ม.อย สบาย ต.หนองตำล ง อ.พานทอง จ.ชลบ ร

ทาวน์เฮาว์ 2 ชั้น 3 ห้องนอน 2 ห้องน้ำ 1 ห้องครัว เนื้อที่ 20 ตรว. มบ.โชติกา เทศบาลซอย5 ต.หนองตำลึง อ.พานทอง ชลบุรี มบ.ห่างจากถนนสุขประบยูรเพียง 200 ม. สถานที่เข้าออกสะดวกสบาย มีรถรับส่งพนักงานผ่าน ติดกับนิคมอมตะ เฟต 7,8,9,10

  1. ผลผลิตทางการเกษตรท่ีสำคัญ ได้แก่ ด้านปศสุ ัตว์ เช่น ไก่ สุกร และดา้ นเกษตรกรรม เชน่ การเลยี้ งก้งุ

และเลี้ยงปลา เปน็ ต้น

  1. แหล่งน้ำที่สำคัญ ไดแ้ ก่ คลองพานทอง
  1. อำเภอพานทองมีโรงงานอุตสาหกรรม (ข้อมูล ณ วันท่ี 18 เดือนกันยายน พ.ศ.2564 อ้างอิงจาก

เว็บไซต์ //www.diw.go.th/hawk/content.php?mode=dataservice&tabid=1) โรงงาน

อุตสาหกรรมท่ีผู้ประกอบการเข้ามาประกอบกิจการด้วยตนเองหลายแห่งในพื้นท่ีอำเภอพานทอง

มีจำนวนทั้งส้ิน 540 โรงงาน แบ่งเป็นรายตำบล ดังน้ี ในเขตตำบลพานทอง จำนวน 123 แห่ง ,

ตำบลหนองตำลึง จำนวน 40 แห่ง ,ตำบลมาบโป่ง จำนวน 53 แห่ง ,ตำบลหนองกะขะ จำนวน

72 แห่ง ,ตำบลหนองหงษ์ จำนวน 39 แห่ง ,ตำบลโคกขี้หนอน จำนวน 3 แห่ง ,ตำบลบ้านเก่า

จำนวน185 แห่ง ,ตำบลหน้าประดู่ จำนวน 12 แห่ง ,ตำบลบางนาง จำนวน 9 แห่ง ,ตำบลเกาะลอย

จำนวน 3 แหง่ และตำบลบางหัก จำนวน 1 แห่ง

7

การประกอบอาชพี และสภาพปัญหาของชุมชน ปัญหาหลักของอำเภอพานทองท่ีเป็นปัญหาในชุมชน และก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนในท้องท่ี

และประชาชนที่เข้ามาใช้บริการเป็นประจำทุกปี คือ ปัญหาน้ำท่วม และการจราจรติดขัด เนื่องด้วยในช่วงฤดูฝน อำเภอพานทองเป็นบริเวณที่ต้องรับนำ้ มาจากอำเภอบ้านบึง ไหลผา่ นมายังตำบลหนองหงษ์ จากนน้ั น้ำที่ผ่านมายัง ตำบลหนองหงษ์ จึงไหลเข้ามารวมยังพื้นที่บรเิ วณอำเภอพานทอง นอกจากนั้นยังได้รบั น้ำจากทางอำเภอพนัสนิคม ผ่านมายังตำบลบ้านเซิด และไหลเข้าสู่ตำบลพานทอง ปัญหาท่ีเกิดขึ้นเน่ืองจากอำเภอพานทองเป็นพื้นที่ราบต่ำจึง เป็นจุดรับนำ้ จากทั้งอำเภอบา้ นบงึ และอำเภอพนัสนคิ ม ดังนั้นในช่วงฤดูฝนอำเภอพานทองจงึ เป็นจดุ ศนู ยร์ วมในการ รับนำ้ อีกท้งั ยังมปี ญั หามาจากนำ้ ลน้ ตลิ่งเน่อื งจากไดร้ บั นำ้ มาจากคลองสียดั

ปัญหาการจราจรตดิ ขดั ในช่วงเวลาคับขันหรอื ช่วงชั่วโมงรบี ดว่ นกเ็ ปน็ อีกปัญหาหนง่ึ ของอำเภอพานทองทย่ี ัง ไม่สามารถแก้ไขได้ เน่ืองจากปจั จุบันพื้นท่ีบรเิ วณรอบ ๆ อำเภอพานทองมีโรงงานเพิ่มขึ้นมากและมีโรงเรียนหลาย โรง ดังนนั้ จงึ ก่อใหเ้ กดิ การจราจรตดิ ขดั ของถนนสายสขุ ประยูรและสายบา้ นเก่า ช่วงเวลาเร่งดว่ นในช่วงเวลา 07.00- 09.00 น. จึงเป็นช่วงที่รถติดมากเพราะเป็นช่วงเวลาเข้างานและเป็นช่วงที่เด็กเดินทางมาโรงเรียน อีกท้ังถนนสาย บ้านเก่า เป็นถนนที่อยใู่ นชว่ งระหว่างการปรับปรุงซอ่ มแซมถนนการจราจรจงึ ดำเนินไปไมส่ ะดวก และอีกปัญหาหนึ่ง ที่ทุกชุมชนและเกือบทุกพื้นที่ของประเทศไทยจะพบกับปัญหานี้ คือ ปัญหาด้านยาเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ทาง สงั คม โดยเฉพาะปัญหาเยาวชนและเด็กติดยาเสพติด ซ่ึงปญั หาดงั กล่าวอำเภอพานทองได้พยายามรว่ มกันแกไ้ ขโดย ประสานงานกับผู้ใหญ่บ้าน และโรงเรียนต่าง ๆ นอกจากน้ันยังได้จัดชุดเฉพาะกิจโดยมีข้าราชการ ตำรวจ และ ประชาชน ร่วมกันสอดส่องดูแลและออกตรวจตราในพ้ืนท่ีที่เป็นแหล่งเป้าหมาย นอกจากนั้นยังจดั กิจกรรมเพ่ือให้ ความรแู้ ก่กลมุ่ เส่ียงท่เี ปน็ กลมุ่ เป้าหมายเพอื่ เปน็ การป้องกันและแก้ปญั หายาเสพตดิ ทางหนึ่ง

วถิ ชี ีวติ และเศรษฐกิจ

ชลบุรี เมืองชายทะเลท่ีได้รับการกล่าวขานมากท่ีสุดแห่งบูรพาทิศ ดินแดนชายทะเลอันมั่งค่ังแห่งนี้ ได้ผัน ผ่านกาลเวลามาเนิ่นนาน จากการเป็นเมืองท่าค้าขายคึกคักในอดีต พัฒนามาสู่เมืองเกษตร อุตสาหกรรม และ ทอ่ งเที่ยว ส่ิงนีอ้ าจสะท้อนคณุ ลักษณะสำคัญของคนเมืองชล ซึง่ มีความขยัน และมองการไกล กอปรกับทรัพย์ในดิน สินในนำ้ ตา่ งช่วยกนั เอื้ออำนวยให้การพัฒนาในดา้ นต่างๆ เป็นไปอย่างสะดวกราบรื่น และต่อเนื่อง

ปจั จบุ ันอำเภอพานทองมปี ระชากรประมาณ 58,262 คน ประชากรแฝงประมาณ 12,687 คน ซึ่งส่วนหนึ่ง เป็นผู้โยกย้ายเข้ามาทำงานในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ที่ขยายตัวอย่างต่อเน่ือง ทวา่ เม่ือพูดถงึ ผู้คนพื้นถ่ินจริงๆ ของ อำเภอพานทองแล้ว จะพบวา่ คนพานทองมีอาชีพทำเกษตรกรรม ทำนาไร่ ทำปศสุ ัตว์ โดยลักษณะนิสัยของคนพาน ทองด้ังเดมิ ได้ชอ่ื วา่ เป็นคนจริง ใชช้ วี ติ เรียบง่าย ประหยดั อดออม เอาการเอางาน หนกั เอาเบาสู้มีความเปน็ มิตร และ พร้อมตอ้ นรับผมู้ าเยอื นเสมอ แมท้ กุ วันนี้สภาพบา้ นเมืองของอำเภอพานทองจะเจริญรดุ หน้าไปมาก อกี ทง้ั มีผู้คนต่าง ถนิ่ โยกยา้ ยเข้ามาอาศยั ผสมกลมกลนื กบั ชนดั้งเดิม ทวา่ คนพานทอง ก็ยังคงรกั ษาขนบธรรมเนียม และประเพณอี นั ดี งามของตนเอาไว้อย่างเหนียวแน่น สะท้อนออกมาในรูปแบบงานเทศกาลประจำปีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นงานบุญ กลางบ้าน และงานเครือ่ งจักสานพนัสนิคม งานประเพณีวันไหลพานทองในช่วงวันสงกรานต์ งานประเพณีแห่เทียน จำนำพรรษา งานประเพณีแข่งเรืออันคึกคักสนุกสาน รวมถึงงานกาชาดพานทอง เป็นต้น เหล่านี้ ล้วนแสดงให้ ประจักษถ์ ึงเอกลกั ษณ์ความโดดเด่นของคนพานทองได้อย่างชัดเจน

8

คนพานทองในปัจจบุ ันนับถือศาสนาพุทธมากถึง 95 เปอร์เซ็นต์ สว่ นที่เหลอื นบั ถือศาสนาคริสต์ และอืน่ ๆ โดยผสมผสานความเชื่อความศรัทธาในสิ่งศักด์ิสิทธิ์เข้าไว้ในศาสนาที่ตนนับถือด้วย เช่น เม่ือถึงช่วงเทศกาลกินเจ ประมาณเดือนตุลาคมของทุกปี ผู้คนท่ีศรัทธาก็จะพากันนุ่งขาวห่มขาว งดการบริโภคเนื้อสัตว์ แล้วเดินทางไปร่วม สวดมนต์บำเพญ็ ทานยงั โรงเจต่างๆ ในอำเภอพานทอง

อำเภอพานทองเป็นย่านชุมชนที่มีความเช่ียวชาญการค้า และมีบทบาทสำคัญในเร่ืองเศรษฐกิจ ประมง อุตสาหกรรม เกษตรกรรม ความสำคัญของอำเภอพานทองน้ัน สืบย้อนไปเม่ือครั้งหลังกรงุ ศรีอยธุ ยาแตกพ่ายแก่พม่า และได้รับการกอบก้คู ืนมาในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสนิ พระองค์ทรงนำทหาร และกวาดต้อนผ้คู นตามรายทางจาก อยุธยา มาตั้งเมืองและต้ังค่ายทหารช่ัวคราวที่ตำบลโป่งตามุข เรียกว่าเมืองโป่งตามุข เป็นเมืองท่ีคุมหัวเมือง ชายทะเล มีตัวเมอื งตั้งอยบู่ รเิ วณวดั โป่งตามุข ตำบลหนองหงษ์ ท่ีอยู่ทางใตข้ องอำเภอพานทองในปจั จบุ ัน ส่วนท่ีมา ของชอ่ื อำเภอพานทองน้ัน มาจากพรานป่าคนหนึ่งชื่อทอง เป็นชาวอยธุ ยาท่พี าครอบครัวอพยพหนีพม่ามาในครงั้ นั้น มาสรา้ งภูมิลำเนาใหม่ริมคลองที่แยกจากบางปะกง (คือคลองพานทองในปัจจุบัน) และทำหน้าท่ีเปน็ ผู้สืบข่าวข้าศึก ถวายสมเดจ็ พระเจ้าตากสิน รวมท้ังเข้าร่วมกอบกู้เอกราชกลบั คืนมาพร้อมพระองค์ เมือ่ เสร็จศกึ สงคราม นายทองได้ กลับมาสรา้ งวัดและตง้ั ชอื่ ว่า "วัดพรานทอง" ชาวบา้ นแถบนัน้ จึงได้เรยี กหมู่บ้านน้นั ว่า "หมู่บ้านพรานทอง" ต่อมาช่ือ ไดก้ ลายเป็น "บา้ นพานทอง" และ"วดั พานทอง"

