ว ดด านพระอ นทร จ.ม กดาหาร พระพ ทธเจ าปางเป ดโลก

พทุ ธสถาน พทุ ธกิจ พทุ ธประวตั ิ พุทธสถาน พทุ ธกจิ พุทธประวตั ิ Buddha past time and the Buddha’s site in India พระครวู นิ ัยธรกติ ติพงษ์ จติ ฺตคตุ โฺ ต พระครวู ินยั ธรกิตตพิ งษ์ จิตฺตคุตโฺ ต ดร.นิติกานต์ ธรรมหรรษากุล

Ashoka Pillar The Wheel of Dharma, The lion capital India’s emblem

ชอ่ื หนังสือ : พุทธสถาน พทุ ธกจิ พทุ ธประวตั ิ โดย พระครวู ินยั ธรกติ ติพงษ์ จติ ฺตคุตโฺ ต ศน.บ., พธ.ม.

ดร.นติ ิกานต์ ธรรมหรรษากุล ป.ธ.6, พธ.บ., M.A., Ph.D

พมิ พค์ ร้ังท่ี 1 ตลุ าคม 2558 จำ�นวน 1,000 เลม่

เจ้าของ : วัดไทยโพธิวหิ าร พทุ ธคยา รฐั พหิ าร ประเทศอนิ เดยี 824231 โทร (+91) 9771310122, 9430057989, 9934665476 E-mail:[email protected] www.watthaibodhi.com

ประสานงาน : คุณคมสิทธิ์ พิศเพ็ง ป.ธ.7, พธ.บ. ร.ต.ท.หญงิ สุวมิ ล ธรรมหรรษากลุ คุณอารรี กั ษ์ แซ่องึ้

จดั พิมพ์โดย : บริษัท ธรรมหรรษาทวั ร์ แอนด์ แทรแวล จ�ำ กัด 71/4 ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอมรนิ ทร์ เขตบางกอกนอ้ ย กรงุ เทพฯ 10700 โทร. 02-8845683-6, 081-9944790 แฟกซ:์ 02-8845682, E-mail: [email protected] www.dhammahansa.com

พมิ พ์ท่ี : หจก.เจรญิ ผลกราฟฟิค 50/168 หมู่ 5 ถ.ตวิ านนท์ ต.ปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120 โทรศพั ท์ 02-964-0060, 089-668-2552 โทรสาร 02-964-0090 E-mail: [email protected]

คำ�นำ�

พทุ ธสถาน (Buddhist Places) คอื สถานทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั พระพทุ ธ- ศาสนา และความเปน็ มาทางประวตั ศิ าสตร์ ตง้ั แตพ่ ทุ ธกาลจนถงึ ปจั จบุ นั พทุ ธกจิ (duty of the Baddha) คอื กจิ ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงบ�ำ เพญ็ , การงานท่พี ระพุทธเจา้ ทรงกระทำ� พุทธกิจประจ�ำ วนั ๕ อย่าง คอื ทร งบ�ำ เพ็ญในแต่ละวันเปน็ ประจำ� และพุทธกจิ ๔๕ พรรษา คอื เป็นช่วง ระยะเวลาทม่ี พี ระชนมช์ พี พระองคไ์ ดเ้ สดจ็ ประทบั จ�ำ พรรษา ณ สถานท่ี ต่างๆ ซึง่ ทา่ นได้ประมวลภาพไว้ พร้อมทงั้ เหตุการณ์สำ�คัญบางอยา่ ง อันควรสงั เกต พุทธประวัติ (the life of the Buddha) คือประวัตขิ องพระบรม ศาสดาสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ตง้ั แตป่ ระสตู ิ ตรสั รู้ ปฐมเทศนา และปรนิ พิ พาน หลายค�ำ พดู ทม่ี กั เอย่ และภาวนากนั อยคู่ อื “สกั ครง้ั หนง่ึ ในชวี ติ ในฐานะชาวพุทธ ขอให้ไดไ้ ปกราบไปไหว้ ณ แดนพทุ ธภมู ิ เพยี งเทา่ น้ีชวี ติ ทไี่ ดเ้ กิดมากเ็ กนิ คมุ้ แลว้ ” หวังเป็นอย่างย่ิง หนังสือเล่มนี้จักเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษา คน้ คว้า การอ้างองิ ผลงานทางวชิ าการ และเป็นแนวทาง คมู่ ือเชงิ ลกึ สำ�หรับผแู้ สวงบุญ หากมคี วามผดิ พลาดประการใด ต้องขออภยั ไว้ ณ โอกาสนีด้ ว้ ย

พระครวู ินยั ธรกติ ตพิ งษ์ จติ ตฺ คตุ โฺ ต ดร.นติ ิกานต์ ธรรมหรรษากุล

สารบัญ เรอื่ ง หน้า ท�ำ ความเขา้ ใจก่อนไปอินเดีย ๔ ข้อมูลเกยี่ วกบั อนิ เดีย ๔ พทุ ธกจิ ๕ อย่าง ๘ พระพทุ ธเจ้าตรสั สังเวชนียสถาน ๙ ปลงสงั เวชอยา่ งไร ๙ อฐิษฐานจติ กบั การอ้อนวอน ๑๐ วันสำ�คัญของอนิ เดีย ๑๐ รปู สัญลักษณ์บนเสาหนิ พระเจา้ อโศกมหาราช ๑๔ พุทธคยา ๑๗ ดงคสิริ สถานท่บี �ำ เพ็ญทกุ รกริ ยิ า ๑๘ สชุ าดาสถปู ๒๐ ทา่ สุปปติฏฐะ ๒๑ แม่น�้ำ เนรญั ชรา ๒๒ ตน้ พระศรมี หาโพธ์ ิ ๒๓ ความแตกตา่ งกันแหง่ โพธพิ ฤกษ์ ๒๔ สตั ตมหาสถาน พระแทน่ วชั รอาสน์ ๒๗ พระมหาเจดยี พ์ ุทธคยา ๒๘ พระพุทธเมตตา ๒๘ อุรุเวลาเสนานคิ ม ๒๙ อาศรมชฎิล ๒๙ เขาพรหมโยนี (คยาสสี ะประเทศ) ๓๐ วัดพทุ ธนานาชาติ ๓๑ ราชคฤห์ นาลนั ทา ๓๒ วดั เวฬวุ นั ๓๗ เขาคชิ กูฏ ๔๐ สถานทีพ่ ระเทวทัตกลิ้งหนิ ใส่พระพุทธเจา้ ๔๓ ถ้ำ�สกุ รขาตา ๔๔ ๔๔

ถ�้ำ พระโมคคัลลานะ ๔๔ โรงพยาบาลหมอชวี กโกมารภัจจ์ ๔๕ มทั ทกจุ ฉิมิคทายวนั ๔๕ วิศวะศานตสิ ถูป ๔๕ รอยเกวียน ๔๕ คกุ คมุ ขงั พระเจา้ พิมพิสาร ๔๕ มนยิ ามัฐ ๔๖ ทเี่ กบ็ สมบัตขิ องพระเจา้ พมิ พสิ าร ๔๖ ตโปทาราม ๔๖ ถ�ำ้ สตั ตบรรณคหู า ๔๗ ลฏั ฐิวนั ๔๗ ขนมขาชา ๔๗ มหาวทิ ยาลัยนาลันทา ๕๑ หลวงพ่อองคด์ �ำ ๕๒ วดั พทุ ธนานาชาติ ๕๒ พระสตู รและชาดก ๕๓ ประวัติพระสารีบตุ ร ๕๓ ประวัติพระโมคคลั ลานะ ๕๙ ประวตั ิพระมหากสั สปเถระ ๖๑ ประวัติพระมหาปนั ถกเถระ ๖๖ ประวตั ิพระจูฬปนั ถกเถระ ๖๗ ประวตั ิหมอชีวกโกมารภจั จ์ ๗๑ ปาฏลีบตุ ร ๗๙ ความเปน็ มาของเมอื งปาฏลีบุตร ๗๙ วดั อโศการาม ๘๐ อโรคยาสถาน ๘๐ เสาหินศลิ า ๘๐ พพิ ธิ ภณั ฑ ์ ๘๑ ตวั เมอื งปตั นะปัจจบุ นั ๘๑ ท่าน�ำ้ พทุ ธโคตมะ ๘๑

สะพานมหาตมะคานธี ๘๑ ท่าน�ำ้ ราเชนสมาธ ิ ๘๑ ท่าน�ำ้ มหนิ ทฆาต ๘๔ โกลขา ๘๒ บ้านเกดิ ของโกวินทะ ๘๒ สงั คายนาครง้ั ท่ี ๓ และสง่ สมณทตู ๘๓ พระธรรมทูตสลู่ ังกาทวีป ๘๘ เวสาลี แควน้ วชั ชี ๙๑ ภมู ปิ ระเทศ ๙๑ ประวัตคิ วามเป็นมาของเมืองเวสาล ี ๙๒ หญงิ งามประจำ�เมืองและสทิ ธิของสตรขี องชาววชั ชี ๙๓ บ้านเกดิ ศาสดามหาวรี ะแห่งศาสนาเชน ๙๕ เหตทุ พี่ ระพุทธศาสนาปกั หลักเมอื งเวสาลี ๙๕ บทพระปริตร (รตั นสูตร) ๙๖ สังคายนาครัง้ ท่ี ๒ ๑๐๐ ปาวาลเจดีย์ (สถานท่ปี ลงพระชนมายสุ ังขาร) ๑๐๐ พระสถูป ๑๐๑ กฏู าคารศาลา ป่ามหาวัน ๑๐๑ เสาหินศิลาจาลกึ สิงห์ท่สี มบูรณ์ ๑๐๒ วาลกิ าราม ๑๐๒ สระมุรธาภิเษก ๑๐๒ อปริหานิยธรรม ๗ ประการ ๑๐๓ โทษของการทุศลี ๑๐๓ กำ�เนดิ ภกิ ษุณีรูปแรก ๑๐๔ พระสูตรและชาดก ๑๐๔ นางอมั พปาล ี ๑๐๘ เกสริยาสถูป ๑๐๖ พระสถูปเจตยิ ะ องค์แรกของโลก ๑๐๘ กุสินารา แควน้ มลั ละ ๑๑๔ สวนสาลวโนทยาน ๑๑๔

มหาปรินิพพานสถูป ๑๑๕ มหาปรนิ พิ พานวิหาร ๑๑๕ พระพทุ ธมหาปรินพิ พาน ๑๑๕ มกุฏพันธนเจดีย์ ๑๑๕ เนปาล ๑๒๓ ลุมพินีวัน ๑๒๗ สระโบกขรณี ๑๓๔ เสาหนิ ศลิ าจารึกพระเจ้าอโศกมหาราช ๑๓๔ มายาเทวีวหิ าร ๑๓๕ ซากอิฐโบราณ ๑๓๕ รปู แกะสลักหินพระมารดา ๑๓๕ รอยพระบาทกุมาร ๑๓๖ กรงุ กบลิ พัสดุ์ ๑๓๘ ประวัติพระอนุรทุ ธะเถระ ๑๔๔ กรงุ เทวทหะ ๑๕๐ พระสถูปรามคาม ๑๕๒ สาวัตถี แคว้นโกศล ๑๕๔ สถานท่ีท่พี ระพทุ ธเจา้ ไมท่ รงละ ๔ แหง่ ๑๕๗ วดั พระเชตวนั มหาวิหาร ๑๕๗ ๑. พระคันธกฎุ ี ๑๕๗ ๒. อานันทโพธิ ๑๕๓ ๓. วหิ ารธรรมสภา ๑๕๘ ๔. วหิ ารสังฆสภา ๑๕๘ ๕. พระสถูปอรหันตแ์ ปดทิศ ๑๕๙ ๖. โภชนศาลา ๑๕๙ ๗. คลิ านเภสชั ศาลา ๑๕๙ ๘. กฏุ พิ ระสงฆ์ (กุฏิพระสีวล,ี หมภู่ ิกษุโกสมั พี) ๑๖๑ คฤหาสนอ์ นาถบิณฑกิ เศรษฐี ๑๖๑ บา้ นปโุ รหิตผู้เป็นบิดาของพระองคลีมาล ๑๖๒ วัดบพุ พาราม ๑๖๒

วดั ราชิการาม ๑๖๒ ประวัตพิ ระสวี ล ี ๑๖๓ ประวัติพระองคุลมี าล ๑๖๔ ประวัติพระอบุ าลี ๑๖๘ ประวัตพิ ระวงั คสี เถระ ๑๗๑ ประวตั ิพระสาคตเถระ ๑๗๓ ประวัติพระพาหิยเถระ ๑๗๕ ประวตั ิพราหมณพ์ าวรี ๑๖ ๑๗๘ ประวตั ิพระวกั กลิเถระ ๑๗๘ ประวตั อิ นาถบิณฑกิ เศรษฐี ๑๘๐ ประวัตนิ างวสิ าขา ๑๘๓ อโยธยา - สาเกต ๑๙๑ สะสาราม (Sasaram) ๑๙๓ เมอื งพาราณสี แคว้นกาสี ๑๙๕ ม. ในพาราณสี ๑๙๖ สารนาถ (Sarnath) ๒๑๐ ปา่ อิสปิ ตนมฤคทายวนั ๒๑๐ ธัมเมกขสถูป ๒๑๑ ธมั มราชกิ สถูป ๒๑๓ เสาหินศลิ าจารึกพระเจา้ อโศก ๒๑๓ พระมูลคนั ธกุฎี ๒๑๕ ยสเจดยี ์ ๒๑๕ เจาขณั ฑีสถูป ๒๑๖ เอรกปตั ตะนาคราช ๒๑๙ ประวัติพระอัญญาโกณฑญั ญะ ๒๒๓ ประวัติพระยสะ ๒๒๔ นางสุปปยิ าอุบาสกิ า ๒๒๖ แคว้นกรุ ุ ๒๒๙ สถานท่แี สดงสติปฏั ฐานสูตร ๒๒๙ จารกึ ของพระเจ้าอโศกมหาราช ๒๒๙

