ดาวน โหลด ยอดก นซ อทะล ม ต เล ม 7.pdf

1 ซม. (600 ม. ลงภูเขา) เ วลารวม 7 ชม. การหยุดหน่วย ควรจะทำการหยดุ หนว่ ยเป็นระยะเวลาส้ันๆ เพ่ือปรบั เคร่อื งแต่งกายประมาณ 5-10 นาที หลงั จาก เรม่ิ เดนิ ในช่วง 15 นาทแี รก หลังจากนั้นควรหยดุ หน่วยทกุ ๆ ครึ่งช่ัวโมง ควรใหท้ หารยกเทา้ ใหส้ งู เพื่อที่จะช่วย ผอ่ นคลายกลา้ มเน้ือขา และปอ้ งกนั การเปน็ ตะคริว การตรวจการณ์และพ้นื การยงิ การวางทีต่ รวจการณ์ควรวางไวห้ ลายจดุ ไล่ตามความสงู ลงมาตามระดบั รวมถึงทางลกึ ให้สามารถตรวจการไดต้ ลอดเวลาในพ้นื ทหี่ ุบตำ่ ทีอ่ บั กระสุน สามารถใชท้ ุ่นระเบิด, เครื่องกีดขวางและการยิงจำลอง วางในจดุ น ี้ 2 - 60 การรบในพื้นท่ีป่าและภเู ขา การลาดตระเวนและระวังป้องกนั ดว้ ยขอ้ จำกัดในการเคลือ่ นท่ผี า่ นพนื้ ทหี่ ุบเขาจำนวนมากและแผนทข่ี าดข้อมลู ที ่ การป ิฏ ับ ิตการทาง ุยทธ ิว ีธถูกต้องในรายละเอียด ทำใหม้ ีความตอ้ งการการลาดตระเวนทางอากาศ ลว.ถา่ ยภาพ และตรวจการณด์ ้วยสายตา การลว.เสน้ ทาง หน่วยจะตอ้ งวางการระวงั ปอ้ งกันไวต้ ลอดเวลา สว่ นระวังป้องกันจะต้องยดึ ควบคมุ ภมู ปิ ระเทศ ทำการเฝา้ ตรวจใหก้ ำลังส่วนใหญข่ องหนว่ ย การกำบงั และการซ่อนพราง ควรใช้ประโยชน์จากสภาพพน้ื ท่ใี หเ้ กดิ ความไดเ้ ปรียบสูงสดุ การเคลอื่ นท่ใี นพ้ืนที่ภูเขาอาจใชป้ ระโยชน์จากกอ้ นหินขนาดใหญ่และพืชพันธ์ุไม้ขนาดตา่ งๆ บนเส้นทางในพ้นื ทีเ่ ปน็ ทก่ี ำบัง หน่วยขนาดเล็กพึงหลีกเลี่ยงการต้งั ฐานในหุบเขาและการเขา้ ทร่ี วมพลควรกระทำเวลาใกล้คำ่ ควรเคล่ือนย้ายออกในเวลาเชา้ การกอ่ ไฟควรขดุ หลมุ ลึกประมาณ 0.5 เมตรบรเิ วณใกลก้ บั ยอดสนั เขาเพ่อื ปอ้ งกนั ขา้ ศึกตรวจการณ์เห็นกองไฟได้ก ารควบคมุ บังคับบัญชา พนื้ ที่ป่าภเู ขาเปน็ พืน้ ท่ที มี่ คี วามยากลำบาก, อากาศแปรปรวน ซ่ึงทำใหย้ ากตอ่ การควบคุมบงั คบั บญั ชาหนว่ ย จึงมีความจำเป็นในการใช้หนว่ ยขนาดเล็กในการปฏิบตั กิ ารเป็นอสิ ระ หรอื กึง่ อสิ ระในชว่ งระยะเวลาหนึ่ง ดังน้ัน บทบาทของ ผบ.หนว่ ยระดบั ล่างจงึ มคี วามสำคัญอยา่ งมาก ท้งั ความริเริม่ การตัดสนิ ใจและแกป้ ัญหาท่ีดี หนว่ ยระดับกองรอ้ ยควรมีการเตรียมชุดวิทยุเสรมิ เพ่ือใหแ้ ก้ปญั หาในกรณีมคี วามจำเป็น หลกั พนื้ ฐานของการรบดว้ ยวธิ รี ุกในการปฏิบตั กิ ารรบในพน้ื ทป่ี า่ ภเู ขาการมองภาพสนามรบ ฝา่ ยเข้าตตี อ้ งดำเนินการดว้ ยความกระตือรือร้น, ใชก้ ารลาดตระเวนเชงิ รุก, ใช้เครื่องมือทัง้ หมดท่ีหาได้ ท้ังในพืน้ ทีด่ ้านหน้า ดา้ นปีก และด้านหลงั จะต้องสามารถกำหนดท่ีตั้งหนว่ ยขา้ ศกึ จดุ ออ่ น ด้านปีกและเครื่องกีดขวาง ขอ้ มูลด้านกายภาพของสนามรบ สามารถวิเคราะห์ไดท้ ั้งการลาดตระเวนทางภาคพนื้ ดิน การลาดตระเวนทางอากาศ และการลาดตระเวนโดยแผนที่ แต่การใช้แผนทอ่ี าจมีขอ้ มลู ท่ีไมเ่ พียงพอ สง่ิ พงึ ประสงคม์ ากกว่าคือภาพถ่ายทางอากาศ และการลาดตระเวนในพืน้ ทจ่ี รงิ การใช้หนว่ ยลาดตระเวน, ระบบเรดาร,์ การลาดตระเวนด้วยอากาศยาน และระบบเฝา้ ตรวจสนามรบการรวมอำนาจกำลงั รบอย่างทว้ มท้น หากไม่สามารถตรวจพบจดุ ออ่ นของขา้ ศกึ สง่ิ ที่พึงกระทำคอื การปฏบิ ตั อิ ย่างจ่โู จม, การรวมอำนาจการยิง และการแยกขา้ ศึกใหโ้ ดดเดย่ี ว วิธกี ารรวมกำลังท่ีเร็วที่สุด คือ โดยการใชเ้ ฮลิคอปเตอร์หน่วยควรทำการเคล่อื นยา้ ยในเวลากลางคนื หรือในหว้ งท่ีทัศนะวสิ ัยจำกัดหากทศั นะวิสัยอำนวย การใช้เฮลคิ อปเตอร์โจมตี และเคร่อื งบนิ โจมตี จะมีประโยชน์อย่างมากต่อการดำเนินกลยทุ ธ์การปฏบิ ัติโดยไมค่ าดคิด, การรวมกำลัง และทำลายขา้ ศึก กำลงั ส่วนที่เขา้ ทำการแทรกซมึ จะต้องสามารถหาปกีของข้าศกึ ช่องวา่ งระหวา่ งหนว่ ย และทหารช่างต้องถกู จดั ไวใ้ นส่วนนำของหน่วย ในการเขา้ ตใี นพ้นื ท่โี ลง่ แจ้ง ฝา่ ยเขา้ ตีจะตอ้ งครองความรเิ รม่ิ ดว้ ยการเคล่อื นทีใ่ หเ้ รว็ และรุนแรงทสี่ ดุ ทำให้ข้าศกึ มีเวลาทจ่ี ะโต้ตอบนอ้ ยทสี่ ดุ การเขา้ ตพี น้ื ทส่ี ว่ นหลังของขา้ ศกึ โดยใช้หน่วยทำการแทรกซมึ เขา้ ทำการตโี ฉบฉวยตอ่ เปา้ หมายท่มี คี วามอ่อนไหว มีการป้องกันตนเองตำ่ และกระทำเม่อื การขยายผลหลังการเข้าตีไดด้ ำเนินไปแล้วจะทำใหข้ ้าศกึ สญู เสียความไดเ้ ปรียบทง้ั ในการเตรียมทตี่ ้ัง และการดำเนนิ กลยุทธ์ในการตโี ตต้ อบการเตรยี มการสนบั สนนุ อย่างตอ่ เนื่อง ในการดำรงสภาพการรบให้มีความตอ่ เนอ่ื งเพ่ือรกั ษาน้ำหนักการรบใหเ้ หนือกวา่ ขา้ ศึก ในพ้ืนทภี่ เู ขา ทมี่ ีข้อจำกดั ในการเคล่ือนยา้ ยเพอื่ สนบั สนนุ ส่วนกำลังรบ จะตอ้ งมีการประสานการปฏิบตั ิรว่ มกบั หนว่ ยทีร่ บั ผดิ ชอบด้านการขนส่ง ทัง้ ในสว่ นของกองทัพบก กองทพั อากาศ และสัตวต์ ่าง เป็นต้นแบบของการดำเนนิ กลยทุ ธไ์ ดแ้ ก่การเข้าตีโอบ เปน็ การเขา้ ตีท่ีพงึ ประสงคม์ ากกว่าการเข้าตีเจาะ การต้ังรับแบบจุดด้านทานแขง็ แรง หรอื การวางกำลงั การรบในพ้นื ท่ีปา่ และภเู ขา 2 - 61 การป ิฏ ับ ิตการทาง ุยทธ ิว ีธ ระวังปอ้ งกันรอบตวั อาจจะมดี ้านปกี หรอื จดุ อ่อนท่เี หมาะสมต่อการเขา้ ตจี ากหลายทศิ ทาง กำลังส่วนท่ีจะเขา้ ตีโอบ มกั จะใช้เทคนคิ การแทรกซึมในการเคลอ่ื นยา้ ยเขา้ ไปวางตัว ณ พน้ื ทเี่ ตรยี มตะลมุ บอน ขณะท่ีกำลงั ส่วนหนง่ึ ทำการ วางตวั เฝา้ ตรวจ และยิงกดตอ่ ท่หี มาย การเข้าตเี จาะ การเข้าตีตรงหนา้ จะกระทำเมอื่ ไดร้ ับการยงิ สนบั สนุนทั้งการยิงเลง็ ตรง และเลง็ จำลอง อยา่ งหนาแน่น แต่การเขา้ ตีในรูปแบบน้มี โี อกาสนอ้ ยท่จี ะเอาชนะการต้ังรบั ของข้าศึก ดว้ ยข้อจำกดั ของภมู ิประเทศ ทำให้เปน็ ไปได้ ยากที่ผู้บังคับบัญชาจะท่มุ กำลังในเขา้ เขา้ ดำเนนิ กลยุทธ์ เพ่อื ทำลายข้าศกึ ทวี่ างกำลงั ตง้ั รบั และเคล่อื นที่ไปอย่าง รวดเรว็ เพอ่ื เข้าตีทห่ี มายในทางลกึ ต่อไป แบบของการรบดว้ ยวิธีรุกไดแ้ ก่ การเคล่ือนท่เี ข้าปะทะ เพอ่ื เป็นการรบั ประกนั ว่าการปะทะ จะเกิดข้ึน หนว่ ยจะทำการเคลอ่ื นทีเ่ ปน็ ตอนการเดินหลาย แนวทาง และดา้ นทขี่ า้ ศึกมักจะยดึ พน้ื ทีไ่ ด้เปรยี บในทสี่ ูง และ วางกำลงั เป็นแนวตามท่ีสงู มากกวา่ จะวางกำลงั ในทางลกึ ดังนน้ั การเคลือ่ นทต่ี ามแนวสัน รูปที่ 2-5-27 การเคล่อื นทีเ่ ข้าปะทะ เขาเป็นสง่ิ ทพ่ี งึ หลีกเลีย่ ง สว่ นระวงั ปอ้ งกนั ทางด้านปีกจะต้อง เผชญิ การคกุ คามจากข้าศึกที่พยายามแทรกซมึ เขา้ มาในชอ่ งวา่ ง รอยต่อระหว่างหน่วยหมวดลาดตระเวนจะเคลื่อนทไ่ี ปยงั ที่สูง จัดตง้ั ทีต่ รวจการณ์ เพี่อท่จี ะช่วยในการควบคมุ การเคลือ่ นท่ี จัดการปอ้ งกันดา้ นปีก และเตรยี มการปรบั การยงิ เล็งจำลอง กรณีเกดิ การปะทะ หมวดเคร่อื งยิงลกู ระเบดิ ของกองพนั จะถกู แยกออกเปน็ ตอนเพอื่ ให้มีความคล่องตัวในการสนับสนนุ หน่วยต่างๆ ไดอ้ ย่าง ทันทเี ม่อื มีเหตกุ ารณ์ หมวดจะเคลือ่ นที่ด้วยเทคนิคการเฝา้ ตรวจ สลับภูมิประเทศสำคญั ตามแนวทางเคล่อื นที่จะต้องถูกยึดควบคุม และทำให้ปลอดภัยด้วยกำลังขนาดเล็ก การเข้าตี เป็นการยากทห่ี น่วยใหญก่ วา่ ระดบั กองร้อยจะทำการ เขา้ ตีเรง่ ด่วนตอ่ ขา้ ศกึ ท่ีมีการเตรยี มทมี่ นั่ รบเปน็ อย่างดี การเข้าตี รูปท่ี 2-5-28 การเข้าตี ประณตี เปน็ สิ่งจำเป็นทพี่ ึงประสงค์ในการปฏบิ ัตกิ ารของหนว่ ยระดับกองพัน ในเวลากลางคืนและภาวะที่ทัศนะวสิ ัย จำกดั มคี วามเหมาะสมในการปฏิบัตกิ าร พ้ืนทอ่ี บั กระสุนทีอ่ ยู่ในระยะยิงของปืนใหญจ่ ะต้องถูกวางแผนการยงิ ดว้ ย อาวุธชนิดอ่ืนๆ เชน่ เฮลิคอปเตอรแ์ ละการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลช้ ดิ ในการวางแผนการปฏบิ ัติเมื่อยึดท่หี มาย ได้สำเรจ็ จะต้องพจิ ารณาถงึ การส่งกำลัง การเคลือ่ นทเี่ ขา้ วางตวั ของอาวุธยิงสนับสนนุ และการสง่ กลบั ผ้บู าดเจบ็ 2 - 62 การรบในพื้นท่ีป่าและภูเขา การตโี ฉบฉวย จะเป็นการปฏบิ ตั ดิ ้วยการเดนิ เท้าหรอื การเคล่ือนย้ายทางอากาศเป็นหลัก จะใชเ้ ทคนคิ การแทรกซึม การป ิฏ ับ ิตการทาง ุยทธ ิว ีธเขา้ สู่พื้นที่เป้าหมาย และใชเ้ วลานานจงึ ต้องนำแต่สิ่งอปุ กรณท์ ่มี ีขนาดเบาและมีความจำเป็นติดตัวการวางแผนการยงิสนบั สนนุ จะต้องคลอบคลุมเสน้ ทางการเคล่ือนที่ โดยเฉพาะในระหว่างการถอนตวั ส่งิ สำคัญคอื ผบ.หน่วยลาดตระเวนตโี ฉบฉวย จะตอ้ งทราบว่าพื้นที่ใดเป็นพนื้ ทีอ่ บั กระสนุ ปืนใหญ่การลาดตระเวนด้วยกำลังและการเข้าตีลวง ด้วยภูมิประเทศท่เี ป็นขอ้ จำกัดในการเคล่ือนท่ี ภารกิจในการลาดตระเวนดว้ ยกำลังและเขา้ ตีลวงจะเปน็ การปฏบิ ตั ใิ นกรณีท่ไี ม่มที างเลือกการปฏบิ ัติดว้ ยวธิ ีอนื่ การปฏบิ ตั ิการใช้พื้นฐานทางยุทธวิธีเชน่ เดียวกบั การเขา้ ตีประณตี แตจ่ ะไมท่ ำการยดึ ควบคมุ ภูมปิ ระเทศ การขยายผลและไล่ตดิ ตาม จะเริม่ ข้ึนเมอื่ สถานการณข์ า้ ศกึ เพลี่ยงพลำ้ หน่วยเคล่ือนทท่ี างอากาศและเฮลคิ อปเตอร์โจมตี จะมีความเหมาะสมเปน็ อยา่ งย่ิงในการปฏบิ ตั กิ าร ด้วยข้อจำกัดในความคลอ่ งแคล่วของการเคลอ่ื นที่ทางภาคพ้ืนดนิ ควรมีการปฏบิ ัตดิ ว้ ยหนว่ ยขนาดเลก็ ท่สี ุดและทำการแยกข้าศึกในทมี่ ั่นรบออกจากกันไม่ให้สามารถชว่ ยเหลือซ่ึงกนั และกันได้ หลักพ้ืนฐานของการรบด้วยวิธรี บั จะตอ้ งปรับให้เหมาะสมกบั ภูมิประเทศปา่ ภูเขาแนวความคดิ ในการตงั้ รับในพืน้ ที่ป่าภูเขา จะต้องทำการควบคมุ พน้ื ทสี่ งู เพือ่ คงไวซ้ ง่ึ ความได้เปรียบและทำการรบจากพื้นท่สี ูงลงสู่พืน้ ทีต่ ่ำ การศกึ ษาขา้ ศกึ สภาพแวดล้อมของพ้นื ท่ีปา่ ภเู ขาสง่ ผลกระทบตอ่ ข้าศกึ และยุทโธปกรณข์ องขา้ ศึก เช่นเดียวกับฝ่ายเรา ขา้ ศกึหลีกเลีย่ งการเขา้ ตีตรงหน้า โดยจะเข้าตีทางด้านปีกหรอื ใช้การแทรกซึมทางลกึ การศกึ ษาสนามรบ ฝ่ายตงั้ รับจะต้องมองความเปน็ ไปไดท้ ขี่ า้ ศึกจะทำการเขา้ ตีไว้ในหลายๆ ทิศทาง ขา้ ศกึ มกี ารประกอบกำลังอยา่ งไร จะเคล่อื นท่ีมาในทิศทางไหน และจุดแข็งของข้าศกึ คอื อะไร ซ่งึ จะตอ้ งรวบรวมขา่ วสารเหล่านี้อย่างตอ่ เนือ่ ง และดำเนนิ การในการตอ่ ตา่ นข่าวกรองดว้ ย รวมอำนาจกำลงั รบในเวลาและสถานท่วี กิ ฤติ ผบ.หนว่ ย จะตอ้ งตดั สนิ ใจวา่ จะใชก้ ำลงั เท่าไหรเ่ พือ่ เอาชนะข้าศกึ ในพื้นที่ทหี่ นว่ ยทำการรบแตกหัก ซ่งึ จะตอ้ งตดั สินใจบนพ้นื ฐานของข้อเทจ็ จริงของผลผลติ ของการรวบรวมข่าวสารและขา่ วกรองการตงั้ รับจะวางกำลังตามแนวทางการเคลอ่ื นที่ท่คี าดวา่ ข้าศกึ จะเคลื่อนทีเ่ ข้ามาโดยการวางกำลงั หมวดกองร้อย ในท่มี ั่นรบ หรอื จุดตา้ นทานแขง็ แรง ท่สี ามารถชว่ ยเหล่อื ซ่งึ กันและกนั ไดช้ อ่ งว่างระหว่างหน่วยจะถกู ชดเชยด้วยการลาดตระเวน, การวางเซนเซอรต์ รวจจบั ทางภาคพน้ื ดนิ และสนามท่นุ ระเบดิ (จะต้องคมุ้ ครองดว้ ยการยิง)เนอ่ื งจากข้าศกึ มกั จะทำการเข้าตีทางปีกหรือทำการเขา้ ตีทางลกึ ในพืน้ ที่สว่ นหลงั จึงมีความจำเป็นในการใช้ชุดลาดตระเวนทำการเฝ้าตรวจในพืน้ ท่แี ละแจง้ เตอื นลว่ งหนา้ เม่ือตรวจพบความเคล่ือนไหวและทำลายขา้ ศกึ ทพ่ี ยายามแทรกซึมเขา้ มาต่อไปโครงร่างสนามรบของการต้งั รบั ในพน้ื ท่ีปา่ ภเู ขา การปฏิบตั ขิ องฝ่ายตง้ั รบั ในพื้นทป่ี า่ ภูเขา มคี วามจำเป็นในการควบคมุ ภูมปิ ระเทศสูงขม่ ซงึ่ จะมผี ลดีในการตรวจการณแ์ ละพน้ื การยิง และเป็นการยากที่ฝ่ายเขา้ ตี จะทำการเข้าตีทำให้การกำหนดโครงร่างสนามรบของการตั้งรับแบง่ ได้ ดังนี้ พืน้ ท่ีระวงั ป้องกนั , พน้ื ท่ีการรบหลัก และพนื้ ทีส่ ว่ นหลงั พนื้ ท่ีระวงั ปอ้ งกนั เร่มิ ตั้งแตแ่ นวปะทะลงมาด้านหลังจนถึงขอบหนา้ พน้ื ทีก่ ารรบซง่ึ เปน็ พน้ื ท่ีปฏบิ ตั กิ ารของส่วนกำบัง พ้ืนทีก่ ารรบหลกั การวางกำลังในท่ีมัน่ รบบนขอบหนา้ พ้นื ท่กี ารรบจะตอ้ งวางห่างจากกนั ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่อย่างน้อยทสี่ ุดท่ีม่ันรบและท่ตี รวจการณค์ วรจะวางเป็นลำดับขั้นในทางระดบั เช่นเดียวกับการวางในทางลกึควรจดั กองหนนุ ขนาดเลก็ เอาไว้ใกลท้ ม่ี น่ั ตงั้ รบั หลัก เตรยี มพรอ้ มในการตโี ต้ตอบในทนั ที โดยใช้โอกาสทขี่ ้าศึกกำลงัเหน่ือยลา้ จากการเขา้ ตีขึ้นมาบนทส่ี ูง ก่อนทข่ี ้าศึกจะวางตวั เสริมความมนั่ คงพ้นื ที่ส่วนหลงั พ้นื ท่สี ว่ นหลงั ซ่ึงประกอบดว้ ยส่วนสนบั สนุนต่างๆ อาจจะต้องวางกำลังในพ้ืนที่ที่เหมาะสมเช่นในหบุ เขาเล็กๆ และพงึ หลีกเลยี้ งพ้นื ท่ที ข่ี ้าศกึ สามารถตรวจการเหน็ ได้งา่ ยซง่ึ อาจจะตกเปน็ เป้าหมายของการโจมตีทางอากาศ, การยงิ ของปืนใหญ่ หรือการเข้าตีโฉบฉวยของหน่วยขนาดเลก็ ของข้าศกึ การรบในพ้นื ท่ีปา่ และภเู ขา 2 - 63 การป ิฏ ับ ิตการทาง ุยทธ ิว ีธ รูปที่ 2-5-29 ตัวอย่างการวางกำลงั ตั้งรบั เป็นแนว รปู ท่ี 2-5-30 ตัวอย่างการวากำลงั จดุ ตา้ นทานแขง็ แรง รปู ที่ 2-5-31 ตัวอยา่ งการวางกำลังตงั้ รับทางลึก 2 - 64 การรบในพ้นื ทีป่ า่ และภเู ขา การปฏิบตั กิ ารยุทธ์ข้ามลำน้ำ การป ิฏ ับ ิตการทาง ุยทธ ิว ีธ 1. ความมุ่งหมายของการยุทธ์ขา้ มลำนำ้ คอื การเคลอื่ นยา้ ยหน่วยโจมตีขา้ มลำนำ้ ซึ่งเปน็ เคร่ืองกีดขวางให้ได้เร็วมากทส่ี ุดและสูญเสยี นอ้ ยทีส่ ุดเพ่ือเขา้ ตีทำลายขา้ ศกึ ตอ่ ไปหรือเพ่ือยึดพนื้ ที่แหง่ หน่ึงบนฝง่ั ไกลคุ้มครองการข้ามลำนำ้ของกำลังส่วนทีเ่ หลอื 2.