สินคา้ ขน้ึ ชือ่ ของอำเภอพานทอง - การทำทองโบราณในเขตอำเภอพานทอง ถือเป็นงานฝมี ือท่ีมีชือ่ เสียงและเป็นท่ีรู้จักโดยทั่วไป ดังคำขวัญ ของอำเภอท่ีวา่ "ศิลปช่างทอง" เป็นการทำทองโดยฝีมือช่างอันปราณีตงดงาม ลวดลายมีเอกลักษณเ์ ฉพาะทสี่ ืบทอด กนั มาแต่โบราณ เชน่ ลายกา้ มกุง้ ลายลกู ฆอ้ ง ลายฝักแค หรือลวดลายท่ีออกแบบขึ้นมาใหม่เช่น ลายกระดุมทอง ลาย ประคำโปร่ง การทำทองมีท้ังทองรูปพรรณ เช่นสร้อยคอ แหวน กำไล และทำเป็นส่ิงประดิษฐ์จากทองคำคุณภาพ เช่น ตลบั ทอง ช้อน ชุดกาน้ำ ตะกร้า เข็มขัด ร้านทองท่มี ีช่ือเสียงเก่าแก่คอื ร้านทองพานทอง (เจไ๊ น้) และร้านทองรุ่ง สีทอง (แม่เกียว) ร้านทองพานทอง (เจ๊ไน้) 59/1 หมู่4 ตำบลพานทอง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี 20160 ร้าน ทองร่งุ สที อง (แมเ่ กยี ว) 64 หมู่ 7 ตลาดเก่าพานทอง ตำบลพานทอง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบรุ ี 20160

9 - การเผาอิฐมอญ (หรอื บางทีเรยี กว่าอิฐแดง) เป็นที่เล่ืองลอื กันวา่ มีความแขง็ แกร่งทนทาน มคี ณุ ภาพ สมกับ คำขวัญอีกคำของอำเภอที่ว่าเป็น "เมืองอิฐแกร่ง" โดยกรรมวิธีการเผาอิฐท่ีไม่เหมือนใคร เพราะใช้เตาเผาอิฐท่ีใช้ ความร้อนสูงขนาดใหญ่ สูงประมาณตึกสามชั้น เผาได้ครั้งละมากๆ เป็นแสนๆ ก้อน โรงอิฐมอี ยู่หลายโรง ตั้งอยู่บน ถนนสุขประยูร จนเกือบถึงตลาดพานทอง

ทุกวนั นี้ อำเภอพานทองได้ก้าวย่างผ่านยุคแห่งการพัฒนา จนสามารถบรรลุถึงความเพียบพร้อม ทั้งในแง่ ของทรัพยากรธรรมชาติ การท่องเท่ียว อุตสาหกรรม การเกษตร วิถชี ีวติ และสามารถรกั ษาวฒั นธรรมอันดีงาม ของทอ้ งถิน่ ไวไ้ ดอ้ ย่างสมบูรณ์กลายเป็นเมอื งทม่ี ีเสนห่ น์ า่ เที่ยวน่าลงทนุ และมีความปลอดภัยสูง

ศักยภาพ และความโดดเด่นในหลายด้านของอำเภอพานทองทั้งหมดดังกล่าว จึงกลายเป็นต้นทุนที่มั่งค่ัง เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อำเภอพานทองกลายเป็นส่วนหน่ึง “เพชรน้ำเอกแห่งบูรพาทิศ” ท่พี ร้อมเปิด ประตูออกสู่สังคมโลกไดอ้ ย่างสมภาคภมู ิ

10  โครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพานทอง

ผู้อำนวยการ

คณะกรรมการสถานศึกษา

กล่มุ งานอำนวยการ กลุ่มการจัดการศึกษานอกระบบ กลุ่มภาคีเครอื ข่าย และการศกึ ษาตามอัธยาศยั และกจิ การพเิ ศษ

- งานธรุ การและสารบรรณ งานการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน งานสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ภาคี เครอื ขา่ ยงานกิจการพเิ ศษ - งานการเงนิ - งานส่งเสรมิ การร้หู นังสอื - งานบัญชี - งานการศกึ ษานอกระบบระดับ - งานสนบั สนุนโครงการอนั - งานพัสดุ เนอื่ งมาจากพระราชดำริ - งานบคุ ลากร การศึกษาขน้ั พื้นฐาน - งานอาคารสถานท่ี - งานพฒั นาหลักสตู ร - งานกิจการลกู เสอื ยวุ กาชาด - งานแผนงานและโครงการ - งานทะเบียน - งานสนับสนุนนโยบายพิเศษ/ - งานประชาสัมพันธ์ - งานวดั ผล - งานภาคี งานการศึกษาต่อเน่อื ง งานรัฐบาล/กระทรวง - งานขอ้ มลู สารสนเทศและการ - งานกลุม่ เป้าหมายพเิ ศษ -งานการศึกษาเพ่อื พฒั นาอาชีพ รายงาน -งานการศกึ ษาเพ่ือพฒั นา - งานควบคมุ ภายใน ทกั ษะชีวิต - งานนิเทศภายใน ติดตาม และ -งานการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คม และชมุ ชน ประเมินผล -งานการศึกษาตามหลกั ปรชั ญา - งานประกนั คณุ ภาพภายใน เศรษฐกจิ พอเพยี ง งานศูนยก์ ารให้คำปรึกษาแนะนำ สถานศึกษา - งานเลขานุการคณะกรรมการ -งานศูนย์การใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำ -งานกจิ การนกั ศึกษา สถานศึกษา และอาสาสมัคร งานพฒั นาส่ือ หลกั สตู ร กศน. นวตั กรรมและเทคโนโลยี การศกึ ษา

-งานพัฒนาสือ่ หลกั สตู ร นวัตกรรม และเทคโนโลยี การศึกษา

11

ทำเนียบผบู้ ริหาร

ลำดับท่ี ชอ่ื – สกลุ ตำแหน่ง ระยะเวลา ท่ีดำรงตำแหนง่ 1. นายธรี ยล แสงอำนาจเจรญิ ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอพานทอง พ.ศ.2537 – พ.ศ.2548 2. นางสาวพวงสุวรรณ์ พนั ธุม์ ะมว่ ง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพานทอง พ.ศ.2548 – พ.ศ.2554 3. นางเสาวลักษณ์ บุพพาศิรกุล ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอพานทอง พ.ศ.2554 – พ.ศ.2555 4. นายณฐั พงษ์ รงคะวิรจุ นช์ ัย ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเกาะสชี งั พ.ศ.2555 – พ.ศ.2556

5. นางสรุ ัสวดี เลย้ี งสพุ งศ์ รักษาการในตำแหน่ง พ.ศ.2556 – พ.ศ.2560 6. นางสาวอาภรณ์ ศรีแสงทอง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพานทอง พ.ศ.2560 – พ.ศ.2562 ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอพานทอง 6. นางสาวสมใจ เกิดพลู ผล พ.ศ.2562 – ปัจจุบนั ครู รกั ษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพานทอง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพานทอง

ทำเนียบบุคลากร ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอพานทอง มคี รู และบุคลากรจำนวน 18 คน

ชาย 4 คน หญิง 14 คน ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา 1 คน ขา้ ราชการครู 3 คน พนกั งานราชการ 13 คน บรรณารกั ษ์ (จ้างเหมา) 1 คน ดังนี้

จำนวนบคุ ลากร (ปี 2560 – ปจั จบุ นั )

ประเภท/ตำแหน่ง จำนวน

ต่ำกวา่ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม 4 ขา้ ราชการ - 13- - บุคลากรทางการศึกษา - ลกู จ้างประจำ - - 13 พนักงานราชการ - ครศู ูนย์การเรียนชุมชน - - 1 บรรณารกั ษ์ (จ้างเหมา) 18 - 13 - - รวมทง้ั ส้นิ - ---

- 1--

- 15 3 0

12

ข้อมูลบุคคลากรด้านการศึกษา

ท่ี ชือ่ -สกลุ ตำแหนง่ วุฒิ วิชาเอก 1. นางสาวสมใจ เกิดพูลผล ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอพานทอง การศึกษาศาตรมหาบัณฑิต (กศ.ม.) บริหารการศกึ ษา 2. นางสาวอาภรณ์ ศรแี สงทอง ครูชำนาญการ ศิลปศาสตรบณั ฑิต (ศศ.บ.) การจัดการทั่วไป 3. นายกฤษชัย ใจกลา้ ครู การศกึ ษาศาตรมหาบณั ฑิต (กศ.ม.) บรหิ ารการศกึ ษา 4. นางสาวระพพี ร วงค์มน 5. นางสาวศศธิ ร รักษาสุข ครูผู้ชว่ ย นิเทศศาสตรบัณฑิต (นศ.บ.) นิเทศศาสตร์ 6. นางพวงออ เจริญแพทย์ ครูอาสาสมคั รฯ 7. นายเชาวฤทธ์ิ สายสุดตา ครูอาสาสมัครฯ การศึกษาศาตรมหาบัณฑิต (กศ.ม.) หลักสูตรและการสอน 8. นางสาวปองทิพ โกสยิ ะพันธ์ ครู กศน. ตำบล 9. นางสาวสธุ ดิ า เนาวรัตน์ ครู กศน. ตำบล วทิ ยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) การเพาะเล้ยี งสัตว์น้ำ 10. นางสาวพิชญา ศิลาปงั ครู กศน. ตำบล 11 นายจริ พงษ์ ล้ิมภักดี ครู กศน. ตำบล บรหิ ารธุรกิจบณั ฑติ (บ.ธบ.) สาขาการบัญชี ครู กศน. ตำบล 12. นางภคพร สุวฒั น์ ศลิ ปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) การจัดการทัว่ ไป 13. นายบัญชา สาระวัน ครู กศน. ตำบล 14. นางสาวปวชิ ญาดา เขม็ รุ่ง ครู กศน. ตำบล บริหารธุรกิจบณั ฑติ (บธ.บ.) การจดั การท่วั ไป ครู กศน. ตำบล 15. นางสาวจิรอรสมุ น นติ ิศาสตรบัณฑิต (นบ.) นติ ศิ าสตร์ จิณห์ชญาเกตแุ กว้ ครู กศน. ตำบล บริหารธุรกิจบณั ฑิต (บธ.บ.) การตลาด 16. นางสาวกาญจนา คุณสมบัติ ครู กศน. ตำบล ครุศาสตรบณั ทิต (คบ.) คอมพวิ เตอร์ศกึ ษา 17. นางสาวณัฐทิตา พูลชนะ ครู กศน. ตำบล 18. นางสาวสชุ าดา ตรงกบั ใจ บรรณารกั ษ์ ครศุ าสตรบณั ทติ (คบ.) วทิ ยาศาสตร์ (จ้างเหมา) บรหิ ารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) การจดั การทรพั ยากร