โกสัมพี แควน้ วังสะ ๒๓๑ เสาหินพระเจา้ อโศกมหาราช ๒๓๒ โฆสติ าราม ๒๓๒ กุกกฏุ าราม ๒๓๒ ก�ำ แพงเมือง ๒๓๓ ประวตั พิ ระพากุลเถระ ๒๓๓ พระปนิ โฑลภารทวาชเถระ ๒๓๖ วดั โฆสติ าราม ๒๔๖ วดั กุกกุฏาราม ๒๔๖ โฆสกเศรษฐี ๒๓๗ นางสามาวด ี ๒๔๒ นางวาสลุ ทัตตา ๒๔๔ มาคนั ทิยา ๒๔๕ ภิกษุชาวเมืองโกสัมพี ๒๕๐ จฬุ าตรีคณู ๒๕๒ สงั กัสสนคร ๒๕๖ แควน้ อวนั ตี ๒๖๐ ประวัติพระมหากจั จายนเถระ ๒๖๑ ประวัตพิ ระโสณกฎุ กิ ัณณเถระ ๒๖๗ รฐั มธั ยประเทศ ๒๗๐ สาญจสี ถูป ๒๗๐ รฐั มหาราษฏร์ ๒๗๔ อชันตา ๒๗๕ เอลโรล่า ๒๗๖ โกลกาตา (Kolkata) ๒๗๗ บุพจริยาของพระพุทธเจา้ ๒๗๙ มลิ ินทปัญหา ๒๘๒ ประวัตพิ ระถังซมั จงั๋ ๒๘๗ ดร.อัมเบดการ์ ๒๘๙ อนาคาริกธรรมปาละ ๒๙๐

เซอรอ์ เล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม ๒๙๑ มหาตมา คานธ ี ๒๙๒ ยาวาหะราล เนหร์ ู ๒๙๓ ประวัตศิ าสตรอ์ ินเดียจนถึงปจั จบุ ัน ๒๙๖ ประวตั ศิ าสตรอ์ นิ เดีย ๒๙๖ ยคุ อารยนั ๒๙๖ พระเทวทตั ทำ�อนันตรยิ กรรม ๒๙๖ พันธลุ ะเสนาบดีและพระนางมลั ลกิ า ๓๐๐ การลม่ สลายแห่งศากยวงศ ์ ๓๐๓ จากมคธถึงปาฏลบี ุตร ๓๐๗ พระเจา้ อโศกมหาราช ๓๑๐ ยุคราชวงศค์ ุปตะ ๓๑๓ ยุคราชวงศ์โมกุล ๓๑๓ ยุคพอ่ ค้ายุโรป ๓๒๐ ภายใตก้ ารปกครององั กฤษ ๓๒๐ ยคุ กอบกู้เอกราช ๓๒๑ ได้รบั เอกราช ๓๒๒ ภาษา ศาสนาในอนิ เดีย ๓๒๕ ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู (Hinduism) ๓๖๓ บทวิเคราะห์ การสูญสลายพระพุทธศาสนาจากอนิ เดีย ๓๘๘ ชาวธิเบตทีอ่ ินเดีย ๓๙๐ ภาคผนวก ๓๙๔ - พุทธกิจ ๔๕ พรรษา ๓๙๕ - การสงั คายนาจำ�นวน ๕ คร้ัง ๓๙๖ - อสตี ิมหาสาวก ๓๙๙ - ภิกษุณี ๔๐๐ - อุบาสก ๔๐๑ - อบุ าสกิ า ๔๐๒ - ช่อื แคว้นและเมอื งหลวง ๔๐๓ - แควน้ สมยั พทุ ธกาลอยูใ่ นเขตรฐั ประเทศปจั จบุ นั

- ภาษาฮินดเี บอ้ื งตน้ (Hindi for Beginning) ๔๐๔ - บทแผเ่ มตตา, สมาทานกัมมฏั ฐาน, ค�ำ อทุ ิศบุญกุศล, ๔๑๐ อธษิ ฐานจิต ๔๑๒ - ระยะทางตามรอยพระบาทอินเดยี เนปาล ๔๑๔ - โปรแกรมทัวร์

แผนที่สงั เวชนียสถาน

2 พทุ ธสถาน พุทธกจิ พุทธประวตั ิ

แผนท่ี ๑๖ แควน้

พทุ ธสถาน พุทธกจิ พทุ ธประวตั ิ 3

แผนท่อี ินเดยี ปจั จุบัน

4 พทุ ธสถาน พุทธกจิ พุทธประวัติ

ท�ำ ความเขา้ ใจก่อนไปอนิ เดยี

ทำ�ความเข้าใจก่อนไปอินเดียเพื่อสร้างความเข้าใจเก่ียวกับ เดินทางวัตถุประสงค์มาเพ่ืออะไร การเข้าใจตนเองเข้าใจปัญหา เข้าใจ ธรรมะเป็นการลดอุปสรรค เพม่ิ บุญสรา้ งปัญญาใหก้ บั ตนเอง ข้อมูลเกี่ยวกบั อินเดีย ทีต่ ั้ง : ต้ังอยใู่ นภมู ิภาคเอเชียใต้ ทิศเหนือติดจีน เนปาล และภูฏาน ทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนือตดิ ปากีสถาน ทิศตะวันตกและทิศตะวนั ออกเฉียงใต้ตดิ มหาสมทุ รอนิ เดยี ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตดิ พม่า ทศิ ตะวันออกตดิ บังกลาเทศ พน้ื ที่ : ๓,๒๕๗,๔๖๗ ตารางกโิ ลเมตร (ใหญ่อันดับ ๗ ของโลก) ประชากร : ๑,๒๑๐ ล้านคน (อันดับ ๒ ของโลก) เมอื งหลวง : นิวเดลี (New Delhi) (โกลกตั ตาเมืองหลวงเก่า) มมุ ไบ เมืองศูนยก์ ลางการค้า เป็นเมอื งทา่ ทางทะเล เมอื งถ่าย ทำ�ภาพยนตร,์ บงั คาลอร์ เมืองศนู ย์กลางเทคโนโลยี เชน่ คอมพวิ เตอร์ การบนิ และอวกาศ, เจนไนเมอื งศูนยก์ ารธรุ กจิ เช่น ผลิตรถยนต์ ภมู ิอากาศ : ตอนใต้เป็นเขตร้อน ตอนเหนอื เป็นเขตหนาว ชว่ ง ฤดรู อ้ น ประมาณ ๓๕ องศาเซลเซยี ส ชว่ งฤดหู นาวประมาณ ๑๐ องศา เซลเซยี ส ภาษา : ภาษาฮนิ ดใี ชก้ นั สว่ นใหญ่ ภาษาองั กฤษใชใ้ นวงราชการ และธุรกจิ ยงั มีภาษาทางการใชก้ ันถงึ ๑๘ ภาษา รวมทง้ั ภาษาท้องถน่ิ นบั ร้อยภาษา ศาสนา : ฮนิ ดู (๘๑.๓%) มุสลิม (๑๒%) ครสิ ต์ (๒.๓%) ซกิ ข์ (๑.๙%) พทุ ธและเซน (๒.๕%) สว่ นชาวพทุ ธในอนิ เดยี ขอ้ มลู ทย่ี งั ไมเ่ ป็น

พุทธสถาน พทุ ธกิจ พทุ ธประวตั ิ 5

ทางการมีประมาณ ๓๐ กวา่ ล้าน

มาอนิ เดีย

มาตามพุทธโอวาท มาได้โอกาสพบส่งิ ตา่ งๆ มาเปดิ กวา้ งทางความคดิ มาต้ังจติ ปฏบิ ัติธรรม มาน้อมน�ำ สิง่ ดกี ลบั ไป มานอ้ มใจถงึ พระนิพพาน เราไม่ได้มาอนิ เดียเพือ่ ดูสง่ิ เจริญหูเจรญิ ตา แตม่ าดสู ง่ิ เจริญใจ เจริญศรทั ธา

การเลอ่ื มใสของชาวบ้าน รปู ปั ปมาณกิ า ชอบใจในรปู โฆสปั ปมาณิกา ชอบใจในเสยี ง ลูขปั ปมาณกิ า ชอบใจในลักษณะนิสยั ธมั มปมาณิกา ชอบใจในธรรมค�ำ สอน

มาเล่าเรยี นศึกษา มาอินเดียทำ�ไม มาหาประสบการณ์แปลกใหม่

มากราบไหว้พุทธบิดร มากนิ นอนแบบอรหนั ต์ มาสรา้ งฝันให้เปน็ จริง มาละทง้ิ ตวั อัตตมา ประกาศศกั ดาใหโ้ ลกรู ้ มาเชิดชูพุทธธรรม มาน้อมน�ำ ศรทั ธาใหเ้ ล่ือมใส มาอบรมจติ ใจสนู่ ิพพาน

6 พทุ ธสถาน พุทธกิจ พทุ ธประวัติ

ได้อะไรจากอนิ เดยี ได้ไหว้พระเต็มอิม่ ไดร้ อยยมิ้ เต็มปาก ได้บรจิ าคเต็มศรทั ธา ไดป้ ญั ญาเตม็ สมองไดต้ ริตรองเต็มสติ ไดป้ ตี เิ ต็มฤทยั

ไดอ้ ะไรจากสังเวชนยี สถาน ได้ฟงั เปน็ บุญหู ได้ดูเป็นบญุ ตา ไดบ้ ชู าเปน็ บญุ ตน ได้สวดมนต์เป็นบุญปาก ได้บรจิ าคเปน็ บุญทาน ไดอ้ ธิษฐานเปน็ บญุ จิต

มาอินเดียต้องมี ๕ มี มที รพั ย์ มกี ำ�ลัง มศี รทั ธา มีเวลา มผี ู้น�ำ

มาอนิ เดยี มาอินเดยี เจอแตข่ ้ี มาทางนีเ้ จอขอทาน ไปทางนน้ั เจอพอ่ ค้า ไปขา้ งหนา้ เจอแตว่ ัว ไปทางขวาเจอแตค่ น เดินวกวนเจอขยะ

อินเดีย อนิ เดยี แดนพุทธภมู ิคอื สถานท่ีสรา้ งบารมี ส่ังสมบารมคี ุณงาม ความดใี หเ้ พมิ่ พนู ทวคี ณู มากขนึ้ ผตู้ อ้ งการอยากจะสรา้ งความดตี อ้ งมา อยูท่ ี่อนิ เดยี เปรียบเสมอื นชายแดนเปน็ สถานทสี่ ร้างช่อื เสยี ง ยศ และ ตำ�แหน่งให้แก่ทหาร ทหารท่ีผ่านชายแดน ผ่านสมรภูมิแล้ว จะเป็น ทหารท่ีสมบูรณ์แบบ

พทุ ธสถาน พุทธกิจ พทุ ธประวัติ 7

ความหมายของอินเดีย อ มาจากคำ�วา่ แออัด ประชากรหลายพันล้านคน โอ้อวด อวดวรรณะ องอาจ มเี อกราช กำ�ลังทหารทเ่ี ข้มแขง็ มนี ิวเคลียร์ อบอ่นุ มีพทุ ธสถานมากมาย และศาสนาอ่ืน อา้ งองิ เป็นขอ้ มลู อา้ งองิ ด้านศาสนา ธรรมชาติ ศลิ ปะ ประเพณีไดด้ ี อบอวล ด้วยความศรัทธาในศาสนา ความเช่อื ทส่ี ืบต่อกนั มาหลายพันปี อดออม กนิ อยู่ง่าย ใช้ทรัพยากรธรรมไม่เปลอื ง ประหยดั โออ่ า่ ปราสาทพระราชวงั ใหญโ่ ต แมน่ �ำ้ ล�ำ คลองมมี ากมาย

น มาจากคำ�วา่ เนน่ิ นาน ท�ำ งานแบบไมร่ บี รอ้ น ท�ำ ดว้ ยการพนิ จิ พจิ ารณาถว้ นถี่ นอบนอ้ ม เคารพพ่อแม่ ครู พระเจ้า น่ิมนวล นาฏศิลปอ์ ่อนชอ้ ย ลลี านิ่มนวลชวนหลงใหล หนกั แนน่ รกั ษาธรรมเนยี มประเพณีเดิมไว้ไดอ้ ยา่ งดี