คำจำกัดความ หัวสะพาน คือ พน้ื ทแี่ หง่ หน่ึงบนฝงั่ ไกลทยี่ ึดไว้ได้หรือทีจ่ ะเขา้ ทำการยึดใหไ้ ด้ กำลงั ท่ีทำการข้ามคือกำลงั ท้ังสนิ้ ที่เกี่ยวขอ้ งในการข้ามลำน้ำ กำลังโจมตีคอื หน่วยหลักของกำลังท่ีทำการข้ามและล่วงหน้าไปบนฝั่งไกลกวา้ งดา้ นหนา้ ในการขา้ มคือ ความยาวของลำนำ้ ทงั้ หว้ งทอี่ ยูใ่ นเขตของกำลงั ท่ที ำการขา้ มท่าขา้ ม คือ บริเวณตามลำน้ำทม่ี ลี กั ษณะเหมาะสำหรบั การปฏบิ ัตกิ ารขา้ มลำน้ำ พน้ื ท่ขี า้ มคอื พ้นื ทก่ี ำหนดข้ึนเพื่อให้สะดวกตอ่ การควบคุมการหมุนเวยี นของหนว่ ยทหาร ยทุ ธภณั ฑ์และสง่ิ อุปกรณ์ท่ีจะเคล่อื นยา้ ยขา้ มลำนำ้ โดยทางผวิ พน้ื 3. หวั ขอ้ ขา่ วสารสำคัญ (หขส.) และความตอ้ งการข่าวกรองอนื่ ๆ (ตขอ. ) ขดี ความสามารถของข้าศกึ ในการยบั ย้ังการขา้ ม, ลกั ษณะของลำนำ้ , ท่ีตั้ง, ลกั ษณะของเครือ่ งกดี ขวางตามธรรมชาติและท่สี รา้ งขนึ้ ภูมิประเทศลมฟา้ อากาศทรพั ยากรในท้องถิน่ 4. การแบง่ ข้นั การขา้ มลำนำ้ ปกตแิ บ่งเปน็ ข้ันเดียว, สองขน้ั หรือสามข้ัน • การขา้ มข้นั เดยี ว สามารถข้ามลำนำ้ และเขา้ ยดึ หัวสะพานไว้ท้งั หมดด้วยการเข้าตอี ย่างต่อเนือ่ งเพยี งครั้งเดยี วไมม่ ีที่หมายระหวา่ งทาง • การข้ามสองขัน้ มีการหยุดช่วั คราวใหม้ เี วลาพอในการจดั ระเบยี บและสรา้ งสมกำลังอยา่ งจำกัด มกี ารประสานเพื่อยึดหวั สะพานและมที ีห่ มายระหวา่ งทาง 1 แห่ง • การขา้ มสามขัน้ มที ีห่ มายระหวา่ งทาง 2 แหง่ ข้ันที่ 1 บกุ ข้ามลำนำ้ ยดึ ทีห่ มายระหวา่ งทางขนั้ ท่ี 2 สร้างสมกำลังตามความต้องการ ติดตามดว้ ยการยดึ ทหี่ มายระหวา่ งทางอำนวยใหจ้ ัดระเบียบใหมไ่ ด้ตามความจำเปน็ ขัน้ ที่ 3 การสร้างสมกำลงั และเขา้ ตีประสานเพื่อยดึ หวั สะพานสว่ นทีไ่ ดร้ ับมอบ5. ข้อพจิ ารณาในการแบง่ ขัน้ การขา้ มลำน้ำ ข้ึนอยู่กับลกั ษณะของเครอื่ งกีดขวาง ขีดความสามารถของกำลงั บกุ ขา้ มการยงิ สนบั สนนุ และการช่วยรบทม่ี ีอยู่ ระยะทางและภูมปิ ระเทศจากลำนำ้ ถึงแนวหัวสะพาน ขดี ความสามารถของข้าศกึ ทจ่ี ะขัดขวางการข้ามและการรุกคบื หนา้ บนฝัง่ ไกล6. ท่าขา้ ม คณุ ลักษณะพงึ ประสงค์ของท่าขา้ มควร มขี า่ ยถนนด,ี สภาพของฝ่ังดี, เปน็ ตอนทล่ี ำน้ำมีความกวา้ งน้อย, มกี ารซอ่ นพรางและกำบงั ด,ี ลำนำ้ โค้งเข้าหาฝ่ายเข้าตี, ปราศจากสิง่ กดี ขวางในท้องนำ้ และบนฝงั่ ใกล้ภมู ิประเทศ มลี ักษณะสงู ข่ม7. การประกอบกำลังในการยุทธ์ขา้ มลำน้ำ แบง่ เป็นหลักๆ 5 ส่วน ได้แก่ ส่วนบกุ ส่วนยิงสนับสนุน สว่ นทหารช่างสว่ นตดิ ตามและส่วนหลัง8. รายละเอียด/ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั กิ ารขา้ มลำน้ำ • การจดั กำลังชุดขา้ มลำน้ำ 1) หมายเลข 1 : พลว่ายนำ้ ล่วงหน้าเพื่อ รปภ. และชว่ ยเหลอื ยงั ฝั่งไกล 2) หมายเลข 2 : พลดงึ เชอื กมหี น้าท่วี ่ายขา้ มลำน้ำนำปลายเชือก 120 ฟตุ ไปผกู ยงั ฝั่งไกล 3) หมายเลข 3 : พลชว่ ยชวี ิตฝ่ังใกลเ้ ป็นคนสุดท้ายทีข่ า้ มลำนำ้ 4) หมายเลข 4 : ผูบ้ ังคบั ชุดสรา้ งสะพาน 5) หมายเลข 5 : และ 6 พลผกู ยึดเชอื ก • สะพานเชอื กเด่ียว (การขา้ มแบบเปยี กนำ้ ) 1) อุปกรณ์พเิ ศษห่วงต่อปิดเปิด (Snaplinks) ใช้ 2 ห่วงต่ออุปกรณท์ ีม่ ีนำ้ หนักมาก ห่วงตอ่ ปิดเปดิ 2 ตวั ทุกระยะเชอื ก 120 ฟุต เชอื กอเนกประสงค์ยาว 14 ฟุต คนละ 1 เสน้ (Ranger Rope) วงต่อปิดเปิด 2 ตัว ต่อทหาร 1 คน ถุงพลาสตกิ กนั น้ำ 1 ถงุ สำหรับพลวทิ ยุ เส้อื ก๊ักชูชพี ชนดิ ติดหลอดคารบ์ อนไดออกไซด์ 3 ตัว (ดงึ สลักแลว้ ลอยน้ำได้) เสอื้ ก๊กั ชชู พี ชนดิ ทำดว้ ยวัสดุลอยน้ำ 3 ตัวเชอื กไนลอนยาว 120 ฟุต 2 เสน้ การยทุ ธ์ข้ามลำน้ำ 2 - 65 การป ิฏ ับ ิตการทาง ุยทธ ิว ีธ 2) การวางแผนเตรียมภาคผนวกเร่อื งการขา้ มลำน้ำใหส้ อดคลอ้ งกับคำส่ังยุทธการของหน่วยวางแผนการ จัดกำลังเพ่ือให้บรรลุความสำเรจ็ ในระดับหมวดมอบภารกจิ ใหห้ มใู่ ดหมหู่ น่งึ จัดเปน็ ชุดสรา้ งสะพานโดยให้ ผบ.หมู่ เปน็ ผบ.ชุดสร้างสะพาน 3) การซกั ซ้อมและการตรวจชดุ ขา้ มลำน้ำตอ้ งมกี ารซักซอ้ มโดยสม่ำเสมอทำการซักซ้อมใหเ้ หมือนการ ปฏบิ ตั ิเทา่ ที่จะสามารถทำได้ ใหม้ คี วามเช่อื ม่นั ว่ากำลังพลมีความชำนาญในกลวิธีในการข้ามลำนำ้ 4) ข้นั การปฏบิ ตั ลิ ำดบั ขนั้ ในการสร้างสะพานขา้ มลำนำ้ ด้วยเชือกเสน้ เดยี ว ผบ.หน่วยหยุดหนว่ ยใกล้กับ ลำน้ำจัดชุดระวังป้องกันรอบพ้นื ทแี่ ละทำการลาดตระเวนพน้ื ทโี่ ดยรอบเพ่อื ตรวจหาร่องรอยของข้าศกึ ท่ีอาจมีและ สงั่ การ ผบ.ชุดสร้างสะพาน เรม่ิ สร้างสะพาน จดั ชดุ ระวังป้องกันทางดา้ นเหนือน้ำและใต้นำ้ ในระหว่างที่ ผบ.หน่วย ให้ขอ้ สรุปแก่ ผบ.ชุดสร้างสะพาน สำหรับการกำหนดจุดปักหลักสมอผกู สะพานเชอื ก ผบ.หน่วยนบั ยอดผ้ขู า้ มทีละคน ชดุ สร้างสะพานเริ่มสร้างสะพานเชอื กในขณะทกี่ ำลังพลในหน่วยเตรยี มการส่วนบุคคลในการขา้ ม ผบ.ชดุ สรา้ งสะพาน รบั ผิดชอบในการสรา้ งสะพานเชอื กเด่ียวและกำหนดจุดปักหลกั สมอดา้ นฝัง่ ใกลแ้ ละฝั่งไกล ถา้ ทัศนวิสยั ยังมองเหน็ ฝั่งไกลไดช้ ดั ผบ.ชุดจะใชเ้ ชอื กจู่โจม (เชอื ก14ฟุต) ของทหารแตล่ ะคนผกู รอบตวั ทหารนัน้ แลว้ ล๊อกด้วยเง่อื นบว่ ง หกู ระต่ายปลายเชือกท่ีเหลือผกู เปน็ เงอ่ื นบ่วงหูกระตา่ ยให้มรี ะยะหา่ งจากตัวทหารไม่ถึง 1 ชว่ งแขน กวดขันวนิ ัยเร่ือง เสียงแสงและดำรงการระวังป้องกนั ทหารแต่ละคนเกาะหว่ งตอ่ ปิดเปดิ (Snaplink) เขา้ กบั บว่ งหกู ระตา่ ยทป่ี ลายเชือก ของตนแลว้ เกยี่ วหว่ งตอ่ ปดิ เปดิ เข้ากบั โครงศูนยห์ ลังของ ปลย.เอ็ม.16 หรอื M 203 สำหรับ ปก.M 60 ใช้หว่ งต่อปิด เปดิ 2 อันเกาะทโี่ ครงศูนยห์ น้าและทห่ี กู ระวินล่างของปนื พนกั งานวิทยุ (และทหารอืน่ ๆ ที่มีเปส้ นามหนกั มาก) ใหเ้ พม่ิ ห่วงตอ่ ปดิ เปิดเกาะเขา้ ทโ่ี ครงโลหะของเปส้ นามตรงกลางของขอบด้านบน • แพสร้างดว้ ยผา้ ยางกนั ฝน แพผา้ ยางใช้สร้างขา้ มลำนำ้ ทีก่ ระแสนำ้ ไม่ไหลเช่ยี วมีประโยชนเ์ มอ่ื ต้องการไมใ่ หย้ ทุ โธปกรณ์ต่างๆ เปียกน้ำ 1) อุปกรณท์ ่ีต้องการใช้ 1 ชุดขา้ ม ผ้ายางกันฝนสภาพดี 2 ผนื , ปืนเลก็ ยาว 2 กระบอก, เป้สนาม 2 ใบ, เชอื กยาว 10 ฟตุ , เชอื กจู่โจม 1 เส้นตอ่ 1 ชุดขา้ ม 2) เง่ือนไข : แพผา้ ยางจะใช้ข้ามลำน้ำเม่ือเผชิญกับเงอ่ื นไขบางอยา่ งหรือทกุ อยา่ งดงั ต่อไปนล้ี ำนำ้ กวา้ งเกนิ กว่าท่ีจะใช้เชอื ก 120 ฟตุ ทำสะพานได้, ฝ่งั ลำน้ำทัง้ ดา้ นใกล้หรือไกลไมม่ พี ้ืนทีพ่ อท่ีจะปกั หลกั สมอเพื่อสรา้ งสะพาน เชอื กหรือเมอ่ื กระแสนำ้ บริเวณท่าขา้ มไมไ่ หลแรงจนผดิ ปกติ 3) การปฏบิ ัติการสรา้ งแพผา้ ยางทำตามลำดบั ดังนี้ จัดกำลงั พลของหนว่ ย ลว. ออกเปน็ คู่บดั ดี้เพอ่ื ยุทโธปกรณท์ ำแพไดเ้ พยี งพอใชเ้ ชือกผูกมัดผา้ ยางผืนที่ 1 ส่วนทีเ่ ป็นถงุ คลมุ ศีรษะปดิ ช่องไม่ใหน้ ำ้ เข้ากางผ้ายางลงบน พื้นใหด้ า้ นที่มัดไวอ้ ยู่ด้านบน อาวธุ ประจำกายวางลงกลางผ้ายางแยกห่างกันประมาณ 18 นิว้ สลบั หัวทา้ ย กนั วางเป้ สนามและสายโยงบา่ ลงระหว่างอาวธุ ให้หา่ งกนั มากทส่ี ดุ ทางหวั –ทา้ ยคู่บัดดีถ้ อดเคร่ืองแบบออก (จากรองเทา้ ถึงศีรษะ) สิ่งแรก คือถอดรองเทา้ ออกดึงสายรองเท้าออกเพอ่ื ใช้เป็นเครอ่ื งผกู มัดใชร้ องเทา้ คลอบปลายลำกลอ้ งและพานทา้ ยหนั หวั รองเทา้ เข้าดา้ นในถอดเครอื่ งแบบออกพบั ใหเ้ รียบรอ้ ยวางทับบนรองเทา้ เม่อื วางยุทโธปกรณ์ทกุ ชน้ิ ลงระหว่างปืนทง้ั 2 กระบอก แลว้ ให้ตดิ กระดุมผ้ายางเข้าด้วยกันม้วนชายให้พนั ขมวดเข้าใหแ้ นน่ ช่วยกนั มัดท่อผ้ายางตัวเชอื กเริ่มจาก สว่ นกลางออกไปยงั ปลายทงั้ 2 ดา้ น แลว้ พับปลายแตล่ ะด้านเขา้ มาพนั ด้วยเชือกใหแ้ น่นเป็นหางหมูโยงเขา้ หากนั ทง้ั 2 หัว หางผ้ายางผนื ที่ 2 ผูกมัดสว่ นถุงคลุมศรี ษะใหแ้ นน่ เชน่ เดยี วกนั กางลงบนพืน้ ดนิ นำห่อผ้ายางหอ่ แรกทีม่ ัด แล้ว วางตรงกลางแล้วตดิ กระดมุ และม้วนชายเข้ามาและมดั ด้วยเชอื กให้แน่นเหมอื นหอ่ แรกใช้เชอื กจ่โู จมมัดรอบนอกเปน็ ปล้องๆ ห่างกันประมาณ 1 ฟตุ ตลอดความยาวของหอ่ ผ้ายางเปน็ อันวา่ แพยางสรา้ งเสร็จเรียบร้อย • ยุทโธปกรณ์แสวงเครื่องในสนาม เมอื่ ถงึ เวลาออกปฏบิ ัตภิ าคสนามทหารจ่โู จมอาจไดร้ บั คำสัง่ ใหข้ ้ามลำน้ำทีล่ กึ ซงึ่ ไมอ่ าจลุยข้ามไปไดโ้ ดย ไมม่ ยี ุทโธปกรณ์ใดๆ ในการสรา้ งสะพานเชอื กเสน้ เดย่ี วไดห้ นว่ ยของทา่ นสามารถใชย้ ทุ โธปกรณ์บางชนดิ เทา่ ทมี่ อี ยู่ให้ เป็นสิง่ ท่มี ีคณุ คา่ ขึ้นมาได้ 1) ยุทโธปกรณ์ทห่ี น่วย/หมวดของทา่ นทีน่ ำตดิ ตัวไปทน่ี ำมาใช้ได้คือสายโทรศัพท์สนาม, กลอ่ งเหล็กบรรจุ กระสนุ (กลอ่ งเปล่า), เข็มขดั สนาม, กระตกิ น้ำ, ทีน่ อนยาง, ถงุ ยางกันน้ำ, ขวดนำ้ 2 - 66 การยุทธข์ า้ มลำนำ้ 2) การปฏิบัตใิ ชส้ ายโทรศัพท์สนามผูกทำสะพานเชอื กเดีย่ วด้วยวธิ ีการผูกเชน่ เดียวกับเชือก 120 ฟตุ แต่ การป ิฏ ับ ิตการทาง ุยทธ ิว ีธต้องระวังไม่ขึงจนตงึ เกนิ ไปเพราะอาจขาดได้เมอ่ื รับนำ้ หนกั ของมากๆ กลอ่ งเหล็กบรรจกุ ระสุน (กล่องเปล่า) ใช้ผกู ติดปลายเขม็ ขัดสนามทัง้ 2 ด้านใชเ้ ปน็ ทนุ่ ลอยน้ำ (Water Wings) กระตกิ นำ้ เทนำ้ ออกหมด 10 ใบผูกตดิ ปลายเขม็ ขัดสนามข้างละ 5 ใบใช้เป็นชชู พี ให้ทหารที่ว่ายน้ำไม่เปน็ ถงุ ยางกนั น้ำบรรจุยุทโธปกรณ์ส่วนบุคคลผูกปากถุงให้แนน่ ใช้เปน็ ชูชพี ขวดนำ้ (พลาสตกิ ) เปล่าๆ (ขวดใหญ่) ใช้เปน็ ชชู พี ได้กางเกงชดุ ฝึกผูกปลายขาใหแ้ นน่ เปา่ ลมใหพ้ องใชเ้ ปน็ ทุ่นลอยน้ำพยุงน้ำหนักขา้ มนำ้ ไปได้ (เม่ือเปยี กน้ำจะเกบ็ อากาศไว้ได)้ ยทุ โธปกรณ์ทม่ี ีน้ำหนักมากอาจใช้วิธีสง่ ข้ามลำนำ้ ได้โดยวางในเปลสนามแสวงเคร่ืองใช้ไม้กลม 2 ท่อนประกอบผ้ายางกนั ฝนเปลสนามที่ทำข้นึ วางบนแพผา้ ยาง 2 แพหัว/ท้ายมดั ใหแ้ นน่ ใชข้ ้ามลำนำ้ ได้9. การปฏิบัติการทางน้ำ (โดยเรอื โจมต)ี • ยทุ โธปกรณเ์ รือโจมตีแบบชดุ ปฏิบัตกิ ารพเิ ศษความยาวตลอดลำเรอื 15 ฟตุ 5 นวิ้ ความกวา้ งลำเรือ 6 ฟตุ 3 น้ิว น้ำหนัก 265 ปอนด์ นำ้ หนกั บรรทุกสงู สดุ 2,710 ปอนด์ พลประจำเรอื นายท้าย 1 คน, ฝีพาย 10 คนสามารถประกอบเครื่องยนต์ตดิ ท้ายขนาด 40 แรงมา้ ถงึ 65 แบบเพลาส้ัน • การจดั กำลัง 1) นายทา้ ยรบั ผิดชอบการควบคุมในเรือและการปฏิบัตขิ องพลประจำเรือ กำกบั ดูแลการบรรทุกการยึดตรงึและการแจกจ่ายยทุ โธปกรณร์ ักษาเสน้ ทางและความเร็วของเรือออกคำสั่งต่างๆ 2) ฝีพายหมายเลข 2 (นบั ยอด) รับผิดชอบจงั หวะฝพี าย • ฝีพายหมายเลข 1 เป็นผูต้ รวจการณ์และรับผดิ ชอบการเกบ็ และการใช้เชือกผกู ดงึ เรือเมอ่ื ไมม่ ีการมอบหนา้ ทใ่ี หพ้ ลตรวจการณ์คนอ่ืน รปู ที่ 2-5-32 ตำแหน่งบนเรอื รูปท่ี 2-5-33 ตำแหน่งพลประจำเรอื , นับยาว, นับสั้น • การเตรียมกำลงั และยทุ โธปกรณ์ กำลงั พลทกุ คนสวมเสือ้ ชูชีพ (หรอื อุปกรณ์ใดๆ ทลี่ อยน้ำได้) สวมสายโยงบา่ , หวั เข็มขัดสนามปลดออกจากกนั อาวธุ ประจำกายสะพายขวางลำกลอ้ งชเี้ ฉียงลงด้านในลำเรอื อาวธุ ประจำหนว่ ย, วิทยุ, กระสนุ และยุทโธปกรณ์ชน้ิ ใหญ่ๆ ต้องยึดตรึงให้มั่นคงกบั ตวั เรอื เพ่ือป้องกนั การสญู หาย • การปฏิบตั ิในการลงเรอื และขึน้ จากเรือ เม่ือนำเรือลงสู่ผวิ น้ำ, พลประจำเรือ (ฝพี าย) ยังคงจบั ที่หว่ งยกเรอื ไวข้ ณะเดนิ ลยุ ลงในนำ้ จนกวา่ จะข้ึนนงั่ ประจำตามตำแหน่งและทำในลกั ษณะเดียวกันเมอ่ื ยกเรอื ข้นึ สู่ชายหาดหรือขนึ้ บกพลประจำเรอื ยังคงยกเรือไว้จน การยทุ ธ์ขา้ มลำนำ้ 2 - 67 การป ิฏ ับ ิตการทาง ุยทธ ิว ีธ เรอื พน้ จากผวิ นำ้ การบรรทกุ และการลงจากเรอื ใหข้ น้ึ ลงทางหัวเรือ การกา้ วขึน้ เรอื และออกจากเรอื ให้รกั ษาแนว “จดุ ศูนย์ถว่ งลา่ ง” เพือ่ ปอ้ งกนั เรือพลกิ ควำ่ ดำรงจุดสัมผัสทง้ั 3 ไวต้ ลอดเวลา (ทอ้ งเรอื , กาบซา้ ย, กาบขวาติดพืน้ น้ำ ตลอดเวลา • รปู ขบวนเรอื เพ่ือการควบคมุ , ความเรว็ และการรกั ษาความปลอดภัยการจะเลือกใช้รูปขบวนใดขึน้ กบั สถานการณ์ ทางยุทธ์วธิ แี ละดลุ พินิจรปู ขบวนตา่ งๆ ดงั น้ี รูปขบวนล่มิ หรอื หวั ลูกศร, รปู ขบวนหนา้ กระดาน, รูปขบวนแถวตอนรูป ขบวนข้นั บนั ไดซา้ ย–ขวา, รูปขบวนวี รปู ที่ 2-5-35 รปู ขบวนเรือ -- หลักฐานอ้างอิง : 1. รส. 7 – 72 คู่มือราชการสนามวา่ ดว้ ยกองพนั ทหารราบเบาพ.ศ. 2541 2. รส. 7 – 20 คู่มือราชการสนามว่าด้วยกองพนั ทหารราบพ.ศ. 2530 3. รส. 7 – 10 คมู่ ือราชการสนามวา่ ด้วยกองรอ้ ยอาวุธเบาพ.ศ. 2547 4. รส. 7 – 8 คู่มอื ราชการสนามว่าด้วยหมู่หมวด ปืนเล็กทหารราบพ.ศ. 2548 5. รส. 90 – 10คมู่ อื ราชการสนามวา่ ด้วยการรบในเมอื ง พ.ศ. 2548 6. FM 90 – 6 Mountain Operations 7. คฝ. 7 – 20 คมู่ ือการฝึกวา่ ด้วยการฝกึ และการประเมินผลการฝกึ กองพนั ทหารราบ พ.ศ. 2546 8. คฝ. 7 – 10 คมู่ ือการฝกึ ว่าดว้ ยการฝึกและการประเมินผลกองร้อยอาวธุ เบา พ.ศ. 2547 9. คฝ. 7 – 8 คู่มอื การฝึกว่าด้วยการฝกึ และการประเมินผลการฝึกหมหู่ มวด ปนื เล็กทหารราบ พ.ศ. 2541 10. แบบประเมนิ ผลการฝกึ เป็นหน่วยกองพนั ผสม ศร. 11. แบบประเมนิ การฝึกตามหนา้ ท่ขี อง ศร. 12. เอกสารประกอบการสอน รร.ร.ศร. 13. แนวทางการปฏิบตั ิงานในการฝกึ เหล่า ร. พล.ร.9 2 - 68 การยทุ ธข์ า้ มลำนำ้ การเข้าตกี ลางวัน/ขัน้ เตรยี มการและการเคลอ่ื นย้ายหนว่ ยทางยทุ ธวิธี สน้ิ สดุ เมอ่ื : เคลือ่ นยา้ ยกำลังพลไปยงั แนวออกตี เริม่ ตน้ เม่อื : ผบ.หน่วยรบั คำส่งั จาก ผบ.หนว่ ยเหนอื เรยี บร้อยแล้ว ผบ.พนั .: ออกคำสั่งยทุ ธการให้กับ ผบ.หมู่ ผบ.หนว่ ยรอง, ฝอ./ส่วนท่เี กี่ยวข้องอน่ื ๆ:เสนอแนะการปฏิบตั ใิ ห้กบั ผบ.พนั . ผบ.ร้อย. ผบ.มว. 1.ผบ.รอ้ ย.มอบหมายการบงั คับบัญชาให้ รอง ผบ.ร้อย. 1.เมือ่ ผบ.มว.ได้รับมอบภารกจิ (คำส่งั จาก ผบ.ร้อย.) จะต้องซกั 1. สง่ั การให้ทันตรงเวลาที่ตนกำหนดไว้ในคำส่งั เตรยี ม เป็นผ้คู วบคมุ กองร้อย เม่อื ผบ.ร้อย.