความรู้และทักษะด้านพลศึกษาหรือการกีฬา กล่าวคือ สถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานจำ� นวนกว่า ๓๐,๐๐๐ แห่งทัว่ ประเทศ ไมม่ อี ตั ราบรรจคุ รูพลศึกษามากกวา่ ครงึ่ ซ่งึ เป็น ปัญหาสะสมมายาวนานตั้งแต่ปี ๒๕๔๕ เม่ือกรมพลศึกษาได้ถูกโอนย้ายสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการไปอยู่ในสังกัด กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา ส่งผลให้การเรียนการสอนในสถานศึกษาส่วนใหญ่ไม่ได้ให้ความสนใจหรือส่งเสริม การออกก�ำลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐานให้แก่เด็กนักเรียน และท�ำให้เด็กและเยาวชนขาดความตระหนักถึงความส�ำคัญ ของการออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี าตงั้ แตเ่ ยาวว์ ยั รวมถงึ ขาดทกั ษะและความรใู้ นการออกกำ� ลงั กายและการกฬี าขน้ั พน้ื ฐาน อยา่ งถูกต้อง ดงั นั้น ควรก�ำหนดใหส้ ถานศึกษามบี ทบาทหน้าท่ีหลักในการสนับสนนุ ออกก�ำลังกายและเลน่ กฬี า เพิ่มอัตรา หรอื บรรจคุ รพู ลศกึ ษาทมี่ ที กั ษะและความสามารถใหค้ รอบคลมุ ทกุ สถานศกึ ษา รวมถงึ พฒั นาหลกั สตู รและบททดสอบกลาง ดา้ นการออกกำ� ลงั กายและการกฬี าขน้ั พน้ื ฐาน และบรู ณาการทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งกรมพลศกึ ษากบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพอ่ื ขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์อยา่ งตอ่ เนื่องและมีประสทิ ธิภาพ ๓.๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการออกก�ำลังกายและการเล่นกีฬาเพ่ือมวลชน ยังไม่สามารถถูกขับเคล่ือนให ้ ประสบผลสำ� เรจ็ ได้ เนอื่ งจากผลการสำ� รวจในปี ๒๕๕๔ พบวา่ ร้อยละ ๒๖.๑ ของประชาชนท่วั ประเทศมกี ารออกก�ำลังกาย และเลน่ กฬี าอยา่ งสมำ่� เสมอ ในขณะทป่ี ี ๒๕๕๘ พบวา่ สดั สว่ นประชาชนชาวไทยทอ่ี อกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี าอยา่ งสมำ�่ เสมอ มีเพียงร้อยละ ๒๖.๑๐ ของประชาชนทั้งประเทศเท่าน้ัน โดยมีสาเหตุจากการท่ีชุมชนท้องถิ่นขาดสถานท่ีออกก�ำลังกาย

16 เเผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกีฬา

ขาดโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นการกฬี าทจี่ ะใชใ้ นการออกกำ� ลงั กาย เลน่ กฬี า และนนั ทนาการ ขาดบคุ ลากรการกฬี าในการเปน็ ผนู้ ำ� และแนะนำ� การออกกำ� ลงั กาย ขาดโครงขา่ ยเชอื่ มโยงและการบรู ณาการระหวา่ งหนว่ ยงานตา่ งๆ สำ� หรบั การพฒั นาการ เล่นกีฬาและออกก�ำลังกายในท้องถ่ิน ขาดการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง รวมไปถึงงบประมาณท่ีจ�ำกัดจึงท�ำให้ชุมชน ขาดความต่ืนตัวทางด้านความส�ำคัญของการกีฬาและโอกาสในการเข้าถึงกิจกรรมการออกก�ำลังกายหรือเล่นกีฬา ดังนั้น ควรพัฒนาสถานท่ีออกก�ำลังกายสาธารณะ ขยายเวลาการให้บริการสถานกีฬา อีกทั้งควรจัดต้ังศูนย์ความรู้ด้านการกีฬา และจดั หาอาสาสมคั รหรอื ผ้นู �ำการออกกำ� ลังกาย กำ� หนดให้การพัฒนาการกฬี าเป็นหนงึ่ ในหนา้ ท่ีหลักของหนว่ ยงานต่างๆ บรรจบุ ุคลากรที่มคี วามสามารถในการบริหารจัดการกฬี า และรา่ งพระราชบัญญตั ิสำ� หรับสง่ เสริมกีฬาเพื่อมวลชน ๓.๓ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการกีฬาเพ่ือความเป็นเลิศ ผลงานของนักกีฬาทีมชาติไทยในการแข่งขันกีฬา โอลิมปิกเกมส์ และการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ท้ัง ๒ มหกรรมกีฬา ไม่สามารถบรรลุผลสัมฤทธ์ิได้ตามเป้าหมาย และตัวช้ีวดั ท่ไี ดก้ �ำหนดไว้ เน่ืองจากประเทศไทยขาดบคุ ลากรการกฬี าโดยเฉพาะผ้ฝู ึกสอนทม่ี ศี กั ยภาพในระดับนานาชาติ ขาดศูนยฝ์ กึ ซ้อมกีฬาส�ำหรับนักกีฬาทมี ชาตทิ ่ไี ด้มาตรฐานในระดบั จังหวัด และขาดระบบท่ชี ดั เจนและยั่งยนื ในการพัฒนา นักกีฬาจากขั้นพื้นฐานไปสู่ความเป็นเลิศ จึงท�ำให้ไม่สามารถชนะเหรียญรางวัลจากการแข่งขันในเวทีนานาชาติได้ ตามเปา้ กำ� หนดซง่ึ หากไมไ่ ดร้ บั การแกไ้ ขโดยดว่ น ผลงานของนกั กฬี าไทยจะไมส่ ามารถสรา้ งความภาคภมู ใิ จใหแ้ กป่ ระชาชน ไม่สามารถสร้างศักด์ิศรีและเกียรติภูมิให้แก่ประเทศชาติ ดังน้ัน ควรส่งเสริมและพัฒนาทักษะของบุคลากรการกีฬา โดยเฉพาะผฝู้ กึ สอนใหม้ คี วามสามารถทดั เทยี มกบั สากล จดั ตงั้ ศนู ยฝ์ กึ กฬี าทม่ี มี าตรฐานในระดบั สากลใหม้ จี ำ� นวนเพยี งพอ กับนักกีฬา นอกจากนี้ ภาครัฐควรเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานท่ีรับผิดชอบด้านการพัฒนาทักษะกีฬา ขั้นพื้นฐานและหน่วยงานที่รับผิดชอบในการพัฒนาความเป็นเลิศทางการกีฬา และพัฒนานักกีฬารุ่นเยาว์เพื่อขยาย ฐานนักกฬี าทีม่ ีศักยภาพอันจะน�ำมาซ่ึงความส�ำเร็จต่อไป ๓.๔ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการกฬี าเพอื่ การอาชพี ในระยะเวลาทผี่ า่ นมา ไดม้ กี ารพฒั นากฬี าบางประเภททไ่ี ด้ รับการส่งเสริมให้เป็นกีฬาอาชีพอย่างเต็มตัว อาทิ กีฬาฟุตบอล หรือกีฬาวอลเลย์บอล ท่ีสามารถเติบโต และ ประสบความส�ำเร็จในการก้าวขึ้นเป็นกีฬาอาชีพ สามารถสร้างรายได้ด้วยตนเองอย่างยั่งยืน ในขณะท่ีกีฬาอาชีพอีก หลายประเภทยังต้องพ่ึงพาการสนับสนุนจากภาครัฐ อีกทั้งยังไม่มีการประเมินผลท่ีเพียงพอในด้านการสร้างรายได้และ การสร้างงานท่ีเกิดจากกีฬาเพ่ือการอาชีพ ซึ่งนับได้ว่าเป็นเป้าหมายที่ส�ำคัญอีกประการหน่ึงจึงเป็นเรื่องท่ีควรทบทวน และหาหนทางแก้ไข นอกจากนี้ ยังพบว่านักกีฬาสมัครเล่นจ�ำนวนมากที่มีความจ�ำนงค์จะยกระดับตนเองขึ้นไปในระดับ อาชีพยังขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อใช้ในการพัฒนาตนเอง ดังนั้น ควรสนับสนุนการลงทุนเชิงบูรณาการระหว่างภาครัฐและ เอกชนเพื่อส่งเสริมการพัฒนากีฬาอาชีพและลดการพึ่งพางบประมาณจากทางภาครัฐเพียงอย่างเดียว อีกท้ังควรม ี การจัดต้ังหน่วยงานทดี่ แู ลหรือระบบเพ่ือเช่อื มโยงเส้นทางการพัฒนาความเปน็ เลศิ ทางกีฬาสู่สายกฬี าอาชพี ๓.๕ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี า ประชากรโดยทว่ั ไปยงั ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจ พื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา เน่ืองจากขาดโครงสร้างพ้ืนฐานด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาในระดับท้องถ่ินเพ่ือใช้ ในการถ่ายทอดความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา อีกท้ังยังไม่ได้มีการน�ำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้เพ่ือพัฒนาสมรรถภาพ ของนกั กฬี าเทา่ ทค่ี วร เนอื่ งจากบคุ ลากรทางดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าในสว่ นกลางมไี มเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของนกั กฬี า มีหน่วยงานรับผิดชอบเพียง ๒ หน่วยงาน คือ หน่วยงานในสังกัดกรมพลศึกษา และหน่วยงานในสังกัดการกีฬาแห่ง ประเทศไทยทไ่ี ม่สามารถดำ� เนนิ การไดค้ รบทกุ สาขาจึงขาดศูนย์รวมท่จี ะบรู ณาการวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี าให้ เปน็ ไปในทิศทางเดียวกันและขาดการบูรณาการองคค์ วามรู้ ดังนั้น สมควรใหม้ กี ารปฏิรปู โดยการปรบั โครงสรา้ งหนว่ ยงาน ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาให้มีหน่วยงานกลาง จึงควรมีการจัดต้ังสถาบันวิทยาศาสตร์การกีฬาแห่ง

เเผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 17

กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา

ประเทศไทย เพอ่ื รวบรวม ระดม และถา่ ยทอดความร้ดู า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี า ควรเพมิ่ จำ� นวนศนู ยบ์ รกิ าร ทม่ี ีเคร่ืองมือและบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์การกฬี าท่ไี ด้มาตรฐาน ๓.๖ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการกีฬาและการออกก�ำลังกาย มีการจัดสรรงบประมาณที่เป็นระบบ และมคี วามชัดเจน การพฒั นาบคุ ลากรของภาคส่วนทเ่ี กี่ยวขอ้ ง รวมถงึ การออกกฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการกฬี า เพ่อื ใหม้ ี ผลใชบ้ งั คับเป็นมาตรฐานของการบริการจัดการ อาทิ พระราชบญั ญัตกิ ีฬามวย พ.ศ. ๒๕๔๒ พระราชบญั ญตั กิ ารกีฬาแห่ง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ พระราชบัญญตั สิ ่งเสริมกีฬาอาชพี พ.ศ. ๒๕๕๖ อย่างไรก็ตามอปุ สรรคตอ่ การพัฒนาหลักคือ การขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง การขาดความเช่ือมโยงระหว่างแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติในระดับ กระทรวงกบั แผนและยทุ ธศาสตรก์ ารดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานปฏบิ ตั ิ ขาดระบบตดิ ตามและประเมนิ ผล และฐานขอ้ มลู กลาง อกี ทั้งสมาคมกีฬายังขาดการบริหารงานแบบมอื อาชีพ ดังนัน้ ควรจะมีการจดั ต้ังคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแหง่ ชาติ ซึ่งประกอบไปด้วยตัวแทนจากทุกภาคส่วนท่ีมีความเกี่ยวข้องกับการกีฬาของประเทศ เพื่อก�ำหนดนโยบาย ก�ำกับดูแล และเสริมสร้างการบรู ณาการระหวา่ งหน่วยงานต่างๆ รวมไปถงึ ควรมีการประชมุ รว่ มระหวา่ งหน่วยงานตา่ งๆ ในทุกระดับ เพ่ือวางแผนพัฒนาร่วมกันอย่างสม่�ำเสมอ ควรมีการจัดตั้งหน่วยงานกลางเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับการกีฬา รวมไปถงึ ทำ� การตดิ ตามและประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของการดำ� เนนิ งานตามแผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาตขิ องหนว่ ยงานตา่ งๆ นอกจากน้ี ควรมกี ารสง่ เสรมิ ให้องค์กรกฬี าทกุ ระดบั มีการบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภบิ าลท่ีโปร่งใสและตรวจสอบได้

๔. นโยบายและยทุ ธศาสตร์ที่เกยี่ วข้องกบั การพฒั นาการกีฬาของประเทศ

๔.๑ วาระการพัฒนาภายหลังปี ๒๕๕๘ และเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนตามกรอบการพัฒนา ของสหประชาชาติ สหประชาชาติ (United Nation: UN) ได้ริเริ่มก�ำหนดวาระการพัฒนาภายหลังปี ๒๕๕๘ ตามกระบวนทัศน์ “การพัฒนาที่ยัง่ ยนื ” โดยประเดน็ ส�ำคัญของวาระการพฒั นาภายหลังปี ๒๕๕๘ คือการจัดทำ� เป้าหมาย การพัฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) เพื่อทดแทนเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) ทส่ี นิ้ สดุ ลงเมอ่ื ปี ๒๕๕๘ และสำ� หรบั ประเทศไทย โดยกระทรวงการตา่ งประเทศ ได้พิจารณาก�ำหนดประเด็นที่ประเทศไทยมีบทบาทน�ำ และสามารถผลักดันได้ในเวทีสหประชาชาติตามวาระการพัฒนา ภายหลงั ปี ๒๕๕๘ รวมทั้งการจดั ท�ำเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืน ด้วยการม่งุ เนน้ ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้น เพ่อื ใหบ้ รรลุเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) ของสหประชาชาติ (United Nation: UN) ตามที่ประเทศไทยได้ร่วมท�ำความตกลงการพัฒนาการกีฬาของไทยควรยึดหลักประชาชนเป็น ศนู ยก์ ลางและลดความเหลอื่ มลำ�้ ทางสงั คม โดยประชาชนทกุ ชว่ งวยั และจากทกุ ภาคสว่ นของสงั คมไดเ้ ขา้ ถงึ การกฬี าไดง้ า่ ย สะดวก และทวั่ ถึงทงั้ ประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิงผ้ดู ้อยโอกาสและคนพิการ และมุ่งเนน้ การใช้การกีฬาเพื่อบรรลเุ ป้าหมาย ด้านสุขภาพ ให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและคุณภาพชีวิตที่ดีควบคู่กับการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ สร้างงาน และสร้างอาชีพแก่นักกีฬาและประชาชน ตลอดจนส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน/ภาคประชาสงั คม และนักวิชาการ เพ่ือให้การกฬี าของไทยมีความมัน่ คงและยั่งยืน ๔.๒ การพัฒนาการกีฬาในประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) การพัฒนาเพ่ือการรวมตัวกันของ กลมุ่ ประเทศสมาชกิ ประชาคมอาเซยี น เกดิ ขน้ึ ภายใตก้ ฎบตั รอาเซยี น ทม่ี คี วามมงุ่ หวงั ใหเ้ กดิ ความเปน็ เอกภาพ “หนงึ่ วสิ ยั ทศั น์ หนึ่งเอกลักษณ์ หน่ึงประชาคม” ดังนั้นจ�ำเป็นต้องพัฒนาและส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในทุกมิติ ซึ่งการรวมตัวของ ประชาคมอาเซียนนับเป็นความท้าทายและโอกาสใหม่ของประเทศไทย เนื่องจากจะส่งผลต่อการเคลื่อนย้ายอย่างเสร ี ภาคสินค้าและบริการ รวมทั้งภาคแรงงานภายในภูมิภาค จึงทําให้ประเทศไทยต้องเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับ

18 เเผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า

การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว และเร่งพัฒนาศักยภาพของประชาชนภายในประเทศเพื่อให้มีความเข้มแข็งและสามารถ รับมือกับการเปล่ียนแปลงจากการรวมกลุ่มดังกล่าว ในขณะที่การพัฒนาการกีฬาเป็นการด�ำเนินการภายใต้เสาหลัก ท่ีเรียกว่า ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน ท่ีมีเป้าหมายให้อาเซียนเป็นประชาคมท่ีมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง สังคมท่ีเอ้ืออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ท่ีดีและมีการพัฒนาในทุกด้านเพ่ือยกระดับคุณภาพ ชวี ติ ของประชาชน รวมทง้ั สง่ เสรมิ อตั ลกั ษณข์ องอาเซยี น โดยการพฒั นาการกฬี ามคี วามสอดคลอ้ งและเชอื่ มโยงกบั แนวทาง การพัฒนาตามแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนในด้านการลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การเข้าถึงการดูแลสุขภาพและส่งเสริมการด�ำรงชีวิตที่มีสุขภาพ การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการส�ำหรับสตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และคนพิการ และการมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชนเพ่ือสร้างอัตลักษณ์ในเชิงการกีฬา รวมถึงการใช้กีฬา เป็นกลไกในการลดชอ่ งว่างทางการพฒั นา ด้วยการพฒั นาความร่วมมอื ทางด้านกีฬาในทุกมิติ การพัฒนาการกีฬาของไทยจ�ำเป็นต้องการสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อเพิ่มศักยภาพ ด้วยการใช้ประโยชน์จากความได้เปรียบด้านที่ตั้งของประเทศในเชิงยุทธศาสตร์เพ่ือเป็นศูนย์กลางการพัฒนาการกีฬาของ อาเซียน ซึง่ จำ� เปน็ ตอ้ งเร่งปรับปรงุ พฒั นาสถานทีแ่ ละสงิ่ อํานวยความสะดวกทางกฬี า ปรับปรงุ กฎหมาย ระเบียบต่างๆ ให้ เอื้อต่อการพัฒนาการกีฬาของภูมิภาคให้เกิดความเป็นรูปธรรมและมีความต่อเน่ือง โดยเฉพาะการเคลื่อนย้ายทรัพยากร เพอื่ การพฒั นากฬี า อาทิ การเคลอ่ื นยา้ ยของนกั กฬี าและบคุ ลากรการกฬี าภายในภมู ภิ าค ความรว่ มมอื ระหวา่ งภาครฐั และ ภาคเอกชนในการเพม่ิ ศกั ยภาพและพฒั นาอตุ สาหกรรมการกฬี าและธรุ กจิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเพอื่ สรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ใหแ้ กก่ ฬี า ของประเทศ และการพฒั นา การเจริญเตบิ โตของธรุ กิจทางการกีฬา (Growth of the Sports Industry) ในประชาคม อาเซียน ดังนั้น การกีฬาเป็นกลไกที่มีบทบาทสําคัญในการสร้างความม่ันคงให้ภูมิภาคอาเซียน ในฐานะเป็นตัวกลางท่ีดี ในการลดความเหล่ือมล�้ำ การสร้างสันติภาพและความสมานสามัคคี ควบคู่ไปกับการใช้การกีฬาและอุตสาหกรรม ทเี่ กยี่ วเนอื่ งกบั การกฬี าเพอื่ สรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ของประเทศในภมู ภิ าคอาเซยี นจากรายไดจ้ ากการกฬี าและอตุ สาหกรรม ทเ่ี กย่ี วเนอื่ ง อาทิ รายไดจ้ ากการชมการแขง่ ขนั รายไดจ้ ากการประกอบธรุ กจิ ทางการกฬี า เชน่ อปุ กรณก์ ฬี า ชดุ กฬี า รองเทา้ กฬี า เปน็ ตน้ รายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ ารศนู ยก์ ฬี า รายไดจ้ ากลขิ สทิ ธกิ์ ารถา่ ยทอดการแขง่ ขนั กฬี า รายไดจ้ ากธรุ กจิ สอ่ื ทางการกฬี า จึงนบั ว่าเปน็ ความท้าทายและโอกาสใหมข่ องประเทศไทย ทจ่ี ะใช้ประโยชนจ์ ากการกฬี าเพื่อพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ ควบค่ไู ปกบั การพฒั นาความร่วมมือทางเศรษฐกจิ สังคม และความมัน่ คงในภูมิภาคอาเซยี น ๔.๓ ทศิ ทางการพฒั นาการกฬี าตามของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จากการพัฒนาที่ผ่านมา พบว่าศักยภาพและคุณภาพชีวิตของคนไทยยังคงต่�ำกว่าเป้าหมายและไม่สอดคล้องกับ ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฐานความรู้ โดยเฉพาะประเด็นสุขภาพ พบว่าคนไทยส่วนใหญ่ยังมีพฤติกรรม และปจั จยั แวดลอ้ มทเี่ สย่ี งตอ่ การทำ� ลายสขุ ภาพจนทำ� ใหป้ ระชาชนเจบ็ ปว่ ยดว้ ยโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั (Non - Communicable Disease: NCD) ที่มากข้ึน เน่ืองจากขาดการออกก�ำลังกายอย่างสม่�ำเสมอ ดังนั้น การก�ำหนดเป้าหมายหน่ึงภายใต้ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คอื คำ� นงึ ถึง “การพฒั นาท่ียัง่ ยืน” โดยใช ้ “คนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา” มุ่งสร้างคนไทยให้เป็นพลังส�ำคัญในการสร้างความม่ันคงของชาติ เป็นกลจักรส�ำคัญ ในการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการ โดยในมติ ิสังคม มุ่งเน้นการพัฒนาคนทุกช่วงวัย และเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ มุ่งเน้นให้คนมีศักยภาพและ การเรยี นรู้ มคี วามคดิ สรา้ งสรรคม์ คี วามสามารถรอบดา้ นและมโี อกาสในการเขา้ ถงึ คณุ ภาพของการศกึ ษาอยา่ งเทา่ เทยี มกนั ลดความเหลื่อมล�้ำในสังคม และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนและครอบครัวให้ดีข้ึนในมิติเศรษฐกิจ มุ่งเน้นการพัฒนาคน

เเผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 19

กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกีฬา

ด้านคุณภาพและปริมาณเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทั้งในภาคการผลิต และภาคบริการเพื่อก้าวสู่การหลุดพ้นจาก กับดกั รายได้ปานกลางสู่รายไดส้ ูง ดังนนั้ จึงควรก�ำหนดเปา้ หมายการพฒั นาการกฬี าของไทยให้สอดคลอ้ งและเปน็ ไปในทิศทางเดียวกันกับวสิ ัยทัศน์ และทศิ ทางการพฒั นาของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ ๑๒ โดยการมงุ่ เนน้ การพฒั นาอตุ สาหกรรมการกฬี าของไทยอยา่ งครบวงจร เพื่อเป็นกลไกในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างม่ันคง มั่งค่ัง และยั่งยืน ด้วยการสร้างความเข้มแข็งของการกีฬา พนื้ ฐานและมวลชน โดยพฒั นารปู แบบการออกกำ� ลงั กายและโภชนาการทเ่ี หมาะสมกบั แตล่ ะชว่ งวยั และปรบั สภาพแวดลอ้ ม ด้านการกีฬาท่ีเอื้อต่อการส่งเสริมการมีสุขภาพท่ีดีของคนไทยทุกคน การพัฒนาการกีฬาเพื่อการอาชีพและความเป็นเลิศ และการส่งเสริมการสร้างรายได้จากการกีฬาเพื่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจ ของประเทศ ตลอดจนปรับโครงสร้างการบริหารจัดการด้านการกีฬาให้มีประสิทธิภาพและบูรณาการการท�ำงานและ ขบั เคลอื่ นการกีฬาอย่างมีเอกภาพ ๔.๔ รา่ งรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. .... มกี ารบญั ญตั เิ รอื่ งการกฬี าและบทบาทหนา้ ทขี่ องการกฬี า ไว้อย่างชัดเจนในร่างรัฐธรรมนูญ มาตรา ๗๑ วรรคแรก กล่าวคือ “รัฐพึงเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวอันเป็น องค์ประกอบพื้นฐานท่ีส�ำคัญของสังคม จัดให้ประชาชนมีท่ีอยู่อาศัยอย่างเหมาะสม ส่งเสริมและพัฒนาการสร้างเสริม สุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพท่ีแข็งแรงและมีจิตใจเข้มแข็ง รวมตลอดท้ังส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาให้ไปสู่ความเป็น เลิศและเกดิ ประโยชน์สูงสดุ แก่ประชาชน” ๔.๕ วาระปฏริ ปู ดา้ นการกฬี าของประเทศไทย สภาปฏริ ปู แหง่ ชาตโิ ดยคณะกรรมาธกิ ารปฏริ ปู การกฬี าไดจ้ ดั ทำ� ข้อเสนอแนะแนวทางวาระปฏริ ูปดา้ นการกฬี าของประเทศ โดยรัฐจะตอ้ งปลกู ฝังคา่ นยิ มและจิตส�ำนึกในระดบั รากฐานท่ีมี ต่อการกีฬาของประชาชนในประเทศ เพ่ือให้การกีฬาผสมผสานและกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตของประชาชนทุกช่วงวัย เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงกิจกรรมกีฬาและนันทนาการเพื่อการกีฬาอย่างท่ัวถึง เท่าเทียมและเป็นธรรม ซึ่งจ�ำเปน็ ตอ้ งมรี ะบบบรหิ ารจดั การโครงสรา้ ง การวางแผนกลไกในการขบั เคลอื่ น และมยี ทุ ธศาสตร์ในการจดั การการกฬี า ให้ครอบคลุมและทันสมัย รวมทั้งมีนโยบายการพัฒนาการกีฬาท่ีชัดเจนและต่อเนื่องเพ่ือให้การกีฬาเป็นเครื่องมือหน่ึง ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีความแข็งแรงทั้งร่างกาย จิตใจ และวินัย ตลอดจนแสดงศักยภาพของคนในประเทศ และสอดรับกับวิสัยทัศน์ตามบทบัญญัติในมาตรา ๒๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ท่ีเก่ียวข้องกับการกีฬา ได้แก่ (๑) การสร้างให้กลไกของรัฐสามารถให้บริการประชาชนทุกระดับ ไดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ สะดวก รวดเรว็ ทนั สมยั มมี าตรฐานและเปน็ ธรรม และ (๒) การขจดั ความเหลอ่ื มลำ�้ และสรา้ งความเปน็ ธรรม ทางสังคมและเศรษฐกจิ เพื่อการพัฒนาอยา่ งยงั่ ยืน การก�ำหนดเป้าหมายการปฏิรูปด้านการกีฬาของประเทศ ในวาระปฏิรูปท่ี ๑๙ ด้านการกีฬา ประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ๓๗ แนวทาง ๑๐๐ โครงการ ได้ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและสะท้อนความต้องการของ ประชาชนอยา่ งแทจ้ รงิ ท่ีม่งุ หวังการกีฬาเพื่อประโยชน์ของการพฒั นาสขุ ภาพ คุณภาพชวี ิต และสรา้ งความรกั ความสามคั คี ของประชาชน ซ่ึงเริ่มต้นจากครอบครัวและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นในการพัฒนาการกีฬาเพ่ือประโยชน์ของ ประชาชนในสงั คม กอ่ นทีจ่ ะพฒั นาไปสูก่ ารกีฬาเพื่อความเปน็ เลิศในระดับชาติต่อไป ตลอดจนการรว่ มสรา้ งมลู คา่ เพ่ิมทาง เศรษฐกจิ ของชาตดิ ้วยอตุ สาหกรรมการกฬี า ดงั นนั้ ในการจดั ท�ำแผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ครัง้ นี้ ได้พจิ ารณาใช้ประโยชน์จากหลกั การและแนวทางตามวาระปฏิรูปที่ ๑๙ การกฬี า ของสภาปฏิรูปแห่งชาติ ซึ่งผ่านขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และผ่านข้ันตอนการพิจารณาของสภาปฏิรูปแห่งชาติและ สภาขบั เคลอ่ื นการปฏิรปู ประเทศ ตามอ�ำนาจและลำ� ดับขน้ั ตอนของกฎหมาย พรอ้ มกบั ได้มกี ารนำ� เสนอต่อคณะรฐั มนตรี

20 เเผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬา

เพอ่ื พจิ ารณามอบหมายใหก้ ระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั ดำ� เนนิ การจดั ทำ� แผนพฒั นาการกฬี าแหง่ ชาติ ใหแ้ ลว้ เสรจ็ และผลกั ดนั ใหม้ ีการนำ� แผนสกู่ ารปฏิบตั ติ อ่ ไป

๕. สรุปผลการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพและโอกาสการพฒั นาการกฬี าไทย

ผลการทบทวนและประเมินแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) แสดงให้เห็นว่า การด�ำเนินงานท่ีผ่านมายังไม่สามารถพัฒนาการกีฬาไทยให้ประสบผลส�ำเร็จตามเป้าหมาย เด็กและเยาวชนยังไม่ได้ รับการเรียนการสอนด้านพลศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ ประชาชนท่ัวไปไม่ได้รับการส่งเสริมให้ออกก�ำลังกายและเล่นกีฬา จนเป็นวิถีชีวิต ความส�ำเร็จด้านการกีฬายังขาดความต่อเน่ือง อีกท้ังอุตสาหกรรมการกีฬายังไม่ได้รับการผลักดันให้มี การเติบโตอย่างเป็นรูปธรรม อย่างไรก็ตามแนวโน้มของการกีฬาท่ัวโลกในภาพรวมได้มีการเปล่ียนแปลงไปในเชิงบวก อนั เนอ่ื งมาจากการผสมผสานคา่ นยิ มใหมใ่ นเชงิ ความตระหนกั ถงึ การมสี ขุ ภาพทด่ี ขี องประชาชน ซง่ึ จะกอ่ ใหเ้ กดิ โอกาสใหมๆ่ ในการพัฒนาวงการกีฬาของไทย ประชากรไทยอาจจะเร่ิมสนใจในกีฬาเพิ่มข้ึนตามกระแสแนวโน้มกีฬาโลก การมีโอกาส ที่จะได้ออกก�ำลังกายหรือเล่นกีฬามากข้ึน จะช่วยให้ประชาชนหันมาสนใจเล่นกีฬาอย่างจริงจัง และสามารถเพิ่มจ�ำนวน นักกีฬาและความสามารถเพื่อการแข่งขันมากข้ึน ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์การกีฬาในทุกแขนงจะเป็นส่วนส�ำคัญ ส�ำหรับการพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศ อุตสาหกรรมการกีฬาไทยจะเติบโตต่อเน่ืองตามแนวโน้มการขยายตัวของ อตุ สาหกรรมการกฬี าโลก อกี ทงั้ บทเรยี นประเทศกรณศี กึ ษาตวั อยา่ งทดี่ จี ะชว่ ยเปน็ แนวทางในการวางแผนพฒั นาการบรหิ าร การกีฬาและการออกก�ำลังกายให้มปี ระสทิ ธิภาพดยี ่ิงข้ึน นอกจากนี้ได้มีการศึกษานโยบายและยุทธศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาการกีฬาของประเทศ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งแผนยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี ซ่ึงมุ่งให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่มคี วามม่นั คง มงั่ คั่ง และยง่ั ยืน ดงั นั้น แผนพฒั นา การกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จึงควรมุ่งพัฒนาการกีฬาให้เป็นกลไกในการสร้างเสริมสุขภาพ ทแี่ ขง็ แรง พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน และสรา้ งความภาคภมู ใิ จใหค้ นในชาติ อนั จะนำ� มาซงึ่ ความมน่ั คงของประเทศ อกี ทง้ั ควรสง่ เสรมิ ใหอ้ ตุ สาหกรรมการกฬี าและธรุ กจิ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การกฬี า เพอื่ ขบั เคลอ่ื นการสรา้ งมลู คา่ เพมิ่ ทางเศรษฐกจิ ของประเทศใหบ้ งั เกดิ ความมง่ั คงั่ สอดรบั กบั แนวคดิ ใหมข่ องรฐั บาลคอื ยทุ ธศาสตรป์ ระชารฐั และยทุ ธศาสตรป์ ระเทศไทย ๔.๐

เเผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 21

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

สว่๓นท่ี วสิ ยั ทัศนแ์ ละเปา้ หมายการพัฒนา

๑. วสิ ยั ทัศนก์ ารพัฒนาการกฬี าไทย พ.ศ. ๒๕๗๙

การจดั ทำ� วิสัยทศั น์การพฒั นาการกีฬาไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ เปน็ การด�ำเนนิ การในช่วงเวลาทส่ี ำ� คัญของประเทศ คอื ช่วงเวลาแห่งการปฏิรูปประเทศไทยให้ก้าวไปสู่การเป็นประเทศท่ีมีความม่ันคง มั่งค่ัง และยั่งยืน โดยประชาชน และทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิรูปเพื่อประสานประโยชน์และสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข จึงนับเป็นโอกาสที่ดีที่ประเทศไทยให้ความส�ำคัญกับการก�ำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในระยะยาวในอีก ๒๐ ปี ข้างหน้า ในท่ีนี้ได้มีการก�ำหนดกรอบแนวคิดและปัจจัยแห่งความส�ำเร็จให้ตอบสนองกับเจตนารมณ์ตามหลักการ และวิสัยทัศน์ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) กล่าวคือ ประเทศไทยมีความ “มนั่ คง มัง่ คงั่ ยง่ั ยนื ” ความมนั่ คง หมายถงึ การมคี วามมนั่ คงปลอดภยั จากภยั คกุ คามและการเปลยี่ นแปลงทง้ั ภายในประเทศและภายนอก ประเทศในทกุ ระดบั ทงั้ ระดบั ประเทศ สงั คม ชมุ ชน ครวั เรอื น และปจั เจกบคุ คล และมคี วามมน่ั คงในทกุ มติ ิ ทง้ั มติ เิ ศรษฐกจิ สงั คม สง่ิ แวดล้อม และการเมอื ง ความมงั่ คงั่ หมายถงึ ประเทศไทยมกี ารขยายตวั ของเศรษฐกจิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ยกระดบั เปน็ ประเทศในกลมุ่ ประเทศ รายได้สูง ความเหลือ่ มล้�ำของการพฒั นาลดลง ประชากรไดร้ ับผลประโยชนจ์ ากการพฒั นาอย่างเทา่ เทียมกันมากขึ้น ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้เพ่ิมข้ึน อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อส่ิงแวดล้อม จนเกนิ ความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ โดยมีวัตถุประสงค์หลักของการกีฬา คือ การกีฬาเป็นเรื่องของทุกคนในชาติ และเป็นกลไกในการสร้างชาติให้มี ความเป็นปึกแผ่นและมีส่วนส�ำคัญในการผลักดันประเทศให้ก้าวหน้า ในขณะเดียวกันการพิจารณาแนวทางการพัฒนา การกีฬาควรค�ำนึงถึงคุณค่าของการกีฬา คือ สร้างเสริมสุขภาพท่ีแข็งแรงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน มีความน่าสนใจให้เข้าไปมีส่วนร่วม ประชาชนทุกภาคส่วนสามารถเข้าถึงได้ เป็นแรงบันดาลใจและสร้างความภาคภูมิใจ ใหค้ นในชาติ และส่งเสรมิ การพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ การก�ำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาการกีฬาไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ จึงพิจารณาองค์ประกอบท่ีส�ำคัญ ๓ ประการ คือ หลกั การพฒั นา วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั และคณุ คา่ ของการกฬี า เพอื่ ใหก้ ารดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งเปน็ ไปในทศิ ทาง ท่ีสอดคล้องและเกื้อกูลกัน โดยมีเป้าประสงค์ร่วมกันและเห็นถึงความส�ำคัญของการกีฬาในฐานะกลไกส�ำคัญ ในการขับเคล่อื นและพฒั นาประเทศในระยะยาว จงึ ได้กำ� หนดวิสยั ทศั นก์ ารพัฒนาการกฬี าไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ ดังนี้ “การกฬี าเปน็ ส่วนส�ำคญั ของวถิ ีชีวติ ประชาชนทุกภาคส่วน และเป็นกลไกสำ� คญั ในการสรา้ งคุณค่าทางสงั คม และส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศ”

22 เเผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการท่องเทีย่ วและกฬี า

โดยมหี ลักแนวคิดเพอื่ การก�ำหนดแนวทางการพัฒนาดงั นี้ การกีฬาเป็นส่วนส�ำคัญของวิถีชีวิตประชาชนทุกภาคส่วน โดยส่งเสริมให้ประชาชนทุกคนมีความตระหนัก ถึงประโยชน์ของกีฬาโดยเฉพาะเด็กและเยาวชน เพ่ิมโอกาสให้ประชาชนทุกคนได้เล่นกีฬาหรือชมกีฬาที่ตนเองต้องการ อย่างเท่าเทียม การกีฬาเป็นกลไกส�ำคัญในการสร้างคุณค่าทางสังคม โดยสร้างปัจจัยแวดล้อมให้เอ้ือต่อการพัฒนากีฬา เพื่อความเปน็ เลศิ อาทิ บคุ ลากรการกฬี า โครงสร้างพน้ื ฐานดา้ นการกฬี า กจิ กรรมด้านการกฬี า องค์กรกีฬา องคค์ วามรู้ วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า และนโยบายในการผลกั ดนั กฬี าเพอื่ ความเปน็ เลศิ อนั จะสรา้ งแรงบนั ดาลใจและนำ� มาซงึ่ ความสามคั คี แก่คนในชาติ การกีฬาเป็นส่วนส�ำคัญในการส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศ โดยจัดให้มีโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการกีฬาท่ีมี มาตรฐานและอยใู่ นระดบั ชน้ั นำ� ของภมู ภิ าคเอเชยี รวมทง้ั การสรา้ งกจิ กรรมดา้ นการกฬี าในทกุ ระดบั เพอ่ื เปน็ สว่ นสำ� คญั ใน การพฒั นาเศรษฐกิจไทย ผลักดนั ใหภ้ าครฐั และเอกชนมสี ว่ นรว่ มในการสรา้ ง สง่ เสริมและสนับสนนุ อตุ สาหกรรมและธรุ กจิ ท่ีเกี่ยวข้องกับการกีฬา และส่งเสริมการบริหารจัดการกีฬาให้มีมาตรฐานท่ีดี ท�ำให้การกีฬาไทยเป็นท่ีน่าสนใจส�ำหรับ คนไทยและต่างชาติ ทงั้ นักกฬี า ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน

วิสัยทัศน์การพัฒนาการกีฬาไทยในระยะ ๒๐ ปีข้างหน้าได้ให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมให้ประชาชน มีการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาจนเป็นวิถีชีวิต การสร้างสามัคคีและความภาคภูมิใจของคนในชาติโดยใช้การกีฬา เป็นเครื่องมือ และการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจจากการกีฬา ดังนั้น ในช่วงระยะ ๕ ปีแรกภายใต้แผนพัฒนา การกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จงึ ไดก้ ำ� หนดเปา้ หมายการพฒั นา เปา้ ประสงค์ ตวั ชว้ี ดั และยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาท่ีเป็นการวางรากฐานการพฒั นาการกีฬาสเู่ ป้าหมายในระยะ ๒๐ ปี

๒. เปา้ หมายการพัฒนา

๒.๑ เด็กและเยาวชน ทุกกลุ่มและทุกพ้ืนท่ี มีความตระหนัก มีความรู้และทักษะในกิจกรรมทางกาย การออกก�ำลังกาย และการเล่นกีฬาได้อย่างน้อย ๑ ชนิดกีฬา ซ่ึงจะท�ำให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงควบคู่ไปกับ มคี วามสำ� นกึ ในระเบียบวนิ ยั และนำ้� ใจนกั กฬี า ๒.๒ ประชาชนทุกภาคส่วนมีสุขภาพท่ีดีขึ้นจากการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬา โดยมีส่วนร่วมในการก�ำหนด และมีโอกาสเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานด้านการกีฬาของชุมชนท้องถ่ินอย่างเสมอภาค รวมท้ังมีอาสาสมัครที่เป็นผู้น�ำ ในการออกก�ำลงั กายและเลน่ กฬี าอย่างท่วั ถึง ๒.๓ ระบบการเฟ้นหาและพัฒนานักกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ความเป็นเลิศในทุกระดับ ควบคู่ไปกับการมีศูนย์ฝึกซ้อม กีฬาและระบบการจัดการแข่งขันท่ีได้มาตรฐาน ซ่ึงจะท�ำให้นักกีฬามีพัฒนาการที่ดีและมีความคาดหวังในการแข่งขัน ระดับนานาชาติ ตลอดจนมีการเชิดชเู กยี รติ ดแู ลสวสั ดิการและสวัสดิภาพท่เี หมาะสม ๒.๔ อุตสาหกรรมการกีฬาและการกีฬาเพ่ือการท่องเทีย่ วและนนั ทนาการ (Sport Tourism) ไดร้ บั การสง่ เสริม อยา่ งจรงิ จงั รวมท้งั มีเมืองกีฬา (Sport City) และระบบฐานขอ้ มูล เพื่อสนบั สนุนการพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง ซึง่ จะนำ� ไปสู่ การขยายตวั ของจ้างงานและสรา้ งมลู คา่ เพ่มิ ทางเศรษฐกจิ ของประเทศอย่างมเี สถยี รภาพ

เเผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 23

กระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า

๒.๕ โครงสร้างพื้นฐาน บุคลากร และหน่วยงานหลักสามารถบูรณาการงานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมการกีฬา เพื่อพัฒนาสุขภาพของประชาชนควบคู่ไปกับการพัฒนาขีดความสามารถของนักกีฬาอย่างเป็นระบบ รวมทั้งพัฒนาความร่วมมอื กับทุกภาคสว่ นในการวจิ ัยและพฒั นาองคค์ วามรู้ทางการกีฬา ๒.๖ บูรณาการความร่วมมือของส่วนราชการ หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน ในการพัฒนาต่อยอด แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติฉบับท่ีผ่านมา ขับเคลื่อนการบริหารจัดการกีฬา และพัฒนาระบบฐานข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง กับการกฬี าใหเ้ ป็นมาตรฐานเดยี วกัน ภายใตร้ ะบบธรรมาภิบาลและการสรา้ งความโปร่งใส

๓. เป้าประสงค์

๓.๑ ประชาชนทกุ ภาคสว่ นมคี วามสนใจในการออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี า โดยมสี ดั สว่ นประชากรทอี่ อกกำ� ลงั กาย และเล่นกีฬาอย่างสม�่ำเสมอ ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๓๐ ของประชากรท่วั ประเทศ ๓.๒ นักกีฬาผู้แทนของประเทศไทยประสบความส�ำเร็จในการแข่งกีฬาทั้งในระดับภูมิภาค ระดับทวีป และระดบั โลก เพอื่ สรา้ งความสมานสามคั คแี ละนำ� มาซง่ึ ความภาคภมู ใิ จแกค่ นในชาติ โดยเปน็ เจา้ เหรยี ญทองในการแขง่ ขนั ซีเกมส์และอาเซียนพาราเกมส์ และไม่น้อยกว่าอันดับท่ี ๖ ในการแข่งขันเอเชียนเกมส์และเอเชียนพาราเกมส์ และไม่น้อยกว่าอันดับที่ ๗ ของประเทศจากทวีปเอเชียในมหกรรมกีฬาโอลิมปิกเกมส์และไม่น้อยกว่าอันดับท่ี ๖ ของประเทศจากทวีปเอเชยี ในมหกรรมกฬี าพาราลิมปกิ เกมส์ ๓.๓ อตุ สาหกรรมการกฬี าของประเทศไทยสามารถชว่ ยสรา้ งมลู คา่ เพมิ่ ทางเศรษฐกจิ ของประเทศและมกี ารเตบิ โต ตอ่ เนือ่ งอย่างยง่ั ยืน โดยมอี ตั ราการเตบิ โตของรายได้จากอุตสาหกรรมการกฬี าไมต่ ่�ำกว่าอตั ราการเติบโตโดยเฉลีย่ ในระยะ ๕ ปที ผ่ี ่านมา