ด มาจากค�ำ ว่า ดงั้ เดิม รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีทด่ี งี ามไวไ้ ด้ เหมอื นของดั้งเดมิ ด้ือดงึ แมแ้ ต่องั กฤษยงั ยอมแพ้ ประชาชนไมย่ อมใหท้ หารปฏวิ ัติ โดดเดน่ มีเอกลกั ษณป์ ระจำ�ชาติ ประเพณี ฯลฯ ดูด ี ทว่ั โลกจับตามองอนิ เดียด้วยความสนใจ

8 พุทธสถาน พุทธกจิ พทุ ธประวัติ

การคา้ การลงทุนดี ดึงดูด มาอินเดยี เพราะพระพุทธศาสนา และธรรมชาติไม่ตอ้ งมีการโฆษณา ดมื่ ดำ�่ สงบเพราะพุทธสถาน และความงามของธรรมชาติ สงิ่ กอ่ สร้าง ย มาจากคำ�ว่า ยดื หยุ่น กฎ กตกิ าการจราจรยืดหยุ่นตามเหตุการณ์ ยืนหยดั พระเจา้ ว่ามาอย่างไร ชาวบ้านว่าอย่างน้นั ท�ำ ตามแบบไมส่ งสยั ยอดเยยี่ ม เป็นแหล่งต้นก�ำ เนดิ ศลิ ปะ วฒั นธรรมของท้งั โลก ยนื ยาว คงเอกลกั ษณค์ วามเปน็ อนิ เดยี อยา่ งนอี้ กี หลายพนั ปี

คนไทยเวลาไปไหวพ้ ระ องอาจในศลี ยนิ ดีในทาน เบิกบานเพราะสวดมนต์ เพม่ิ กุศลเพราะภาวนา ได้เจริญก้าวหนา้ ในการงาน มจี ิตเบกิ บาน เพราะมาไหวพ้ ระ

พุทธกจิ ๕ อยา่ ง พุทธกิจ คือ กิจท่ีพระพุทธเจ้าทรงปฏิบัติในแต่ละวัน มี ๕ อย่างดังน้ี ๑. ปพุ พฺ ณเฺ ห ปิณฑฺ ปาตญจฺ ตอนเช้าเสดจ็ บิณฑบาต ๒. สายณเฺ ห ธมมฺ เทสนํ ตอนเย็นทรงแสดงธรรม ๓. ปโทเส ภิกขฺ ุโอวาทํ ตอนคำ�่ ให้โอวาทภิกษุ ๔. อฑฺฒรตเฺ ต เทวปญฺหนํ เทีย่ งคนื ทรงตอบปัญหาเทวดา ๕. ปจจฺ ุสฺเสว คเต กาเล ภพพฺ าภพฺเพ วโิ ลกนํ เช้ามดื ทรงตรวจ ดเู วไนยสตั วผ์ ทู้ ีค่ วรแกก่ ารบรรลุธรรม

พทุ ธสถาน พุทธกจิ พทุ ธประวัติ 9

พระพุทธเจ้าตรสั สังเวชนยี สถาน ๔ สังเวชนียสถาน ๔ ต�ำ บล คอื ๑. สถานที่ตถาคตประสูติ ๒. สถานท่ตี ถาคตตรัสรู้ ๓. สถานทต่ี ถาคตแสดงปฐมเทศนา ๔. สถานท่ีตถาคตปรนิ ิพพาน สถานท่ที ัง้ ๔ ตำ�บลนแ้ี ล ควรทพ่ี ทุ ธบริษัท คอื ภกิ ษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ผมู้ คี วามเชอ่ื ความเลื่อมใสในพระตถาคตเจ้า จะดจู ะ เหน็ และควรจะใหเ้ กดิ ความสังเวชทั่วกัน “อานนท์ ชนท้ังหลายเหลา่ ใด เหล่าหน่งึ ไดเ้ ที่ยวไปยงั เจดยี ์ สงั เวชนยี สถานเหลา่ นี้ ด้วยความเลอ่ื มใส ชนเหลา่ นน้ั ครนั้ ทำ�กาลกริ ยิ าลงจักเขา้ ถึงสคุ ตโิ ลกสวรรค”์

ปลงสงั เวชอยา่ งไร ค�ำ วา่ สงั เวช ไมไ่ ดแ้ ปลวา่ ความสลดหดหู่ ความเศรา้ ใจ แตค่ วาม หมายทแ่ี ทจ้ ริงของค�ำ วา่ สงั เวช คือเครือ่ งกระตุน้ เตอื นใจ ให้เกิดความ อาจหาญในการประพฤติปฏิบัติธรรมมาถึงสังเวชนียสถาน ให้กระตุ้น เตือนจติ ของตนเองอยู่เสมอว่า ประการแรก เหน็ ซากปรกั หักพงั กองอฐิ ใหพ้ จิ ารณาถึงกฏพระ ไตรลกั ษณ์ คือ อนิจจงั ทุกขงั อนันตา ทกุ สิ่งเกดิ ขึ้น ตัง้ อยู่ ดบั ไปเป็น ธรรมดา ประการท่สี อง สถานทน่ี นั้ ๆ พระองคท์ รงแสดงธรรมเรื่องอะไร แล้ว เรานอ้ มน�ำ หลกั ธรรมมาประพฤตธิ รรม ถา้ เปน็ เชน่ น้ีแลว้ จงึ ได้ ช่ือว่า ศรัทธาอย่างมปี ญั ญา ไดท้ ้ังบุญได้ท้ังปัญญาบารมี

10 พทุ ธสถาน พทุ ธกจิ พุทธประวัติ

อธิษฐานจิตกับออ้ นวอน พระพุทธศาสนามิได้สอนให้คนเราอ้อนวอน แต่สอนให้พึ่งพา ตนเองให้มากท่ีสุด เน้นการกระทำ�เป็นจุดสำ�คัญ (อตฺตาหิ อตฺตาโน นาโถ) การอธิษฐานกับการอ้อนวอน โดยความหมายวัตถุประสงค์ มีความแตกต่างกัน การอ้อนวอน คือการขอให้สิ่งต่างๆ ช่วยเหลือ โดยปราศจากการกระทำ� เช่น ขอให้เทวดาดลบันดาล เป็นต้น การอ้อนวอนเป็นเรื่องของการฝันอย่างลมๆ แล้งๆ เป็นอกุศลมูล คือความหลงไม่รู้จริง (โมหะ) อ้อนวอนแล้วยังลงมือทำ�ถือได้ว่ายัง ไม่ตกขอบจากพระพุทธศาสนา การอธิษฐาน คือการต้ังใจมุ่งมั่น ท่ีจะไปสู่จุดหมายอย่างแท้จริง กรณีตัวอย่าง ในคราวท่ีมีการมอบ ตำ�แหน่งอัครสาวก มีสงฆ์บางกลุ่มทักท้วงว่า ไม่มีการมอบให้แก่ พระอัญญาโกทัญญะ เพราะว่าท่านอายุมาก และก็บวชก่อนใครอ่ืน พระพทุ ธองคต์ รสั ว่า พระอัญญาโกทญั ญะไม่ตั้งจิตปรารถนาเพ่ือเปน็ อัครสาวก แต่พระสารีบุตรและโมคัลลานะท่านตั้งใจปรารถนามาเพื่อ การนี้โดยเฉพาะ ยสะกุลบุตรบรรลุเป็นพระอรหันต์ แต่ทำ�ไมไม่ได้รับ เอตทัคคะคือความเป็นเลิศด้านใดด้านหนึ่งคำ�ตอบคือเพราะว่าท่าน ไม่ได้ต้ังอธิษฐานปรารถนามาเพื่อความเป็นเลิศ ปรารถนาเฉพาะ พระอรหนั ต์

วนั สำ�คัญของอินเดยี กจิ กรรมพธิ ี แตล่ ะปวี นั เดอื นอาจจะมไี มแ่ นน่ อน ทางตะวนั ออก อินเดีย หรือไทย จะถือตามจันทรคติ ส่วนทางตะวันตก จะถือตาม สุรยิ คติ ๑. วนั ข้นึ ปใี หม่ (New Year’s Day) ปฏบิ ตั เิ หมอื นสากลโลก มกี จิ กรรมต่างๆ ๒. วันสาธารณรฐั (Republic Day) เป็นวนั ที่อินเดียบรรลุจุด

พทุ ธสถาน พทุ ธกิจ พุทธประวัติ 11

หมาย มรี ัฐธรรมการปกครองแบบประชาธปิ ไตย เม่อื วัน ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๑๙๕๐ ๓. วันกุมภ มหา เมลา (Kumbha Maha Mela) งานน้ี ๑๒ ปี จัดหน่งึ ครง้ั ประชาชนจะมารว่ มกนั จ�ำ นวนมาก มีเรอ่ื งเล่าวา่ เทพยดา และอสรู ตอ่ สู้กนั เพื่อจะครอบครองน้ำ�อมฤต หยาดน�ำ้ อมฤตจะตกลง พื้นโลก ๑๒ แห่ง แต่ทอ่ี นิ เดีย ๔ แห่งคอื หริตวาร์ อุชเชน ประยาด นาสกิ ๔. วนั วสนั ตปญั จมี (Vasanta Panchami) วนั ทป่ี ระชาชนท�ำ การ บูชาเจ้าแม่สรัสวดี (Sarasvati) เทพีแห่งการศึกษาและศิลปะศาสตร์ ประชาชนจะแต่งกายด้วยผ้าสีเหลือง กิจกรรม เล่นกีฬา หรือแข่งขัน เล่นว่าว ๕. วันศิวราตรี (Sivaratri) การได้บูชาพระศิวะในคืนน้ี จะ พ้นจากสังสารวัฏ คือไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิด พิธีจะมีปลายเดือน กมุ ภาพนั ธ์ หรือตน้ มนี าคม ๖. วนั โฮลี (Holi) วนั โฮลี เป็นวันสาดสี รา้ นค้าจะปิดหมด ประชาชนจะออกมาสาดนำ้�ผสมสี ๓ วนั จะมขี ้ึนในเดือนกมุ ภาพนั ธ์ หรอื มนี าคม ทัวรท์ ่แี สวงบญุ ท่อี นิ เดยี ควรงดวนั เวลาดังกลา่ ว หรอื ถา้ ไปควร ออกแต่เช้ามืด เดินทางตอนท่ีคนหลบั ๗. วนั แจมเชด นาฟโรซ (Jamshed Navroz) วนั ทกี่ ลมุ่ ชนปาซี ฉลองพระเจ้าแจมเซดได้ปกครองเปอร์เซีย มีการบูชาไฟ มีข้ึนวันท่ี ๒๑ มีนาคมของทกุ ปี ๘. วนั อดิ - อุล - ซูฮะ (Id- UL- Zuha) วันทรี่ ะลึกการบชู ายญั ของอับฺราฮัม ๙. วนั มหาวรี ชยนั ตี (Mahavira Jayanti) เปน็ การฉลองวนั เกดิ ของวรรธมานะ มหาวรี ติตถกร องค์ท่ี ๒๔ ของศาสนาเชน

12 พทุ ธสถาน พทุ ธกจิ พทุ ธประวตั ิ

๑๐. วนั กดู ฟรายเดย์ (Good Friday) วนั ทีพ่ ระเยซู ไดท้ รง สละชีวิตเพ่ือความดีของมนุษย์ทั้งหลาย กิจกรรมในโบสถ์ มีการสวด สรรเสรญิ มีดนตรี จะมีขึน้ ในเดอื นมีนาคมหรอื เมษายน ๑๑. วนั อิสเตอรเ์ ดย์ (Easter Day) วนั ทช่ี าวครสิ เตียน เชอื่ ว่า พระเยซูจะกลับคืนชีพมาอีกครงั้ ๑๒. วันไวสาขิ (Vaisakhi) วนั ไวสาขิ หรือ ไพสาขิ เป็นวันแรก ของเดือนไวสาขะ วันเรมิ่ ต้นปขี องฮินดู ชาวฮนิ ดจู ะพากนั อาบนำ้�ใน แม่นำ้� ในสระ หรอื บอ่ อนั เปน็ การตอ้ นรับ ๑๓. วันซบั - อิ - บารัต (Shab - i - Barat) เป็นวันท่ชี าว มุสลมิ เชอ่ื กันว่า วนั ทีพ่ ระเจ้าจดการกระทำ�ของมนุษยล์ งในบัญชี และ งดเวน้ ผลกรรมตามทีม่ นษุ ย์ได้ทำ�นัน้ เสีย ๑๔. วันพุทธชยันตี (Buddha Jayanti) วันประสูติของ พระพุทธเจ้า หรอื วันวสิ าขะ เป็นวันหยุดของชาติอนิ เดีย จะมีในเดอื น เมษายน หรอื พฤษภาคม ๑๕. วนั มหุ รฺราม (Muharram) เป็นวันทชี่ าวมสุ ลมิ ไว้ทุกข์คร้ัง ยิง่ ใหญใ่ หแ้ ก่ อหี ม่าน ฮัสเซน ๑๖. วันรามซนั อดิ (Ramsan Id) พิธถี ือศีลอด ๑๗. วันอิด – อิ – มลิ าด (Id – I – Milad) วันเกดิ และเสียชวี ิต ของโมหมั หมดั ๑๘. วันนาคปญั จมี (Naga Panchami) เป็นพิธเี พ่ืออทุ ศิ แก่ งูใหญ่ ๑๙. วันอิสรภาพ (Independence Day) วันที่ ๑๕ สิงหาคม ๑๙๔๗ ๒๐. รกั กษะพันธัน (Raksha Bandhan) วันทน่ี อ้ งสาวผกู ขอ้ มือ ของพี่ชาย อาศยั เหตทุ ี่พระอนิ ทรไ์ ด้รบั ชัยชนะ เพราะไดผ้ ูกตะกรดุ ไหม ๒๑. วนั ขอรฺดาด สาล (Khordad Sal) วันที่ฉลองวันเกิดของ