ไปรบั คำส่ังเขา้ ตจี าก ถามปญั หาตา่ งๆ จนเข้าใจ และประสานกับเจ้าหนา้ ทต่ี ่างๆ ภายในภมู ปิ ระเทศท่มี ีการปกปดิ กำบังโดยข้อความทส่ี ง่ั การ ผบ.พนั .และจะนำ ผบ.มว.ค.60 ผบ.หน่วยสมทบหรือ ของกองร้อยตามความจำเปน็ ทำการวิเคราะห์ภารกจิ เพือ่ ให้ ด้วยวาจาตอ้ งมีสาระสำคัญครบถ้วนตามหัวข้อคำสัง่ เจา้ หนา้ ท่ีพิเศษนายสิบสอื่ สารพนักงานวิทยโุ ทรศัพทแ์ ละ ทราบถึงภารกจิ เจตนารมณข์ อง ผบช. เหนอื ข้ึน 2 ระดับ, ภารกิจ ยุทธการ ใชค้ ำพดู สน้ั ชัดเจนสมบรู ณ์ พลนำสารไปรว่ มรบั คำส่งั ด้วย และเจตนารมณข์ อง ผบช. โดยตรง,กจิ เฉพาะ,กิจแฝง, ภารกจิ และ 2. ในการมอบหมายภารกจิ กบั หนว่ ยรองได้มกี ารเนน้ ย้ำจน 2.แจง้ ให้ ผบ.มว. ทราบใหท้ ราบวา่ จะไปพบ ผบ.ร้อย. งานทจ่ี ำเป็นต้องทำ, ขอ้ หา้ มและขอ้ จำกัด, ความมงุ่ หมาย มน่ั ใจว่า ผบ.หนว่ ยรองเขา้ ใจภารกจิ ของตน ผบ.หมู่ปล.จะ ทไ่ี หนเวลาใดใหเ้ คล่อื นยา้ ยกำลงั พลออกจากทรี่ วมพล 2. ผบ.มว.ปฏิบตั ติ ามภารกิจแถลงใหม่ และจัดทำแผนการใช้เวลา ตอ้ งตรวจตราและกำกบั ดแู ลการปฏิบัตงิ านภายในหนว่ ย เมอื่ ไรอาวธุ ยทุ โธปกรณ์ทจี่ ะตอ้ งนำติดตัวมอี ะไรบา้ ง (ตารางการใช้เวลา) ของตน ในเร่อื งการแจกจา่ ยกระสนุ จำนวนกระสุนตามอตั รา 3.แนะนำการใช้วิทยุให้กบั หน่วยรองตรวจความพรอ้ ม 3.ผบ.มว.ให้คำสั่งเตือนแก่ ผบ.หนว่ ยรอง ขณะเดียวกันใหเ้ คลอ่ื น มลู ฐานท่ี ทก.ร้อย.,เสบียงอาหารและการเลย้ี งดู อาวธุ กระสุนเครอื่ งแบบ อปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ นภารกจิ พเิ ศษ ยา้ ยหนว่ ยเทา่ ท่จี ำเปน็ กอ่ นการใหค้ ำส่ังยุทธการ และระบุรายการ 3. การปฏบิ ัตกิ ารตามระเบียบการนำหนว่ ยของหน่วยรอง ความรคู้ วามเข้าใจของทหารในภารกิจของตนตลอดจน ส่งิ ของท่จี ำเป็นนอกเหนอื จากท่รี ะบุใน รปจ. ในลักษณะท่ีใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิกิจเฉพาะต่างๆ ได้ทันเวลา ความรับผดิ ชอบเฉพาะ การติดตอ่ ส่อื สาร อาหารและนำ้ 4. กำลังพลของหมวด ตรวจความพรอ้ มรบเป็นบคุ คลในเร่ืองการ 4. เตรียมการตดิ ตอ่ สอ่ื สารท้ังทางสายและวทิ ยกุ ารปลดเป้ ก่อนการรบ ซอ่ มบำรุงและการตรวจสอบการทำงานของยทุ โธปกรณ์เคร่อื งมอื การจัดเตรยี มยทุ โธปกรณพ์ เิ ศษทจี่ ะนำไปใชใ้ นการเข้าตกี าร 4.ซักซ้อมเพือ่ ให้เกดิ ความม่นั ใจ มีการประสานงานที่ ตดิ ตอ่ ส่ือสารอปุ กรณ์ป้องกนั นชค.ยทุ โธปกรณ์พเิ ศษตา่ งๆ พ รางร่างกายและอาวธุ ยุทโธปกรณ์ สมบูรณ์ และสงั่ การรองผบ.รอ้ ย.ให้กำกบั ดแู ลในเรือ่ ง 5. ผบ.มว.วางแผนใชห้ น่วยโดยใชก้ ารประมาณสถานการณเ์ พื่อ 5. การเคลือ่ นทีจ่ ากท่รี วมพลไปยงั ฐานออกตี ที่พักและการเตรยี มทีร่ วมพลเพื่อให้ทนั เวลาตามทก่ี องพนั วิเคราะห์ข่าวสารปัจจัย METT-T กำหนดหนทางปฏิบตั ิ รวมถึง 1) ผบ.หมู่ ตรวจการพรางร่างกาย ยทุ โธปกรณ์และการผูก กำหนด ภารกิจเฉพาะเจาะจงกำหนดอาวธุ หลกั ที่จะใช้เพ่ือให้สำเรจ็ ภารกจิ รดั มดั ตรงึ กอ่ นการเคล่อื นท่เี ป็นครงั้ สดุ ท้ายนำหมู่ของตนเขา้ 5.ผบ.ร้อย. เปน็ ผูน้ ำกำลังพลส่วนใหญไ่ ปท่รี วมพลเมอื่ กำหนดแนวทางการเคลื่อนทหี่ ลัก พ้ืนที่อันตรายตา่ งๆ ในเขต ประจำรปู ขบวนหมวดไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง และตามกำหนดเวลาการปฏิบัตขิ อง ผบ.หนว่ ย-การเข้าตกี ลางวัน 2 - 69 เข้าท่ีรวมพลแลว้ ให้รายงานใหก้ องพันทราบและจะตอ้ ง ปฏบิ ัติการ 2) รูปขบวนการเคล่อื นทีต่ อ้ งเหมาะสมกบั ลกั ษณะ ดำเนนิ การจัดการระวงั ข้ันตน้ ของกองร้อยจัดชดุ ลว. ตาม 6. หมวดเร่มิ ทำการเคลอ่ื นย้ายสว่ นทจ่ี ำเปน็ ตามท่ีเวลาท่กี ำหนด ภูมิประเทศตามท่ี ผบ.หมู่ กำหนด มีการเคลอ่ื นทีล่ ดั เลาะ ความเหมาะสมแบ่งพนื้ ที่รับผดิ ชอบให้หนว่ ยรองและ ในคำสัง่ เตือน ไปตามภูมิประเทศอย่างสงบเงียบ และระมัดระวัง เพอ่ื การ หนว่ ยสมทบ เลือกทต่ี ัง้ ยิงให้กบั อว.ยิงสนับสนุน 7. หมวดทำการลาดตระเวนตรวจภมู ิประเทศโดยพจิ ารณาทีต่ ัง้ กำบงั และซ่อนพราง 6.หากกองรอ้ ยไดร้ บั มอบ อว.ตถ.ผบ.รอ้ ย. ควรกำหนดท่ี กำลงั การวางกำลัง และการปฏบิ ัติของขา้ ศึกการใชภ้ ูมิประเทศให้ 6. ผบ.หมู่ ใช้มาตรการควบคุมระหวา่ งการเคลือ่ นท่ี ควรจะ ตั้งยงิ ตามแนวการเคลือ่ นท่ี เพือ่ ให้สามารถทำลาย เป็นประโยชน์ และนำข้อมลู ที่ไดจ้ ดั ทำแผนทสี่ มบูรณ์ อยู่ ณ ที่ทต่ี นสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ได้อาวุธหลกั อยู่ ยานยนต์ล้อ หรอื ถ.ของ ขศ.ได้ 8. ประสานแผนและการปฏิบัติ กบั หน่วยเหนอื หน่วยขา้ งเคยี ง ณ ที่ทีผ่ บ.หมู่สามารถควบคุมการใชไ้ ด้ กำลงั พลภายในหมู่ 7.จัดรูปขบวนเตรยี มการเคล่อื นยา้ ย กำหนดฐานออกตี และหน่วยสนบั สนุนตา่ งๆ เช่นแผนการยงิ แผนการดำเนนิ กลยทุ ธ์ ปฏบิ ตั ติ ามที่ ผบ.หมูส่ ่งั การ (หมอบ,ลุก) และตามทศั นะ เปน็ พนื้ ท่ีๆ ใกล้นต.มากท่ีสุด เปน็ พ้นื ท่ๆี มีการปกปิด ข่าวกรองล่าสุดมาตรการควบคมุ การติดตอ่ ส่อื สารและสัญญาณ , สญั ญาณหรอื คำสงั่ ดว้ ยวาจา กำบงั ซอ่ นพราง กว้างขวาง เพียงพอกับกำลังพลของกอง ตารางการปฏบิ ัติความต้องการรบั การสนบั สนุน เม่ือรับมอบหน่วย 7. การปฏิบตั ิ ณ ฐานออกตี รอ้ ย ผบ.ร้อย.จะสั่งใหห้ ยดุ หน่วยทฐี่ านออกตเี ฉพาะกรณี สมทบจะต้องชแ้ี จงถึงภารกจิ ของหมวดและเจตนารมณข์ อง 7.1 ผบ.หมชู่ แ้ี จงสงั่ การทีเ่ ปน็ รายละเอียดเพ่ิมเติม ท่กี ารเตรยี มแผนยังไมส่ มบรู ณ์ หรอื กรณี ทนี่ ำหนว่ ยมา ผบ.มว. ใหร้ ับทราบ ประกอบภมู ิประเทศ แกท่ หารภายในหมดู่ ว้ ยความสงบ ถึงกอ่ นเวลาผ่าน นต. 9. กำกับดูแลการเตรยี มการเพือ่ ปฏบิ ตั ิภารกจิ โดยให้ ผบ.หน่วย เงยี บชแ้ี นวออกตแี ละทีห่ มายเข้าตีใหท้ หารแต่ละคนเหน็ การปฏิบัติการทางยุทธวธิ ี การปฏิบตั ิการทางยุทธวิธี2 - 70 การปฏิบตั ขิ อง ผบ.หนว่ ย-การเข้าตกี ลางวนั ผบ.ร้อย. ผบ.มว. ผบ.หมู่ 8. การเร่ิมการเคลือ่ นยา้ ยหนว่ ยไปขา้ งหนา้ คำแนะนำใน การเคลอื่ นย้ายนจี้ ะแจ้งอยใู่ นคำส่ังเตอื น ผบ.ร้อย. ข้ัน รองไดท้ ำการบรรยายสรุปกลับถงึ แผนของตนเพื่อใหม้ นั่ ใจวา่ เปน็ สำรวจอาวธุ ยทุ โธปกรณ ์ คอยรบั คำสั่งเพม่ิ เตมิ ประกอบ ตอนนม้ี ีการรักษาความปลอดภัย และมกี ารกำหนดพื้นที่ ไปตามเจตนารมณ์ ภูมิประเทศและเตรียมการเขา้ ตีเป็นครัง้ สดุ ทา้ ย ระดมยงิ รปู ขบวนของแตล่ ะหมวดไมค่ บั ค่ังและสบั สน , 10. จัดทำแผนการพกั ผอ่ นสำหรบั กำลงั พลภายในหมวด ซ่ึงข้ึนอยู่ 7.2 วางตวั ณ จดุ ทส่ี ามารถติดตอ่ ด้วยสายตากับ ผบ.มว. ผบ.รอ้ ย. และ ผบ.มว.สามารถ ตดิ ตอ่ กนั ได้ด้วยทัศนะ กบั รปจ.ของหน่วย และสามารถควบคุมหมไู่ ด ้ มกี ารประสานการปฏิบัตกิ บั สญั ญาณ มว.ค.60 เข้าท่ตี ง้ั ยิงเรียบรอ้ ย และพร้อมท่จี ะ 11. ผบ.มว.