๔. ตัวชี้วดั

๔.๑ ประชากรทุกภาคส่วนออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม�่ำเสมอไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๐ ของประชากร ทัง้ ประเทศ (สดั สว่ นประชากรทม่ี กี ารเล่นกฬี า/ออกก�ำลงั กาย หรือการท�ำกจิ กรรมนันทนาการภายใตก้ ารส�ำรวจกิจกรรม ทางกายสำ� หรบั กลมุ่ ประชากรท่ีมีอายุ ๑๕ ปขี นึ้ ไป ของส�ำนักงานสถติ ิแห่งชาติ) ๔.๒ อันดับการแข่งขันกีฬาในมหกรรมกีฬาระดับนานาชาติของนักกีฬาไทยไม่ต่�ำกว่าอันดับท่ี ๗ ของเอเชีย ในการแขง่ ขนั กฬี าโอลมิ ปกิ เกมส์ อนั ดบั ที่ ๖ กฬี าเอเชยี นเกมส์ และอนั ดบั ท่ี ๑ กฬี าซเี กมส์ และอนั ดบั ของนกั กฬี าคนพกิ ารไทย ไม่ต�่ำกว่าอันดับที่ ๖ ของเอเชียในการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกเกมส์ อันดับที่ ๖ กีฬาเอเชียนพาราเกมส์ และอันดับท่ี ๑ กีฬาอาเซยี นพาราเกมส์ ๔.๓ มลู ค่าอุตสาหกรรมการกฬี ามอี ตั ราการเติบโตโดยเฉลยี่ ไม่ต�ำ่ กว่าร้อยละ ๕ ตอ่ ปี

๕. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นา

เพอื่ ใหบ้ รรลวุ สิ ยั ทศั นต์ ามทกี่ ำ� หนดไวว้ า่ “การกฬี าเปน็ สว่ นสำ� คญั ของวถิ ชี วี ติ ประชาชนทกุ ภาคสว่ น และเปน็ กลไก ส�ำคญั ในการสรา้ งคณุ คา่ ทางสงั คมและสง่ เสรมิ เศรษฐกิจของประเทศ” จึงได้กำ� หนดยุทธศาสตร์การพฒั นาระยะเวลา ๕ ปี ขา้ งหน้า เพือ่ การขบั เคลอ่ื นและพฒั นาการกฬี าไทยไปในทศิ ทางทเ่ี หมาะสม บรรลตุ ามวตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมาย ดงั นี้ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ การสง่ เสรมิ ให้เกิดความรแู้ ละความตระหนักด้านการออกก�ำลงั กายและการกีฬาขั้นพ้ืนฐาน ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การส่งเสรมิ ให้มวลชนมกี ารออกกำ� ลังกายและมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมการกฬี า

24 เเผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกีฬา

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ การพัฒนากฬี าเพอื่ ความเป็นเลิศและต่อยอดเพ่อื ความสำ� เร็จในระดับอาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การพัฒนาอตุ สาหกรรมการกฬี าเพอื่ เป็นสว่ นสำ� คัญในการสร้างมูลค่าเพมิ่ ทางเศรษฐกจิ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๕ การพฒั นาองคค์ วามรูแ้ ละนวัตกรรมทเี่ กีย่ วข้องกบั การกฬี า ยุทธศาสตรท์ ่ี ๖ การยกระดบั การบรหิ ารจัดการด้านการกีฬาให้มปี ระสทิ ธภิ าพ ทง้ั นี้ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาในขอ้ ที่ ๑ – ๓ จะเปน็ เปา้ หมายสำ� คญั ในการพฒั นาการกฬี าของประเทศ ตงั้ แต่ ระดบั พื้นฐาน มวลชน จนตอ่ ยอดไปส่คู วามเปน็ เลศิ และอาชีพ ซง่ึ จะเป็นการสร้างรากฐานที่ม่นั คงทางสขุ ภาวะและก่อให้ เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดแกป่ ระชาชน ในสว่ นประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ จะเป็นการขบั เคลื่อนการสร้างมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกจิ จากทงั้ สามประเดน็ แรก อนั จะเปน็ นำ� ไปสคู่ วามมง่ั คงั่ ของประเทศ อกี ทง้ั จะชว่ ยใหเ้ กดิ การหมนุ เวยี นดา้ นเงนิ ทนุ ในการพฒั นา การกฬี าอย่างต่อเนอ่ื ง สำ� หรบั ยุทธศาสตร์ประเด็นท่ี ๕ และ ๖ จะเป็นการสนบั สนนุ ให้เกิดการพฒั นาการกฬี าในองค์รวม ซึง่ จะทำ� ใหก้ ารขบั เคลอ่ื นประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท้งั สบ่ี รรลตุ ามวัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายอยา่ งมีประสิทธิภาพและย่งั ยืน

การกฬี าเปน็ สว่ นสำ� คัญของวถิ ีชีวิตประชาชนทกุ ภาคส่วน และเปน็ กลไก สำ� คญั ในการสร้างคณุ ค่าทางสงั คมและสง่ เสริมเศรษฐกจิ ของประเทศ

๑๒๓

การสง่ เสริมให้เกิดความรู้ การส่งเสรมิ ใหม้ วลชน การพัฒนากีฬาเพอ่ื และความตระหนกั มกี ารออกกำ� ลงั กาย ความเปน็ เลศิ และ ด้านการออกกำ� ลงั กาย และมีส่วนรว่ มใน ต่อยอดเพ่อื ความสำ� เรจ็ กจิ กรรมการกฬี า ในระดับอาชีพ และการกฬี าข้นั พ้นื ฐาน

๔ การพัฒนาอตุ สาหกรรมการกฬี าเพ่อื เป็นสว่ นส�ำคัญในการสรา้ งมูลค่าเพ่มิ ทางเศรษฐกจิ ๕ การพฒั นาองค์ความรแู้ ละนวตั กรรมทเี่ กีย่ วข้องกับการกฬี า ๖ การยกระดบั การบรหิ ารจดั การดา้ นการกฬี าใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ

วสิ ัยทศั น์การพฒั นาการกีฬาไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ และประเด็นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการกฬี าไทยในระยะ ๕ ปี

เเผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 25

กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกีฬา

สว่๔นที่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการกฬี า ในระยะแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๖

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การส่งเสริมให้เกิดความรู้และความตระหนักด้านการออกก�ำลังกายและ การกฬี าขน้ั พน้ื ฐาน

เพอ่ื ให้เด็กและเยาวชนทง้ั ในระบบและนอกระบบการศกึ ษา ได้รับการศึกษาดา้ นพลศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพอยา่ งท่ัวถึง จากครูพลศึกษาที่มีคุณภาพและจ�ำนวนเพียงพอต่อความต้องการ มีการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาข้ันพ้ืนฐานได้อย่าง ถูกต้อง รู้กฎ และกติกา จนสามารถถึงข้ันดูกีฬาเป็นเล่นกีฬาได้ มีทัศนคติท่ีดี มีระเบียบวินัยและน�้ำใจนักกีฬา รวมถึง มีการจัดวางระบบโครงข่ายในสถานศึกษาและชุมชน เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและครอบครัว ในการผลกั ดันใหก้ ารออกกำ� ลงั กายและการเล่นกีฬาเปน็ สว่ นหนึ่งของวถิ ีชวี ิตตงั้ แต่ปฐมวัย ๑. เปา้ ประสงค์ ๑.๑ เด็ก และเยาวชน มีความเข้าใจและมีความตระหนักในกิจกรรมทางกาย การออกก�ำลังกายและ การเลน่ กีฬาเพม่ิ มากขนึ้ ๑.๒ เด็ก และเยาวชน ทุกกลมุ่ และทุกพืน้ ท่ี มสี ขุ ภาพร่างกายตามเกณฑม์ าตรฐาน ๑.๓ เด็ก และเยาวชน มีความรู้และทักษะในการออกก�ำลังกายและกีฬาท่ีถนัดได้อย่างน้อย ๑ ชนิดกีฬา พร้อมกับมีความส�ำนึกถึงความมีระเบียบวนิ ยั และน�ำ้ ใจนกั กีฬา ๒. ตัวช้ีวัด ๒.๑ เดก็ และเยาวชนท่ัวประเทศไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ผ่านเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย ๒.๒ มีครูพลศึกษาในสถานศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ ของจ�ำนวนสถานศึกษาทั่วประเทศภายในป ี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒.๓ มกี ารสง่ เสรมิ กจิ กรรมกีฬาผ่านโครงการ “๑ โรงเรียน ๑ กีฬา” ในสถานศึกษาทกุ แห่งท่วั ประเทศ ๒.๔ มีการจัดกิจกรรมการให้ความรู้และส่งเสริมการออกก�ำลังกายและการเล่นกีฬานอกสถานศึกษา ในทุกต�ำบลทัว่ ประเทศไม่นอ้ ยกว่า ๔ ครง้ั ตอ่ ปี ๒.๕ มีการเพมิ่ วาระการประชมุ เรอ่ื งการพฒั นาการกีฬาในการประชมุ ของสถานศึกษาไม่นอ้ ยกวา่ ๔ ครงั้ ตอ่ ปี ๓. แนวทางการพัฒนา ๓.๑ เร่งสรา้ งและพฒั นาพลศกึ ษาและสุขศึกษาในสถานศกึ ษาทว่ั ประเทศ ๑) สง่ เสริมการเรียนร้ดู ้านการออกกำ� ลังกายและการกีฬาขน้ั พนื้ ฐานในสถานศกึ ษา โดยการส่งเสริม วชิ าพลศกึ ษาและวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพตง้ั แตร่ ะดบั ปฐมวยั จดั ใหม้ คี าบเรยี นพลศกึ ษาไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ คาบตอ่ สปั ดาห์ ยกระดบั หลักสูตรวิชาพลศึกษาให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ ส่งเสริมให้นักเรียนออกก�ำลังกายก่อนและหลังเลิกเรียน และจัดให้มีการพัฒนาแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายท่ีเป็นมาตรฐาน พร้อมท้ังเก็บรวบรวมข้อมูลผลการทดสอบ สมรรถภาพทางกายของนักเรียนทั่วประเทศ นอกจากนี้ ควรพิจารณาความเป็นไปได้ในการออกแบบทดสอบและ ทำ� การประเมนิ วดั ผลความรดู้ า้ นการออกกำ� ลงั กายและการกีฬาขน้ั พนื้ ฐาน

26 เเผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกีฬา

๒) พฒั นาคณุ ภาพของครพู ลศกึ ษาใหม้ มี าตรฐาน และจดั สรรใหม้ กี ารบรรจคุ รพู ลศกึ ษาในสถานศกึ ษา ทั่วประเทศ โดยการจัดให้มีการฝึกอบรมวิชาการพลศึกษาให้กับครูผู้สอนวิชาอ่ืนในสถานศึกษาที่ขาดแคลนครูพลศึกษา เพม่ิ อตั ราการจา้ งงานของครผู สู้ อนวชิ าพลศกึ ษาในสถานศกึ ษา เสรมิ สรา้ งความรขู้ องครผู สู้ อนวชิ าพลศกึ ษาใหท้ นั สมยั ผา่ น เครือข่ายครูผู้สอนวิชาพลศึกษา เพ่ือรักษาและพัฒนาคุณภาพของการเรียนการสอนวิชาพลศึกษาในสถานศึกษาอย่าง ตอ่ เนอื่ ง ๓) จดั ใหม้ อี ปุ กรณแ์ ละสถานทเ่ี พอื่ การออกกำ� ลงั กายขนั้ พนื้ ฐานตามสถานศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั ทอ้ งถน่ิ โดยการสร้างความตระหนักให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษาเล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการมีและการใช้ประโยชน์จากสถานท ี่ และอุปกรณ์กีฬาทไ่ี ดม้ าตรฐาน และสง่ เสรมิ การดูแลรักษาสถานที่และอุปกรณใ์ นการเลน่ กฬี าของสถานศกึ ษาทว่ั ประเทศ ใหก้ ารสนบั สนนุ งบประมาณแก่สถานศกึ ษาของภาครัฐ เพอ่ื ปรบั ปรุงสถานที่และจดั หาอุปกรณ์กฬี า ๔) ส่งเสริมและพัฒนาการออกก�ำลังกายและการกีฬาขั้นพ้ืนฐานส�ำหรับเด็กและเยาวชนคนพิการ ในสถานศึกษา โดยการปรับปรุงและพัฒนาระบบการศึกษาด้านการกีฬาในสถานศึกษาส�ำหรับคนพิการ ก�ำหนดให้มี การเรียนการสอนวิชาพลศึกษาส�ำหรับคนพิการ จัดต้ังสถาบันพัฒนาการกีฬาคนพิการส�ำหรับพัฒนาองค์ความรู ้ ฝกึ ฝนทกั ษะ และพัฒนาบคุ ลากรเพอ่ื รองรบั การพัฒนากีฬาคนพิการในดา้ นการออกก�ำลังกายและการกฬี าข้นั พน้ื ฐาน ๓.๒ ส่งเสริมการพัฒนาการออกก�ำลังกายและการกีฬาขัน้ พืน้ ฐานในชมุ ชนทอ้ งถนิ่ นอกสถานศกึ ษา ๑) ส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมการออกก�ำลังกายและการกีฬาขั้นพื้นฐานนอกหลักสูตรส�ำหรับเด็ก และเยาวชน เพอื่ เพิม่ ความตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของการออกกำ� ลงั กาย โดยการพัฒนาและส่งเสรมิ กิจกรรมกีฬาและ นนั ทนาการนอกหลกั สตู รสำ� หรบั เดก็ และเยาวชน โดยประสานความรว่ มมอื กบั ทอ้ งถน่ิ และภาคเอกชน ใหค้ วามรแู้ ละจดั การ ทดสอบสมรรถภาพทางกายแกเ่ ดก็ และกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรใู้ หแ้ กเ่ ยาวชนในชมุ ชนทอ้ งถนิ่ เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจถงึ ความสำ� คญั ของการออกก�ำลังกายและเลน่ กฬี าซงึ่ ส่งผลต่อสขุ ภาพโดยรวม ๒) พัฒนาและส่งเสริมให้มีอาสาสมัครและผู้น�ำในระดับเยาวชน เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ ดา้ นการออกกำ� ลงั กายและการกฬี า โดยการสรา้ งความร่วมมอื กับหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งตงั้ แต่ระดับท้องถิ่นในการจดั ให้มี กิจกรรมและประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างและพัฒนาอาสาสมัครและผู้น�ำทางการกีฬาในระดับเด็กและเยาวชน เสริมสร้าง ความรว่ มมอื กับสถานศกึ ษาเพ่ือกระตุ้นใหผ้ ้บู ริหารเลง็ เหน็ ถงึ ความส�ำคัญของโครงการ และผลกั ดันใหน้ กั เรยี นของตนเขา้ รว่ มกจิ กรรมเพอ่ื เสริมสรา้ งการเรยี นรู้ด้านการออกก�ำลังกายและเลน่ กฬี าต้งั แต่เยาวว์ ัย ๓) เพิม่ ความตระหนักและเสรมิ สร้างนำ�้ ใจนักกฬี า ผา่ นการประชาสมั พนั ธ์และการตลาดท่ีสามารถ เข้าถึงเด็กและเยาวชนได้ โดยการบูรณาการการใช้สื่อต่างๆ รวมถึงนักกีฬาและบุคคลที่มีช่ือเสียงในการกีฬาเพื่อ ประชาสัมพันธ์ควบคู่ไปกับการสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชน เพ่ือน�ำองค์ความรู้ด้านบริหารจัดการมาประยุกต์ใช้ เพ่อื เพิ่มความสนใจและให้ความร้เู กีย่ วกับการกฬี าแก่เด็กและเยาวชนต่อการออกก�ำลังกายและการกีฬา รวมทง้ั ควรเชิดชู เกียรติประวัติของเด็กและเยาวชนที่มีผลงานดีเด่นในการกีฬาทุกระดับ เพ่ือเป็นตัวอย่างและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่เด็ก และเยาวชนในสังคม ๓.๓ จดั วางระบบโครงขา่ ยและสรา้ งความเชอื่ มโยงระหว่างสถานศกึ ษาและชุมชน ๑) จัดตั้งเครือข่ายการกีฬาระหว่างชุมชนและสถานศึกษา พร้อมท้ังเพ่ิมบทบาทการมีส่วนร่วม ของสถาบันครอบครัว โดยการเสริมสร้างความร่วมมือในสถานศึกษาให้เกิดการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างครู นักเรียน และผปู้ กครอง เพอื่ เนน้ ยำ้� ถงึ ความสำ� คญั ของการกฬี า และสรา้ งความเขา้ ใจถงึ การพฒั นาการกฬี าของสถานศกึ ษา สง่ เสรมิ และผลักดันกิจกรรมกีฬา นันทนาการ และการจัดการประชุมเพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็น พร้อมท้ังหาแนวทางส่งเสริม และผลักดนั กิจกรรมกฬี าและนันทนาการนอกระบบสถานศกึ ษา

เเผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 27

กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า

๒) ส่งเสริมความร่วมมือและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษาของท้ังในและต่างประเทศ โดยการจัดต้ังเครือข่ายและส่งเสริมการเป็นสมาชิกของคณะกรรมการและองค์กรการกีฬาที่เป็นมาตรฐานสากลในระดับ สถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษา เพ่ือเสริมสร้างและพัฒนาสัมพันธภาพอันดีของทุกเครือข่ายและก�ำหนดเป็นแนวทาง การปฏบิ ัติและสือ่ สารกับเครอื ข่ายการกฬี าในทกุ ระดบั อาทิ ท้องถ่นิ สถานศกึ ษา และสถาบันอุดมศกึ ษา

ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ : การส่งเสริมให้มวลชนมีการออกก�ำลังกายและมีส่วนร่วมในกิจกรรม การกฬี า

เพือ่ เสรมิ สรา้ งการออกกำ� ลงั กายสำ� หรับประชาชนทกุ กลุม่ ทกุ เพศ ทุกวัย ยุทธศาสตรน์ ถ้ี อื วา่ มีความส�ำคญั ส�ำหรบั ประชาชนทวั่ ไป ทง้ั น้ี เพราะการออกกำ� ลงั กายหรอื การเลน่ กฬี าจะทำ� ใหส้ ขุ ภาพพลานามยั แขง็ แรง ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการรกั ษา พยาบาล ลดปญั หาสงั คม สามารถใชป้ ระโยชน์ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและอบายมุข โดยมีการสรา้ งโอกาสการเขา้ ถงึ กจิ กรรมการออกกำ� ลงั กายและการเลน่ กฬี า และมกี ารจดั เตรยี มโครงสรา้ งพน้ื ฐานและสงิ่ อำ� นวยความสะดวกแกป่ ระชาชน ทุกกลุ่มอย่างท่วั ถึง รวมไปถงึ การสง่ เสริมให้ประชาชนมีจติ สาธารณะ และพัฒนาระบบอาสาสมคั รการกีฬา ๑. เป้าประสงค์ ๑.๑ ประชาชนทกุ ภาคสว่ นมสี ขุ ภาพโดยเฉลยี่ ท่ีดีขึ้นจากการออกกำ� ลงั กายและการเล่นกฬี า ๑.๒ มโี ครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นการกฬี าทม่ี มี าตรฐาน และสามารถรองรบั กจิ กรรมกฬี าของประชาชนทกุ กลมุ่ อายุ อย่างมีความเสมอภาคกนั พรอ้ มทั้งมีสิ่งอำ� นวยความสะดวกใหแ้ กค่ นพิการและผสู้ ูงอายใุ ห้ครอบคลุมในทุกท้องถน่ิ ๑.๓ สร้างโอกาสในการเข้าถึง และมีการประชาสัมพันธ์ถึงกิจกรรมและการบริการทางการกีฬา รวมทั้ง สร้างความรูส้ ึกเปน็ เจา้ ของและร่วมดูแลโครงสร้างพน้ื ฐานดา้ นการกีฬาของชมุ ชนท้องถ่ิน ๑.๔ มีอาสาสมัครทางการกีฬาและผู้น�ำการออกก�ำลังกายที่มีความพร้อมในการช่วยเหลือหรือให้การดูแล การเลน่ กีฬาและการออกก�ำลังกายของชุมชนทอ้ งถนิ่ ๒. ตัวช้ีวัด ๒.๑ มีการจัดเตรียมและพัฒนาสถานกีฬาสาธารณะไม่นอ้ ยกว่า ๑ แห่งต่อต�ำบล ๒.๒ มีการจดั อุปกรณก์ ารออกกำ� ลงั กาย/เล่นกีฬาไม่นอ้ ยกว่า ๕ ชนดิ กีฬาตอ่ ตำ� บลต่อปี ๒.๓ มีการจัดกิจกรรมการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬา เพ่ือมวลชนท่ัวประเทศท่ีจัดขึ้นโดยหน่วยงานภาครัฐ หรือเกิดจากความร่วมมอื ระหวา่ งหน่วยงานภาครฐั และเอกชน เพ่ิมขึ้นอย่างตอ่ เนอื่ งไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๑๐ ตอ่ ปี ๒.๔ จ�ำนวนบุคลากรและผู้น�ำทางกีฬาและนันทนาการได้รับการพัฒนา ผ่านการประเมินและทดสอบ ถูกตดิ ตามและบันทึกอย่างถูกตอ้ ง โดยมอี ตั ราการเพิ่มข้นึ อย่างตอ่ เนอ่ื ง ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๕ ตอ่ ปี ๒.๕ คา่ ดัชนมี วลกาย (BMI) เฉล่ียของประชากรท่วั ประเทศ ดขี ึ้นร้อยละ ๕ เม่ือเทียบกบั เกณฑม์ าตรฐานสากล ๒.๖ มีอาสาสมคั รทางการกีฬาครบทกุ หมู่บ้าน และไม่น้อยกวา่ ๑ คนตอ่ จ�ำนวนประชากร ๙๐๐ คน

28 เเผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกฬี า

๓. แนวทางการพัฒนา ๓.๑ จัดหาและพัฒนาสถานท่ีและอุปกรณ์กีฬาท่ีเพียงพอและเหมาะสมเพื่อการออกก�ำลังกายและ การเล่นกฬี าของมวลชน ๑) พัฒนาและบ�ำรุงรักษาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการออกก�ำลังกายและการกีฬาตั้งแต่ระดับท้องถิ่น โดยการพิจารณาศึกษาและก�ำหนดพ้ืนที่พัฒนาสถานกีฬาหรืออุปกรณ์ส�ำหรับการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาท่ัวประเทศ จัดสร้างสถานกีฬาหรือจัดหาอุปกรณ์ที่เก่ียวข้องอย่างเหมาะสม เพื่อเพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงให้แก่ประชาชนในพ้ืนท่ี สนับสนุนให้มีการบ�ำรุงรักษาสถานกีฬาท่ัวทุกพ้ืนที่ และพัฒนาส่ิงอ�ำนวยความสะดวกให้มีความเหมาะสม เพ่ือรองรับ การใช้ประโยชนข์ องผู้สูงอายแุ ละคนพกิ ารในทุกพื้นท่ีทัว่ ประเทศ ๒) พัฒนามาตรการด้านความปลอดภัยส�ำหรับการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาตามความเหมาะสม โดยการจดั ทำ� แนวทางและกำ� หนดกฎระเบยี บเพอื่ สง่ เสรมิ ดา้ นความปลอดภยั ในการออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี า ใหค้ ำ� แนะนำ� และประชาสมั พนั ธแ์ นวทางในการออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี าทปี่ ลอดภยั แกป่ ระชาชนผา่ นสอ่ื ตา่ งๆ และผลกั ดนั ใหเ้ จา้ ของ สถานกีฬาทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มีมาตรการในการรักษากฎระเบียบ โดยมีมาตรการตักเตือนหรือบทลงโทษส�ำหรับ ผฝู้ า่ ฝนื ๓) ส่งเสริมการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ด้านการกีฬา โดยการก�ำหนดมาตรการจูงใจให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมกับภาครัฐในการพัฒนาและบ�ำรุงรักษา สถานกีฬา และสร้างโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการลงทุนและบริหารจัดการสถานกีฬา เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม จากสถานกีฬาของภาครัฐ ๔) ส่งเสริมให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการใช้สถานกีฬาเพื่อสาธารณชน โดยการพัฒนา ความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษาในการจัดพ้ืนท่ีหรือสถานกีฬา เพ่ือเพ่ิมโอกาสใช้ประโยชน์ในการ ออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาทั้งก่อนและหลังเวลาทำ� งาน เพ่ิมการเข้าถึงสถานที่ออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาของประชาชน ในพื้นที่ และพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการสถานที่และอปุ กรณ์ท่ไี ด้มาตรฐานทางการกีฬาใหก้ ับสถานศึกษา ๕) ส่งเสริมให้สถานกีฬาขยายเวลาการให้บริการแก่ประชาชน โดยการศึกษาความต้องการของ ประชาชนในแต่ละท้องท่ี และพัฒนาความร่วมมือกับสถานกีฬาของภาครัฐและภาคเอกชนให้ก�ำหนดเวลาที่เหมาะสม ในการเปิดให้บริการ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาเพ่ิมมากข้ึน ประชาสัมพันธ์ช่วงเวลา การใหบ้ ริการ และจัดกจิ กรรมเพอื่ ดงึ ดูดและเพิ่มความสนใจของประชาชนใหเ้ ขา้ มาใชบ้ รกิ ารในชว่ งเวลาดังกล่าว ๖) สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของและส่งเสริมการดูแลรักษาสถานท่ีออกก�ำลังกายและสิ่งอ�ำนวย ความสะดวก โดยการประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ เพื่อสร้างจิตส�ำนึกและความรู้สึกเป็นเจ้าของให้ ประชาชนในการใช้ประโยชน์ พร้อมกับดูแลรักษาสถานท่ีและอุปกรณ์กีฬาสาธารณะอย่างเหมาะสม รวมท้ังสนับสนุน โครงการอาสาสมัครเพ่ือช่วยเหลือในการดูแลรักษาสถานที่และอุปกรณ์ และก�ำหนดมาตรการตักเตือนหรือป้องกันการใช้ สถานท่แี ละอปุ กรณก์ ารกีฬาท่ีไม่ถูกวธิ ี ๓.๒ เสรมิ สรา้ งความเสมอภาคในการเข้าถงึ การออกกำ� ลังกายและการเลน่ กฬี าสำ� หรบั ประชากรทกุ กลมุ่ ๑) เผยแพร่ความรู้เพ่ือเพิ่มความตระหนักด้านการออกก�ำลังกาย การเล่นกีฬา และการดูแลสุขภาพ ให้กับประชาชนทั้งส่วนกลางและท้องถ่ิน โดยการจัดต้ัง ส่งเสริม และประชาสัมพันธ์ศูนย์เผยแพร่ความรู้ พิพิธภัณฑ ์ ห้องสมุดกีฬา หรือหอเกียรติยศกีฬาไทยทั้งในส่วนกลางและชุมชนท้องถ่ิน การใช้การสื่อสารผ่านช่องทางสื่อดิจิตอลหรือ สอ่ื สงั คมออนไลน์ เพอื่ เพม่ิ ชอ่ งทางการเขา้ ถงึ กลมุ่ คนรนุ่ ใหม่ ในการสรา้ งความตระหนกั ดา้ นการออกกำ� ลงั กายและเลน่ กฬี า