พทุ ธสถาน พุทธกจิ พุทธประวัติ 13

ซราธสุ ฺตฺร คือ โซโรอสั เตอร์ ๒๒. วนั คเนศจตุรถี (Ganesa Chaturthi) วนั ทรี่ ะลกึ พระคเนศ ซึ่งเป็นเทพเจา้ องค์หน่งึ ๒๓. วันชนั มอัษฏมี (Janma Ashtami) วนั คล้ายวนั เกดิ ของ ทา่ นกฤษณะ เทพเจา้ ในศาสนาฮนิ ดู ๒๔. วนั คานธชี ยนั ตี (Gandhi Jayanti) วนั คลา้ ยวนั เกิดของ ทา่ นมหาตามะคานธี วนั ที่ ๒ ตลุ าคม ของทกุ ปี ๒๕. วนั ทสั เสหรฺ า (Dassehra) สญั ลกั ษณแ์ หง่ ชยั ชนะของความดี ท่ีมีเหนอื ความชว่ั ๒๖. วนั ภารตั มิลัป (Bharat Milap) เป็นการฉลองการมารวม พร้อมกนั ของพระราม กับภารัต ๒๗. วนั คูรปฺ ูรบั (Gurpurab) เป็นคล้ายวันเกดิ ของคุรุนานกั ๒๘. วันดิวาลิ หรอื ดปิ วาลิ (Divali or Dipavali) เปน็ วนั ตามประทปี ต้อนรบั พระลักษมี ๒๙. วนั คริสตมาส (Christmas Day) เป็นวนั ฉลองวนั เกิดของ พระเยซู ๓๐. วนั ครู ปฺ รู บั (Gurpurab) เปน็ การฉลองวนั เกดิ ของครุ โุ ควนิ ท สงิ ห์ ศาสดาองคท์ ่ี ๑๐ ของสกิ ข์ จะมีในเดือนธันวาคม หรือมกราคม

14 พทุ ธสถาน พุทธกจิ พุทธประวัติ

รปู สัญลกั ษณ์บนเสาหนิ พระเจ้าอโศกมหาราช รปู สัญลกั ษณบ์ นเสาหนิ พระเจ้าอโศกมหาราชตามบนั ทึกมีดงั นี้

๑. รูปม้า สวนลุมพนิ ี ตามหลกั ฐานโบราณคดีทป่ี รากฏในปจั จุบนั คือ

๒. สงิ ห์เดียว ไวสาล ี และสงิ หส์ ี่หวั หลงั ชนกัน สารนาถ

พุทธสถาน พทุ ธกจิ พทุ ธประวตั ิ 15

๓. รปู โค รามปุระ

๔. รูปช้าง เมืองสงั กัสสะ แควน้ ปญั จาละ

16 พุทธสถาน พทุ ธกจิ พุทธประวัติ

พุทธคยา

สถานทีต่ รัสรู้

ภาพ : เจดีย์พทุ ธคยา ตรัสรู้

พุทธสถาน พทุ ธกจิ พุทธประวัติ 17

พทุ ธคยา

พทุ ธคยา ถอื ว่าเป็นสถานทส่ี �ำ คญั ทีศ่ กั ดิ์สิทธ์ิที่สดุ ของชาวพทุ ธ ท่ัวโลก เป็นศูนย์รวมของการจาริกแสวงบุญจากผู้มีจิตศรัทธาทั่วโลก รวมทั้งนกั ทอ่ งเทีย่ วทวั่ โลก พุทธคยาเป็นสังเวชนียสถานแห่งที่ ๒ คือสถานที่ตรัสรู้ของ พระพุทธเจ้า ในอาณาบริเวณพุทธคยาจะมีวัดชาวพุทธเป็นจำ�นวน มากรว่ มทัง้ ประเทศไทย พุทธคยาถอื วา่ เป็น ปฐวีนาภี สะดือของโลก เป็นจุดศูนยก์ ลางของโลก อคั คัญญสตู รไดก้ ล่าวไว้วา่ มีพรหมจากชน้ั อาภัสราพรหมไดล้ ง มากินง้วนดินในบริเวณแห่งน้ี และเปน็ จดุ ก�ำ เนิดมนุษย์ เนอื่ งจากแผน่ ดนิ อนิ เดยี ถกู คกุ คามจากสงคราม การเสอ่ื มของพระพทุ ธ ศาสนา พทุ ธคยาจงึ ถูกปลอ่ ยทงิ้ รา้ ง ฮนิ ดเู ข้าครอบครอง น�ำ มหาโพธิ เจดียเ์ ป็นเทวสถาน พุทธคยาถูกชาวฮินดูครอบครอง เร่ิมข้ึนในปี พ.ศ. ๒๑๓๓ นักบวชฮินดูช่ือ โคเสนฆมัณฑิคีร์ ได้ตั้งสำ�นักเล็ก ๆ ใกล้กับ พระมหาโพธิเจดยี ์ ในปจั จุบันผนู้ ำ�ของมหนั ต์องคท์ ี่ ๑๕ พ.ศ. ๒๔๑๗ พระเจ้ามินดง กษัตริย์แห่งพม่า ได้ส่งคณะทูต มายังอินเดียเพื่อขอบูรณปฏิสังขรณ์พระวิหารและจัดการบางประการ เพือ่ ดแู ลรกั ษาพุทธสถานแหง่ นี้ เมื่อไดร้ บั ความยินยอมจากพวกมหนั ต์ และรัฐบาลอินเดีย จึงได้เร่ิมทำ�การบูรณะ ทางรัฐบาลอินเดียได้ส่ง นายพล เซอร์ อเล็กซานเดอร์ คันนงิ่ แฮม กับ ด.ร.ราเชนทรลาละ มิตระ เข้าเป็นผู้ดูแลกำ�กับการบูรณะ หลังจากนั้นคณะผู้แทนจากพม่าจำ�เป็น ตอ้ งเดนิ ทางกลบั ทางรฐั บาลอนิ เดยี จงึ รบั งานบรู ณะ ทงั้ หมดมาท�ำ แทน และเสรจ็ สมบรู ณ์ ในปี พ.ศ. ๒๔๒๗

18 พุทธสถาน พทุ ธกิจ พุทธประวัติ

จนในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ รัฐบาลอินเดีย โดยการนำ�ของ ฯพณฯ เยาวหราล เนห์รู นายกรัฐมนตรีแห่งอินเดีย ได้เฉลิมฉลองพุทธชยัน ตี (วิสาขบูชา) โดยเชิญชวนประเทศท่ีนับถือพระพุทธศาสนาทั่วโลก มาสร้างวัดไวใ้ นดนิ แดนพุทธภมู ิ ประเทศไทยโดยการนำ�ของจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ได้ตอบรับและดำ�เนินการสร้างวัดชื่อว่า วัดไทย พทุ ธคยา ดงคสิริ สถานทบ่ี �ำ เพญ็ ทกุ กรกริ ยิ า ดงคสิริเป็นสถานที่ ท่ีพระมหาบุรุษทรงบำ�เพ็ญทุกกรกิริยา ห่างจากเจดีย์ พุทธคยาประมาณ 10 กิโลเมตร เปน็ ภเู ขาลกู ใหญ่ มถี �ำ้ ภายในประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ปางบ�ำ เพญ็ ทกุ รกริ ยิ า บรเิ วณบรรยากาศ เงยี บสงบบนเชิงเขาได้มวี ัดธเิ บตมาสร้างไว้ หลักการบำ�เพ็ญทกุ กรกิริยา คอื ทรมาน พุทธประวตั ิ : ทรงสัญญากบั พระเจา้ พิมพสิ าร หลังจากบรรพชา เสด็จพกั แรม ณ อนุปยิ อัมพวนั แควน้ มัลละ เป็นเวลา ๗ วัน จากน้ันเสด็จไปยังแคว้นมคธ ประทับท่ีภูเขาปัณฑวะ พระพทุ ธเจา้ กอ่ นยงั ไมไ่ ดต้ รสั รจู้ ะเรยี กวา่ พระมหาบรุ ษุ พระเจา้ พมิ พสิ าร ทราบข่าวจึงเสด็จไปยังภูเขาปัณฑวะ ชักชวนพระมหาบุรุษให้มาครอง ราชสมบัติด้วยกัน พระมหาบุรุษทรงปฏิเสธ พระเจ้าพิมพิสารทูล ขอปฏญิ ญาวา่ “ถา้ ตรสั รแู้ ลว้ ขอใหเ้ สดจ็ มาเทศนาโปรดขา้ พระองคด์ ว้ ย” พระมหาบรุ ษุ รับปฏญิ ญาทกุ ประการ ทรงศกึ ษาในส�ำ นกั อาฬารดาบส และอทุ กดาบส ทรงศกึ ษาในส�ำ นกั อาฬารดาบส กาลามโคตร ไดส้ มาบตั ิ ๗ และ

พุทธสถาน พทุ ธกจิ พทุ ธประวัติ 19

อทุ กดาบส รามบุตร ไดส้ มาบตั ิ ๘ (รปู ฌาน ๔ อรปู ฌาน ๔) เม่ือไมใ่ ช่ หนทางตรสั รูจ้ งึ ลาจากอาจารย์

บ�ำ เพ็ญทุกกรกิรยิ า พอถงึ ต�ำ บลอรุ เุ วลาเสนานคิ ม บ�ำ เพญ็ ทกุ กรกริ ยิ าคอื การทรมาน รา่ งกาย ๓ วาระ ๑. กัดฟันดว้ ยฟัน เอาล้ินกดเพดาน จนเหง่ือไหลออกทางรักแร้ ๒. กลนั้ ลมหายใจเขา้ ออก จนเสยี งดงั อ้อื ในหู ท�ำ ให้ปวดศรี ษะ เสียดท้อง รอ้ นในพระวรกาย ๓. ฉันทีละน้อย จนอดอาหารในที่สุด พระวรกายซูบผอม กระดูกปรากฏท่ัวกาย เมื่อลบู ขนหลดุ ร่วง

พณิ ๓ สาย ทา้ วสกั กเทวราชทราบความดำ�ริ จึงดดี พณิ ให้ฟัง มี ๓ สาย สายท่ี ๑ ตึงเกินไป พอดีดกข็ าด สายท่ี ๒ หยอ่ น พอดดี ไม่เกดิ เสยี ง สายท่ี ๓ ไม่ตงึ ไม่หยอ่ น พอดีดเสียงไพเราะจับใจ ทรงพจิ ารณาการบ�ำ เพ็ญทุกกรกิริยาเปรียบกบั เสยี งพณิ

เกดิ อุปมา ๓ ข้อ ครงั้ นนั้ อุปมา ๓ ขอ้ ปรากฏแกพ่ ระองค์ คือ ๑. สมณพราหมณ์เหล่าใด มีกายและใจยังไม่หลีกออก จากกาม พอใจ รักใคร่ในกาม ใจยังไม่สงบระงับ แม้จะบำ�เพ็ญเพียร จนได้รับทุกขเวทนาอย่างหนัก หรือมิได้รับก็ตาม ก็ไม่อาจจะตรัสรู้ได้ เหมอื นไม้สดทีแ่ ช่น้�ำ ยากทีจ่ ะสใี หเ้ กดิ ไฟได้ ๒. สมณพราหมณเ์ หลา่ ใด มกี ายหลกี ออกจากกาม แตย่ งั พอใจ

20 พุทธสถาน พทุ ธกิจ พทุ ธประวตั ิ

รกั ใครใ่ นกาม ใจยังไมส่ งบระงับ แม้จะบ�ำ เพญ็ เพียรจนไดร้ ับทุกขเวทนา อย่างหนัก หรือมิได้รับก็ตาม ก็ไม่อาจจะตรัสรู้ได้ เหมือนไม้สดท่ีอยู่ บนบก ยากที่จะสใี ห้เกดิ ไฟได้ ๓. สมณพราหมณ์เหล่าใด มีกายหลีกออกจากกาม ละความ พอใจ รกั ใครใ่ นกาม ใจสงบระงบั แมจ้ ะบ�ำ เพญ็ เพยี รจนไดร้ บั ทกุ ขเวทนา อย่างหนัก หรือมิได้รับก็ตาม ย่อมตรัสรู้ได้ เหมือนไม้แห้งที่อยู่บนบก ย่อมสใี ห้เกดิ ไฟได้ เมอ่ื มิใชท่ างตรสั รู้ จงึ ละทิ้งการบำ�เพญ็ ทุกกรกริ ยิ า เพ่อื บ�ำ เพ็ญ ทางใจ และกลับเสวยพระกระยาหารใหม่ ปัญจวัคคีย์ ๕ คือ โกณทัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ อัสสชิ เฝ้ารับใช้พระมหาบุรุษ หวังจะได้บรรลุธรรมตามพระองค์ พอเหน็ พระมหาบรุ ษุ ฉนั อาหารพากนั คดิ วา่ “พระมหาบรุ ษุ ละจากความ เพียรเวียนมาเป็นผู้มักมาก” พากันหนีละทิ้งพระองค์ไปอยู่ป่าอิสิปตน มฤคทายวัน เมืองพาราณสี