มนษุ ย์

วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) เทคโนโลยีเซรามิกส์

ครุศาสตรบณั ทติ (คบ.) การประถมศกึ ษา

บริหารธรุ กจิ บณั ฑิต (วธ.บ.) การจดั การ

อุตสาหกรรม

รฐั ศาสนศาสตรบัณฑติ (รป.บ) บรหิ ารทวั่ ไปการเมือง

การปกครอง

วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) ฟิสิกสอ์ ตุ สาหกรรม

และอุปกรณ์การแพทย์

ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) ส่ือสารมวลชน

ครศุ าสตรบณั ฑติ (คบ.) สงั คมศึกษา

13

จำนวน กศน.ตำบล 11 แหง่

ช่อื กศน.ตำบล ทต่ี ง้ั กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล กศน.ตำบลพานทอง สาธารณสุขมลู ฐานชุมชนยอ่ ยท่ี 2 นายเชาวฤทธิ์ สายสุดตา กศน.ตำบลหนองตำลึง อาคารทรงเรือนไทย วดั หนองตำลึง นางสาวปองทพิ โกสยิ ะพนั ธ์ กศน.ตำบลบ้านเก่า อาคารเทคโนโลยเี กษตร ตำบลบ้านเก่า นายบญั ชา สาระวนั กศน.ตำบลเกาะลอย อาคาร กศน.ตำบลเกาะลอย นางสาวกาญจนา คุณสมบตั ิ 36/5 หมู่ 1 ตำบลเกาะลอย กศน.ตำบลมาบโปง่ ศาลาวัดบ้านไร่ ตำบลมาบโปง่ นางสาวสธุ ดิ า เนาวรตั น์ กศน.ตำบลโคกขห้ี นอน อาคารนาคปฐม วดั โคกขี้หนอน นางภคพร สุวฒั น์ กศน.ตำบลหน้าประดู่ นางสาวปวชิ ญาดา เข็มรุ่ง กศน.ตำบลหนองกะขะ อาคารศูนย์เรียนรูช้ ุมชนบา้ นแหลมแค นางสาวพชิ ญา ศลิ าปงั กศน.ตำบลบางหัก นางสาวณัฐทิตา พูลชนะ กศน.ตำบลบางนาง อาคาร กศน.ตำบลหนองกะขะ วดั บา้ นงวิ้ นางสาวจิรอรสมุ น จณิ ห์ชญาเกตุแกว้ กศน.ตำบลหนองหงษ์ อาคารหลงั เกา่ อบต.บางหัก นายจริ พงษ์ ล้มิ ภักดี

รวมจำนวน อาคารงบโรงไฟฟา้ บางประกง 11 คน

อาคาร อปพร. อบต.หนองหงษ์ 11 แห่ง

ทรพั ยากรและสง่ิ อำนวยความสะดวกในการจัดการศึกษา ➢ อาคารสถานที่ ไดแ้ ก่ กศน. ตำบล 11 แห่ง และห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง 1 แหง่ ➢ สาธารณปู โภคและสิง่ อำนวยความสะดวก

- สาธารณปู โภค ไดแ้ ก่ นำ้ ประปา และ ไฟฟา้ - สงิ่ อำนวยความสะดวก ไดแ้ ก่ คอมพิวเตอร์ , ปริน้ เตอร์ , อนิ เทอรเ์ นต็ , โตะ๊ , เกา้ อี้ , โทรทัศน์ ,

ชุดรบั สญั ญาณ DTV , พัดลม และเครือ่ งปรบั อากาศ

14

 แหลง่ เรียนรู้

แหลง่ เรยี นรู้ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ท่ตี ัง้ การขยายพนั ธุ์และการผลิตมะนาว การขายพันธมุ์ ะนาว และการผลติ 65 ม.5 ต.พานทอง อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี นอกฤดู ตำบลพานทอง มะนาวนอกฤดู การเพาะเห็ด ตำบลหนองตำลึง การเพาะเหด็ (โรงเรียนบ้านหว้ ย ม.5 ต.หนองตำลึง อ.พานทอง จ.ชลบุรี ตากด้าย) หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง การทำน้ำหมกั ชวี ภาพ และผลติ ภัณฑ์ ม.5 ต.เกาะลอย อ.พานทอง จ.ชลบุรี บา้ นตลาดควาย ตำบลเกาะลอย จากน้ำหมกั การเลย้ี งสตั ว์น้ำบ้านกล่มุ เอน การเล้ยี งสัตวน์ ำ้ 68/4 ม.4 ต.เกาะลอย อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี การถกั สวงิ ตำบลโคกขหี้ นอน การถกั สวิง ม.1 ต.โคกขี้หนอน อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี การแปรรปู ปลาแดดเดียว การแปรรูปปลาแดดเดียว ม.5 ต.หนา้ ประดู่ อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี ตำบลหน้าประดู่ เศรษฐกิจพอเพียงแบบผสมผสาน เกษตรผสมผสาน ,การปลูกผกั อินทรยี ์ 8/1 ม.9 ต.มาบโปง่ อ.พานทอง จ.ชลบุรี บ้านอ้อมแกว้ ตำบลมาบโป่ง และการทำนำ้ หมกั ชีวภาพ การเพาะพนั ธุม์ ะนาว การขยายพนั ธุม์ ะนาว 57 ม.9 ต.มาบโป่ง อ.พานทอง จ.ชลบุรี ตำบลมาบโปง่ ส่งิ ประดษิ ฐจ์ ากวสั ดุเหลอื ใช้ การประดิษฐจ์ ากวัสดุเหลอื ใช้ 43/5 ม.2 ต.หนองกะขะ อ.พานทอง ตำบลหนองกะขะ จ.ชลบรุ ี หม่บู ้านเศรษฐกิจพอเพยี งต้นแบบ การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ 14 ม.2 ต.บางหัก อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี บา้ นหนองสองหอ้ ง ตำบลบางหัก ครูภมู ิปัญญาไทย การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ 25 ม.6 ต.หนองหงษ์ อ.พานทอง ตำบลหนองหงษ์ จ.ชลบุรี เทคโนโลยดี ้านการเกษตรและพนั ธ์ุ เทคโนโลยดี ้านการเกษตรและพนั ธ์ุขา้ ว 29 ม.4 ต.หนองหงษ์ อ.พานทอง ข้าว ตำบลหนองหงษ์ จ.ชลบรุ ี การทำเกษตรผสมผสาน การทำเกษตรแบบผสมผสาน ม.1 ต.บางนาง อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี ตำบลบางนาง ศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน “ธุรกิจอาหาร ศนู ยฝ์ กึ ทักษะอาชีพการทำอาหาร และ 52/2 ต.พานทอง อ.พานทอง จ.ชลบุรี และขนม” ตำบลพานทอง ขนมเบเกอร่ี ศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน ศูนย์ฝึกทักษะอาชีพการทำผลิตภัณฑ์ 71 ม.6 ต.หนองตำลงึ อ.พานทอง “การทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร” จากสมนุ ไพรไทย จ.ชลบุรี ตำบลหนองตำลงึ

แหลง่ เรียนรู้ ประเภทแหล่งเรยี นรู้ 15 ศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน “การแพทย์ ศูนยฝ์ กึ ทักษะอาชีพดา้ นการนวดไทย ท่ีตงั้ แผนไทย” ตำบลเกาะลอย เพื่อสุขภาพ ม.4 ต.เกาะลอย อ.พานทอง จ.ชลบุรี ศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน “การทำ ศนู ยฝ์ ึกทักษะอาชีพการจักรสาน ผลติ ภัณฑ์จากเสน้ พลาสตกิ ” ผลติ ภัณฑ์จากเสน้ พลาสติก 74 ม.5 ต.หน้าประดู่ อ.พานทอง ตำบลหนา้ ประดู่ จ.ชลบรุ ี ศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน “ผลติ ภัณฑจ์ าก ศนู ยฝ์ กึ ทักษะอาชีพการทำผลิตภัณฑ์ ตน้ จาก” ตำบลบางหัก จากต้นจาก 34 ม.1 ต.บางหกั อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี

รวมจำนวน 19 แหง่ 19 แหง่

 ภาคีเครอื ข่าย ที่อยู่/ทีต่ ง้ั หมู่ที่ 4 ตำบลพานทอง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ภาคีเครอื ข่าย หมทู่ ี่ 4 ตำบลพานทอง อำเภอพานทอง จงั หวัดชลบุรี ท่วี ่าการอำเภอพานทอง หมู่ที่ 4 ตำบลพานทอง อำเภอพานทอง จงั หวดั ชลบุรี เกษตรอำเภอพานทอง หมู่ที่ 4 ตำบลพานทอง อำเภอพานทอง จงั หวัดชลบุรี ประมงอำเภอพานทอง หมทู่ ่ี 10 ตำบลพานทอง อำเภอพานทอง จงั หวัดชลบรุ ี สาธารณสุขอำเภอพานทอง หมู่ที่ 10 ตำบลพานทอง อำเภอพานทอง จังหวดั ชลบรุ ี องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลพานทอง หมู่ที่ 2 ตำบลพานทอง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบรุ ี เทศบาลตำบลพานทอง หมู่ที่ 10 ตำบลพานทอง อำเภอพานทอง จังหวดั ชลบรุ ี โรงเรยี นวดั พานทอง หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านเกา่ อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี โรงเรียนพานทองสภาชนูปถมั ภ์ หมู่ท่ี 4 ตำบลบางนาง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลบ้านเก่า หมทู่ ่ี 3 ตำบลหนองตำลงึ อำเภอพานทอง จังหวดั ชลบุรี โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพประจำตำบลบางนาง หม่ทู ี่ 2 ตำบลหนองตำลงึ อำเภอพานทอง จงั หวดั ชลบุรี เทศบาลตำบลหนองตำลึง หมู่ที่ 2 ตำบลหนองตำลงึ อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพประจำตำบลหนองตำลงึ หมู่ที่ 1 ตำบลหนองหงษ์ อำเภอพานทอง จงั หวดั ชลบุรี โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวนั ออก(อ.ี เทค) หมทู่ ี่ 5 ตำบลหนา้ ประดู่ อำเภอพานทอง จงั หวัดชลบุรี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลหนองหงษ์ หมทู่ ี่ 4 ตำบลหนา้ ประดู่ อำเภอพานทอง จงั หวัดชลบรุ ี องค์การบริหารส่วนตำบลหน้าประดู่ หมทู่ ี่ 3 ตำบลโคกขี้หนอน อำเภอพานทอง จังหวัดชลบรุ ี โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพประจำ ตำบลหน้าประดู่ หมู่ท่ี 1 ตำบลโคกข้หี นอน อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี วัดโคกข้หี นอน วัดนกั บญุ ฟลิ ิป และยากอบ

ภาคีเครอื ขา่ ย 16 องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลเกาะลอย วัดเกาะลอย ทอ่ี ย/ู่ ทต่ี งั้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลเกาะลอย หม่ทู ี่ 4 ตำบลเกาะลอย อำเภอพานทอง จังหวดั ชลบุรี วัดชลธบี ุญวาส (วดั บางหัก) หม่ทู ่ี 1 ตำบลเกาะลอย อำเภอพานทอง จังหวดั ชลบรุ ี โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพประจำตำบลบางหัก หมู่ท่ี 4 ตำบลเกาะลอย อำเภอพานทอง จงั หวัดชลบุรี วัดบ้านไร่ หมูท่ ่ี 1 ตำบลบางหกั อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลมาบโปง่ หมทู่ ี่ 1 ตำบลบางหัก อำเภอพานทอง จงั หวัดชลบรุ ี หมทู่ ี่ 6 ตำบลมาบโป่ง อำเภอพานทอง จงั หวัดชลบรุ ี รวมจำนวน หมทู่ ี่ 2 ตำบลมาบโป่ง อำเภอพานทอง จงั หวดั ชลบรุ ี

25 แหง่

 ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ความรู้ความสามารถ ที่อยู่ 65 ม.5 ต.พานทอง อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน การขยายพันธ์มุ ะนาว และการผลิต นายวนิ ัย จึงประเสรฐิ มะนาวนอกฤดู 2 ม.2 ต.พานทอง อ.พานทอง จ.ชลบุรี การจักสานทอเส่ือกก 52/2 ต.พานทอง อ.พานทอง จ.ชลบุรี นางสมจิตร สว่างอารมณ์ การทำอาหารและขนม 75/1 ต.พานทอง อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี นางฐติ ิรัตน์ สขุ ทนารักษ์ การเลี้ยงไสเ้ ดอื น 71 ม.6 ต.หนองตำลึง อ.พานทอง จ.ชลบุรี นายวิชยั พริกเทศ การทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร 20 ม. 4 ต.บ้านเกา่ อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี นางพิมพร วฒุ ิปัญญารตั นกลุ การเกษตรผสมผสาน ม.4 ต.เกาะลอย อ.พานทอง จ.ชลบุรี นายสมยศ พงษร์ ามญั การนวดไทยเพอื่ สุขภาพ นางสาวจำเนียร เสง่ยี มสนิ