เเผนพัฒนาการกฬี าแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 29

กระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬา

๒) จัดให้มีและส่งเสริมกิจกรรมการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาอย่างต่อเน่ืองส�ำหรับประชาชนทั่วไป โดยการจัดกิจกรรมและส่งเสริมการด�ำเนินกิจกรรมการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาในระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัด ระดบั ภมู ภิ าคและระดบั ชาติ สำ� หรบั ประชาชนทงั้ วยั เรยี นและวยั ทำ� งานอยา่ งตอ่ เนอื่ งและเสมอภาค โดยพฒั นาความรว่ มมอื กับหน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้องท้ังภาครัฐและเอกชนในการผลักดันให้มีการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม�่ำเสมอ ประชาสัมพันธโ์ ดยใชน้ กั กีฬาทีม่ ชี อ่ื เสียงเป็นต้นแบบ (Model) เพ่ือดึงดูดให้ประชาชนเข้ารว่ มกจิ กรรมผ่านส่อื ยุคใหม่ ๓) จัดกิจกรรมและส่ิงอ�ำนวยความสะดวกที่มีความเหมาะสมกับกลุ่มประชาชนผู้สูงอายุ โดยการจัด กิจกรรมและส่งเสริมการด�ำเนินกิจกรรมการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬา พร้อมส่ิงอ�ำนวยความสะดวกท่ีมีความเหมาะสม สำ� หรบั ผสู้ งู อายทุ วั่ ประเทศ ประชาสมั พนั ธเ์ พอ่ื สรา้ งความสนใจผา่ นสอื่ ตา่ งๆ จดั การทดสอบสมรรถภาพทางกายและกจิ กรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับผู้สูงอายุ เพ่ือสร้างความเข้าใจถึงความส�ำคัญของการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬา และเผยแพร่ ความรเู้ บอื้ งตน้ ดา้ นการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพ โดยนำ� องคค์ วามรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี ามาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ ๔) จัดกิจกรรมและส่ิงอ�ำนวยความสะดวกท่ีมีความเหมาะสมกับกลุ่มประชาชนคนพิการ และผู้ด้อยโอกาส โดยการจัดกิจกรรมและส่งเสริมการด�ำเนินกิจกรรมการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬา พร้อมสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกทม่ี คี วามเหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ของผดู้ อ้ ยโอกาสทวั่ ประเทศ ประชาสมั พนั ธเ์ พอื่ สรา้ งความสนใจ เก่ียวกับกิจกรรมโดยใช้ส่ือต่างๆ รวมไปถึงจัดการทดสอบสมรรถภาพทางกายและกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับ ผดู้ ้อยโอกาส เพ่อื สรา้ งความเขา้ ใจถงึ ความสำ� คัญของการออกก�ำลงั กายและเล่นกีฬา จดั ตัง้ องคก์ รหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ สง่ เสริมและพฒั นาการกฬี าเพอ่ื กลุ่มประชาชนคนพกิ ารและผูด้ ้อยโอกาส ๕) รวมใจคนไทยรักชาติด้วยกิจกรรมกีฬาเพ่ือเสริมสร้างความสามัคคี โดยการส่งเสริมกิจกรรมการชม และเชียร์กีฬาในทุกระดับ สร้างความร่วมมือกับสถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษาในการผลักดันการชมและเชียร์กีฬา ในหมู่เด็กและเยาวชน รวมทั้งร่วมมือกับสื่อโฆษณาในการประชาสัมพันธ์เพ่ือสร้างความร่วมใจในการเชียร์ทีมชาติไทย เพอ่ื สรา้ งความเป็นอนั หน่งึ อนั เดียวกันของประชาชนชาวไทยในเวลามีการแขง่ ขนั กีฬาต่างๆ จดั ใหบ้ ตั รเขา้ ชมกฬี าท่มี รี าคา ที่เข้าถึงได้ของประชาชนทุกภาคส่วน ส่งเสริมกิจกรรมด้านการกีฬาในชุมชนตามแนวชายแดน โดยเฉพาะใน ๓ จังหวัด ชายแดนภาคใต้ เพื่อลดความเหลอ่ื มล้ำ� และเสริมสร้างความสามัคคใี นสงั คมอยา่ งต่อเน่อื ง ๓.๓ ส่งเสริมการพฒั นาอาสาสมัครและบุคลากรการกฬี าเพ่อื มวลชนอย่างเปน็ ระบบ ๑) สรา้ งจติ สาธารณะพรอ้ มทงั้ จัดใหม้ อี าสาสมคั รทางการกีฬา และผนู้ �ำการออกกำ� ลงั กายเพอ่ื มวลชน อยา่ งเปน็ ระบบ โดยการสง่ เสรมิ ใหค้ นในชมุ ชนสมคั รเปน็ อาสาสมคั รทอ้ งถน่ิ และทำ� การฝกึ อบรมเพอ่ื ใหอ้ าสาสมคั รสามารถ ทำ� หนา้ ทไี่ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและมมี าตรฐาน ผลกั ดนั การสรา้ งและฝกึ อบรมบคุ ลากรเพอ่ื เปน็ ผนู้ ำ� การออกกำ� ลงั กายและ กิจกรรมกีฬาประจ�ำในท้องถ่ิน สนับสนุนทางการเงินเพ่ือใช้ในการจัดกิจกรรมและพิจารณาค่าตอบแทนและสวัสดิการท่ี เหมาะสม เพอื่ ท�ำใหต้ �ำแหนง่ งานมคี วามนา่ สนใจ รวมถงึ จัดการฝกึ อบรมและพัฒนาโอกาสสำ� หรบั ความก้าวหนา้ ในอาชพี และจดั ตงั้ เครอื ข่ายของผู้นำ� การออกก�ำลงั กายเพอื่ แบง่ ปันและแลกเปลย่ี นแนวทางการพฒั นาการออกกำ� ลงั กาย ๒) พัฒนาบุคลากรการกีฬาส�ำหรับกิจกรรมการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬาในระดับท้องถ่ิน โดยการส่งเสรมิ และพฒั นาผฝู้ กึ สอน ผตู้ ัดสนิ และผ้บู ริหารการกฬี าในท้องถ่นิ โดยจัดใหม้ ีหลักสตู รการฝึกสอนใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับการปฏิบัตหิ นา้ ทใี่ นด้านการออกก�ำลงั กายและกฬี าเพ่ือมวลชน และสนับสนุนงบประมาณท่ีเหมาะสม รวมถงึ การสร้างโอกาสในการเจริญเติบโตในหน้าทก่ี ารงานเพอื่ จูงใจใหม้ ีการประกอบอาชพี เหลา่ นม้ี ากขน้ึ

30 เเผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกฬี า

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ : การพฒั นากฬี าเพอ่ื ความเปน็ เลศิ และตอ่ ยอดเพอ่ื ความสำ� เรจ็ ในระดบั อาชพี

มุ่งเน้นด้านการสร้างและการพัฒนานักกีฬาของชาติให้ประสบความส�ำเร็จในการแข่งขันในระดับต่างๆ เพ่ือสร้าง ชื่อเสียง เกียรติยศ และเกียรติภูมิของประเทศชาติให้ทัดเทียมกับนานาชาติ สามารถสร้างความภาคภูมิใจและ เปน็ เคร่อื งมือในการรวมจิตใจซ่งึ จะเปน็ การสรา้ งความรกั ความสามัคคีของคนในชาติ อีกท้งั ยงั ส่งเสรมิ การพัฒนาต่อยอด นักกีฬาที่มีความเป็นเลิศไปสู่การมีอาชีพทางการกีฬาอย่างเต็มตัว สามารถสร้างรายได้จากความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ โดยจดั ใหม้ โี ครงสรา้ งพน้ื ฐานทพี่ รอ้ มรองรบั การพฒั นา ประกอบกบั การจดั ใหม้ รี ะบบสวสั ดกิ ารชว่ ยเหลอื และส่งเสรมิ การสร้างความร่วมมอื ระหวา่ งภาครฐั และเอกชนในการร่วมพฒั นาตลอดเส้นทางอาชพี นกั กฬี า ๑. เปา้ ประสงค์ ๑.๑ มีระบบการเลือกสรรและพัฒนานักกีฬาระดับเด็กและเยาวชนที่มีพรสวรรค์และทักษะ เพ่ือพัฒนาสู่ ความเปน็ เลศิ รวมทง้ั มรี ะบบพฒั นาบคุ ลากรการกฬี าใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของประเทศตงั้ แต่ ระดบั ทอ้ งถน่ิ ๑.๒ มีศูนย์ฝึกซ้อมกีฬาท่ีได้มาตรฐาน เพ่ือพัฒนาต่อยอดไปสู่การเป็นศูนย์กลางการฝึกซ้อมกีฬา (Sport Training Hub) ในอาเซยี น ๑.๓ มีการจัดการแข่งขันกีฬาอาชีพท่ีได้มาตรฐานสากลในประเทศไทยมากขึ้น เพื่อน�ำไปสู่การเพ่ิมขึ้นของ นักกฬี า บุคลากรการกีฬา และสโมสรกีฬาอาชพี ๑.๔ นักกีฬาไทยมีพัฒนาการด้านสถิติและผลการแข่งขันที่ดีข้ึน และได้รับสิทธ์ิเข้าร่วมแข่งขัน ในชนดิ กีฬาที่ส�ำคัญ ๑.๕ มกี ารเชดิ ชเู กยี รตแิ ละการดแู ลสวสั ดกิ ารและสวสั ดภิ าพของนกั กฬี าและบคุ ลากรการกฬี าทท่ี ำ� คณุ ประโยชน์ ใหก้ ับประเทศอย่างเหมาะสม ๒. ตัวช้วี ดั ๒.๑ จ�ำนวนนักกีฬาสมัครเล่นได้ถูกติดตามและบันทึกอย่างถูกต้องและมีอัตราการเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๕ ต่อปี ๒.๒ มีการพัฒนาบุคลากรการกีฬา (ผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสิน และผู้บริหารการกีฬา) ท่ีได้มาตรฐาน และมีอัตรา การเพิ่มข้นึ อย่างตอ่ เนื่องของบคุ ลากรการกีฬาท่ไี ด้รับการพัฒนาไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๕ ตอ่ ปี ๒.๓ มกี ารจดั ต้ังศูนยฝ์ กึ กฬี าแหง่ ชาติ (NTC) และมีการจดั ท�ำแผนจดั ตง้ั ศูนย์ฝกึ กีฬาแหง่ ชาตใิ นส่วนภูมภิ าค ๒.๔ มอี ยา่ งนอ้ ย ๑๐ ชนดิ กฬี าไดร้ บั การพฒั นามาตรฐานการเกบ็ ตวั ฝกึ ซอ้ มแขง่ ขนั ในรปู แบบศนู ยฝ์ กึ กฬี าแหง่ ชาติ ภายในปี ๒๕๖๔ ๒.๕ นกั กีฬาและบุคลากรการกีฬาไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ มีความพงึ พอใจในคณุ ภาพชีวิตของตน ๒.๖ สัดส่วนนักกีฬาอาชีพท่ีเข้าร่วมการแข่งขันในรายการท่ีระบุอยู่ในพระราชบัญญัติส่งเสริมกีฬาอาชีพ มาจดแจ้งไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๙๐ ภายในปี ๒๕๖๔ ๒.๗ มลู ค่าทางเศรษฐกิจในการจดั การแขง่ ขนั กีฬาอาชีพ ไม่นอ้ ยกว่า ๘,๐๐๐ ลา้ นบาท ภายในป ี ๒๕๖๔

เเผนพฒั นาการกีฬาแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 31

กระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬา

๓. แนวทางการพฒั นา ๓.๑ เลอื กสรรและพัฒนานักกีฬาทมี่ ีความสามารถทางการกีฬาเพ่อื ความเป็นเลิศ ๑) พัฒนาระบบการเสาะหานักกีฬาต้ังแต่ระดับท้องถ่ินท่ัวประเทศ โดยการสนับสนุนด้านการเงิน ใหก้ บั โครงการพฒั นากฬี าจงั หวดั สง่ เสรมิ ใหอ้ งคก์ รและสมาคมกฬี าทว่ั ประเทศคน้ หาเยาวชนทม่ี พี รสวรรค์ พฒั นากจิ กรรม และค่ายกีฬาเพื่อค้นหานักกีฬาท่ีมีพรสวรรค์ และค้นหานักกีฬารุ่นเยาว์ เพ่ือขยายฐานนักกีฬาที่จะก้าวขึ้นเป็นนักกีฬา เพ่ือความเป็นเลศิ และตอ่ ยอดสู่ระดับอาชีพต่อไป ๒) สร้างและส่งเสริมระบบการพัฒนานักกีฬาอย่างต่อเน่ืองและยั่งยืน โดยการสร้างมาตรฐานและ ปรับปรุงโครงการพัฒนานักกีฬาเยาวชน ยกระดับระบบการฝึกสอนให้ทันสมัยและครอบคลุมไม่ว่าจะเป็นทักษะ ด้านการกีฬาหรือระเบียบวินัยเพ่ือเพ่ิมความส�ำเร็จทางด้านการกีฬา โดยศึกษาและวิเคราะห์กรณีศึกษาตัวอย่างท่ีดีจาก ต่างประเทศและน�ำมาปรับใช้ และส่งเสริมทุนการศึกษาและขอความร่วมมือจากภาคเอกชนในการพัฒนานักกีฬาอาชีพ ต้ังแตเ่ ยาวว์ ยั ๓) สง่ เสรมิ การสง่ แขง่ ในระดบั นานาชาตแิ ละยกระดบั การเตรยี มนกั กฬี าเพอื่ เพม่ิ โอกาสความสำ� เรจ็ โดยการพัฒนามาตรฐานของการเตรียมตัวนักกีฬาส�ำหรับการแข่งขันในเวทีระดับนานาชาติ โดยควรศึกษาและวิเคราะห์ กรณีศึกษาตัวอย่างท่ีดีจากต่างประเทศและน�ำมาปรับใช้ พัฒนาและจัดเตรียมบุคลากรท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับกระบวนการ เตรียมตัวนักกฬี าในประเภทต่างๆ และส่งเสริมการใชว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการกฬี าในข้ันตอนการเตรียมตวั ๔) ส่งเสริมและสร้างโอกาสการเข้าร่วมแข่งขันกีฬาในทุกระดับ โดยการสร้างความเท่าเทียม ในการเข้าร่วมการแข่งขันกฬี า จดั ท�ำตารางการแขง่ ขันกีฬากลางพร้อมท้งั การประชาสัมพนั ธผ์ า่ นสถานศึกษาและสื่อตา่ งๆ ที่นักกีฬาท่ัวประเทศสามารถเข้าถึงได้ ส่งเสริมการคัดเลือกนักกีฬาตัวแทนในระดับต่างๆ เพื่อเข้าแข่งขันอย่างเป็นธรรม สร้างเกณฑ์มาตรฐานส�ำหรับสถานศึกษาทั่วประเทศในการอนุญาตให้นักเรียนและนักศึกษาสามารถลาเรียนเพื่อเข้าร่วม การแข่งขนั กฬี า และพจิ ารณาถงึ ความเปน็ ไปได้ในการจัดการเรียนการสอนคาบพิเศษเฉพาะสำ� หรบั กลุ่มนกั กีฬา ๕) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การพฒั นาเพอ่ื เพม่ิ จำ� นวนชนดิ กฬี าทมี่ คี วามหวงั โดยการสนบั สนนุ องคก์ รกฬี า ที่มีศักยภาพจะเติบโตและประสบความส�ำเร็จในอนาคต อาทิ กีฬาที่มีการแบ่งรุ่นน้�ำหนัก เน้นความแม่นย�ำ และไม่มี ขอ้ เสียเปรยี บทางสรรี วทิ ยา โดยร่วมมอื กบั ภาคเอกชนในการประชาสัมพนั ธ์ และสนับสนนุ ดา้ นการเงินส�ำหรับการพัฒนา นักกีฬาและการจัดการแข่งขันท้ังระดับภูมิภาคและประเทศ เพื่อสร้างฐานนักกีฬาส�ำหรับกีฬาชนิดเหล่าน้ี เช่น โครงการ ๑ กีฬา ๑ รฐั วิสาหกิจ ๓.๒ พัฒนาบุคลากรการกีฬาอย่างเป็นระบบและมีมาตรฐานสากล เพ่ือการพัฒนากีฬาเพ่ือความเป็นเลิศ และการอาชีพอย่างยั่งยนื ๑) ยกระดับการพัฒนาบุคลากรการกีฬาเพ่ือความเป็นเลิศและอาชีพให้มีมาตรฐานทัดเทียมสากล โดยการพัฒนาหลักสูตรที่มีมาตรฐานในการฝึกสอนบุคลากรการกีฬาให้ทัดเทียมสากลผ่านความร่วมมือกับสถานศึกษา เชิญผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์ด้านต่างๆ เก่ียวกับกีฬาจากต่างประเทศเพื่อมาให้ความรู้และพัฒนารูปแบบการปฏิบัติที่มีอยู่ใน ปัจจุบัน จัดต้งั องคก์ รวิชาชพี ส�ำหรับบคุ ลากรการกีฬาเพ่ือก�ำกบั ดแู ลและรับรองมาตรฐานของบุคลากรการกฬี า ๒) ขยายฐานจ�ำนวนบุคลากรการกีฬาเพื่อรองรับการพัฒนาการกีฬาเพ่ือความเป็นเลิศและอาชีพ โดยการขยายฐานจ�ำนวนบุคลากรการกีฬาให้เหมาะสมกับการพัฒนาการกีฬาในประเทศ การเพ่ิมอัตราการจ้างบุคลากร การกีฬาของภาครัฐ และสนับสนุนด้านการเงินเพ่ือจูงใจบุคลากรการกีฬาจากท้ังในประเทศและต่างประเทศ ผลักดันให้ อดีตนกั กฬี าไทยไดเ้ ข้ามาเปน็ สว่ นหนง่ึ ของผฝู้ ึกสอนกฬี าตามความถนัดเพ่อื เป็นการสร้างอาชีพ และการสร้างความรว่ มมอื กบั ภาคเอกชนในการพฒั นาบุคลากรการกฬี า