ให้คำสัง่ หรือปรบั ปรุงแก้ไขแผนที่ให้ไว้แต่แรก ซ่งึ คำสงั่ หน่วยข้างเคยี งเป็นครั้งสดุ ทา้ ยเฝ้าคอยสัญญาณการ ทำการยิงไดท้ ันที ระบบการตดิ ต่อสอื่ สารสามารถตดิ ต่อ หรือการแกไ้ ขจะตอ้ งอธบิ ายในรปู ของภารกจิ ปจั จบุ ันของ หมวด, เคลอื่ นที่ออกตีจาก ผบ.มว. กนั ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ เจตนารมณข์ อง ผบ.หนว่ ยเหนอื , สถานการณ์ขา้ ศึก, สถานการณ์ 7.7 ทหารทกุ คนในหมวู่ างตวั ในทไี่ ดร้ บั มอบอย่างถูกต้อง 9. ผบ.ร้อย.ควบคมุ การใช้รปู ขบวนของกองร้อย ให้ ฝ่ายเรา, ภูมิประเทศ สามารถจัดรูปขบวนเตรียมผ่านแนวออกตีในทันที เพราะจะ เหมาะสมกับสภาพภมู ิประเทศ และสถานการณ์ โดยใช้ 12. ผบ.มว.ทำการเลอื กเส้นทางสำหรับการเคลอื่ นที่โดยพจิ ารณา ไมอ่ ยูท่ ี่ฐานออกตี นานเกนิ ความจำเป็นติดดาบปลายปืน วจิ ารณญาณในการ ตดั สินใจ ใหม้ ีการซ่อนพรางจากการตรวจการณท์ ง้ั ทางพนื้ ดินและทาง หากภูมิประเทศไมเ่ หมาะสม ให้ไปติดท่แี นวประสานงานขั้น อากาศ มีการใชส้ ญั ญาณมอื และแขน จนกว่าจะเกิดการปะทะกับ สดุ ทา้ ย ขา้ ศึก, เมือ่ เกดิ การปะทะอาจใช้ทัศนะสัญญาณเสยี งตอ่ ไปนี้ เช่น พลุ นกหวีด หรือการสง่ั การด้วยวาจา(เสยี งสญั ญาณ)ผบ.มว.ต้อง ทราบทีอ่ ยู่ของตัวเอง และส่วนตา่ งๆ เชน่ สว่ นนำ สว่ นทอี่ ย่ทู าง ปีก หรอื สว่ นหลังของกองร้อยอยตู่ ลอดเวลา การเขา้ ตีกลางวัน/การดำเนินกลยุทธ์ เรมิ่ ตน้ เมื่อ: หนว่ ยเรมิ่ เคลื่อนทผี่ า่ นแนวออกตี ผบ.พนั .:อำนวยการยทุ ธก์ ับหนว่ ยรอง สิ้นสดุ เมือ่ : ทำการยดึ ที่หมายไดเ้ รยี บร้อย ฝอ./สว่ นท่ีเกี่ยวขอ้ งอื่นๆ:ตดิ ตามสถานการณ์ ผบ.ร้อย. ผบ.มว. ผบ.หมู่ 1.ผบ.ร้อย.ตอ้ งนำกำลงั พลของตนเคลอ่ื นท่ผี ่าน นต.ตาม 1. ผบ.มว.จดั กำลังของหมวดสำหรบั โจมตี 1.การเคลอื่ นท่ีผ่านแนวออกตหี มู่นำผา่ นแนวออกตี ตาม เวลาที่กำหนดในคำสัง่ เข้าตีของกองพัน ดงั นัน้ ผบ.ร้อย. กำหนดสว่ นโจมตี ซ่งึ ประกอบดว้ ยกำลังหรือ 2 หมู่ (ข้ึนอยู่กับว่า เวลาท่กี ำหนดหลังจากได้สญั ญาณการเคลอื่ นท่ีออกตีจาก ตอ้ งใหห้ นว่ ยนำของกองร้อยเคลอื่ นท่ผี ่าน นต. ตามเวลา หมวดปฏบิ ตั ิการเปน็ อิสระหรอื เปน็ ส่วนหนง่ึ ของกำลังสว่ นใหญ)่ ผบ.มว.ทหารทุกคนจะตอ้ งเคลอ่ื นท่ผี า่ นแนวออกตอี ยา่ ง อาจสง่ ชุด ลว.ออกไปกอ่ นเพอื่ ทำเครอื่ งหมายเส้นทาง กำหนดสว่ นสนบั สนนุ ซ้ึงประกอบดว้ ยกำลัง 1 หมู่ หรอื 2 หม ู่ ร ว ดเร็วและพรอ้ มเพรียงตามเวลาท่กี ำหนดหลงั จาก ผบ.หมู่ 2.ควบคมุ การปฏบิ ัติของ มว.ทกุ ระยะโดยการติดตอ่ 2.ผบ.มว.กำหนดพื้นที่ (ทต่ี ้ัง,ทีว่ างตัว) ต่างๆ สำหรบั การโจมตี สัง่ โดยใชร้ ปู ขบวนรบตามที่ ผบ.หมู่กำหนด ไมก่ ระจายกำลงั สือ่ สารทางวิทยุเปน็ หลกั หลงั จากท่ี ขศ.ล่วงร้กู ารเข้าตขี อง 1) ผบ.มว.กำหนดท่วี างตัวของสว่ นสนับสนุน และทศิ ทางยิง ออกจนกวา่ จะมคี วามจำเป็นทจี่ ะต้องทำการยงิ กบั ข้าศึกไม่ ฝา่ ยเรา ผบ.มว.ต้องรายงาน สถานการณ์ให้ ผบ.รอ้ ย. เป็นหลกั ใหแ้ ก่หวั หน้าสว่ นสนับสนุน เปิดเผยตวั ตนต่อการยิงของขา้ ศกึ ทราบอยตู่ ลอดเวลา ผบ.รอ้ ย.ต้องรายงานสถานการณ์ให้ 2) สว่ นสนบั สนนุ ทำการยิงอาวธุ ท่ีมีการเตรยี มการยงิ อยา่ งดี 2. การปฏิบตั ิการเขา้ ตี ผบ.พัน. ทราบตลอดเวลาเช่นกนั ด้วยปรมิ าณการยิงท่ีเหมาะสม อยา่ งต่อเนื่องเพือ่ ทำการกดขา้ ศกึ 1) ควบคุมหมู่เคลือ่ นท่ีในรปู ขบวนที่ มว.กำหนด 3. ผบ.มว.ค.60 พร้อมท่จี ะทำการยิงสนบั สนนุ ได้ทันทีเพอ่ื ภายใตก้ ารควบคุมของ ผบ.มว.ส่วนโจมตเี คล่ือนทไี่ ปยังพ้ืนที่ ที่มี เปลยี่ นแปลงรูปขบวนของหมตู่ ามลักษณะภูมิประเทศ ปอ้ งกนั การระดมยงิ คมุ้ ครองหน่วยดำเนนิ กลยุทธ์ตลอด การกำบงั และซ่อนพรางแหง่ สดุ ท้ายกอ่ นทำการโจมตใี ช้ควัน(ถ้าม)ี รกั ษาการตดิ ตอ่ ดว้ ยสายตากับหมอู่ นื่ ภายในหมวด และ ทิศทางเขา้ ตี เพอ่ื พราง (ปกคลุม ค้มุ กัน) การเคลอื่ นท่ี รักษาการติดตอ่ กับหมวดไวต้ ลอดเวลา 4.การควบคมุ การผา่ นตำบลกระสุนตกของ ค./ ป. ผบ. 2.3. ผบ.มว.หรือ ผตน. รอ้ งขอการยงิ เตรียมของควันหรือการยิง 2) ประมาณสถานการณ์โดยเร็วแล้ววางแผนการยิงตดั รอน รอ้ ย. ควบคมุ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพรวดเรว็ และปลอดภัย ของอาวุธวถิ โี คง้ ลงบนทห่ี มายก่อนการโจมตี กำลังและทำลายที่มน่ั ของขา้ ศึกจากการยงิ โดยวิธีเลง็ ตรง อาจมีการดำเนนิ กลยุทธ์โดยใช้การลวง การยงิ ในตำบล 2.4.ผบ.มว. ต้องม่นั ใจว่าทกุ ส่วนได้เขา้ ทวี่ า่ งต้งั (ทต่ี ง้ั ) ของตนเอง รายงานสถานการณแ์ ละการปฏิบัติเพ่ือทำลายขา้ ศึกให้ ผบ. อื่น ดำรงไวซ้ งึ่ การบังคับบญั ชาและใหเ้ อกสิทธิ์กับหน่วย เรยี บร้อยกอ่ นโจมต ี มว.ทราบ หากเปน็ ส่วนดำเนนิ กลยุทธต์ อ้ งเคลื่อนท่ไี ปยังแนวการปฏิบัตขิ อง ผบ.หนว่ ย-การเข้าตกี ลางวัน 2 - 71 รองกำกับดแู ลกำลังพล 3. หมวดปฏิบตั ิการโจมตี ประสานงานข้ันสดุ ท้าย อย่างรวดเร็ว , หากถกู ยิงจาก ป./ค. 5.ผบ.รอ้ ย. ควบคุมให้หน่วยรองปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ ผบ.มว.ใหส้ ญั ญาณเล่ือนหรือย้ายการยิงกด (สัญญาณในการย้าย ในขณะเคลื่อนท่ี ตอ้ งผ่านหรืออ้อมพ้นื ท่ีกระสุนตกไปโดยเรว็ เสมอตอ้ งพิจารณาจุดอ่อนและจดุ แข็งของข้าศกึ ได้ หรือเลื่อนการยงิ ตามทก่ี ำหนดใน รปจ. หรือตามทร่ี ะบุในใบคำส่ัง) 3) หากเป็นสว่ นยงิ สนับสนุนตอ้ งยงิ คุม้ ครองให้ส่วนดำเนนิ 6.ในการดำเนนิ กลยทุ ธต์ อ้ งบอกสว่ นโจมตีถึงเส้นทางท่จี ะ ใช้ควัน (ถา้ ม)ี ในการพรางต่อการโจมตคี ร้ังสุดท้ายขณะโจมตตี อ่ กลยุทธ์ เคลอ่ื นที่ไปยงั ทมี่ ัน่ ของข้าศึก, เม่อื ถูกกีดขวาง ตอ้ งใช้แผนการยงิ สนับสนุนทงั้ การเลง็ ตรงและการเลง็ ทห่ี มาย ส่วนโจมตีไดร้ ับการสนบั สนุ นด้วยการยิงอยา่ งแมน่ ยำ ทศิ ทางยงิ ตอ้ งเคลือ่ นทีไ่ ปขา้ งหน้า เพ่ือเข้าตะลุมบอนหรือ จำลองและ ตอ้ งมีมาตรการที่เพียงพอในการควบคมุ ด้วยปริมาณการยิงอย่างหนักกำลงั พลของส่วนโจมตใี ชค้ วามได้ ช่วยเหลือในการเสริมความมน่ั คง ณ ทหี่ มาย, การยงิ ผบ.รอ้ ย. สามารถร้องขอการยิงสนบั สนุนไดเ้ ลย เปรียบจาก การกำบังและการซ่อนพรางโดยใชเ้ วลา 3 - 5 นาที 3. การปฏบิ ตั ิ ณ แนวประสานงานข้ันสดุ ทา้ ย ถ้าไมเ่ หน็ ตำบลกระสนุ ตก ให้ส่วนที่เหน็ ทำการปรับการยงิ เคล่อื นทอ่ี ยา่ งเร่งรบี เท่าทที่ ำไดข้ ้ามผา่ นท่ีหมายหากไมม่ ปี กี เปดิ 1) รายงานให้ ผบ.มว.ทราบทันทีเม่ือหมู่ได้กระจายกำลงั ให้ ใหจ้ นกระสนุ ของ ป./ค.เขา้ ทหี่ มาย ส่วนโจมตีจะคน้ หาส่วนท่ีแคบท่ีสุดของพน้ื ท่ตี ้งั รบั ของขา้ ศึกเพ่อื อยใู่ นรปู ขบวนเตรยี มตะลุมบอนแลว้ 7.เม่อื ผบ.