นายตะวัน มสี อาด การเล้ียงปลานิล และเลีย้ งสัตวน์ ำ้ 68/4 ม.4 ต.เกาะลอย อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี นายประทีป รงุ่ เรอื ง การปลูกผกั อินทรยี ์ และการทำนำ้ หมัก 8/1 ม.9 ต.มาบโปง่ อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี ชวี ภาพ นายสทั ธา พน้ ภยั พาล การขยายพันธม์ุ ะนาว 57 ม.9 ต.มาบโป่ง อ.พานทอง จ.ชลบุรี นางสาวยุพนิ บูรณะวงศ์ การทำผลติ ภัณฑ์จากเส้นพลาสตกิ 75/2 ม.5 ต.หนา้ ประดู่ อ.พานทอง จ.ชลบุรี นายยวน เรอื งศรี การทำถา่ น 27/1 ม.3 ต.หนา้ ประดู่ อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี นางอรชร ผาสขุ โบราณคดีบ้านโคกระกา ม.4 ต.หนา้ ประดู่ อ.พานทอง จ.ชลบุรี นายพรชยั บวั ประดษิ ฐ์ การเลยี้ งปลานลิ และการเลีย้ งสัตวน์ ำ้ 24 ม.2 ต.บางหกั อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี

17

ภูมิปัญญาท้องถิน่ ความรคู้ วามสามารถ ทอ่ี ยู่ นางจำรูญ คงผ่องแผว้ การเย็บตับจาก นางประทวน รศั มี การทำขนมไทย ,ขนมกระยาสารท 19 ม.2 ต.บางหกั อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี นางถาวร สมจิตต์ การจกั สานทอเสอ่ื กก 21 ม.2 ต.บางหกั อ.พานทอง จ.ชลบุรี 13/1 ม.7 ต.บางนาง อ.พานทอง นายสบุ ิน มณีแสง หมอดนิ จ.ชลบุรี นายศุภกจิ รักษาญาติ ดา้ นเกษตรพันธข์ุ ้าว และการทำนำ้ หมกั 68 ม.1 ต.บางนาง อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี ชวี ภาพ 29 ม.4 ต.หนองหงษ์ อ.พานทอง นางอารี พิทกั ษพ์ รชัยกุล การถกั สวงิ จ.ชลบรุ ี รวมจำนวน ม.1 ต.โคกขหี้ นอน อ.พานทอง จ.ชลบรุ ี 20 คน 20 คน

18

เกียรติยศ ช่อื เสยี ง ผลงาน และโครงการกจิ กรรมดเี ดน่ ของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพานทอง

********************

ระดับประเทศ

1. รางวลั หอ้ งสมุดประชาชนดีเดน่ และศษิ ยเ์ ก่าดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2551 จากสำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

2. รางวลั สถานศกึ ษาดเี ด่น ประจำปี พ.ศ.2552จากสำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ 3. รางวัลผบู้ รหิ ารดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2552 จากสำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ 4. รางวัลนวัตกรรมดี ประจำปี พ.ศ.2552 จากสำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 5. ได้รบั โล่เกยี รติคุณ จากสำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 6. รางวัลแหลง่ เรยี นรู้ในสถานประกอบการประเภทเอกชนดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2553

จากสำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 7. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มอบเกยี รติบัตร “สถานศกึ ษาพอเพยี ง” ประจำปี 2556 8. นางสุรสั วดี เล้ียงสุพงศ์ ได้รับเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ “หน่ึงแสนครูดี” ประจำปี 2557 ในฐานะผู้ปฏิบัติตน

ตามมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชีพทางการศึกษา ณ วนั ที่ 5 พฤศจิกายน 2557 9. นายสมบัติ กาญจนา ได้รับรางวัลเครือข่ายที่จัดและหรือสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยดีเดน่ ระดบั ประเทศ ประจำปี 2557 อันดับท่ี 2 ประเภทภมู ิปญั ญา 10. นายพรชัย บัวประดิษฐ์ ปราชญ์ปลานิล ได้รับรางวัลชมเชย ผู้มีผลงานดีเด่นสาขาการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศยั ระดับประเทศ ประจำปี 2559 จากมลู นิธิสมาน-คณุ หญงิ เบญจา แสงมลิ 11. รางวัลระดับประเทศ วันที่ 26 มิถุนายน 2560 กศน.อำเภอพานทอง ได้รับรางวัล MOE AWARDS

ปกี ารศกึ ษา 2559 ผลงานระดับดเี ดน่ ประเภทสถานศึกษา สาขาสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ระดับภาค

1. นางสุรัสวดี เล้ียงสุพงศ์ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ คัดเลือกบุคลากรดีเด่น “คนดีศักดิ์ศรีแห่ง สป.” ประจำปี 2559 ระดับกลมุ่ สดุ ฝงั่ บรู พา

ระดบั กลมุ่ ศูนย์ (กลุ่มสดุ ฝั่งบูรพา)

1. เกียรติบัตร บ้านหนังสือชุมชน “บ้านแหลมแค” อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ได้รับคัดเลือกเป็น บา้ นหนงั สือชมุ ชนตน้ แบบ ปี 2560 ลำดับที่ 2 ระดบั กลุม่ จงั หวัดสดุ ฝัง่ บูรพา ณ วนั ที่ 17 เมษายน 2561

2. เกียรติบัตร “ชุมชนต้นแบบ” บ้านแหลมแค ตำบลหน้าประดู่ กศน.อำเภอพานทอง ได้รับรางวัลชนะเลิศ ชุมชนต้นแบบ การขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ประจำปี 2561 ณ วันท่ี 26 กรกฎาคม 2561

3. เกียรติบัตร หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ไดร้ บั รางวลั ยอดเยย่ี ม (รางวลั ท่ี 1) ประเภทห้องสมุด ประชาชนอำเภอ จากการคดั เลือกการปฏิบตั ิงาน กศน.ดเี ด่น ระดบั ประเทศ ประจำปี 2563

19

ระดับจังหวดั ชลบรุ ี 1. น างสาวศศิธร รักษาสุข ได้รับรางวัลท่ี 3 ประเภทครูอ าสาสมัครฯ ดีเด่น ประจำปี 2558 จากสำนักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี เน่ืองในวันมหกรรมวิชาการ “วันที่ระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ” วนั ที่ 8 กันยายน 2558 2. นางสาวสุชาดา ตรงกับใจ ได้รับรางวัลที่ 1 ประเภทพนักงานจ้างเหมาบริการดีเด่น ประจำปี 2558 จากสำนักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี เน่ืองในวันมหกรรมวิชาการ “วันท่ีระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ” 8 กันยายน 2558 3. นางสุวรรณี ทองทวี ได้รับเกียรติคุณบัตร เป็นภาคีเครือข่าย ประเภทผู้นำชุมชนดีเด่น ประจำปี 2558 จากสำนักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี เนื่องในวันมหกรรมวิชาการ “วันท่ีระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ” 8 กันยายน 2558 4. นางสาวสุชาดา ตรงกับใจ ได้รับรางวัลชมเชย การจัดทำวจิ ัยเรอ่ื งบา้ นหนงั สอื อัจฉริยะ 5. นายพรชัย บัวประดิษฐ์ ได้รับโล่เกียรติคุณประเภทภาคีเครือข่าย ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ด้านเกษตรกรรม ประจำปี 2559 จากสำนักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี เน่ืองใน“วันที่ระลึกสากลแห่งการร้หู นังสือ” 8 กันยายน 2559 6. นางสุวรรณี ทองทวี ผใู้ หญ่บ้านหมู่ 3 บ้านแหลมแค ตำบลหน้าประดู่ อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ได้รับโล่ เกียรติคณุ ประเภทภาคเี ครือข่าย ผู้นำชุมชนดเี ดน่ ประจำปี 2559 จากสำนักงาน กศน.จังหวดั ชลบุรี เน่อื งใน “วันทร่ี ะลึกสากลแห่งการร้หู นังสอื ” 8 กันยายน 2559 7. บาทหลวงยอห์น บัปติสต์ วิเชียร ฉันทพิริยกุล เจ้าอาวาสวัดนักบุญฟิลิปและยากอบ (หัวไผ่) ได้รับโล่เกียรติ คุณประเภทภาคีเครือข่าย ผู้นำศาสนาดีเด่น ประจำปี 2559 จากสำนักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี เน่ืองใน “วนั ที่ระลึกสากลแห่งการรหู้ นังสอื ” 8 กันยายน 2559 8. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบางนาง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ได้รับโล่เกียรติคุณประเภท ภาคีเครือขา่ ย หน่วยงานภาครัฐดีเด่น ประจำปี 2559 จากสำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี เนือ่ งใน “วนั ทรี่ ะลึก สากลแหง่ การรู้หนังสือ” 8 กนั ยายน 2559 9. นายพลวัฒน์ จันทะคัด หัวหน้า ครู กศน.ตำบลหนองตำลึง ได้รับรางวัลท่ี 3 ประเภทพนักงานราชการ (หวั หน้า กศน.ตำบล) ดีเด่น ประจำปี 2559 จากสำนักงาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี เน่ืองใน“วันทร่ี ะลึกสากลแห่ง การรู้หนังสือ” 8 กันยายน 2559 10. นางสาวศศิธร รักษาสุข ครูอาสมัครฯ ได้รับรางวัลที่ 1 ประเภทพนักงานราชการ (ครูอาสาสมัครฯ) ดีเด่น ประจำปี 2559 จากสำนักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี เน่ืองใน“วันท่ีระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ” 8 กันยายน 2559 11. นางสาวเกตุมณี ตันวฒั นกุล บรรณารกั ษ์ (อตั ราจ้าง) ได้รับรางวลั ที่ 3 ประเภทพนักงานจ้างเหมาบริการดเี ด่น ประจำปี 2559 จากสำนักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี เนื่องใน“วันท่ีระลึกสากลแห่งการรูห้ นังสือ” 8 กันยายน 2559