สชุ าดาสถปู สมยั กอ่ นคนไทยกจ็ ะมาดเู นนิ ดนิ บา้ นนางสชุ าดา ตอ่ มาทางการ ไดข้ ุดค้นพบสถูปก็เลยท�ำ การบูรณะให้ดกี ว่าเดมิ นางสชุ าดาคือ ผ้ถู วาย ข้าวมธปุ ายาสแก่พระมหาบรุ ษุ ก่อนการตรสั รู้ ทานทน่ี างไดถ้ วายมีผล อย่างมาก นางเป็นลูกสาวของเศรษฐีในตำ�บลอุรุเวลา ได้บนบานท่ี ตน้ ไทรไวค้ ือ ๑. ขอใหไ้ ด้สามที ตี่ ระกูลเสมอกับตน ๒. ขอใหล้ กู คนแรกเปน็ ชาย บัดนี้ความปรารถนาของนางสำ�เร็จจึงใคร่แก้บนด้วยการถวาย ข้าวมธุปายาส ปัจจุบัน บ้านนางสุชาดาเป็นสถูปก่อด้วยอิฐมีต้นโพธ์ิ ผุดข้ึนตรงกลางพระสถปู

พทุ ธสถาน พทุ ธกิจ พทุ ธประวตั ิ 21

พทุ ธประวัติ : นางสชุ าดาถวายข้าวมธปุ ายาส ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี ข้นึ ๑๕ ค�ำ่ เดือน ๖ นางสุชาดา ธดิ า เศรษฐี แหง่ อรุ ุเวลาเสนานคิ ม จะทำ�การบวงสรวง (แกบ้ น) เทวดาวา่ ๑. ขอให้ได้สามตี ระกลู เสมอตน ๒. ขอใหบ้ ตุ รคนแรกเปน็ ชาย บดั นค้ี วามปรารถนาส�ำ เรจ็ ทกุ ประการ สงั่ ใหน้ างทาสไี ปท�ำ ความ สะอาดบรเิ วณใตต้ น้ ไทร ไดเ้ หน็ พระมหาบรุ ษุ ส�ำ คญั วา่ เปน็ เทวดา จงึ รบี มาแจง้ ใหก้ บั นางสชุ าดาทราบ นางจงึ น�ำ ถาดขา้ วมธปุ ายาสไปยงั ตน้ ไทร จึงน้อมถวาย พระองค์ทรงรับด้วยพระหัตถ์ แล้วทรงป้ันได้ ๔๙ ก้อน เสวยจนหมด ถือถาดทองคำ�มงุ่ หนา้ ส่แู มน่ ำ้�เนรัญชรา

ทา่ สปุ ปติฏฐะ ทา่ สปุ ปตฏิ ฐะ ตงั้ อยรู่ มิ แมน่ �้ำ เนรญั ชรา อยตู่ รงขา้ มพระเจดยี -์ มหาโพธิ เช่อื กนั ว่าพระมหาบุรุษไดอ้ ธษิ ฐานลอยถาดทอง

พุทธประวัติ : ถอื ถาดทองค�ำ มงุ่ หนา้ สแู่ มน่ �้ำ เนรญั ชรา ทรงอธษิ ฐานวา่ “ถา้ จะ ไดต้ รัสรู้ ขอใหถ้ าดน้ี จงลอยทวนกระแสน�ำ้ ” ด้วยอ�ำ นาจแหง่ โพธญิ าณ ถาดทองค�ำ ไดล้ อยทวนกระแสน�ำ้ ไปไกล ๘๐ ศอก แลว้ จมลงสนู่ าคพภิ พ ซง่ึ เปน็ ทอ่ี ยขู่ องกาฬพญานาค ทรงมน่ั พระทยั วา่ จะไดต้ รสั รจู้ งึ ทรงสนาน พระวรกาย พักผอ่ นจนถึงเวลาเยน็ โสตถิยพราหมณ์ถวายหญา้ กสุ ะ ในระหว่างทางพระมหาบุรุษทรงรับหญ้ากุสะจากโสตถิยพราหมณ์ ๘ กำ�มอื ท่ไี ด้นอ้ มถวายด้วยความศรทั ธา

22 พทุ ธสถาน พทุ ธกจิ พุทธประวัติ

กาฬพญานาค ปัจจุบันมีต้นโพธิ์ใหญ่ และบริเวณใกล้เคียงมีเทวลัยของฮินดู ต้งั อยู่ พระมหาบุรษุ ทรงลอยถาดและทรงอธิษฐานว่า ถ้าจะได้สำ�เร็จ เปน็ พระพทุ ธเจา้ ขอใหถ้ าดจงลอย ทวนกระแสน�้ำ ขน้ึ ไปไกลถงึ ๘๐ ศอก ไปจนถงึ วงั น�้ำ วนแหง่ หนงึ่ ถาดนนั้ จงึ จมดง่ิ หายไปจนถงึ พภิ พของ กาฬ นาคราช กระทบกับถาดสามใบของพระพุทธเจ้าในอดีตสามพระองค์ เสียงดังกริ๊ก พระพุทธเจ้าในอดีตสามพระองค์นั้นคือ พระกกุสันธะ พระโกนาคมน์ และพระกสั สปะ พระมหาบุรษุ กำ�ลงั จะเป็นองคท์ ี่ ๔ กาฬนาคราชหลับมาตั่งแต่สมัยพระพุทธเจ้าในอดีต จะต่ืนทุกคร้ังท่ี ไดย้ ินเสียงถาด พอไดย้ นิ ก็รู้ไดว้ ่าพระพุทธเจ้าองค์ใหม่เกดิ ในโลกแล้ว คราวนก้ี เ็ หมือนกนั เมอื่ ได้ยินเสียงถาดของพระมหาบรุ ษุ ก็งวั เงียข้นึ แล้วงึมงำ�ว่า “เมือ่ วานนพ้ี ระชินสหี ์ (หมายถึงพระกสั สปพุทธเจ้า) อบุ ตั ิ ในโลกพระองคห์ นึง่ แลว้ ซ้ำ�บงั เกดิ อกี พระองค์หน่ึงเล่า” ลกุ ขึ้นมาไหว้ พระพุทธเจ้าเกดิ ใหม่ แลว้ กห็ ลับตอ่ ไปอีก

แมน่ �้ำ เนรญั ชรา แมน่ �ำ้ เนรญั ชราอยหู่ า่ งตน้ พระศรมี หาโพธป์ิ ระมาณ ๒๐๐ เมตร เป็นแม่น้ำ�สายสำ�คัญ เพราะว่าเป็นสถานที่ลอยถาด และสรงสนาน พระวรกายพระมหาบุรุษก่อนตรัสรู้ ปัจจุบันไม่มีนำ้�มีแต่ทราย จะมีนำ้� เฉพาะในช่วงเขา้ พรรษาหรอื ฤดฝู น ต้นน�้ำ ไหลมาจากเมืองฮาซาริบัฆ มี ๒ สาย คอื เนรัญชรา และ โมหะนี มาบรรจบกนั เรยี กใหมว่ า่ ผลั คุ หวั หนา้ ชฎลิ สามพน่ี อ้ ง นบั ถอื ลัทธิบูชาไฟ ไดอ้ าศัยตามคุ้งแมน่ �ำ้ เนรญั ชราตดิ ต่อกนั เนลํ ชลํ อสสฺ า แปลวา่ นำ้�เป็นท่ีชื่นใจ, นลี ชลายาติ วตฺตพเฺ พ เนรญฺ ชรายาติ วตฺติ แปลวา่ น�้ำ ซึง่ มสี เี ขยี ว ปัจจุบนั เรียกวา่ นลี าชนา, ลีลาชนา

พทุ ธสถาน พุทธกจิ พุทธประวัติ 23

ตน้ พระศรีมหาโพธ์ิ ตน้ พระศรมี หาโพธเิ ปน็ สถานทตี่ รสั รขู้ องพระพทุ ธเจา้ ในภทั รกปั น้ีจะมพี ระพทุ ธเจา้ ถึง ๕ พระองคท์ ตี่ รัสรู้ ณ สถานที่แห่งนี้ ตรสั รู้ภายใต้ ต้นไม้ทตี่ ่างสายพนั ธ์ ตา่ งลักษณะ ต่างชนิด พอคนเห็นต้นไม้ทีพ่ ระองค์ ตรัสรูจ้ ะ เรียกว่า ตน้ โพธิ มาจากคำ�วา่ โพธริ กุ ขะ = โพธิ ตรัสรู,้ รุกขะ ต้นไม้ แปลว่า ตน้ ไม้อันเปน็ ที่ตรสั รู้ พระพทุ ธเจา้ พระนามวา่ กกสุ นั ธะ ตรสั รภู้ ายใตต้ น้ สริ สี ะ (ตน้ ซกึ ) พระพทุ ธเจ้า พระนามวา่ โกนาคมนะ ตรสั รู้ภายใตต้ น้ มะเด่ือ พระพุทธเจ้า พระนามว่า กัสสปะ ตรัสรู้ภายใต้ต้นนิโครธ (ต้นไทร) พระพทุ ธเจ้า พระนามวา่ โคตมะ ตรสั รู้ภายใตต้ ้นอสั สัตถะหรอื โพธิพ์ ฤกษ์ พระพทุ ธเจา้ พระนามวา่ พระศรีอารยิ เมตไตรย ตรัสรภู้ ายใต้ ต้นกากะทิง หรือคนไทยเรียกวา่ ต้นทองพลาง

24 พุทธสถาน พทุ ธกจิ พทุ ธประวตั ิ

ความแตกต่างกนั แหง่ โพธิพฤกษ์ ความแตกตา่ งกนั แหง่ โพธพิ ฤกษ์ คอื ตน้ ไมท้ ป่ี ระทบั นงั่ ในวนั ตรสั รู้ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทปี ังกร มโี พธพิ ฤกษ์ ชื่อ กปิตนะ (มะขวิด) พระผมู้ พี ระภาคเจา้ โกณฑญั ญะ มโี พธพิ ฤกษช์ อ่ื ตน้ สาลกลั ยาณี (ขานาง) พระมังคละ พระสมุ นะ พระเรวตะ พระโสภติ พุทธเจ้า มีโพธพิ ฤกษ์ ตน้ นาคะ (กากะทงิ ) พระอโนมทสั สี มโี พธพิ ฤกษช์ อ่ื ตน้ อัชชนุ ะ (ต้นกมุ่ ) พระปทมุ ะ และพระนารทะ มโี พธพิ ฤกษ์ ชอ่ื ตน้ มหาโสณะ (ตน้ อ้อยช้างใหญ)่ พระปทมุ ุตตระ มโี พธพิ ฤกษ์ชอื่ ตน้ สาละ (ตน้ ช้างนา้ ว) พระสเุ มธะ มโี พธิพฤกษ์ชอ่ื ต้นนีปะ (ตน้ กะท่มุ ) พระสุชาตะ มโี พธพิ ฤกษช์ ่อื ต้นเวฬุ (ตน้ ไผ่) พระปิยทัสสี มโี พธพิ ฤกษ์ชื่อ ต้นกกธุ ะ (ต้นกมุ่ ) พระอตั ถทัสสี มโี พธิพฤกษ์ชื่อ ต้นจัมปกะ (ตน้ จำ�ปา) พระธมั มทัสสี มโี พธิพฤกษ์ชอ่ื ต้นรตั ตกุรวกะ (ตน้ ซอ้ งแมวแดง) พระสทิ ธตั ถะ มีโพธพิ ฤกษ์ชอื่ ตน้ กณิการะ (กรรณกิ าร์) พระติสสะ มีโพธิพฤกษช์ อ่ื ตน้ อสนะ (ตน้ ประด)ู่ พระปสุ สะ มโี พธิพฤกษ์ช่ือ ตน้ อามลกะ (มะขามป้อม) พระวิปัสสี มโี พธิพฤกษช์ อ่ื ตน้ ปาฏลี (แคฝอย) พระสขิ ี มโี พธิพฤกษช์ ื่อ ตน้ ปุณฑรีกะ (มะม่วงปา่ ) พระเวสสภู มโี พธพิ ฤกษช์ ื่อ ต้นสาละ (สาละ) พระกกสุ ันธะ มีโพธิพฤกษ์ชื่อ ต้นสรสี ะ (ตน้ ซกึ ) พระโกนาคมนะ มีโพธิพฤกษ์ชื่อ ตน้ อุทุมพร (มะเดอ่ื ) พระกสั สป มโี พธพิ ฤกษ์ชื่อ ต้นนโิ ครธ (ต้นไทร) พระโคตมะ มโี พธพิ ฤกษ์ชอ่ื ตน้ อันสสตั ถะ (ตน้ โพธใิ บ) ในบาลพี ทุ ธวงศ์ ขอ้ ๑๖ วา่ ตน้ พมิ พชิ าละ คอื ตน้ มะกล�่ำ เครอื