32 เเผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการท่องเทีย่ วและกฬี า

๓) ผลกั ดนั ใหผ้ บู้ รหิ ารชาวไทยมบี ทบาทและตำ� แหนง่ ในองคก์ รกฬี าระดบั นานาชาติ โดยการผลกั ดนั ตัวแทนบุคลากรการกีฬาจากประเทศไทยให้เข้าไปมีบทบาทท่ีส�ำคัญในองค์กรกีฬาระดับสากล เพ่ือสร้างแรงสนับสนุน จากนานาชาติในชนิดกีฬาน้ันๆ และเพ่ิมโอกาสในการพัฒนาการกีฬาไทยสู่ความเป็นเลิศ อันจะน�ำไปสู่ความเป็นส�ำเร็จ ในเวทีระดบั สากล ๓.๓ สรา้ งและพัฒนาศนู ยบ์ รกิ ารการกฬี าและศูนยฝ์ ึกกีฬาแหง่ ชาตทิ ่ีเป็นมาตรฐาน ๑) จัดต้ังศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติที่สามารถรองรับการพัฒนากีฬาเพ่ือความเป็นเลิศครบวงจร โดย การสร้างและพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬาแห่งชาติซ่ึงสามารถให้บริการฝึกซ้อมกีฬาอย่างเต็มรูปแบบส�ำหรับชนิดกีฬาท่ีมีศักยภาพ จะเปน็ กฬี าความหวงั เชน่ กฬี าทม่ี กี ารแบ่งรนุ่ น�ำ้ หนัก หรอื กฬี าท่ีเน้นความแมน่ ย�ำ เป็นตน้ พร้อมท้ังปรบั ปรุงและยกระดบั ศนู ยก์ ีฬาทมี่ อี ยู่ในปจั จุบนั เพอื่ ใหม้ ีศนู ย์ฝึกซอ้ มกฬี าแหง่ ชาติครอบคลุมทกุ ภมู ิภาค ๒) บูรณะและพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬาให้ได้มาตรฐานตามความเหมาะสมส�ำหรับการพัฒนากีฬา เพ่ือความเลศิ ต้ังแตร่ ะดบั ท้องถ่นิ โดยการร่วมมอื กับทอ้ งถิ่นในการซอ่ มแซม ปรับปรงุ และพัฒนาศูนย์ฝกึ กฬี าในทอ้ งถิ่น ให้อยู่ในสภาพท่ีดีและได้มาตรฐานท่ัวประเทศ และควรสนับสนุนองค์กรกีฬาท่ัวประเทศในการวางแผนและปรับปรุง ศนู ย์ฝึกกีฬาทอ่ี ยภู่ ายใตก้ ารดูแลตามหลักมาตรฐานสากล ๓) สง่ เสรมิ การสรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งภาครฐั และเอกชนในการสรา้ งศนู ยฝ์ กึ กฬี า โดยการเสรมิ สรา้ ง ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนาศูนย์ฝึกกีฬา โดยจัดให้มีมาตรการเพ่ือจูงใจให้เข้ามาลงทุน พรอ้ มทงั้ สนบั สนนุ และผลกั ดนั ใหภ้ าคเอกชนมสี ว่ นรว่ มในการบำ� รงุ รกั ษาและบรหิ ารจดั การเพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรกิ าร และสร้างมลู ค่าเพมิ่ จากศูนยฝ์ ึกกฬี า ๓.๔ ส่งเสริมและจัดเตรยี มการดูแลสวัสดิการและสวสั ดิภาพของนกั กีฬาและบคุ ลากรการกฬี า ๑) ส่งเสริมการเชิดชูเกียรติและการมอบรางวัลท่ีเหมาะสม ท้ังในด้านความส�ำเร็จจากการแข่งขัน กีฬาและในด้านจริยธรรมให้กับนักกีฬาและบุคลากรการกีฬาอย่างเสมอภาค โดยการส่งเสริมความส�ำเร็จทางกีฬา โดยมอบรางวัลให้กับนักกีฬาและบุคลากรการกีฬาท่ีประสบความส�ำเร็จในสายอาชีพ มีน�้ำใจนักกีฬาที่โดดเด่น และมี จรยิ ธรรมทดี่ งี าม ตง้ั แตร่ ะดบั ทอ้ งถน่ิ และจดั ใหม้ กี ารประชาสมั พนั ธผ์ า่ นสอื่ ยคุ ใหมท่ ส่ี ามารถเขา้ ถงึ ประชาชนทว่ั ประเทศได้ ๒) จดั ใหม้ สี วสั ดกิ ารและกองทนุ ทเี่ หมาะสมแกน่ กั กฬี าและบคุ ลากรการกฬี าทเ่ี คยสรา้ งคณุ ประโยชน์ และช่ือเสียงให้แก่ประเทศ โดยการสนับสนุนทางด้านสวัสดิการและการเงินให้กับนักกีฬาท้ังคนปกติและคนพิการและ บคุ ลากรการกฬี า โดยรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการจดั หาสวสั ดกิ ารและผลประโยชน์ จดั ตงั้ กองทนุ สำ� หรบั นกั กฬี า ทีพ่ ้นสภาพหรือเกษียณแลว้ รวมไปถงึ การสง่ เสรมิ ให้นักกฬี ามกี ารบริหารจัดการด้านการเงนิ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๓.๕ การส่งเสริมและพัฒนากฬี าเพือ่ การอาชีพอย่างเปน็ ระบบ ๑) ส่งเสริมความร่วมมือกับภาคเอกชนในการผลักดันนักกีฬาเพ่ือความเป็นเลิศสู่ระดับอาชีพ โดยการเพม่ิ บทบาทของภาคเอกชนใหเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มและลงทนุ ในการพฒั นากฬี าอาชพี พรอ้ มกบั ใหค้ วามชว่ ยเหลอื นกั กฬี า ทมี่ พี รสวรรคใ์ นการพฒั นาสรู่ ะดบั อาชพี โดยการจดั ใหม้ หี นว่ ยงานกลางทมี่ ผี แู้ ทนทง้ั จากภาครฐั และเอกชนทใี่ หก้ ารสนบั สนนุ แนะนำ� แนวทาง และใหก้ ารปรกึ ษากบั นกั กฬี า สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ นกั กฬี าในดา้ นสวสั ดกิ ารและการจา้ งงานระหวา่ งและ หลงั จากส้นิ สดุ การเป็นนักกฬี าอาชพี ตามความเหมาะสม ๒) ผลกั ดนั ใหม้ กี ารจดั การแขง่ ขนั กฬี าระดบั อาชพี ในประเทศมากขน้ึ โดยการสรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ ง ภาครัฐและภาคเอกชนในการจัดการแข่งขันกีฬาระดับอาชีพ จัดตั้งระบบลีกกีฬาอาชีพในประเทศ และพัฒนาศักยภาพ ของประเทศไทยในการเปน็ เจ้าภาพจัดกจิ กรรมและการแขง่ ขันกีฬาอาชีพระดบั นานาชาติ

เเผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 33

กระทรวงการท่องเทีย่ วและกฬี า

๓) ประชาสมั พนั ธเ์ พอื่ เสรมิ สรา้ งความนยิ มในการแขง่ ขนั กฬี าระดบั อาชพี ดว้ ยสอื่ หลากหลายรปู แบบ โดยการส่งเสริมการประชาสัมพันธ์กิจกรรมการแข่งขันกีฬาอาชีพในประเทศ ใช้ส่ือยุคใหม่ท่ีประชาชนทุกกลุ่มสามารถ เขา้ ถงึ ไดใ้ นการประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรม ขา่ วสาร และถา่ ยทอดการแขง่ ขนั กฬี าอาชพี เพอื่ เสรมิ สรา้ งความนยิ มและการเตบิ โต ของกฬี าอาชีพภายในประเทศ พร้อมกับการสร้างเครอื ขา่ ยเพอื่ เผยแพรก่ ารแขง่ ขนั กีฬาอาชีพไทยในต่างประเทศ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ : การพฒั นาอตุ สาหกรรมการกฬี าเพอื่ เปน็ สว่ นสำ� คญั ในการสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกิจ

มุง่ พฒั นาอุตสาหกรรมการกฬี าแบบครบวงจร สามารถสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ และส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ของประเทศ โดยมี การสนับสนุนการท�ำธุรกิจท่ีเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการกีฬา อาทิ ธุรกิจการผลิตเสื้อผ้าและอุปกรณ์กีฬา ธุรกิจ เพ่ือการบริการเกี่ยวกับการกีฬา ธุรกิจการจัดกิจกรรมการแข่งขันต่างๆ รวมถึงสถาบันพัฒนากีฬาอาชีพทุกระดับ พร้อมทัง้ ม่งุ พฒั นาการท่องเท่ียวเชิงกฬี า และจดั ตง้ั เมอื งกฬี า เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศนู ย์กลางด้านการกีฬาของภมู ิภาค ๑. เป้าประสงค์ ๑.๑ อตุ สาหกรรมการกฬี าไดร้ บั การสง่ เสรมิ อยา่ งจรงิ จงั จากภาครฐั และไดร้ บั การสนบั สนนุ จากสถาบนั การเงนิ ตา่ งๆ นอกเหนือจากภาครฐั รวมทง้ั มรี ะบบการบรหิ ารจดั การท่ีดโี ดยเฉพาะเร่ืองฐานข้อมูล ๑.๒ การกีฬาเพื่อการท่องเที่ยวและนันทนาการ (Sport Tourism) ได้รับการส่งเสริมอย่างจริงจัง และ เมอื งกฬี า (Sport City) ไดร้ บั การจัดต้งั ขนึ้ เพื่อสง่ เสริมอตุ สาหกรรมการกฬี า ๑.๓ อตุ สาหกรรมการกฬี ามกี ารเตบิ โตขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง สง่ ผลตอ่ การจา้ งงานทเ่ี พม่ิ ขนึ้ และสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ทาง เศรษฐกิจให้ประเทศไทยอย่างมีเสถยี รภาพ ๒. ตัวชวี้ ดั ๒.๑ จ�ำนวนผู้ประกอบการที่เกี่ยวกับธุรกิจการกีฬา มีอัตราการเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ืองไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕ ตอ่ ปี ๒.๒ การลงทุนจากภาคเอกชนในอุตสาหกรรมการกีฬาไทย มีอัตราการเติบโตอย่างต่อเน่ืองไม่น้อยกว่าอัตรา การเติบโตของมลู ค่า GDP ๒.๓ มลู คา่ การส่งออกทางการกีฬาโดยรวม มอี ตั ราการเตบิ โตอยา่ งต่อเนือ่ งไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๕ ต่อปี ๒.๔ จำ� นวนกิจกรรมการท่องเทีย่ วเชงิ กฬี ามอี ตั ราการเพ่มิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๑๐ ต่อปี ๒.๕ มีการจัดตงั้ เมืองกฬี าแห่งแรกไดส้ �ำเรจ็ ๓. แนวทางการพัฒนา ๓.๑ ส่งเสรมิ และสนับสนนุ อุตสาหกรรมการกฬี า ๑) เสริมสร้างบรรยากาศการลงทุนและพัฒนาอุตสาหกรรมและธุรกิจที่เก่ียวข้องกับการกีฬา ในประเทศ โดยการรว่ มมอื กับส่วนราชการและหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องในการสนบั สนนุ การประกอบธุรกจิ การกีฬา โดยการ จดั หาแหลง่ เงนิ กทู้ มี่ อี ตั ราดอกเบย้ี ตำ�่ (Soft Loan) จดั กจิ กรรมประชาสมั พนั ธเ์ พอ่ื จงู ใจธรุ กจิ กฬี าจากตา่ งประเทศใหเ้ ขา้ มา ลงทนุ ในประเทศไทย และสง่ เสรมิ การพฒั นาองคค์ วามรใู้ นเรอ่ื งแผนธรุ กจิ (Business Plan) ทางการกฬี าใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการ

34 เเผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา

ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) ส่งเสรมิ การผลติ อปุ กรณแ์ ละส่งิ อำ� นวยความสะดวกทางการกีฬาในประเทศไทย พร้อม ทัง้ ใหส้ ่วนราชการและหน่วยงานผใู้ ชอ้ ุปกรณก์ ฬี าพิจารณาใชผ้ ลติ ภัณฑ์ท่ีผลติ และจำ� หน่ายโดยผู้ประกอบการไทย รว่ มมือ กับหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการสร้างเครือข่ายเพ่ือส่งเสริมผู้ผลิตผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อผลักดันให้ประเทศไทย เปน็ ศนู ยก์ ลางการผลิตสนิ ค้ากฬี าของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ๒) กำ� หนดมาตรการการอำ� นวยความสะดวกดา้ นพธิ ที างศลุ กากรในการนำ� เขา้ และสง่ ออกผลติ ภณั ฑ์ ทางการกฬี า โดยการพจิ ารณายกเวน้ ภาษจี ากการนำ� เขา้ สนิ คา้ กฬี าบางประเภทเพอื่ ใชใ้ นการศกึ ษา ฝกึ ซอ้ ม และการแขง่ ขนั รวมไปถึงอุปกรณ์กีฬาที่ไม่สามารถผลิตในประเทศได้ ร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการตรวจสอบประมวลกฎหมาย ที่มีปัญหาและปรับปรุงแก้ไขพิกัดศุลกากรของสินค้าบางประเภทท่ียังขาดความชัดเจน และสร้างมาตรการเพ่ือป้องกัน การน�ำนโยบายการยกเวน้ ภาษีไปใชใ้ นแนวทางทต่ี า่ งไปจากเจตนารมณแ์ ละหลักการของการกฬี า ๓) พัฒนาฐานข้อมูลเฉพาะส�ำหรับอุตสาหกรรมการกีฬา โดยการพัฒนาฐานข้อมูลเฉพาะ และให้มี หนว่ ยงานกลางทก่ี ำ� กบั ตดิ ตาม และประเมนิ การพฒั นาอตุ สาหกรรมการกฬี าของประเทศโดยใชฐ้ านขอ้ มลู เฉพาะดา้ นทไี่ ดร้ บั การพัฒนาข้ึน เพื่อใหห้ น่วยงานท่เี กย่ี วข้องต่างๆ สามารถวางแผนพัฒนาอุตสาหกรรมการกีฬาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ๓.๒ พฒั นาการกีฬาเพื่อการทอ่ งเทีย่ วและนนั ทนาการ (Sport Tourism) ๑) สง่ เสรมิ และประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรมทางการกฬี าทจี่ ดั ขน้ึ โดยทงั้ ภาครฐั และเอกชนเพอ่ื เพมิ่ จำ� นวน นักท่องเท่ียวเชิงกีฬา โดยการบูรณาการให้เกิดการร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการจัดกิจกรรมท่องเที่ยว เชงิ กฬี า จัดปฏิทินกลางสำ� หรับกจิ กรรมการท่องเที่ยวเชงิ กีฬา ประชาสมั พันธผ์ า่ นชอ่ งทางต่างๆ และการทำ� roadshow เพื่อดึงดดู ความสนใจจากผู้คนทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ ประสานการท�ำงานรว่ มกับประชาชนในท้องถนิ่ เพอื่ แสวงหา โอกาสในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงกีฬาท่ีเหมาะสมในแต่ละพ้ืนที่ พร้อมทั้งผลักดัน ใหป้ ระเทศไทยเปน็ Sport Hub ของภมู ภิ าค ๒) ความพร้อมและผลักดันให้ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันกีฬา การประชุมกีฬา และมหกรรมกีฬาระดับนานาชาติ โดยการพัฒนาและเตรยี มความพร้อมในการเสนอตวั เพอ่ื เป็นเจ้าภาพในการจดั กิจกรรม การกีฬา การจัดประชุมเกี่ยวกับการกีฬา การแข่งขันกีฬาระดับสากลหรือ World Event ต่างๆ พร้อมท้ังสร้าง ความรว่ มมอื กบั ภาคเอกชนในระยะยาวเพอื่ พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและบคุ ลากรภายในประเทศใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานสากล สง่ เสริมบุคลากรทำ� หน้าที่สำ� คญั ในการต่อรองและจงู ใจใหเ้ กดิ การจัดงานกจิ กรรมกฬี าในระดับสากล ๓) ผลกั ดนั ใหป้ ระเทศไทยเปน็ ศนู ยก์ ลางของภมู ภิ าคดา้ นการเกบ็ ตวั และฝกึ ซอ้ มสำ� หรบั นกั กฬี าตา่ งชาติ โดยการจดั ตงั้ ศนู ยฝ์ กึ กฬี าแหง่ ชาตแิ หง่ แรกในสว่ นกลาง และเตรยี มความพรอ้ มจดั ใหม้ ศี นู ยฝ์ กึ กฬี าแหง่ ชาตปิ ระจำ� ภมู ภิ าค สง่ เสรมิ ใหก้ ารบรกิ ารของศนู ยฝ์ กึ กฬี าแหง่ ชาตเิ ปน็ ไปตามมาตรฐานสากลในประเภทกฬี าทใี่ หบ้ รกิ ารในศนู ยฝ์ กึ โดยแสวงหา ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการฝกึ สอนกฬี าใหเ้ ขา้ มาประกอบอาชพี ในประเทศไทยเพอื่ ยกระดบั มาตรฐาน และสง่ เสรมิ ใหป้ ระเทศไทย เป็นศูนย์กลางการฝึกซ้อมกีฬาของ ASEAN โดยเร่ิมจากนักกีฬาจากประเทศในกลุ่ม CLMV ผ่านการประชาสัมพันธ ์ ด้วยสอ่ื ตา่ งๆ ๔) ศกึ ษาพฒั นาเมอื งกฬี าตน้ แบบ และวางแผนการจดั ตง้ั เมอื งกฬี าในทกุ ภมู ภิ าคทวั่ ประเทศ โดยการ ก�ำหนดขอบเขต แนวทาง และคุณลักษณะเมืองกีฬาต้นแบบ และท�ำการประเมินเพื่อคัดเลือกจังหวัดท่ีเหมาะสม ส�ำหรับการจัดต้ังเมืองกีฬา (Sport City) วางแผนประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการพัฒนาการคมนาคม ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกและความปลอดภัย เสริมสร้างความร่วมมือกับเอกชนเพ่ือระดมทุนจัดสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ในกระบวนการสรา้ งเมอื งกฬี า และวางแผนจดั กจิ กรรมในเมอื งกฬี าและประชาสมั พนั ธเ์ พอื่ สรา้ งความสนใจและเปน็ ตน้ แบบ ส�ำหรบั การพฒั นาเมอื งกฬี าในภูมภิ าคอ่ืนๆ ตอ่ ไป ทงั้ นี้ เมอื งกฬี าประจ�ำภมู ิภาคควรมคี ณุ ลกั ษณะเฉพาะของภมู ิภาค

เเผนพัฒนาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 35

กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกฬี า

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ : การพฒั นาองค์ความรู้และนวตั กรรมที่เกี่ยวข้องกบั การกีฬา

เป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นด้านการสร้างและการพัฒนาสุขภาพของประชาชนและสมรรถภาพของนักกีฬา ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ รวมไปถึงเทคนิคทักษะกีฬาในช่วงการแข่งขันตลอดจนพัฒนาไปสู่ความสามารถสูงสุด แต่ละบุคคลอย่างเป็นระบบ โดยจัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานท่ีมีมาตรฐานและเพียงพอต่อความต้องการ พร้อมท้ังส่งเสริม การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการกีฬาและสร้างความตระหนักและการน�ำองค์ความรู้ไปใช ้ ให้เกิดประโยชน์สูงสดุ กบั ประชาชนและนักกีฬาทุกกลุ่ม ๑. เป้าประสงค์ ๑.๑ องค์ความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับการกีฬาได้รับการเผยแพร่และใช้ประโยชน์อย่างทั่วถึง โดยประชาชน ทุกภาคส่วน ๑.๒ มีโครงสร้างพื้นฐานและบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาท่ีสามารถให้บริการงาน ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารกฬี าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๓ ขีดความสามารถของนักกีฬาและสุขภาพของประชาชน มีพัฒนาการท่ีดีข้ึนจากการใช้องค์ความรู ้ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารกีฬา ๑.๔ มีหน่วยงานหลักด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาท่ีสามารถบูรณาการและเช่ือมโยงข้อมูล กับหน่วยปฏบิ ตั ิได้อยา่ งทั่วถงึ และต่อเน่ือง ๑.๕ มีการพัฒนาองค์ความรู้ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ทางการกฬี าอย่างมีระบบ ควบคไู่ ปกบั การพฒั นาความรว่ มมือกับหนว่ ยงานวิจยั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ๒. ตวั ช้วี ดั ๒.๑ มจี งั หวดั ทม่ี ศี นู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาใหส้ ามารถดำ� เนนิ การได้ และสามารถประสานงาน กบั ส่วนกลางอย่างมีประสทิ ธภิ าพไม่น้อยกว่า ๑๒ จงั หวดั ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒.๒ มีการจัดต้ังสภาวิชาชีพส�ำหรับบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาข้ึน และสามารถ ดำ� เนนิ การไดโ้ ดยสมบูรณ์ ๒.๓ มีบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาทั่วประเทศที่ได้รับการพัฒนาและรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่องไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๕ ตอ่ ปี ๒.๔ มีสื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการกีฬาประจ�ำท้องถิ่นท่ีด�ำเนินการอย่างต่อเน่ือง ไม่น้อยกว่า ๑ ชนิด ตอ่ ต�ำบล ๒.๕ มีการฝึกอบรมและพฒั นาองค์ความรูแ้ ละนวตั กรรมทางการกีฬาในระดับภมู ิภาค ไมน่ อ้ ยกว่าปีละ ๔ ครงั้ ๒.๖ มีการลงทุนจากภาคเอกชนในการค้นคว้าและวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างนวัตกรรมการกีฬาโดยมีอัตรา การเตบิ โตไมน่ ้อยกวา่ อตั ราการเติบโตของมลู ค่า GDP ๒.๗ นกั กฬี าและบคุ ลากรการกฬี าไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ มคี วามพงึ พอใจในคณุ ภาพและมาตรฐานของบรกิ าร ดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี าท่ไี ดร้ บั

36 เเผนพฒั นาการกฬี าแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกีฬา

๓. แนวทางการพัฒนา ๓.๑ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาทั้งในส่วนกลาง ภูมิภาค และ ระดับทอ้ งถิน่ ๑) พฒั นาและยกระดบั โครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าทง้ั ในสว่ นกลางและระดบั ทอ้ งถน่ิ โดยการจัดตั้งสถาบันวิทยาศาสตร์การกีฬาแห่งประเทศไทยเพื่อเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาสมรรถภาพของนักกีฬา และสร้างเสริมสุขภาพท่ีแข็งแรงแก่ประชาชน ปรับปรุงและพัฒนาศูนย์ให้บริการวิทยาศาสตร์การกีฬาที่มีอยู่ในปัจจุบัน โดยเพมิ่ จำ� นวนศนู ยใ์ หบ้ รกิ ารดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าในระดบั จงั หวดั ใหค้ รอบคลมุ ทว่ั ประเทศซงึ่ รวมไปถงึ ศนู ยต์ รวจสอบ สารตอ้ งหา้ มในนกั กฬี า และสรา้ งความรว่ มมอื กบั สถานศกึ ษาเพอ่ื ใชท้ รพั ยากรทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี า ทมี่ อี ยใู่ ห้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ ๒) พัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาให้มีคุณภาพและสามารถให้บริการอย่างทั่วถึง ในทกุ ระดบั โดยการพฒั นาคณุ ภาพของบคุ ลากรทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการกีฬา โดยวางมาตรฐานหลักสตู ร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา และหลักสูตรการอบรมที่เก่ียวข้องอื่นๆ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันและสอดคล้อง กับมาตรฐานสากล บัญญัติและบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับวิชาชีพการกีฬาเพื่อวางมาตรฐานคุณภาพวิชาชีพการกีฬา เพ่ิมจ�ำนวนบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาให้เพียงพอส�ำหรับการให้บริการประชาชนและนักกีฬา อย่างท่ัวถึง ๓.๒ การพฒั นาและการสรา้ งเครอื ข่ายองค์ความรู้และนวตั กรรมทางการกีฬา ๑) สรา้ งเครอื ขา่ ยดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี าทงั้ ภายในและนอกประเทศ โดยการพฒั นา เครือข่ายด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาและจัดให้มีการแลกเปล่ียนความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี การกฬี าอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตง้ั แตร่ ะดบั ทอ้ งถน่ิ สรา้ งความรว่ มมอื กบั องคก์ รกฬี านานาชาตสิ ำ� หรบั เพอ่ื สง่ เสรมิ การวจิ ยั และพฒั นา ระหวา่ งประเทศ จดั ประชมุ เชงิ วชิ าการ และสง่ เสรมิ การเปน็ เจา้ ภาพการสมั มนาระดบั นานาชาตวิ า่ ดว้ ยเรอื่ งของวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการกฬี า และเชญิ ชวนบคุ ลากรจากหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้องจากทั้งภาครฐั และเอกชนมาเข้าร่วมงาน ๒) สร้างระบบฐานข้อมูลและวางนโยบายท่ีเอื้อต่อการพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการกีฬา โดยการจัดต้ังฐานข้อมูลกลางส�ำหรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา เผยแพร่และส่งเสริมการใช้งาน ฐานข้อมูลทั้งภายในและระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องรวมไปถึงสาธารณชน และใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลเพื่อก�ำหนด นโยบายด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ในการช่วยพัฒนานักกีฬาในพื้นท่ีให้เกิดความเป็นเลิศ และการใช้ องคค์ วามรทู้ างการกีฬาเพ่อื พัฒนาสขุ ภาพพลานามยั ของประชาชน ๓) ประชาสมั พนั ธเ์ พอื่ เสรมิ สรา้ งความตระหนกั ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารกฬี าควบคไู่ ปกบั การใชช้ ีวติ ประจำ� วัน โดยการรณรงคใ์ หน้ กั กีฬาและประชาชนทั่วไปตระหนักถึงบริการด้านวิทยาศาสตรก์ ารกฬี าพืน้ ฐาน รวมถึงประโยชน์ของการใช้องค์ความรู้ที่เก่ียวข้องกับการกีฬา ซึ่งประกอบด้วย สรีรวิทยาการกีฬา ชีวกลศาสตร ์ ทางการกีฬา จติ วิทยาการกฬี า โภชนาการการกีฬา เวชศาสตร์การกฬี า และเทคโนโลยกี ารกีฬา โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ และส่ือดิจิตอลในการเผยแพร่ข่าวสารและความรู้ที่เก่ียวกับวิทยาศาสตร์การกีฬาให้ครอบคลุมประชากรทั่วประเทศ และ ท�ำงานร่วมกับนักกีฬาที่มีช่ือเสียงเพ่ือถ่ายทอดประสบการณ์และแสดงให้เห็นถึงบทบาทความส�ำคัญของวิทยาศาสตร ์ การกีฬาทอ่ี ย่เู บ้ืองหลงั ความส�ำเรจ็ ของตน ๔) ยกระดบั ระบบการเรยี นการสอนดา้ นการกฬี าใหม้ คี วามทนั สมยั ในระดบั อดุ มศกึ ษา โดยการศกึ ษา และวเิ คราะหบ์ ทเรยี นจากกรณศี กึ ษาตวั อยา่ งทด่ี ี และปรบั ปรงุ หลกั สตู รการศกึ ษาทางการกฬี าในระดบั อดุ มศกึ ษาใหท้ นั สมยั สอดคล้องกับมาตรฐานระดับสากล จัดต้ังมหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติและสนับสนุนให้เปิดหลักสูตรการเรียน

เเผนพัฒนาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 37

กระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬา

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