20

ระดบั จังหวัดชลบุรี (ต่อ) 12. กศน.ตำบลเกาะลอย อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ได้รับรางวัลที่ 3 ประเภท กศน.ตำบลดีเด่น ประจำปี 2559 จากสำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี เนอ่ื งใน“วนั ทรี่ ะลกึ สากลแห่งการรูห้ นงั สือ” 8 กนั ยายน 2559 13. บ้านหนังสือชุมชนบ้านหัวไผ่ หมู่ท่ี 1 ตำบลโคกข้ีหนอน อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ได้รับโล่เกียรติคุณ ประเภทบ้านหนังสือชุมชนดีเด่น ประจำปี 2559 จากสำนักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี เนื่องใน “วันที่ระลึก สากลแหง่ การรู้หนังสอื ” 8 กนั ยายน 2559 14. นางสาวอาภรณ์ ศรีแสงทอง ไดร้ ับรางวัลท่ี 1 ประเภทบุคคล : ข้าราชการครู ด้านการพัฒนาทกั ษะชีวติ ดีเด่น ประจำปี 2559 ณ วนั ท่ี 16 มกราคม 2560 15. กศน.อำเภอพานทอง ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 โครงการอบรมหลักสูตรพ้ืนฐานยุวกาชาด กศน. อำเภอพานทอง ม่งุ สูค่ ่านิยม 12 ประการ ประจำปี 2560 16. กศน.ตำบลมาบโป่ง ได้รับรางวัลชมเชยประเภท กศน.ตำบลดีเด่น ประจำปี 2560 จากสำนักงาน กศน. จงั หวดั ชลบุรี “วันท่ีระลึกสากลแหง่ การร้หู นังสอื ” 17. นางสาวณัฐทิตา พูลชนะ หัวหน้า ครู กศน.ตำบลบางหัก ได้รับรางวัลท่ี 2 ประเภทพนักงานราชการดีเด่น ประจำปี 2560 จากสำนักงาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี “วนั ทรี่ ะลึกสากลแหง่ การรู้หนังสือ” 18. นางจรรยา บูรณะวงศ์ ได้รับรางวัลประเภทเครือข่ายที่ทำคุณประโยชน์ ด้านหัตถกรรม ประจำปี 2560 จากสำนกั งาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี “วันท่ีระลึกสากลแหง่ การร้หู นังสือ” 19. กศน.อำเภอพานทอง ได้รับรางวัลชมเชย โครงการคัดเลือก กศน.ตำบล ที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยทีป่ ระสบความสำเร็จมากทส่ี ุด ประจำปี 2560 20. เกียรตบิ ัตร ศนู ยส์ ่งเสริมประชาธปิ ไตยตำบลหน้าประดู่ อำเภอพานทอง จงั หวัดชลบุรี สามารถขบั เคลื่อนและ สรา้ งภาคีเครือข่ายในการใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ และการเลือกตัง้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิง โครงการสร้างจติ สำนกึ พลเมืองดีวิถีประชาธิปไตย กจิ กรรมชุมนมุ เสวนาและการประกวด ศส.ปชต.ดเี ด่นระดับ จงั หวดั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2561 ณ วันท่ี 20 มิถุนายน 2561 21. เกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพานทอง ในการร่วม ดำเนินโครงการ “หอ้ งสมุดเคลื่อนท่ีสำหรบั ชาวตลาด” ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2561 22. กศน.อำเภอพานทอง ได้รับรางวัลชมเชย โครงงานนักศกึ ษา ระดับประถมศึกษา ,มัธยมศึกษาตอนต้น และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กิจกรรมวิชาการการประกวดโครงงานนักศึกษา กศน.สังกัดสำนักงาน กศน. จงั หวัดชลบรุ ี วันที่ 21 สงิ หาคม 2562 ณ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดชลบุรี 23. กศน.ตำบลเกาะลอย ได้รบั คัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน.ดีเด่น ประจำปี 2562 (ระดับจังหวัด) รางวัลชมเชย สาขาหน่วยงาน/สถานศกึ ษา ประเภท กศน.ตำบล/แขวง/ดเี ดน่ ณ วันที่ 24 มกราคม 2563 24. กศน.ตำบลเกาะลอย ได้รับรางวัลชมเชย การประเมินคัดเลือก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดี พรีเมี่ยม ระดับ จงั หวดั ประจำปงี บประมาณ 2563 ให้ไว้ ณ วันท่ี 10 สงิ หาคม 2563

21

ระดับจังหวัดชลบุรี (ต่อ) 25. ห้องสมุดประชาชนอำเภอพานทอง ได้รบั รางวลั ท่ี 1 สาขาหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาประเภท ห้องสมุด ประชาชนอำเภอ ยอดเยี่ยม 26. บา้ นหนังสอื ชุมชน "บา้ นหนองนกฮกู " ตำบลมาบโป้ง ได้รบั รางวลั ที่ 2 สาขาหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ประเภท บา้ นหนงั สอื ชุมชน ยอดเยย่ี ม 27. กศน.ตำบลหน้าประดู่ อำเภอพานทอง ได้รบั รางวัลชมเชย สาขาหนว่ ยงาน/สถานศึกษา ประเภท กศน. ตำบล/แขวง ดีเด่น 28. นางสาวอาภรณ์ ศรแี สงทอง ได้รบั รางวลั ท่ี 6 สาขาบุคลากร กศน.อำเภอ/เขต ประเภท ข้าราชการครู ดเี ด่น 29. นางสาวศศธิ ร รกั ษาสขุ ได้รบั รางวลั ที่ สาขาบุคลากร กศน.อำเภอ/เขต ประเภท ครอู าสาสมัคร กศน. ดีเด่น 30. นางสาวจิรอรสุมน จิณห์ชญาเกตแุ ก้ว ได้รับรางวลั ชมเชย สาขาบุคลากร กศน.อำเภอ/เขต ประเภท ครู กสน.ตำบล/แขวง ดเี ดน่ 31. นายศภุ กิจ รกั ษาญาติ ได้รบั รางวลั ที่ 3 สาขาภาคีเครือขา่ ย ประเภทภูมิปัญญาปราชญช์ าวบ้าน ดเี ด่น 32. นางสาวจรรยา บูรณะวงศ์ ไดร้ ับรางวัลชมเชย สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมปิ ัญญา/ปราชญช์ าวบา้ น ดีเด่น

ระดบั อำเภอ - กศน.อำเภอศรีราชา มอบเกียรติบัตรการสนับสนุนการจดั นิทรรศการส่งเสริมการอ่าน และอาชีพสู่อาเซียน ประจำปี พ.ศ.2556

หน่วยงานอนื่ ๆ 1. เทศบาลตำบลพานทอง เกียรติบัตรการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมในโครงการวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ.2556 2. เทศบาลตำบลพานทอง มอบเกียรติบัตร กศน.อำเภอพานทอง ได้ให้การสนับสนุนกิจกรรมให้ความรู้ และ ของขวญั ในการจดั งานวนั เดก็ แห่งชาติ ประจำปี 2558 3. กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน มอบเกียรติบัตรชมเชย รางวัล “สถานศึกษาปลอดภัย” ประจำปี 2562 ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 13 กันยายน 2562 4. กรมสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน มอบเกียรตบิ ตั รชมเชย รางวลั “สถานศึกษาปลอดภยั ” ประจำปี 2563

---------

22

วสิ ยั ทศั น์ จุดเน้น เป้าหมายหลัก ยุทธศาสตร์ เปา้ หมายตามยทุ ธศาสตร์ ของ กศน.อำเภอพานทอง

ปรัชญา “ยกระดับการศึกษา เพอื่ พฒั นาคุณภาพชวี ิต ยดึ แนวเศรษฐกิจพอเพียง เคยี งคคู่ ณุ ธรรม”

วิสยั ทศั น์ “คนไทยทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะท่ีจำเป็น

และสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลัก ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง”

อตั ลักษณ์ ดำรงชวี ิตอย่างพอเพยี ง

เอกลักษณ์ เน้นการจัดกระบวนการเรียนรูต้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พันธกิจ 1. จัดและส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่ีมีคุณภาพ สอดคล้อง กับหลักปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพียง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพอื่ ยกระดบั การศึกษา และพฒั นาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ให้พร้อมรับ การเปล่ียนแปลงและการ ปรับตัวในการดำรงชีวติ ได้อย่างเหมาะสม ก้าวสู่การเปน็ สงั คมแห่งการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ อย่างยั่งยืน

2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การวัด และประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และบริบท ใน ปจั จบุ ัน

3. ส่งเสริมและพฒั นาเทคโนโลยที างการศึกษา และนำเทคโนโลยีมาพฒั นาเพ่ือเพิ่มช่องทางและโอกาส การ เรียนรู้ รวมถึงการเพ่ิมประสิทธภิ าพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้กับ ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายอยา่ งทั่วถงึ

4. สง่ เสรมิ สนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมอื เชิงรกุ กับภาคเี ครือข่าย ให้เขา้ มามีส่วนรว่ ม ในการ สนับสนุนและจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรปู แบบต่าง ๆ ให้กับ ประชาชน

5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการท่ีดีบนหลักของ ธรรมาภิบาล มีประสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และคล่องตัวมากยิ่งขน้ึ

6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และ จรยิ ธรรมที่ดี เพ่อื เพ่มิ ประสิทธภิ าพของการใหบ้ รกิ ารทางการศึกษาและการเรยี นรู้ท่ีมีคุณภาพมากยงิ่ ข้ึน

23

เป้าประสงค์ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รบั โอกาส ทางการศกึ ษา

ในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษา ตามอัธยาศัยท่ีมี คณุ ภาพอย่างเท่าเทยี มและทั่วถงึ เปน็ ไปตามบรบิ ท สภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย

2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม หน้าที่ความเป็น พลเมืองทีด่ ีภายใตก้ ารปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมุข ทส่ี อดคลอ้ งกับหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนา ไปสู่ ความม่ันคงและยงั่ ยืนทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม

3. ประชาชนได้รบั การพัฒนาทักษะการเรียนรูแ้ ละแสวงหาความรู้ด้วยตนเองผ่านแหลง่ เรียนรู้ ช่องทางการ เรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งมีเจตคติทางสังคม การเมือง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ี เหมาะสม สามารถคิดวิเคราะห์ แยกแยะอยา่ งมเี หตุผล และนำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั รวมถึงการแก้ปัญหา และพฒั นาคุณภาพชีวิตไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์

4. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษา กศน. มีหลกั สูตร ส่อื นวัตกรรม ช่องทางการเรียนรู้ และกระบวนการ เรียนรู้ ในรูปแบบท่ีหลากหลาย ทันสมัย และรองรับกับสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนา คณุ ภาพชีวิตตามความต้องการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งตอบสนองกบั การเปล่ียนแปลงบรบิ ท ด้านเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ และส่งิ แวดลอ้ ม

5. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัล มาพัฒนา เพื่อเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ และนำมาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และโอกาสการเรียนรู้ ให้กับ ประชาชน

6. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมท้ังการขบั เคล่อื นกิจกรรมการเรียนรขู้ องชมุ ชน

7. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเป็นไปตาม หลกั ธรรมาภิบาล

8. บคุ ลากร กศน. ทุกประเภททกุ ระดับได้รบั การพฒั นาเพื่อเพ่มิ ทักษะและสมรรถนะในการปฏบิ ัติงาน และ การให้บริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึงการปฏิบัติงานตามสายงานอย่างมี ประสทิ ธิภาพ

24

ตวั ชีว้ ดั

รายละเอยี ดตวั ชี้วัด คา่ เป้าหมาย

1. ตวั ชว้ี ัดเชงิ ปริมาณ

1.1 รอ้ ยละของผู้เรียนทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ คา่ ใช้จา่ ยการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน รอ้ ยละ 80

ตามสิทธิที่กำหนดไว้ (เทียบกับเป้าหมายตาม พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี)

1.2 จำนวนของผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง 1,645 คน

ทส่ี อดคล้องกับสภาพปัญหา และความตอ้ งการ

1.3 จำนวนของผู้รับบริการ/เข้ารว่ มกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั 54,031 คน

1.4 จำนวนบันทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมอื (MOU) ร่วมกับภาคีเครอื ขา่ ย ไม่น้อยกว่า 1 ฉบับ

1.5 จำนวนแหลง่ เรียนรู้ในระดับตำบลทม่ี คี วามพรอ้ มในการบริการ/การจัดกิจกรรมการศึกษา 11 แหง่

นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

1.6 จำนวนประชาชนที่เข้ารบั การพัฒนาทักษะอาชีพเพอ่ื สรา้ งรายได้และมีงานทำ 587 คน

1.7 จำนวนครู กศน.ตำบล ท่ไี ด้รับการพฒั นาศกั ยภาพดา้ นการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพื่อ 1 คน

การสอ่ื สาร

1.8 จำนวนประชาชนทไี่ ดร้ ับการฝกึ อบรมภาษาต่างประเทศเพอ่ื การสอื่ สารด้านอาชีพ 24 คน

1.9 จำนวนผู้ผา่ นการอบรมหลกั สตู รการดแู ลผสู้ ูงอายุ -

1.10 จำนวนประชาชนทผี่ ่านการอบรมจากศนู ยด์ จิ ิทัลชุมชน 275 คน

1.11 จำนวนส่ือการเรียนออนไลน์ หลักสตู รการพฒั นาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์เพอื่ งานอาชพี ไม่นอ้ ยกว่า 1 วิชา

1.12 จำนวนบคุ ลากร กศน.อำเภอพานทอง ทีไ่ ด้รบั การพัฒนาศักยภาพและความก้าวหนา้ 18 คน

ตามสายงานในอาชพี

1.13 จำนวนบุคลากร กศน.อำเภอพานทอง ท่ีเข้ารับการอบรมด้านการปกป้องและเชิดชูสถาบัน 18 คน

หลักของชาติ ด้านความปรองดองสมานฉันท์ ด้านากรมีจิตสาธารณะ และด้านทักษะในการ

ปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้

1.14 จำนวนบทความเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระดับตำบล ในหัวข้อต่าง ๆ อาทิ อาชีพ ชุมชน 11 บทความ

วฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ ภมู ิปัญญา

1.15 จำนวนศนู ย์การเรียนรูต้ ้นแบบ (Co-Leaning Space) -

25

ตัวช้วี ัด (ต่อ)

รายละเอยี ดตวั ชี้วดั คา่ เปา้ หมาย

2. ตวั ช้ีวัดเชิงคณุ ภาพ

2.1 รอ้ ยละของนักศึกษาทค่ี าดว่าจะจบในทุกระดับ ทสี่ ำเรจ็ การศึกษาในแตล่ ะภาคเรียน รอ้ ยละ 75

2.2 ร้อยละของผูจ้ บหลักสตู ร/กจิ กรรมการศึกษาตอ่ เนือ่ ง ท่ีสามารถนำความร้คู วามเข้าใจไปใช้ รอ้ ยละ 80

พฒั นาตนเองได้ตามจดุ มุ่งหมายของหลักสูตร/กจิ กรรม

2.3 ร้อยละของผผู้ ่านการพัฒนาทกั ษะอาชพี สามารถนำความรู้ไปใชใ้ นการประกอบอาชพี ร้อยละ 80

หรือพัฒนาตนเองได้

2.4 รอ้ ยละของผู้เรียนในเขตพน้ื ท่จี ังหวัดชายแดนภาคใตท้ ่ไี ด้รบั การพฒั นาศกั ยภาพ -

หรอื ทักษะอาชพี สามารถมีงานทำหรอื นำไปประกอบอาชพี ได้

2.5 ร้อยละของประชาชนท่ีได้รับบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มีความรู้ความ รอ้ ยละ 80

เข้าใจ/เจตคต/ิ ทักษะ ตามจดุ มุง่ หมายของกิจกรรมที่กำหนด

2.6 รอ้ ยละของผสู้ งู อายทุ ่ีเป็นกลมุ่ เป้าหมาย มีโอกาสเข้ารว่ มกจิ กรรมการศึกษาตลอดชีวติ ร้อยละ 80

2.7 รอ้ ยละของบคุ ลากรที่ไดร้ ับการพฒั นาทีม่ ีการพัฒนาตนเองในด้านพฤตกิ รรม บุคลกิ ภาพ ทศั นคติ รอ้ ยละ 90

คา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ ภาวะผูน้ ำ และมจี รรยาบรรณวิชาชีพที่เหมาะสมยิง่ ขน้ึ

26

จดุ เน้นการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

1. น้อมนำพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาสู่การปฏิบัติ 1.1 สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสร้างและพัฒนาศูนย์สาธิตและเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล”

เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบต่าง ๆ ท้ังดิน น้ำ ลม แดด รวมถึงพืชพันธุ์ต่าง ๆ และ สง่ เสรมิ การใช้พลังงานทดแทนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

1.2 จัดใหม้ ี “หนง่ึ ชมุ ชน หนึ่งนวตั กรรมการพฒั นาชมุ ชน” เพอ่ื ความกินดี อยดู่ ี มีงานทำ 1.3 การสร้างกลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมท้ังปลูกฝังผู้เรยี นใหม้ ีหลกั คดิ ทถ่ี ูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม มีทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง และเป็นผู้มีความพอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา ผ่านกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน โดยการใชก้ ระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด 2. สง่ เสริมการจัดการศึกษาและการเรยี นรูต้ ลอดชีวิตสำหรบั ประชาชนทเ่ี หมาะสมกับทกุ ช่วงวัย 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงาน ทำ ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน ผรู้ บั บริการ และสามารถออกใบรับรองความรูค้ วามสามารถเพือ่ นำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพได้ 2.2 ส่งเสรมิ และยกระดับทักษะภาษาองั กฤษให้กบั ประชาชน (English for ALL) 2.3 ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสงู วัย อาทิ การฝึกอบรมอาชีพ ท่ีเหมาะสม รองรบั สังคมสูงวยั หลกั สูตรการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตและส่งเสรมิ สมรรถนะผสู้ ูงวัย และหลักสตู ร การดแู ลผสู้ ูงวยั โดย เนน้ การมสี ่วนร่วมกับภาคเี ครือขา่ ยทุกภาคสว่ นในการเตรียมความพร้อมเข้าสสู่ ังคมสงู วยั 3. พฒั นาหลกั สูตร สอ่ื เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศึกษา แหลง่ เรยี นรู้ และรูปแบบ การจัดการศึกษาและ การเรยี นรู้ ในทุกระดบั ทกุ ประเภท เพอื่ ประโยชนต์ ่อการจดั การศึกษาท่ีเหมาะสม กบั ทุกกลุ่มเปา้ หมาย มีความ ทนั สมัย สอดคลอ้ งและพร้อมรองรบั กบั บรบิ ทสภาวะสงั คมปัจจุบนั ความตอ้ งการ ของผูเ้ รียน และสภาวะการ เรียนรูใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ ท่จี ะเกดิ ขึน้ ในอนาคต 3.1 พัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Leaning Platform ท่ีรองรับ DEEP ของกระทรวงศึกษาธิการ และชอ่ งทางเรยี นรู้รูปแบบอนื่ ๆ ท้ัง Online On-site และ On-air 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศนู ยก์ ารเรยี นร้ทู ุกช่วงวยั และศูนย์การเรียนรูต้ น้ แบบ กศน. (Co-Learning Space) เพอ่ื ให้สามารถ “เรียนร้ไู ดอ้ ยา่ งท่ัวถึง ทุกท่ี ทกุ เวลา” 3.3 พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้ ระบบ สะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบอิเล็กทรอนิกส์ (E-exam)

27

4. บูรณาการความร่วมมอื ในการสง่ เสริม สนับสนุน และจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนอย่างมี คุณภาพ

4.1 ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมท้ัง สง่ เสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน อาทิ การส่งเสริมการฝึกอาชีพทีเ่ ป็นอัตลักษณ์และบริบทของชุมชน ส่งเสริมการตลาดและขยายชอ่ งทางการจำหนา่ ยเพ่อื ยกระดบั ผลติ ภณั ฑ/์ สินคา้ กศน.

4.2 บรู ณาการความร่วมมือกบั หนว่ ยงานต่าง ๆ ในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ท้งั ในส่วนกลาง และภมู ิภาค 5. พัฒนาศกั ยภาพและประสทิ ธภิ าพในการทำงานของบุคลากร กศน.

5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ให้กบั บุคลากรทกุ ประเภททุกระดบั รองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพฒั นาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชำนาญในการใชภ้ าษาอังกฤษ การผลิตส่ือการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนเพ่ือฝึกทักษะ การคดิ วเิ คราะหอ์ ย่างเปน็ ระบบและมเี หตผุ ล เป็นขัน้ ตอน

5.2 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทำงาน รว่ มกนั ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การแขง่ ขันกฬี า การอบรมเชิงปฏบิ ัติการพัฒนาประสิทธภิ าพ ในการทำงาน 6. ปรับปรงุ และพฒั นาโครงสร้างและระบบบริหารจดั การองค์กร ปจั จยั พน้ื ฐานในการจดั การศึกษา และการ ประชาสัมพนั ธส์ ร้างการรับรูต้ ่อสาธารณะชน

6.1 เรง่ ผลักดันร่างพระราชบัญญัตสิ ่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. ... ให้สำเร็จ และปรับโครงสร้าง การบริหารและ อัตรากำลงั ให้สอดคล้องกบั บรบิ ทการเปล่ียนแปลง เรง่ การสรรหา บรรจุ แตง่ ต้งั ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ

6.2 นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทำงานและข้อมูล สารสนเทศด้านการศึกษาที่ทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใช้งานทันที โดยจัดต้ังศูนย์ข้อมูลกลาง กศน. เพ่ือจัดทำ ขอ้ มลู กศน. ท้งั ระบบ (ONE ONIE)

6.3 พัฒนา ปรับปรงุ ซ่อมแซม ฟื้นฟอู าคารสถานท่ี และสภาพแวดลอ้ มโดยรอบของหน่วยงาน สถานศึกษา และแหล่งเรียนร้ทู ุกแหง่ ให้สะอาด ปลอดภัย พรอ้ มใหบ้ ริการ

6.4 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนท่ัวไปเก่ียวกับการบริการทางวิชาการ/กิจกรรม ด้าน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และสรา้ งช่องทางการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ดา้ นวิชาการ ของหน่วยงาน และสถานศึกษาในสงั กัด อาทิ ขา่ วประชาสัมพนั ธ์ ผา่ นสอ่ื รปู แบบตา่ ง ๆ การจัดนทิ รรศการ/มหกรรม วชิ าการ กศน.

28

การจดั การศึกษาและการเรยี นรใู้ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของ กศน.อำเภอพานทอง

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือนธันวาคม 2562 ส่งผล กระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับช้ัน ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออก ประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสดังกล่าว อาทิ กำหนดให้มี การเว้น ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานที่ของโรงเรียนและสถาบันการศึกษา ทุกประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทำกิจกรรมใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมเป็นจำนวนมาก การปิด สถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกำหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้ แบบ ออนไลน์ การจดั การเรยี นรู้ผา่ นระบบการออกอากาศทางโทรทศั น์ วทิ ยุ และโซเซยี ลมเี ดยี ตา่ ง ๆ รวมถึง การสอ่ื สาร แบบทางไกลหรือดว้ ยวธิ ีอิเลก็ ทรอนกิ ส์

ในส่วนของ กศน.อำเภอพานทอง ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดำเนินงานใน ภารกิจตอ่ เน่ืองต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวติ ประจำวนั และการจดั การเรียนรูเ้ พอ่ื รองรับการชีวติ แบบปกติวถิ ีใหม่ (New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนร้ตู ่าง ๆ ไดใ้ ห้ความสำคญั กับการดำเนินงานตามมาตรการการป้องกัน การแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกประเภท หากมีความ จำเป็นต้องมาพบกลมุ่ หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการปอ้ งกนั ทเี่ ข้มงวด มเี จลแอลกอฮอลล้างมือ ผรู้ ับบริการต้องใส่หน้ากากอนามยั หรือหน้ากากผ้า ต้องมกี ารเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เน้นการใช้สื่อดจิ ิทัลและ เทคโนโลยีออนไลน์ในการจดั การเรียนการสอน

ภารกจิ ต่อเนอื่ ง 1. ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้

1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

  1. สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตัง้ แต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยดำเนินการ ให้ผู้เรียน

ได้รับการสนับสนุนค่าจัดซ้ือหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการเรียน การสอนอย่าง ท่ัวถึงและเพยี งพอเพอื่ เพมิ่ โอกาสในการเขา้ ถงึ บริการทางการศึกษาทีม่ ีคุณภาพโดยไมเ่ สยี ค่าใช้จา่ ย

  1. จัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานให้กับกลุ่มเปา้ หมายผู้ดอ้ ย พลาด และขาดโอกาสทาง การศกึ ษา ผา่ นการเรยี นแบบเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจดั การศกึ ษาทางไกล
  1. พฒั นาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขัน้ พื้นฐาน ทั้ง ด้านหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรียน และ ระบบการให้บรกิ ารนกั ศกึ ษาในรูปแบบอืน่ ๆ
  1. จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ท่ีมีความ โปร่งใส ยุตธิ รรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามท่ีกำหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ ของกลมุ่ เป้าหมายได้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