พทุ ธสถาน พทุ ธกิจ พุทธประวัติ 25

ทรงตรัสรู้ น�ำ หญา้ กสุ ะไปปลู าดท�ำ ใหเ้ ปน็ บลั ลงั กภ์ ายใตต้ น้ พระศรมี หาโพธ์ิ ทรงประทับนั่งบนบัลลังก์ แล้วทรงตั้งสัตยาธิษฐานว่า “ถ้ามิได้ตรัสรู้ จะไม่ลุกข้ึนจากโพธิบัลลังก์ ถึงแม้เน้ือและเลือดจะเหือดแห้งไปก็ตาม” พระยาวสั สวตั ดมี ารกลวั วา่ จะลว่ งอ�ำ นาจตน ไดย้ กพลเสนามารมาผจญ พระมหาบรุ ษุ ทรงระลกึ ถงึ บารมี ๑๐ ทศั นางวสนุ ธราแมพ่ ระธรณมี าเปน็ สกั ขพี ยาน จนท�ำ ใหพ้ ระยามารพา่ ยแพไ้ ป พระองคท์ รงบรรลญุ าณทง้ั ๓ คือ ปฐมยาม บรรลุปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือ ทรงมีญาณ ระลกึ ชาตไิ ด้ มัชฌิมยาม บรรลุจุตูปปาตญาณ คือ ญาณรู้การเกิดและตาย ของสัตว์ทงั้ หลายได้ ปจั ฉิมยาม บรรลอุ าสวักขยญาณ คือทำ�หลายอาสวกิเลส ให้ หมดสิ้นไป

สหชาติท้ัง ๗ สหชาติ คือ สิ่งทีเ่ กิดขึ้นรว่ มในวันเวลาเดียวกนั กบั พระโพธิสตั ว์ มี ๗ ประการ คอื ๑. พระนางพิมพาหรือยโสธรา ๒. พระอานนท์ ๓. กาฬทุ ายอี �ำ มาตย์ ๔. นายฉนั นะ ๕. ม้ากณั ฐกะ ๖. ตน้ พระศรีมหาโพธิ์ ๗. ขมุ ทรพั ยท์ ง้ั ๔ คอื สงั ขนธิ ิ เอลนธิ ิ อบุ ลนธิ ิ และปณุ ฑรกิ นธิ ิ

26 พุทธสถาน พทุ ธกจิ พทุ ธประวตั ิ

อายขุ องตน้ พระศรีมหาโพธิ์ ต้นท่ี ๑ เป็นต้นที่เกิดวันเดียวกันกับเจ้าชายสิทธัตถะ หรือที่ เรยี กวา่ สหชาตทิ ง้ั ๗ มหสิ นุ ทรี (พระนางตษิ ยรกั ษติ ) เปน็ พระมเหสขี อง พระเจา้ อโศกมหาราชอกี พระองคห์ นงึ่ พระนางโกรธแคน้ มากทพี่ ระเจา้ อโศกรกั ตน้ โพธมิ์ ากกวา่ นาง นางจงึ สง่ั ใหค้ นน�ำ ยาพษิ และน�ำ้ รอ้ นมารดท่ี โคนตน้ พระศรมี หาโพธ์ิ จนท�ำ ใหต้ น้ พระศรมี หาโพธไิ์ ดเ้ หยี่ วเฉาและแหง้ ตายในทส่ี ดุ มอี ายุประมาณ ๓๕๒ ปี ต้นที่ ๒ พอพระเจ้าอโศกกลับมาจากว่าราชการ พระองค์เหน็ ต้นพระศรีมหาโพธิเห่ียวแห้งตายลงพระองค์ถึงกับเข่าอ่อนล้มลงหมด สตพิ อพระองคฟ์ ้ืนไดส้ ติ รบั สงั่ ให้ล้อมก�ำ แพงรอบ ส่งั ทหารให้นำ�น�ำ้ นม โค ๑๐๐ ตัว มารดต้นพระศรีมหาโพธิ และได้ต้ังสัตยาธิษฐานว่า “ถ้า หนอ่ โพธิไ์ ม่แตก งอกออกมาพระองคจ์ ะไมเ่ สดจ็ ลุกขน้ึ ” ด้วยแรงสจั จะ อธษิ ฐาน ทนั ใดนน้ั หนอ่ โพธไ์ิ ดง้ อกมาเปน็ หนอ่ ทสี่ อง มอี ายรุ าวประมาณ ๘๗๑ - ๘๙๑ ปี ต้นท่ี ๓ พ.ศ. ๑๑๐๐ พระเจ้าศศางกา กษัตริย์จากเบงกอล ได้ยกทัพมาท่พี ุทธคยา เหน็ ผคู้ นไปกราบไหวต้ ้นโพธิ์ เกดิ ความไมช่ อบ ไม่พอใจจึงไดท้ ำ�ลายวัดวาอาราม และตน้ พระศรีมหาโพธิ์ ถอนรากทง้ิ ใช้ไฟเผาราดด้วยนำ้�อ้อย พระเจ้าปุรณวรมากษัตริย์แห่งมคธทรง เศร้าโศกเสียพระทัยอย่างมากท่ีเห็นต้นโพธิล้มตาย จึงเอาแบบอย่าง พระเจา้ อโศกมหาราช จากนนั้ น�ำ น�้ำ นมจากแมโ่ ค ๑,๐๐๐ ตวั รดตน้ โพธ์ิ ในไม่ชา้ หนอ่ โพธ์ิ ไดแ้ ตกหน่อออกมาเป็นต้นที่ ๓ มอี ายรุ าวประมาณ ๑,๒๕๖ - ๑,๒๗๖ ปี ต้นที่ ๔ พ.ศ. ๒๔๒๓ เซอร์ อเล็กซานเดอร์ คันนิ่งแฮม

พุทธสถาน พทุ ธกจิ พทุ ธประวัติ 27

นักโบราณคดีชาวอังกฤษ ได้เดินมาท่ีพุทธคยา ได้เห็นต้นโพธิแก่ชรา มาก ไดม้ ีชาวบ้านตัดกิ่งกา้ นมาทำ�เปน็ ฟนื ต่อมาพายุพดั ลม้ ลง ไดเ้ หน็ หนอ่ โพธิ์ ๒ หนอ่ (สงู ๖ นวิ้ และ ๔ นวิ้ ได้น�ำ หนอ่ สูง ๖ นวิ้ มาปลกู ลงท่ี ตน้ เดมิ ปจั จุบันมีอายุ ๑๓๖ ปี (๒๕๕๘)

สัตตมหาสถาน เสวยวิมตุ ตสิ ุข คอื สขุ อนั เกิดจากการหลดุ พน้ จากอาสวะ กเิ ลส เป็นเวลา ๔๙ วนั สถานทลี่ ะ ๗ วนั ๗ สปั ดาห์ เรยี กวา่ สตั ตมหาสถาน มีดงั ต่อไปนีค้ อื สัปดาหท์ ี่ ๑ ตน้ พระศรีมหาโพธิ ทรงพิจารณาปฏิจจสมปุ บาท โดยอนโุ ลมและปฏโิ ลม ไปตามลำ�ดับและทวนกลบั สปั ดาห์ท่ี ๒ อนิมสิ สเจดยี ์อยู่ทางทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนือของ พระศรมี หาโพธิ ประทบั ยืนทอดพระเนตรดูต้นพระศรีมหาโพธิ ไมก่ ระ พรบิ ตา เป็นเวลา ๗ วนั สัปดาห์ท่ี ๓ รัตนจงกรมเจดีย์ อยู่ระหว่างต้นพระศรีมหาโพธิ และอนิมสิ สเจดยี ์ เดนิ จงกรมเป็นเวลา ๗ วัน สัปดาห์ที่ ๔ รัตนฆรเจดีย์ อยู่ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เป็นเรือนแก้วที่เทวดาเนรมิตสร้างไว้ พิจารณาอภิธรรมปิฎกเป็น เวลา ๗ วัน สปั ดาหท์ ่ี ๕ อชปาลนิโครธ (ต้นไทรเปน็ ที่พักของคนเล้ียงแพะ) อยทู่ างทศิ ตะวนั ออก หหุ กุ ชาติ ชอบตวาดผอู้ น่ื ดว้ ยค�ำ วา่ หหึ ึ มาทลู ถาม พระองค์ถึงธรรมท่ีทำ�ให้บุคคลเป็นพราหมณ์ ตรัสตอบว่า พราหมณ์ ผูใ้ ด มบี าปธรรมลอยเสยี แลว้ ปราศจากกเิ ลสเคร่อื งย้อมจติ ให้ติดแนน่ ควรกลา่ วไดว้ า่ ตนเป็นพราหมณโ์ ดยธรรม สัปดาห์ที่ ๖ มุจลินท์ (ต้นจิก) อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ฝนตกพรำ�ตลอด พญานาคได้มาขดขนดกาย รอบพระพุทธเจ้าได้ ๗

28 พุทธสถาน พทุ ธกจิ พทุ ธประวตั ิ

รอบ แผพ่ งั พานเหนอื เศยี ร เพอื่ ปกปอ้ งลมและฝนมใิ หต้ อ้ งกายพระองค์ พอฝนหยุด ยืนประนมมือเบื้องพระพักตร์ พระองค์ทรงเปล่งอุทานว่า ความสงัดเป็นความสุขของบุคคลผู้มธี รรมอนั ได้สดบั แล้ว เปน็ ต้น สปั ดาห์ท่ี ๗ ราชายตนะ (ต้นเกตุ) อยทู่ างทิศใต้ มพี ่อค้า ๒ คน ชื่อ ตปุสสะ และภัลลิกะ เดินทางมา ได้นำ�ข้าวสัตตุก้อน สัตตุผง น้อมถวาย หลังจากสนทนาท้ังสองได้ขอถึงพระพุทธ พระธรรมเป็น สรณะทพี่ ง่ึ ทางใจ และกราบลากลบั พระองคไ์ ดม้ อบพระเกสาให้ ๘ เสน้

พระแทน่ วชั รอาสน์ พระเจา้ อโศกมหาราชทรงสรา้ งขน้ึ เพอ่ื บชู าสถานทบี่ �ำ เพญ็ เพยี ร ของพระมหาบรุ ุษ ยาว ๗ ฟุต ๖ นิว้ กว้าง ๑๐ นิว้ หนา ๕ นิ้วคร่ึง สลัก เป็นรูปเพชรด้านข้างมพี ระยาหงส์ และดอกมณฑารพสลบั กัน พ.ศ. ๒๔๒๓ เซอร์ อเลก็ ซานเดอร์ คนั นง่ิ แฮม ไดท้ �ำ การขดุ คน้ พบจมอยู่ใต้กองอิฐหนา ๒๐ ฟตุ (ประมาณ ๗ เมตร) พระมหาเจดยี ์พทุ ธคยา พระมหาเจดีย์พุทธคยา มีลักษณะเป็นรูปสี่เหล่ียมแหลม ทรงกรวยสงู ๑๗๐ ฟตุ รอบฐาน ๗๕ ฟตุ มสี องชน้ั สว่ นชน้ั ลา่ งประดษิ ฐาน พระพุทธเมตตา ส่วนช้ันบนเป็นพุทธปฏิมา พระปางประทานพร ประมาณ พ.ศ. ๒๒๘ พระเจา้ อโศกทรงสรา้ งเปน็ วหิ ารมีขนาด ไมใ่ หญ่ ตอ่ มา พ.ศ. ๖๗๔ พระเจ้าหวุ ิชกะ ทรงสร้างเพม่ิ เติมมีขนาด ใหญ่กว่าเดิม เป็นศลิ ปะทงี่ ดงามย่ิง หลวงจีนถังซัมจั๋ง ได้กล่าวไว้ว่า สมัยที่เดินมามีพระสงฆ์ เป็นเถรวาท อยู่อาศัยจำ�นวนมาก และเรียกสถานท่ีนี้เรียกว่า มหาโพธวิ หิ าร ปัจจุบนั คนอินเดยี เรยี กวา่ Main Temple คงเป็นวดั ศูนย์กลาง

พทุ ธสถาน พทุ ธกจิ พทุ ธประวตั ิ 29 ของสาธชุ นท่วั โลก

พระพทุ ธเมตตา พระพทุ ธเมตตา เปน็ พทุ ธปฏมิ าปางมารวชิ ยั ท�ำ จากหนิ แกรนติ สดี �ำ แกะสลกั ปดิ ทองเหลอื งอรา่ ม สรา้ งในสมยั ปาละ อายรุ าว ๑,๔๐๐ ปี ในชว่ งทพ่ี ระเจา้ ศศางกามาท�ำ ลายตน้ โพธิ์ ไดเ้ หน็ พระพทุ ธเมตตา ตอนแรกก็คิดจะทำ�ลาย แต่พอเห็นพระพักตร์เอิบอิ่ม สง่างดงาม ไม่กล้าท่ีจะทำ�ลาย และได้ยกทัพกลับ ระหว่างทางได้ฉุกคิด ถ้าไม่ทำ�ลายพระพุทธรูปท่ีประดิษฐานในวิหารโพธิ์ ชาวพุทธต้อง กลับมาฟื้นฟูสถานที่แห่งนี้อีก จึงมีรับส่ังให้ทหารคนหน่ึงทำ�ลาย นายทหารท่านน้ี เมือ่ มาเหน็ พระพักตรพ์ ระพทุ ธเมตตาก็ทำ�ลายไม่ลง พลางคิดว่า ถ้าตนทำ�ลายแล้วชีวิตคงจะตกนรกหมกไหม้เป็นแน่ จึงไดป้ รึกษาประชุมกบั ชาวพุทธในบรเิ วณนี้ ไดท้ ำ�กำ�แพงก้ันไว้ กลับไปรายงานว่าได้ทำ�ลายพระพุทธเมตตาเรียบร้อยแล้ว พระเจ้าศศางกะ ได้ยินได้ฟังเกิดความเดือดเนื้อร้อนใจ ทรงประชวร อย่างหนัก มีเน้ือหลุดมาจากกายเป็นชิ้นและสิ้นใจตายอย่างอนาถ ภายใน ๗ วนั นายทหารคนน้ีรีบมาท่ีพุทธคยาทำ�ลายกำ�แพงก้ัน ปรากฏ ว่าเกิดอัศจรรย์คือ นำ้�มันจุดบูชายังลุกไหม้เหมือนเดิมไม่ดับ