ร้อย. ทราบว่าไมส่ ามารถดำเนนิ กลยุทธต์ อ่ ไป ทำการเจาะ จากนนั้ จงึ เข้าโจมตีต่อการตัง้ รบั ของขา้ ศกึ ท่เี หลือ 2) กำหนดตำบลหน่ึงตำบลใด ณ ท่ีหมายเพื่อใช้เปน็ ตำบล ขา้ งหนา้ ได้หลงั จากการไดร้ ับการติดตอ่ มาจาก ผบ.มว. หรอื การต้านทานจากทางปกี หรอื ทางหลัง ส่วนสนับสนุนเคลอื่ นท่ี หลักของทหารทีจ่ ะบังคับใหก้ ารเคลอื่ นท่ภี ายในหมตู่ รง ผบ.ร้อย. ตอ้ งตัดสนิ ใจใชก้ องหนุนของตนเองตามคำสง่ั ไปยงั ทห่ี มายตามคำส่งั ของ ผบ.มว. ทศิ ทางรอสัญญาณการเคลอ่ื นที่เข้าตะลุมบอนจาก ผบ.มว. ยทุ ธการทใี่ หไ้ ว้และรายงานให้ ผบ.พนั .ทราบ 4.หมวดทำการจัดระเบยี บใหม่และการเสรมิ ความม่นั คง ปรับรปู ขบวนใหแ้ ลว้ เสร็จอยา่ งรวดเร็ว เพื่อเตรยี มการเข้า ตะลุมบอน หรือเพื่อทำการยงิ และเคลอื่ นทต่ี ่อไป การปฏิบตั ิการทางยุทธวิธี 2 - 72 การปฏิบตั ขิ อง ผบ.หนว่ ย-การเข้าตกี ลางวนั ผบ.รอ้ ย. ผบ.มว. การปฏิบตั ิการทางยทุ ธวธิ ี 8.เม่อื สัง่ ใช้กองหนุนไป ผบ.ร้อย.ต้องสถาปนากองหนนุ ขึ้นมาใหม่ ผบ.หมู่ 9. ผบ.มว.หนุน เมอื่ ได้รับคำสง่ั จาก ผบ.ร้อย. แลว้ ต้อง 3) ต้องรวมกำลังเพ่อื จะเขา้ ทำการตะลมุ บอนต่อทห่ี มาย รีบปฏบิ ัตโิ ดยทันทีและต้องมีการประสานกับ มว.ขา้ ง ได้อยา่ งพร้อมเพรยี งกันถา้ ยังไม่ติดดาบปลายปืนกใ็ หต้ ิดท่ี หนา้ ถงึ ทศิ ทางในการเขา้ ตี ที่หมายที่จะตอ้ งดำเนนิ แนวประสานขัน้ สุดท้าย กลยทุ ธ์ การยงิ ชว่ ยจาก มว.ต่างๆ ที่มว.หนนุ ร้องขอ 4.การตะลมุ บอน การยิง 1) นำหมเู่ ข้าตะลมุ บอน เมอื่ ได้รับคำสงั่ หรือสัญญาณ 10. ผบ.รอ้ ย.ต้องใช้เหตุผลในการแก้ไขปญั หาตา่ งๆ ท่ี จาก ผบ.มว.เคลื่อนท่ีเขา้ ยงิ ตะลุมบอนทนั ทีอย่าง เกดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างรวดเร็วและทันเหตุการณ์เสมอต้องมี พร้อมเพรยี ง เม่อื ได้รับคำสัง่ หรือสญั ญาณจาก ผบ.หมู่ ความรใู้ นสภาพภูมปิ ระเทศ ที่ ผบ.รอ้ ย. กำลังดำเนิน ด้วยการเดนิ อย่างรวดเรว็ ในรปู ขบวนแถวหนา้ กระดาน กลยุทธ์ ตอ้ งรใู้ นขดี ความสามารถของกองร้อยทเ่ี รา โดยรกั ษาแถวหนา้ กระดานและระยะเคยี งไว้ บงั คับบัญชาอยู่ ตอ้ งคำนงึ ถงึ ความค้มุ คา่ ในการปฏบิ ัติ 2) เดนิ ยิงดว้ ยการประทบั พันทา้ ยปืนไวท้ ่สี ะโพกโดยไม่ งาน ตอ้ งนกึ ถงึ ความเป็นไปได้ สง่ิ สำคญั ทส่ี ดุ คอื ความ ตอ้ งเลง็ ดว้ ยศนู ยพ์ ยายามกดลำกล้องปนื ให้ชไ้ี ปทาง ถูกตอ้ งและกำลงั พล ผบ.ร้อย. ตอ้ งมีวิจารณญาณในการ เปา้ หมายใชส้ ายตาจ้องไปยงั พ้นื ท่ขี ้างหน้าอยู่ตลอดเวลา ตัดสนิ ใจ ทำลาย ขบั ไล่ ข้าศกึ ณ ที่หมายใหห้ มดสน้ิ หรือจบั เปน็ เชลย การเข้าตีกลางวัน/การปฏิบัตหิ ลังการดำเนนิ กลยุทธ์ เรม่ิ ต้นเมอ่ื : หน่วยทำการยดึ ทหี่ มายได้เรียบร้อยผบ.พัน. : กำกบั ดแู ลการปฏบิ ัตกิ ารจดั ระเบียบใหมแ่ ละ ส้นิ สุดเม่อื : การปฏบิ ตั ิการจัดระเบียบใหมเ่ รียบรอ้ ย เตรยี มการสั่งการต่อไป ฝอ./ส่วนทเี่ กีย่ วข้องอื่นๆ: อำนวยการ ผบ.ร้อย. ผบ.มว. ผบ.หมู่ 1.ผบ.รอ้ ย.สง่ั การให้ตีเลยท่หี มายออกไปยดึ ทหี่ มายไดใ้ ห้ 1. ผบ.มว.กำหนดท่ีตัง้ ของจดุ ตรวจการณ์ หรือเลือกจุดตรวจการณ์ 1. การเสริมความมน่ั คง ณ ท่หี มาย วางกำลงั ตามแผนทไ่ี ดว้ างไว้ เสริมความม่ันคงในทันที ใหมข่ า้ งหน้าเพื่อการระวังปอ้ งกัน ใหก้ ำลงั พลทกุ คนพรอ้ ม 1.1.หลงั จากกวาดล้างทหี่ มายเสรจ็ แล้ว ผบ.หมู่ต้องนำกำลงั กำหนดทต่ี ้งั ของ มว.ปล.ใหม้ กี ารกระจายกำลังกนั ออกไป สำหรบั การตีโต้ตอบของขา้ ศกึ ทอ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ หม่ขู องตนเข้าไปยงั พ้นื ท่ี เสริมความมนั่ คงให้ถกู ตอ้ งและไม่ ทำการตั้งรับโดยการตโี ตต้ อบ กำหนดพื้นท่รี บั ผดิ ชอบให้ 2. หมวดเขา้ วางตวั หรือกลับเข้าวางตวั ในทม่ี ่นั เรง่ ด่วนใกล้ๆ สบั สน อลหมา่ นเม่อื ได้รบั แบง่ มอบพื้นที่ทแ่ี นน่ อนในการวาง แตล่ ะหมวด จดั ส่วนระวังป้องกนั (ยามคอยเหตุ) ออกไป ทหี่ มาย และจัดการระวงั ปอ้ งกัน ผบ.มว.ปรับทวี่ างตัวของกำลงั กำลงั เสริมความมั่นคง ณ ทหี่ มาย จาก ผบ.มว. ตอ้ งรบี ปรับ 2.เมอื่ ยดึ ท่ีหมายแลว้ ผบ.ร้อย.ควรออกตรวจภูมิประเทศ พลและที่วางตวั ของพลยงิ อาวธุ ประจำหนว่ ยใหค้ มุ้ ครองแนวทาง แนวทางการวางกำลังของหมู่ ในลกั ษณะที่เปน็ ผู้กำหนดทตี่ ัง้ จริงทย่ี ึดได้ในทนั ที เพอ่ื ปรบั แผนการวางกำลงั ใหมใ่ ห้ ทค่ี าดว่าขา้ ศกึ จะเคล่อื นทีเ่ ขา้ มาและมีการสนับสนุนและ และมอบเขตการยิงใหก้ บั ทหารเปน็ รายบุคคลอย่างถกู ต้อง สอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั ภมู ปิ ระเทศจรงิ ท่เี ห็นแลว้ ช้ี ชว่ ยเหลอื ซ่งึ กนั และกนั ระหว่างหมูต่ ่างๆและหนว่ ยข้างเคยี งต่างๆ และเหมาะสม เขตรับผิดชอบจริงใหก้ บั หนว่ ยรอง ทีต่ ้ังยิง ค.60 และ 3. ผบ.มว.มอบเขตการยิงหรือเน้นย้ำถึงเขตการยิงชวั่ คราวใหแ้ ก่ 1.2.จัดการระวงั ป้องกันทนั ทโี ดยส่งยามคอยเหตอุ อกไปเพอื่ อาวุธที่มาสมทบ หมู่ต่างๆ ผบ.หมู่ และ หน.ชดุ ยงิ จดั วางและปรบั ท่ีมั่นตา่ งๆได้ ป้องกนั การตโี ตต้ อบ และแจง้ การเขา้ มาของข้าศึกในขณะที่ 3.ระหวา่ งการเสรมิ ความมน่ั คง ณ ทีห่ มาย ผบ.รอ้ ย.ควร ครอบคลุมแนวทางทีค่ าดว่าข้าศึกจะเคลือ่ นท่ีเข้ามา ปฏิบัติการเสริมความม่นั คง ณ ท่ีหมายนัน้ ตอ้ งกำกบั ดแุ ลให้ สงั่ การให้หน่วยรอง และ หน่วยขึน้ สมทบจัดการระวงั 4. หมวด จัดเตรียม เปลี่ยนแปลง และซอ่ มแซมทม่ี ่ันต่งั รบั และ ทหารแต่ละบุคคลวางอาวุธปนื ไวใ้ นท่ตี ง้ั ยิงชว่ั คราวใน ปอ้ งกนั ทนั ทีปรับ มว. ต้ังรบั ให้มีความลกึ ครอบคลุม เครื่องกดี ขวางตามความจำเป็น ดำเนินการจดั ตง้ั สายการ ลกั ษณะทใ่ี หส้ ามารถปฏิบตั กิ ารยิงได้จากท่ตี ัง้ นนั้ เมือ่ เกิด แนวทางท่ี ขศ.ใชเ้ ป็นประจำและจดั เตรยี มที่มน่ั เร่งดว่ น บงั คับบัญชาและข่ายการตดิ ต่อส่ือสารขึน้ ใหม่โดย แตล่ ะสว่ นมี เหตุการณฉ์ กุ เฉินได้ 4.ผบ.ร้อย.ตรวจการเสริมความม่นั คง ณ ท่หี มาย และ หัวหน้าคอยบังคบั บญั ชา ผบ.หนว่ ยรอง ทุกคนเขา้ ใจในสายการ 1.3.กำหนดที่ตง้ั ยิงและทศิ ทางยงิ หลกั เพมิ่ เตมิ ใหแ้ กพ่ ลยิงปนื การจดั ระเบียบใหมเ่ พอ่ื ปอ้ งกันการตีโต้ตอบของขา้ ศึก บังคบั บัญชาหมวดสามารถตดิ ต่อกับทกุ หมู่และบก.ร้อยผตน. เลก็ กลและพลยิง M 203 เพื่อคมุ้ ครองแนวทางการเคล่อื นท่ีการปฏิบัตขิ อง ผบ.หนว่ ย-การเข้าตกี ลางวัน 2 - 73 การจัดระเบียบใหมค่ วรคำนึงถงึ การรายงานสถานการณ์ สามารถติดต่อกับสว่ นยิงสนบั สนุน (หมู่ ค.,ป.) ทีส่ ำคญั สถานภาพให้กองพันทราบ (สถานภาพรวม ท่ีตัง้ กองร้อย 5. หมวดไดบ้ รรจตุ ำแหนง่ ทส่ี ำคญั ตามลำดบั ความเร่งดว่ น ดังน้ี 1.4.สำรวจสถานภาพอาวุธ กระสนุ และยทุ โธปกรณข์ อง ผบู้ าดเจบ็ จำนวนกระสุน) การรวบรวมและการกระจาย ผ้นู ำหนว่ ย,พลยิง ปกบ./ปลก.,พลยงิ อว.