29

  1. จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีมีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรม เพ่ือ เป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับการป้องกัน และแก้ไข ปัญหายาเสพติดการแข่งขันกีฬา การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครอง ในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี และยวุ กาชาด กิจกรรม จติ อาสา และ การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมท้งั เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนนำกจิ กรรมการบำเพ็ญประโยชน์อ่ืน ๆ นอกหลักสูตรมาใช้เพ่ิม ช่ัวโมงกิจกรรมให้ผูเ้ รียนจบตามหลักสตู รได้ 1.2 การสง่ เสรมิ การรู้หนังสือ
  1. พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบเดียวกัน ทั้ง ส่วนกลางและสว่ นภูมิภาค
  1. พฒั นาและปรับปรุงหลกั สตู ร สอ่ื แบบเรยี นเครอ่ื งมือวดั ผลและเคร่ืองมอื การดำเนินงานการ สง่ เสริมการ รู้หนังสือที่สอดคล้องกับสภาพและบริบทของแตล่ ะกลุ่มเปา้ หมาย
  1. พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถ และทักษะการ จัด กระบวนการเรียนรู้ให้กบั ผู้ไม่รหู้ นังสืออย่างมปี ระสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมคั รส่งเสริมการรู้หนังสือใน พ้ืนท่ี ทม่ี ีความตอ้ งการจำเป็นเป็นพเิ ศษ
  1. ส่งเสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศึกษาจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การรู้หนังสือ การคงสภาพการร้หู นังสือ การพัฒนา ทักษะการรูห้ นงั สอื ใหก้ บั ประชาชนเพอ่ื เป็นเคร่อื งมือในการศกึ ษาและเรยี นร้อู ย่างตอ่ เน่อื งตลอดชวี ิต ของประชาชน 1.3 การศกึ ษาตอ่ เนื่อง
  1. จดั การศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมีงานทำอย่างยงั่ ยนื โดยให้ความสำคัญกับการจัดการศกึ ษาอาชีพ เพ่ือการมี งานทำในกลุ่มอาชพี เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรอื การบรกิ าร รวมถึง การเน้นอาชพี ช่างพน้ื ฐาน ทส่ี อดคล้องกับศักยภาพของผเู้ รียน ความตอ้ งการและศักยภาพของแตล่ ะพ้นื ที่ มีคุณภาพ ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรบั กบั ความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจน สร้างความ เข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน การพัฒนา หนึ่งตําบลหน่ึง อาชีพเด่น การประกวดสินค้าดีพรีเมี่ยม การสร้างแบรนด์ของ กศน. รวมถึงการส่งเสริมและจัดหาช่องทางการ จำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ และให้มีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทำ อยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนือ่ ง
  1. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ ให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ท่ีสอดคลอ้ งกับ ความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดำรงชีวิตตลอดจน สามารถ ประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคม ได้อย่างมี ความสุขสามารถเผชญิ สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกดิ ข้ึนในชีวิตประจำวนั ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสำหรับ การปรับตัวให้ทันต่อการเปลย่ี นแปลงของขา่ วสารข้อมลู และเทคโนโลยสี มัยใหมใ่ นอนาคต โดยจัดกิจกรรมท่มี ีเนือ้ หา สำคัญต่าง ๆ เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรู้เพื่อการป้องการการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การป้องกันภัยยา เสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการ

30

อบรมเรยี นรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจดั ต้ังชมรม/ชุมนุม การอบรมส่งเสริมความสามารถ พเิ ศษต่าง ๆ เป็นต้น

  1. จดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการ ในรูปแบบของการฝึกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสร้าง ชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพื้นที่ เคารพความคิด ของผู้อ่ืน ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมท้ังสังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัด กระบวนการใหบ้ ุคคลรวมกล่มุ เพือ่ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ร่วมกันสร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจติ สำนกึ ความ เปน็ ประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผดิ ชอบตอ่ หน้าทค่ี วามเปน็ พลเมือง ทีด่ ีภายใตก้ ารปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ เ์ ปน็ ประมุข การสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม การเปน็ จติ อาสา การบำเพ็ญ ประโยชน์ในชุมชนการ บริหารจัดการน้า การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ ม การชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกันในการพัฒนาสังคมและชมุ ชนอย่างยัง่ ยืน
  1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ใน รปู แบบตา่ ง ๆ ให้กบั ประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อยา่ งม่ันคง และมีการบรหิ ารจัดการ ความเสย่ี งอยา่ งเหมาะสม ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศสคู่ วามสมดลุ และยั่งยืน 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั
  1. พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การ เรยี นรใู้ ห้เกิดข้ึนในสงั คมไทย ให้เกดิ ข้นึ อย่างกวา้ งขวางและท่วั ถงึ เช่น การพัฒนา กศน. ตําบล ห้องสมุด ประชาชน ทุกแห่งให้มีการบรกิ ารท่ีทันสมัย สง่ เสรมิ และสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอา่ น การสร้างเครอื ข่าย ส่งเสริมการ อ่าน จัดหน่วยบริการห้องสมุดเคล่ือนที่ ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรม ส่งเสรมิ การ อ่านและการเรียนรู้ท่ีหลากหลายให้บริการกับประชาชนในพ้ืนท่ีต่าง ๆ อย่างทั่วถึง สม่ำเสมอ รวมท้ัง เสริมสร้าง ความพร้อมในด้านบุคลากร สื่ออุปกรณ์เพ่ือสนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมการอ่าน อย่าง หลากหลายรปู แบบ
  1. จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของ ประชาชน เป็นแหล่งสรา้ งนวตั กรรมฐานวทิ ยาศาสตร์และเป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชงิ ศิลปะวทิ ยาการประจำท้องถ่ิน โดย จัดทำและพัฒนานิทรรศการส่ือและกิจกรรมการศึกษาท่ีเน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรงบันดาลใจ ด้าน วทิ ยาศาสตร์สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการ กระบวนการเรียนรู้ท่ีบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ รวมท้ังสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมท้ังระดับภูมิภาค และ ระดับโลกเพ่ือให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต การพัฒนา อาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมท้ังมีความสามารถในการปรับตัว รองรบั ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรง (Disruptive Changes) ได้อย่าง มี ประสิทธิภาพ

31

  1. ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ เพื่อส่งเสริมการจัด การศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พิพิธภัณฑ์ ศนู ย์เรยี นรู้ แหลง่ โบราณคดี วัด ศาสนาสถาน ห้องสมุด รวมถงึ ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ เป็นต้น

2. ด้านหลักสูตร สื่อรปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลงานบรกิ าร ทางวิชาการ และการ ประกนั คณุ ภาพการศึกษา

2.1 ส่งเสรมิ การพัฒนาหลกั สูตร รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรแู้ ละกิจกรรมเพือ่ สง่ เสรมิ การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ หลักสูตร ท้องถน่ิ ทสี่ อดคล้องกบั สภาพบริบทของพนื้ ทีแ่ ละความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมายและชมุ ชน

2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และส่ืออ่ืน ๆ ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน กลุ่มเปา้ หมายท่วั ไปและกล่มุ เป้าหมายพิเศษ เพือ่ ให้ผูเ้ รยี นสามารถเรียนรไู้ ด้ทุกท่ี ทกุ เวลา

2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย หลากหลายช่องทางการเรียนรู้ ด้วยระบบ หอ้ งเรยี นและการควบคมุ การสอบรปู แบบออนไลน์

2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ เพื่อให้ มคี ุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง มีการ ประชาสมั พันธ์ให้สาธารณชนได้รับรู้และสามารถเข้าถงึ ระบบการประเมินได้

2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับ การศกึ ษาขั้นพื้นฐานให้ได้มาตรฐานโดยการนำแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Exam) มาใช้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

2.6 ส่งเสริมและสนบั สนนุ การศึกษาวิจัยเพอ่ื พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั รวมท้ังใหม้ ีการนำไปสูก่ ารปฏิบัติอย่างกวา้ งขวางและมีการพฒั นาใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทอยา่ งต่อเนอ่ื ง

2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน มีการพฒั นาระบบการประกัน คณุ ภาพ ภายในท่ีสอดคล้องกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากข้ึน เพื่อพร้อมรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก โดยพัฒนา บุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดำเนินการ ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเอง และจัดให้มี ระบบ สถานศึกษาพี่เลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สำหรับสถานศึกษาท่ียังไม่ได้เข้ารับการประเมินคุณภาพ ภายนอก ใหพ้ ฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาให้ไดค้ ณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีกำหนด

32

3. ด้านเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษา 3.1 ผลิตและพฒั นารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพ่ือให้เชอ่ื มโยงและตอบสนอง ต่อการ

จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษา สำหรับกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้รู้เท่า ทนั สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชพี เพื่อการมีงานทำ รายการติวเข้มเติมเต็ม ความรู้ รายการ รายการทำกินก็ได้ ทำขายก็ดี ฯลฯ เผยแพรท่ างสถานีวิทยุศกึ ษา สถานีวิทยโุ ทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ (ETV) และทางอินเทอรเ์ น็ต

3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผ่านระบบ เทคโนโลยี ดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อ่ืน ๆ เพื่อส่งเสริม ให้ครู กศน. นำเทคโนโลยีดิจิทลั มาใชใ้ นการสรา้ งกระบวนการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY)

3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการ ออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยขยาย เครือข่ายการรบั ฟังให้สามารถรับฟังไดท้ ุกที่ ทกุ เวลา ครอบคลุมพื้นทท่ี ่ัวประเทศและเพ่มิ ช่องทาง ให้สามารถรับชม รายการโทรทัศน์ได้ท้ังระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พรอ้ มทีจ่ ะ รองรับการพัฒนา เปน็ สถานีวทิ ยโุ ทรทัศน์เพอื่ การศึกษาสาธารณะ (Free ETV)

3.4 พัฒนาระบบการให้บรกิ ารสื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาเพ่ือใหไ้ ด้หลายช่องทางทัง้ ทาง อินเทอร์เน็ต และ รปู แบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet รวมทั้งส่ือ Offline ในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกใชบ้ รกิ ารเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศกึ ษาและการเรียนรไู้ ด้ตามความตอ้ งการ

3.5 สำรวจ วจิ ัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้ส่อื เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างตอ่ เนื่องเพือ่ นำผล มาใชใ้ น การพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชาชนได้ อย่างแทจ้ ริง 4. ด้านโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ หรือโครงการอันเกย่ี วเนือ่ งจากราชวงศ์

4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำรหิ รือโครงการ อันเก่ยี วเนื่อง จากราชวงศ์

4.2 จัดทำฐานขอ้ มูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ทีส่ นองงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดำริหรือ โครงการอันเกย่ี วเน่ืองจากราชวงศ์เพ่ือนำไปใช้ในการวางแผน การตดิ ตามประเมนิ ผลและการ พฒั นางานได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ

4.3 ส่งเสรมิ การสรา้ งเครือข่ายการดำเนนิ งานเพอื่ สนบั สนนุ โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ เพื่อให้เกิด ความเข้มแขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

4.4 พัฒนาศนู ย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง”เพื่อให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา นอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหนา้ ทีท่ ี่กำหนดไว้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นท่ีสูง ถิ่นทุรกันดาร และพ้นื ท่ีชายขอบ

33

5. ดา้ นการศึกษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ พนื้ ที่เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษและพื้นทบี่ รเิ วณ ชายแดน 5.1 พฒั นาการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในจังหวัดชายแดนภาคใต้

  1. จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหา และความ

ต้องการของกลมุ่ เป้าหมายรวมทัง้ อตั ลักษณ์และความเป็นพหวุ ัฒนธรรมของพืน้ ที่

  1. พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานอย่างเข้มข้นและต่อเน่ืองเพ่ือให้ ผู้เรียน

สามารถนำความรทู้ ี่ไดร้ บั ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จรงิ

  1. ให้หน่วยงานและสถานศกึ ษาจัดใหม้ ีมาตรการดูแลรกั ษาความปลอดภัยแก่บคุ ลากรและ นักศกึ ษา กศน.