อรุ ุเวลาเสนานิคม ในอดตี สมยั เมอ่ื พระพทุ ธเจา้ ยงั ไมเ่ สดจ็ อบุ ตั ขิ น้ึ กลุ บตุ รหมน่ื คน บวชเปน็ ดาบสอยทู่ ปี่ ระเทศนน้ั (หมายถงึ อรุ เุ วลา) วนั หนงึ่ ไดป้ ระชมุ กนั ท�ำ กติกาวัตรไว้ ธรรมดากายกรรม วจีกรรมเป็นของปรากฏแก่ผู้อนื่ ได้ ฝ่ายมโนกรรมมหาปรากฏไม่ เพราะฉะน้ันผู้ใดตรึกกามวิตกหรือ พยาบาทวติ กหรือวิหงิ สาวติ ก คนอืน่ ท่โี จทก์ยน์ ้ันยอ่ มไม่มี ผ้นู ้ันต้อง

30 พุทธสถาน พทุ ธกจิ พทุ ธประวตั ิ

โจทยต์ นดว้ ยตนเองแลว้ เอาหอ่ แหง่ ใบไม้ขนทรายมาเกลีย่ ในที่น้ี ดว้ ย ต้งั ใจว่า นพี่ งึ เป็นทณั ฑกรรม จ�ำ เดิมแต่นน้ั มาผ้ใู ดตรกึ วิตกเช่นนัน้ ผู้น้นั ยอ่ มใชห้ อ่ แหง่ ใบไม้ ขนทรายมาเกล่ียในท่ีนั้น ด้วยประการอย่างน้ี กองทรายในท่ีนั้นจึง ใหญ่ข้ึนโดยลำ�ดับภายหลังมาประชุมกัน จึงได้แวดล้อมกองทรายในที่ นัน้ ท�ำ ใหเ้ ป็นเจดียสถาน ตั้งแต่น้ันมาช่อื แห่งนน้ั จึงชื่อว่า อรุ เุ วลา ในสมนั ตปาสาทกิ า อธบิ ายศัพท์ อุรเุ วลา ไว้ว่า บทวา่ อรุ ุเวลายํ ไดแ้ ก่ ท่แี ดนใหญ่ อธิบายว่า ทกี่ องใหญ่ หรอื อกี ประการหนึง่ ทราย เรียกวา่ อุร,ุ เขตคัน่ เรียกว่า เวลา แลพงึ เห็นความในบทนีอ้ ย่างนีว้ ่า ทรายทเ่ี ขาขนมา เพราะเหตทุ ่ลี ว่ งเขตคนั ชอ่ื ว่า อรุ ุเวลา ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของอรุ เุ วลาเสนานคิ ม ในสมยั พทุ ธกาลนนั้ เปน็ ป่าที่รม่ รืน่ นา่ อยูอ่ าศัยมีแม่น�ำ้ ใสไหลเยน็

อาศรมชฎลิ โปรดชฎิล ๓ พี่น้อง ชฎลิ ๓ พนี่ อ้ ง เกดิ ในตระกลู กสั สปะโคตร เปน็ ลทั ธบิ ชู าไฟ พช่ี าย คนใหญ่คนโตชอ่ื อรุ ุเวลกสั สปะ มีบรวิ าร ๕๐๐ คน นอ้ งชายคนรองช่อื นทกี สั สปะ มบี รวิ าร ๓๐๐ คน น้องชายคนเล็กชือ่ คยากัสสปะ มบี รวิ าร ๒๐๐ คน อาศยั ตามคุ้งแม่นำ้�ติดต่อตามลำ�ดับ ๑. อุรุเวลกสั สปะ ต้งั อาศรมอยู่ท่ีพนาสัณฑ์ ตำ�บลอุรเุ วลา ๒. นทีกัสสปะ ตั้งอยรู่ ิมฝง่ั แม่นำ�้ เนรัญชรา ๓. คยากัสสปะ ตง้ั อยทู่ ่คี ุ้งใตแ้ หง่ แมน่ ้�ำ เนรญั ชรา ต�ำ บลคยา- สสี ะประเทศ พระบรมศาสดาได้ขอพักท่ีโรงไฟ ได้กำ�จัดฤทธิ์เดชพระยานาค ให้ส้ินไป ชฎิลอุรุเวลกัสสปดำ�ริว่า พระมหาสมณะมีฤทธ์ิมาก มอี านภุ าพมากแท้ ถงึ กบั กบั (ก�ำ จดั ฤทธเ์ิ ดชพระยานาค, ใหไ้ ฟลกุ ขน้ึ ได,้

พทุ ธสถาน พทุ ธกจิ พทุ ธประวตั ิ 31

ใหพ้ วกชฎลิ ดบั ไฟได,้ เนรมติ กองไฟไดม้ ากมาย, บนั ดาลไมใ่ หน้ �ำ้ ไหลได)้ แตก่ ไ็ ม่เป็นพระอรหันตเ์ หมอื นเรา พระองค์ตรัสถึงความไมม่ ีแก่นสารของลทั ธิ อรุ เุ วลกสั สปะและ บรวิ ารพรอ้ ม กนั ลอยเครอ่ื งบรขิ ารไปตามแมน่ �ำ้ สว่ นนอ้ งชายทงั้ สองได้ เหน็ บรขิ ารทลี่ อยตามน�้ำ รบี เขา้ มาหาเหน็ พถ่ี อื เพศเปน็ ภกิ ษุ เหน็ เปน็ การ ประพฤตพิ รหมจรรย์จึงขออปุ สมบท พระองคท์ รงประทานให้ พระพทุ ธองคเ์ สด็จไปยงั ตำ�บลคยาสีสะใกล้แม่น�้ำ คยาตรัสเรียก ภิกษุมาพร้อมกัน ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตร คือพระสูตรท่ีว่า ด้วย ของร้อน คือ ๑. อายตนะภายใน คอื ตา หู จมกู ลิ้น กาย ใจ เปน็ ของรอ้ น ๒. อายตนะภายนอก คอื รูป เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ และ ธัมมารมณ์ เปน็ ของรอ้ น ๓. วิญญาณ ผสั สะ และเวทนาที่เกิดขนึ้ เพราะอายตนะภายใน กับอายตนะภายนอกกระทบกันเปน็ ของร้อน รอ้ นเพราะไฟคอื ราคะโทสะโมหะและรอ้ นเพราะการเกดิ แกเ่ จบ็ ตาย ความเศรา้ โศก คร�ำ่ ครวญ ความทกุ ข์ ความเสยี ใจ และความขดั เคอื งใจ จบพระธรรมเทศนาได้สำ�เร็จเป็นพระอรหันต์ทั้งหมด ๑,๐๐๓ รูป

เขาพรหมโยนี (คยาสสี ะประเทศ) เขาพรหมโยนี (คยาสีสประเทศ) สถานทแี่ สดงอาทติ ตปรยิ าย สตู รโปรดชฎลิ ๓ พนี่ อ้ ง และเปน็ ทตี่ งั้ ส�ำ นกั ของพระเทวทตั เมอ่ื ครง้ั แยก ตวั ออกจากพระพุทธเจ้า ทไ่ี ด้ช่ือว่า พรหมโยนี เพราะมีก้อนหินทับกันดเู หมือน โยนี ของพระพรหม ปจั จุบนั เป็นศาสนสถานส�ำ คญั ของชาวฮนิ ดู ซึง่ อยู่ใกล้ กับตวั เมืองคยา เดมิ เรียกว่า คยาสีสะ หรือเรียก คชาสสี ะ แปลวา่ หวั ช้าง ลักษณะเขาคล้ายกับหัวชา้ ง

32 พุทธสถาน พทุ ธกิจ พทุ ธประวัติ

สมณะจนี เฮย่ี งจงั ไดบ้ นั ทกึ ไวว้ า่ ทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใตข้ อง ภเู ขานี้ ทา่ นได้เห็นสถูปทเี่ ขาได้สร้างอุทศิ ใหแ้ ก่พระกัสสปสามพ่นี ้อง วัดพทุ ธนานาชาติ จากการที่รัฐบาลอินเดียได้เชิญชวนประเทศชาวพุทธมาสร้าง ยังแดนพุทธภูมิ ทำ�ให้ปรากฏมีวัดนานาชาติท่ัวอาณาบริเวณพุทธคยา แต่ละประเทศได้แสดงศิลปะการก่อสร้างเอกลักษณ์ของตนเองได้อย่าง งดงามตระการตา วัดนานาชาติไดแ้ ก่ วดั ญป่ี ุน่ วัดธเิ บต วดั ภูฏาน ไทย ลาว พม่า กัมพชู า ศรีลงั กา จนี ฯลฯ

พุทธคยามหาสังฆาราม เมอื ง...บำ�เพ็ญทกุ รกิรยิ า เมือง...ต�ำ รามธปุ ายาส เมอื ง...ลอยถาดอธิษฐาน เมือง...ศาสดาจารยต์ รสั รู้ เมอื ง..บรมครชู นะมาร เมอื ง...อธิษฐานแล้วส�ำ เร็จ เมอื ง...๗ สถานอันศกั ดิ์สทิ ธ์ิ เมอื ง...สถิตพทุ ธเมตตา เมือง...ภาวนาใต้โพธิศ์ รี เมอื ง...มหาเจดยี ส์ ูงเสยี ดฟา้ เมอื ง...ลอยชฎาสามฤาษี เมือง...พรหมโยนนี ่าศึกษา เมือง...เนรัญชรานทที ราย เมอื ง...น้อมใจ - กายแนบพระธรรม เมอื ง...เวรกรรมยา้ํ ชาดก เมอื ง...สวรรคบ์ นบก – นรกบนดนิ ฯ ทม่ี า.. หนงั สอื คมู่ ือพระธรรมวทิ ยากร

ประวัติศาสตรพ์ ทุ ธคยา ท่านพุทธโฆษาจารย์ ได้เล่าว่า ท่านเป็นศิษย์ของพระเรวตะแห่งพุทธค ยามหาสังฆารามได้เดินทางไปแปลพระคัมภีร์พระไตรปิฎกจากภาษาสิงหล กลับ มาเป็นภาษามคธทเ่ี กาะลังกา พทุ ธคยาเปน็ เขตอทิ ธพิ ลของพวกฮนิ ดคู ยาเกษตรใชเ้ ปน็ ทบ่ี ชู าถวายบณิ ฑ์