ตลอดจนผมู้ าใชบ้ รกิ ารอย่างทว่ั ถึง 5.2 พัฒนาการจัดการศกึ ษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ

  1. ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการจัดทำแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และบริบท ของแต่ละจงั หวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ
  1. จัดทำหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพ้ืนที่ โดยเน้นสาขาท่ีเป็นความต้องการของตลาด ให้เกิดการ พฒั นาอาชพี ได้ตรงตามความตอ้ งการของพื้นท่ี 5.3 จดั การศึกษาเพอื่ ความม่นั คงของศนู ย์ฝกึ และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน(ศฝช.)
  1. พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพ่ือให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การประกอบ อาชีพด้านเกษตรกรรม และศนู ย์การเรียนร้ตู น้ แบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดำริปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียง สำหรับประชาชนตามแนวชายแดนดว้ ยวธิ ีการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย
  1. มุง่ จดั และพัฒนาการศกึ ษาอาชีพโดยใชว้ ิธีการหลากหลายใช้รูปแบบเชงิ รุกเพอ่ื การเข้าถงึ กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือขา่ ย การจัดอบรมแกนนำดา้ นอาชีพ ที่เน้นเรื่องเกษตร ธรรมชาติที่สอดคลอ้ งกบั บริบทของชมุ ชนชายแดน ให้แกป่ ระชาชนตามแนวชายแดน 6. ด้านบคุ ลากรระบบการบริหารจดั การ และการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคส่วน 6.1 การพฒั นาบุคลากร
  1. พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อนและระหว่าง การดำรง ตําแหน่งเพอื่ ให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานใหม้ ีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตาํ แหน่ง ให้ตรงกับสายงาน ความ ชํานาญ และความต้องการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดำเนินงานของหน่วยงานและ สถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมท้ังสง่ เสริมให้ข้าราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพอื่ เลือ่ นตําแหน่ง หรือเลื่อน วทิ ยฐานะโดยเน้นการประเมนิ วิทยฐานะเชงิ ประจักษ์
  1. พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะท่ีจำเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการ นิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยใน สถานศกึ ษา
  1. พัฒนาหวั หน้า กศน.ตาํ บล/แขวงใหม้ ีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตําบล/แขวง และการ ปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรแู้ ละผู้อํานวย ความสะดวกใน การเรยี นรเู้ พ่ือให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรทู้ ่มี ปี ระสทิ ธภิ าพอย่างแท้จรงิ

34

  1. พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เก่ยี วขอ้ งกับการจัดการศกึ ษาใหส้ ามารถจัดรูปแบบการเรยี นรู้ ไดอ้ ย่างมี คุณภาพโดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทำแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด และ ประเมนิ ผล และการวจิ ยั เบอื้ งต้น
  1. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถ และมีความเป็นมอื อาชพี ในการจดั บรกิ ารส่งเสริมการเรยี นร้ตู ลอดชีวิตของประชาชน
  1. ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดบั และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสว่ นร่วมในการ บริหารการ ดำเนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อย่างมปี ระสิทธิภาพ
  1. พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทำหน้าท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตาม อัธยาศยั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
  1. พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรรวมท้ังภาคีเครือข่ายทั้งใน และ ตา่ งประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มกี ิจกรรมเพอ่ื เสริมสรา้ งสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพในการทำงาน ร่วมกัน ในรูปแบบท่ีหลากหลายอย่างต่อเน่ืองอาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการ ทำงาน 6.2 การพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐานและอัตรากำลงั
  1. จัดทำแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและดำเนินการปรับปรุงสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี ความ พร้อมในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้
  1. สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง และบริหารอัตรากำลังท่ีมีอยู่ทั้งในส่วนท่ีเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และ ลกู จา้ ง ให้เป็นไปตามโครงสรา้ งการบริหารและกรอบอัตรากำลัง รวมทงั้ รองรับกับบทบาทภารกจิ ตามท่ีกำหนดไว้ ให้ เกิดประสิทธภิ าพสูงสุดในการปฏบิ ตั ิงาน
  1. แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพ่ือนำมาใช้ ในการปรับปรุง โครงสร้างพื้นฐานให้มีความพร้อมสำหรับดำเนนิ กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย และการ สง่ เสรมิ การเรยี นรู้สำหรบั ประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ
  1. พัฒนาระบบฐานข้อมูลใหม้ ีความครบถว้ น ถกู ต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทวั่ ประเทศ อยา่ งเป็นระบบ เพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนำไปใช้เป็นเคร่ืองมือสำคัญในการบริหาร การวางแผน การ ปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อย่างมี ประสทิ ธิภาพ
  1. เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกำกับ ควบคุม และเร่งรัด การ เบิกจ่ายงบประมาณใหเ้ ป็นตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
  1. พฒั นาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มคี วามครบถว้ น ถูกต้อง ทนั สมัย และ เชื่อมโยงกันท่ัว ประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพ่ือประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับ ผู้เรียนและการ บรหิ ารจดั การอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

35

  1. สง่ เสริมให้มกี ารจดั การความรู้ในหน่วยงานและสถานศกึ ษาทกุ ระดับ รวมท้ังการศกึ ษาวจิ ัย เพื่อสามารถ นำมาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และชุมชนพร้อมท้ัง พัฒนาขีดความสามารถเชิงการแขง่ ขันของหน่วยงานและสถานศกึ ษา
  1. สร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งในประเทศ และ ตา่ งประเทศ รวมทง้ั ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือ ใน การส่งเสริม สนบั สนนุ และจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ให้กบั ประชาชนอยา่ งมคี ุณภาพ
  1. สง่ เสรมิ การใช้ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการ ลา ระบบ สารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้ห้องประชมุ เป็นต้น
  1. พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิ ชอบ บริหารจดั การบนขอ้ มลู และหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ มุง่ ผลสมั ฤทธ์มิ คี วามโปรง่ ใส

6.4 การกำกับ นเิ ทศตดิ ตามประเมิน และรายงานผล

  1. สร้างกลไกการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดำเนินงานการศึกษานอกระบบ และ

การศึกษาตามอธั ยาศยั ใหเ้ ช่อื มโยงกับหนว่ ยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่ายทง้ั ระบบ

  1. ให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาท่ีเก่ียวข้องทุกระดบั พัฒนาระบบกลไกการกำกับ ติดตามและ รายงานผล

การนำนโยบายสู่การปฏบิ ัติ ให้สามารถตอบสนองการดำเนนิ งานตามนโยบายในแตล่ ะเรอื่ งไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธิภาพ

  1. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่ืออื่น ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการกำกับ นิเทศ

ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอย่างมีประสิทธิภาพ

  1. พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจำปี ของ

หนว่ ยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตวั ช้ีวดั ในคํารับรองการปฏบิ ัติราชการประจำปี ของสำนักงาน กศน. ใหด้ ำเนินไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลาท่ีกำหนด

  1. ให้มีการเช่อื มโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอกองคก์ ร ตงั้ แต่ ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และการพัฒนา งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

36

ส่วนที่ 2 รายงานสรปุ ผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ 2564

37

สว่ นท่ี 2 รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

1. กจิ กรรมการศึกษานอกระบบ 1.1 การจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

ตารางท่ี 1 จำนวนจำนวนนกั ศึกษาท่ีลงทะเบยี น ภาคเรียนที่ 2/2562 และจำนวนนักศกึ ษาท่ีสำเรจ็ การศึกษา ภาคเรียนที่ 1/2564

จำนวนนักศกึ ษาทีล่ งทะเบียน จำนวนนกั ศึกษาที่สำเรจ็ กำรศึกษำ ภาคเรยี น 1/2564 ลำดับ กศน.ตำบล ภาคเรียนที่ 2/2562 ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม 3 3 -2 1 3 1. พานทอง 4 10 9 23 2 2 -1 2 3 2. หนองตำลงึ - 9 12 21 -3 1 4 -- 2 2 3. บา้ นเก่า - 7 13 20 12 4 7 -3 - 3 4. เกาะลอย 2 6 8 16 - - -- - - 5. มาบโป่ง -4 4 8 1 1 1 11 16 6. โคกขี้หนอน - 2 12 14

7. หนา้ ประดู่ 2 5 9 16

8. หนองกะขะ - 6 4 10

9. บางหกั - 9 6 15

10. บางนาง - 9 5 14

11. หนองหงษ์ - 5 15 20

รวม 28 8 72 97

หมายเหตุ : การรายงานข้อมลู จำนวนนกั ศึกษาทลี่ งทะเบียน - นกั ศึกษาท่ลี งทะเบียนในภาคเรยี นท่ี 2/2562 และ สำเร็จการศึกษาในภาคเรยี นที่ 1/2564

(ใช้เวลาเรยี น 4 ภาคเรยี น)

38

ตารางท่ี 2 จำนวนนักศึกษาท่ีลงทะเบยี นกอ่ นภาคเรยี นท่ี 2/2562 และจำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ในภาคเรียนท่ี 1/2564

จำนวนนักศกึ ษาทีล่ งทะเบยี นกอ่ น จำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศกึ ษา ภาคเรยี น 1/2564 ลำดับ กศน.ตำบล ภาคเรียนที่ 2/2562 ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย รวม ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม 12 1 4 -2 2 4 1. พานทอง 1 6 1 8 -1 1 2 -- 4 4 2. หนองตำลึง - 1 4 5 -2 2 4 -- - - 3. บ้านเก่า -3 1 4 2 2 -1 1 2 4. เกาะลอย - - 1 1 - 3 3 -- - - 5. มาบโป่ง -3 2 5 -1 1 2 1 9 17 6. โคกขี้หนอน - 1 4 5

7. หน้าประดู่ - 3 3 6

8. หนองกะขะ - 1 5 6

9. บางหัก -1 3 4

10. บางนาง -3 3 6

11. หนองหงษ์ - - - -

รวม 28 1 22 27

หมายเหตุ : การรายงานข้อมูลจำนวนนักศึกษาทลี่ งทะเบียน - นักศึกษาที่ลงทะเบยี นกอ่ นภาคเรียนที่ 2/2562 แต่สำเรจ็ การศึกษาในภาคเรยี นที่

1/2564

39

ตารางที่ 3 จำนวนนกั ศกึ ษาท่ลี งทะเบยี น ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 (การเทยี บโอน) และจำนวนนกั ศึกษาท่ี

สำเรจ็ การศกึ ษาในภาคเรียนที่ 1/2564

จำนวนนักศึกษาท่ลี งทะเบียน จำนวนนักศกึ ษาท่ีสำเรจ็ การศกึ ษา

ลำดับ กศน.ตำบล ภาคเรียนท่ี 2/2562 (การเทยี บโอน) ภาคเรยี น 1/2564

ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย รวม ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย รวม

1. พานทอง 1 2 1 4 -2 - 2

2. หนองตำลงึ - 1 - 1 -3 - 3

3. บ้านเกา่ -1 - 1 -1 - 1

4. เกาะลอย - 2 - 2 -1 - 1

5. มาบโปง่ - - 2 2 - - 1 1

6. โคกขหี้ นอน - - 1 1 - - - -

7. หน้าประดู่ - - - - -2 - 2

8. หนองกะขะ - - 1 1 - - - -

9. บางหัก -3 - 3 -1 - 1

10. บางนาง -1 - 1 -- -

11. หนองหงษ์ - - - - -- -

รวม 28 1 10 5 - 10 1

หมายเหตุ : การรายงานขอ้ มูลจำนวนนกั ศึกษาทีล่ งทะเบียน

- นักศกึ ษาท่ีลงทะเบยี นหลงั ภาคเรียนท่ี 2/2562 แต่สำเรจ็ การศกึ ษาในภาคเรยี นที่ 1/2564

40

1.2 โครงการประเมินเทียบระดับการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

1.2.1 การเทยี บระดบั การศึกษาแบบไต่ระดบั คร้ังที่ 2 ปีการศึกษา 2563

จำนวนนกั ศกึ ษาลงทะเบียน จำนวนผู้ผา่ น

สถานศกึ ษา เทยี บระดบั แบบไตร่ ะดับ การเทียบระดับแบบไตร่ ะดบั

ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย รวม ประถม ม.ต้น ม.ปลาย รวม

กศน.อำเภอพานทอง 2 2 1 1

รวม - - 2 2 - - 1 1

1.3 กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 และภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