พทุ ธสถาน พทุ ธกิจ พุทธประวตั ิ 33

๑ ใน ๑๖ แหง่ เมืองพระพุทธองค์ทรงตรัสรใู้ ต้ตน้ โพธทิ์ ่นี จ่ี งึ เรียกพุทธคยา ปจั จบุ นั เปน็ สถานทอี่ นั ยง่ิ ใหญม่ นี กั แสวงบญุ จากทว่ั โลกมาไหวพ้ ระสวด มนตต์ ลอดทงั้ ปี หลังจากพระพุทธองค์ตรัสรู้แล้วจึงได้เสวยวิมุติสุขอยู่ ๗ สัปดาห์ แล้ว เสด็จไปเมืองพาราณสี เม่ือมีสาวกมากขึ้นพระพุทธองค์จึงได้ส่งพระสาวกไป ประกาศพระศาสนา ครนั้ นน้ั พระพทุ ธองคไ์ ดเ้ สดจ็ กลบั มาเพอ่ื โปรดชฎลิ สามพนี่ อ้ ง พรอ้ มบรวิ ารจนส�ำ เรจ็ เปน็ พระอรหนั ต์ จากนนั้ พระองคก์ บ็ �ำ เพญ็ พทุ ธกจิ ยงั แควน้ ต่าง ๆ จนเขา้ สู่การปรนิ พิ พาน -พ.ศ. ๒๒๘ – ๒๔๐ พระเจา้ อโศกได้เสด็จมาสกั การะ ณ สถานที่ตรสั รู้ ได้สรา้ งพระสถปู ขนาดย่อม ๆ เพือ่ บูชา และ ปักเสาศลิ าไว้เป็นเครอ่ื งหมายสรา้ ง พระแทนวชั รอาสน้ี รว้ั ท�ำ ด้วยหนิ ล้อมรอบต้นพระศรมี หาโพธิ์ ฯลฯ - พ.ศ. ๖๗๔ – ๖๙๔ พระเจา้ หวุ ชิ กะ ทรงสรา้ งเสรมิ ใหเ้ ปน็ ศลิ ปะตน้ แบบ เปน็ สถูปใหญ่ หลวงจีนถังซัมจัง๋ เรียกวา่ “ มหาโพธวิ์ ิหาร ” เปน็ เจดยี ร์ ปู สเ่ี หลย่ี มแหลม ทรงกรวย หา่ งจากตน้ โพธ์ิ ๒ เมตรมพี ระแทน่ วชั รอาสน์ค่นั กลาง ขนาดสูง ๑๗๐ ฟตุ วัดรอบฐานขนาด ๘๕ ฟตุ เศษมี ๒ ชน้ั มี เจดียบ์ รวิ ารอีก ๔ องค์ ทรงเดียวกันอยบู่ นฐานช้นั ที่ ๒ สงู ๔๕ ฟตุ ส่วน ช้นั ลา่ ง นน้ั ประดษิ ฐานพระพุทธเมตตา “ ปางมารวชิ ยั ” สรา้ งจากหินแกรนติ สีดำ� สมัย ของราชวงศ์ปาละอายปุ ระมาณ ๑๔๐๐ ปีเศษ ช้ันบนประดิษฐานพระพทุ ธปฏมิ า ปาง “ปางประทานพร ” สร้างในสมัยเดียวกนั -พ.ศ. ๙๔๕ – ๙๕๐ หลวงจนี ฟานเหยี นเดนิ ทางมาสกั การะสถานทตี่ รสั รู้ และไดพ้ รรณาถงึ ความงดงามของพระมหาเจดยี พ์ ทุ ธคยา เหน็ พระสงฆเ์ ถาวาทและ พุทธศาสนกิ ชนมาสักการะกันอย่างมิขาดสาย - พ.ศ.๑๑๔๕ กษตั ริยร์ ฐั เบงกอลนามสสางกา ไดป้ ระกาศอิสระจากมคธ ยกทัพมาทำ�ลายพุทธสถานอย่างย่อยยับ -พ.ศ.๑๑๔๕ กษัตริย์ปูรณวรมาตีทัพเบงกอลแตกแล้วทำ�การบูรณะ ซอ่ มแซม -พ.ศ. ๑๔๙๑ อมรเทวพราหมณ์ ปโุ รหติ ของพระเจา้ วกิ รมาทติ ยแ์ หง่ เมอื ง มัลวาบอกไว้ในหนังสืออมรโฆษว่าออกแบบวิหารโพธ์ิใหม่ให้เป็นอย่างที่เห็นใน ปจั จบุ ัน

34 พทุ ธสถาน พุทธกิจ พทุ ธประวตั ิ -พ.ศ. ๑๕๗๘ พมา่ สง่ คณะชา่ ง น�ำ โดย ธรรมราชครเู พอ่ื บรู ณะแตเ่ กดิ ขอ้ พิพาทกันกบั อินเดยี พม่าเลยตอ้ งหยุดการซอ่ มแซม -พ.ศ. ๑๖๒๒ พมา่ สง่ ชา่ งชดุ ที่ ๒ มาฟน้ื ฟบู ูรณะใช้เวลา ๗ ปีเสร็จเม่อื ๑๘ ตลุ าคม ๑๖๒๙ พทุ ธคยามีชีวิตกลับมาอีกครั้งหนึ่ง -พ.ศ. ๑๗๔๓ พระธมั มรักขิต รับทนุ จากพระเจา้ อโศกมัลละแห่งแควน้ สิ วะสกิ ะอนิ เดยี มาปฏสิ ังขรณเ์ พม่ิ เติมใหด้ ียงิ่ ข้ึน -พ.ศ. ๑๗๖๐ อสิ ลามกองทพั เตริ ก์ ยดึ ครองมคธรฐั ท�ำ ลายลา้ งพทุ ธสถาน ทง้ั หมด พรอ้ มยกพทุ ธคยานใี้ หอ้ ยใู่ นการดแู ละของฮนิ ดนู กิ ายมหนั ต์ โดยอา้ ง เมอ่ื พ.ศ. ๑๗๒๗ จักรพรรดิ โมกุลนามมูฮัมหมัดซาห์ ได้มอบพุทธคยาทั้งหมดเป็น สมบตั ขิ องมหนั ตอ์ งคท์ สี่ ช่ี อื่ วา่ “ ลาลครี ี ” จากนน้ั พทุ ธคยากถ็ กู ทอดทงิ้ หลายรอ้ ย ปไี ม่มีการบรู ณะมชี าวพุทธมาสกั การะเพียงเล็กน้อย -พ.ศ. ๒๑๓๓ พทุ ธคยามหาสงั ฆาราม ถกู มสุ ลมิ คกุ คามถกู พวกพราหมณ์ รงั แกในทสี่ ดุ หลดุ จากมอื ชาวพทุ ธอยา่ งเดด็ ขาดตกอยใู่ นความคมุ้ ครองของนกั บวช มหนั ตน์ ิกายทสั นามิ สนั ยาสที ีช่ ือ่ โคสายฆมันดีรค์ ีรี -พ.ศ. ๒๑๓๕ องั กฤษยึดครองอินเดยี -พ.ศ. ๒๓๕๔ พระเจา้ แผน่ ดนิ พมา่ เสดจ็ มาเหน็ ไดส้ ง่ ทตู มาเจรจาขอบรู ณะ ตามบนั ทกึ ดร. บคุ านนั แฮมนิ ตนั บอกวา่ พทุ ธคยาอยใู่ นสภาพยอ่ ยยบั ไมไ่ ดร้ บั การ ดูแล -พ.ศ. ๒๔๑๗ พระเจ้ามนิ ดงเจรจาผา่ นรฐั บาลอินเดยี ซ่งึ เปน็ ขององั กฤษ แล้ว อังกฤษส่งคนมาชว่ ย ๒ นายเพอ่ื ก�ำ กับคือ “ อเล็กซานเดอร์ คนั นง่ิ แฮม กบั ดร. ราเชนทร ลาลมติ ระ ” - พ.ศ. ๒๔๑๙ พมา่ เกดิ สงครามกับอังกฤษงานบูรณะจงึ ต้องหยุด - พ.ศ. ๒๔๒๓ เซอรอ์ เลก็ ซานเดอร์ , ดร.ราเชนทร , เซอรอ์ ีแดนแตง่ ตงั้ ใหน้ าย เจ ดี เบคลาร์ ทำ�การปฏสิ งั ขรณ์ เสรจ็ ในปีพ.ศ. ๒๔๒๗ ( ๔ ปี ) -พ.ศ. ๒๔๓๓ ท่านเซอร์ เอด็ วนิ อาร์โนลด์ ฝร่ังองั กฤษชาวพุทธได้เขียน หนังสือเล่มหนง่ึ ช่ือวา่ “ The Light of Asia ” -พ.ศ. ๒๔๓๔ อนาคารกิ ะ ธมั มปาละ ชาวศรลี ังกามากราบพทุ ธคยาเกิด ศรทั ธาปรารถนา เรยี กร้องสิทธขิ องความเป็นเจา้ ของพทุ ธคยา ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ ไดป้ ระชมุ ชาวพทุ ธสากลทีพ่ ุทธคยามีพม่า, ลังกา , จีน, ญป่ี นุ่ แลว้ ญ่ีปุ่น

พทุ ธสถาน พุทธกิจ พุทธประวตั ิ 35

ได้ประกาศว่าจะหาเงินมาซื้อพุทธคยาคืน อังกฤษระแวงญี่ปุ่นเพราะเพ่ิงรบชนะ รัสเซียจึงไม่ยอมใหค้ รอบครอง จงึ เกดิ ขบวนกอบกพู้ ุทธคยา (แมก็ มึน, เอ็ดวนิ ฯ, วลิ เลย่ี ม พ.อ. โอลคอตต์ ) ออกปราศยั ท่ี พมา่ – องั กฤษ – สงิ คโปร์ – ไทย – ลงั กา หาผสู้ นบั สนนุ -พ.ศ. ๒๔๓๖ อนาคารกิ ะ ธมั มปาล กลบั มาพทุ ธคยาพรอ้ มกบั โอลคอตต์ และ MR. เอดซ์ นกั เทววิทยา ไดเ้ ห็นพระ ๔ รปู ถกู พวกมหันตท์ ุบตเี กือบตายซํา้ ร้ายเขายงั กดี กันมิให้พวกธรรมยาตราเข้าสกั การะพทุ ธคยา -พ.ศ. ๒๔๓๘ ชาวพทุ ธขอน�ำ พระพทุ ธรปู อายุ ๗๐๐ ปี เขา้ ไปประดษิ ฐาน แตพ่ วกมหนั ตก์ ไ็ มเ่ หน็ ดว้ ยอา้ งวา่ “ พระพทุ ธเจา้ เปน็ เพยี งอวตารปางที่ ๙ ของพระ นารายณ์” -พ.ศ. ๒๔๔๕ มคี วามเคลอ่ื นไหวทวั่ โลก โดย เอดวนิ อารโ์ นล , ดร. ริด เดวิด, ศ. แม็กมึลเลอร์ ชาวพทุ ธเริม่ มพี ลงั พวกมหันตเ์ พิ่มความรังเกยี จชาวพทุ ธ มากข้นึ -พ.ศ. ๒๔๖๗ ชาวพุทธพม่า , ลังกา , เนปาล , ร้องเรียนรัฐบาล พรรคคองเกรสส์ตง้ั คณะกรรมาธิการขน้ึ พิจารณา โดยมี ดร. ราเชนทร์ ประสาท (ประธานาธิบดเี ป็นประธาน ) ตง้ั กรรมกาชาวพุทธ ๕ คน คอื ฮนิ ดู ๕ คน ดแู ล พุทธคยา โดยออกกฎหมายบังคบั ความเห็นของ “ มหาตมคานธี ” คอื วิหารพุทธคยานี้ควรเป็นสมบัตขิ อง ชาวพุทธโดยชอบธรรมการนำ�สัตว์ไปฆ่าทำ�พลีกรรมในวิหารมหาโพธ์ิ ไม่สมควร เพราะลว่ งละเมดิ ตอ่ สถานทศี่ กั ดสิ์ ทิ ธข์ิ องพระพทุ ธศาสนา เปน็ การประทษุ รา้ ยตอ่ จิตใจของชาวพทุ ธท่วั ไป ความเหน็ ของ ระพินทรนาถฐากรู คือ ทซี่ ง่ึ พระพุทธเจา้ ทรงตรัสรอู้ นตุ ต รสมั มาสมั โพธญิ าณนจ้ี ะตกอยใู่ นความดแู ลของศาสนาอนื่ ไมไ่ ด้ เพราะศาสนาอน่ื ไมเ่ กยี่ วข้องอะไรและไม่มเี ยือ่ ใยอะไรต่อพระพทุ ธศาสนา - พ.ศ. ๒๔๙๐ อนิ เดียเป็นเอกราชจากอังกฤษ มหาโพธิ์สมาคมรบเร้า สทิ ธพิ ทุ ธคยา ใน พ.ศ. ๒๔๙๑ ดร. ศรกี ฤษณะ ซงิ ห์ นายกรฐั มนตรพี หิ าร ไดเ้ สนอ ให้รา่ งรัฐบัญญัติวิหารพทุ ธคยา -พ.ศ. ๒๔๙๒ เดอื นพฤษภาคม จดั ตั้งคณะกรรมการดูแล ๙ คน มผี ู้วา่ จังหวัดคยาเปน็ ประธาน กรรมการ ๘ คน และ ชาวพทุ ธ ๔ คน ฮนิ ดู ๔ คน

36 พทุ ธสถาน พุทธกิจ พุทธประวัติ -พ.ศ. ๒๔๙๖ นายกรฐั มนตรพี มา่ มาเยอื น พวกมหนั ตบ์ อกวา่ ไดย้ กพทุ ธ คยาใหช้ าวพุทธ -พ.ศ. ๒๕๓๐ ภกิ ษไุ ซไซ ชาวญป่ี นุ่ น�ำ ชาวพทุ ธจากนาคปรู ์ + รฐั มหารชตะ เรยี กรอ้ งใหน้ �ำ ศพมหนั ตท์ ฝ่ี งั ไว้ และ ปญั จปาณฑปพรอ้ มศวิ ลงิ คท์ ก่ี ลางวหิ ารออก ไปท่ีอื่น -พ.ศ. ๒๔๙๙ บรู ณะเลก็ นอ้ ยเพอื่ ฉลองพทุ ธคยาชยนั ตพี ทุ ธศาสนาอายุ ๒๕๐๐ ปี -พ.ศ. ๒๕๑๒ พระสุเมธาธิบดี ได้นำ�พุทธบริษัทชาวไทยประดับไฟ แสงจันทร์ -พ.ศ. ๒๕๑๙ พทุ ธบรษิ ทั ชาวไทย สรา้ งกำ�แพงแกว้ ๘๐ ชอ่ ง ซ้มุ ประตู แบบอโศก ๒ ซ้มุ เสรจ็ ในปี ๒๕๒๐ -พ.ศ. ๒๕๓๑ ชาวพุทธเนปาลปูหินออ่ น

ท่มี า... คมู่ อื พระธรรมวิทยากร

ภาพ : วดั เวฬุวนั วหิ าร

ราชคฤห์ นาลนั ทา

ภาพ : กำ�แพงเมอื งราชคฤห์

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