ตก.กลาง,พลยิง M 203 ท ห า ร แ ต ่ละบคุ คลดว้ ยตนเองในทันทีรายงานการสญู เสียของ รูปขบวน การรักษาพยาบาลและการสง่ กลับผบู้ าดเจ็บ 6. ผบ.หน่วย กำกบั ดูแลการจา่ ยกระสุนและยทุ โธปกรณเ์ พิ่มเติม กำลงั พลและยทุ โธปกรณข์ องแต่ละหมู่ และเสนอความ การเฉลย่ี กระสนุ การขอรบั การสนบั สนนุ สป.เพิ่มเติมถา้ 7. ผบ.หมู่รายงานสถานภาพของกระสุน,กำลงั พล, อาวุธ, ต้องการทางการสง่ กำลังเพิม่ เตมิ ไปยงั ผบ.มว.โดยเร็ว จำเปน็ การปฏิบัติตอ่ เชลยศึก และขอทดแทนกำลังพลใน เชลยศกึ และยทุ โธปกรณ์ ตอ่ ผบ.มว.และรอ้ งขอความช่วยเหลือ 1.5.กำกับดแู ลการดดั แปลงภูมปิ ระเทศของทหารภายในหมู่ อตั ราท่ีวา่ ง ทางการแพทย์ รอ้ งขอการทดแทน กำลังพล, อาวุธ, กระสุนและ ของตนตลอดเวลา มีการสับเปลีย่ นตำแหนง่ หน้าท่สี ำคญั 5. ผบ.รอ้ ย. ต้องออกตรวจภูมปิ ระเทศในทนั ที เพื่อตรวจ ยทุ โธปกรณ์ และยานพาหนะในการส่งกลบั ภายในหมทู่ ไี่ ด้รบั การบาดเจบ็ เตรียมการสง่ ผู้เจบ็ และเฉลยี่ สอบที่หมายตอ่ ไปและตรวจสอบกำลงั ของตนว่า พร้อม 8. ผบ.มว.รวบรวมและกระจายขา่ วสารถงึ ความสำเร็จภารกจิ กระสุนทีม่ ีอยู่ จะปฏิบตั ิภารกิจต่อไปไดห้ รือ ไม่ 9. เชลยศกึ ทกุ คนจะต้องไดร้ ับการปฏิบตั ติ ามหลกั 5Sและแขวน 1.6.เสนอความตอ้ งการจำนวนกระสุนเพ่มิ เตมิ ใหเ้ ต็มตาม 11. ผบ.รอ้ ย.สามารถเปล่ยี นแปลงหนว่ ยรองได้ในการ ป้าย อตั รา ปฏิบัติภารกิจตอ่ เนือ่ ง 1.7.พ้นื ท่ีเสรมิ ความม่ันคง ณ ที่หมายน้นั ตอ้ งมีหลุมบุคคล ของ ผบ.หมดู่ ้วย การปฏิบตั ิการทางยุทธวธิ ี การปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธี2 - 74 การปฏิบตั ขิ อง ผบ.หนว่ ย-การเข้าตกี ลางคนื การเข้าตีกลางคืน/ขัน้ เตรียมการและการเคลอื่ นย้ายหน่วยทางยุทธวิธี เรมิ่ ตน้ เมื่อ: ผบ.หนว่ ยรับคำสงั่ จาก ผบ.หน่วยเหนือเรยี บร้อยแลว้ ผบ.พัน. ออกคำสงั่ ยทุ ธการ ส้นิ สดุ เม่ือ: กำลงั พลเคลอื่ นย้ายถงึ จดุ ออกตี ให้กับ ผบ.หนว่ ยรอง,ฝอ./ส่วนทีเ่ ก่ยี วข้องอ่นื ๆ เสนอแนะการปฏบิ ัติใหก้ บั ผบ.พัน. ผบ.รอ้ ย. ผบ.มว. ผบ.หมู่ 1. เมอื่ ไดร้ บั คำสง่ั เตรียมจะตอ้ งออกคำสัง่ เตรียมให้แก่ เมือ่ ผบ.รอ้ ย.ไดใ้ ห้คำสง่ั เตรยี มแก่ ผบ.หนว่ ยรอง ผบ.มว.ปล.จะ 1 ส่ังการใหท้ ันตรงเวลาที่ตนกำหนดไวใ้ นคำสัง่ เตรยี ม (ถ้าไม่ หนว่ ยรองทราบเพอ่ื ปฏิบัติในสงิ่ ที่จำเปน็ ทนั ที ดำเนนิ การดงั น้.ี - สามารถส่ังการไดท้ ันตามเวลาทีก่ ำหนดจะต้องมีการแจง้ 2. ในคำสง่ั เตรียมอยา่ งนอ้ ยท่สี ดุ จะต้องประกอบด้วย 1. รบี ดำเนินการออกคำส่ังเตรยี มให้แกห่ น่วยของตนในทนั ที ข่าวสารไปยังหนว่ ยรองทราบกอ่ น) ภารกจิ การจัดชดุ ลว.ตรวจภูมิประเทศ, การ ลว.พนื้ ท่ี หลังจากทไี่ ดอ้ อกคำสง่ั เตรยี มไปแลว้ มกี ารกำกบั ดูแลการปฏบิ ตั ิ 2. ออกคำสั่งด้วยวาจาในภูมปิ ระเทศทม่ี ีการปกปดิ กำบังชี้ ส่วนหลัง,การออกคำสงั่ ลว.,การออกคำส่ังยุทธการ,การ งานในข้ันการเตรียมการของหนว่ ยรองในการรบั คำสง่ั ลาดตระเวน แนวและเขตรบั ผดิ ชอบใหก้ บั หน่วยรองทราบ ใช้เครื่องหมายบอกฝา่ ย ตรวจภมู ิประเทศจาก ผบ.รอ้ ย.นัน้ ผบ.มว.ปล.จะดำเนินการใน 3. ข้อความท่สี ง่ั การดว้ ยวาจาตอ้ งมสี าระสำคัญครบถว้ นตาม 3. การออกคำสง่ั ลว.อย่างนอ้ ยทีส่ ุดจะต้องระบุในเรอื่ ง เรือ่ ง การจัดชุด ลว.ตรวจภูมิประเทศของ มว. และนำชดุ ลว.ไป หวั ขอ้ คำส่งั ยุทธการ ใชค้ ำพูดส้นั ชดั เจนสมบรู ณ์ เน้ือหาของ การแตง่ ตั้ง รอง ผบ.มว.อาวโุ ส เปน็ หน.ชุด ลว.,กำหนด รบั คำสง่ั จาก ผบ.รอ้ ย.ได้ทันเวลา คำส่งั เป็นแผนงานที่ถกู ต้องและมีประสทิ ธภิ าพ เวลาไปและกลับของชุด ลว.,กำหนดจดุ ออกต,ี กำหนด 2 ในการเดินทางไปรบั คำสงั่ การ ลว.ตรวจภมู ปิ ระเทศนั้น ผบ.มว. 4. ในการมอบหมายภารกจิ กับหนว่ ยรองได้มีการเน้นย้ำจน ทศิ ทางเขา้ ตี,กำหนดเวลาและสถานท่ีให้ หน.ชุด ลว.กลับ ปล.จะนัดหมายหรอื สง่ั การใดๆ รวมท้งั การกำหนดให้ ผบ.หมู่ ปก. มน่ั ใจวา่ ผบ.หนว่ ยรองเขา้ ใจภารกจิ ของตน โดยมีการกำกับ มารายงานผลการ ลว. ติดตามไปภายหลงั เพ่ือรว่ มรับคำสัง่ เขา้ ตจี าก ผบ.ร้อย.ร่วมกับตน ดแู ลอย่างใกลช้ ดิ และสามารถตอบขอ้ ขอ้ งใจแก่ ผบ.หนว่ ย 4. การ ลว.พืน้ ทส่ี ว่ นหลัง ผบ.ร้อย. พรอ้ มด้วยผบ.มว.ปล. (หรือนำไปพรอ้ มกันก็ได)้ ได้มอบหมายให้ผู้อ่ืนทำหนา้ ทแ่ี ทนตน รองไดอ้ ย่างกระจา่ งชดั อยา่ งน้อยทีส่ ดุ ผบ.หมู่ ปล.จะตอ้ ง และ ผบ.มว.ค.60 จะตอ้ งรว่ มกนั ลว.พื้นทีส่ ่วนหลัง เพือ่ ในการควบคุมบังคับบญั ชาหมวดในระหวา่ งท่ตี นไมอ่ ยู่ ตรวจตราและกำกบั ดแู ลการปฏิบัตงิ านภายในหน่วยของตน กำหนด พ้นื ทีร่ วมพลของกองรอ้ ยฐานออกตีเสน้ ทาง 3. เมอ่ื ได้รับคำส่งั ลว.จาก ผบ.รอ้ ย.แลว้ ผบ.มว.ปล.จะต้องส่งั ในเรือ่ งต่อไปน้ีการแจกจา่ ยกระสนุ , จำนวนกระสุนตามอัตรา เคลอ่ื นที่จากท่รี วมพลไปยงั ฐานออกตี พ้นื ทร่ี วมพล มว. การรายละเอียดเพิม่ เตมิ ทำการนดั หมายในสิ่งจำเปน็ ตา่ ง ๆ ให้ มลู ฐานท่ี ทก.ร้อย.,เสบยี งอาหารและการเลี้ยงด,ู การวางตวั 5. วิธเี คล่ือนทจ่ี ากทรี่ วมพล มว.ไปยังท่ีรวมพลกองร้อย แก่ หน.ชดุ ลว.ของ มว. ทำการลว.ตรวจภูมปิ ระเทศพ้นื ที่ ของหน่ายต่างๆ ในลักษณะกำบงั และซ่อนพราง,การปฏบิ ัติ 1) หน.ชุด ลว.จะต้องมีกล้องสอ่ งสองตาไปด้วย จะตอ้ ง สว่ นหลงั ในหน้าท่รี ับผิดชอบของ การตามระเบียบการนำหน่วยของหนว่ ยรองในลกั ษณะทีใ่ ห้ เคลอ่ื นที่ออกไปในลักษณะ เล็ดลอด, กระจายกำลงั , มี 4. ผบ.มว.ปล.จะดำเนนิ การในเรอื่ งตอ่ ไปนต้ี ามความจำเปน็ สามารถปฏบิ ัติกิจเฉพาะต่างๆ ไดท้ ันเวลา,การจดั เตรียม การกำบงั และซอ่ นพรางตลอดเวลา 1) การ ลว.เส้นทางไปเข้าทร่ี วมพลและเลอื กทรี่ วมพลของ มว. ยทุ โธปกรณพ์ เิ ศษที่จะนำไปใชใ้ นการเข้าต,ี การพรางรา่ งกาย 2) ตอ้ งกำหนดจุดแยกหมวด จดุ แยกหมไู่ วด้ ้วยใน 2) การ ลว.เสน้ ทางเคลอ่ื นที่จากท่ีรวมพลของ มว.ไปยังที่รวมพล และอาวุธยทุ โธปกรณ์ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศท่สี ามารถสังเกตเหน็ และจดจำไดง้ า่ ย ของกองรอ้ ย ในเวลากลางคนื 3) การ ลว.เส้นทางจากที่รวมพลของกองรอ้ ยไปยงั ฐานออกตี 3) ตอ้ งวัดมุมภาคของทศิ ทางจุดออกตีไปยงั จุดแยก 4) การ ลว.แนวออกตแี ละจดุ ออกตีในภูมปิ ระเทศของกองร้อย หมวดจากจดุ แยกหมวดไปยังจุดแยกหม่ขู องแตล่ ะหมวด 5. ในระหวา่ งการ ลว.เส้นทางในพ้นื ท่สี ่วนหลังตามหนา้ ที่ของตน ต่าง และทศิ ทางเคล่ือนท่ีเปน็ มมุ ภาคของแตล่ ะหมู่ตา่ ง ๆ นัน้ จะดำเนินการในเรอ่ื ง การกำหนดและบันทกึ ทศิ ทางเคลอื่ นท่ี ไปยงั แนวปรับรปู ขบวน ไว้เปน็ มมุ ภาคของทิศเลอื กเสน้ ทางเคลอ่ื นทท่ี ่หี ลีกเล่ยี งลักษณะ 4) จดั ผแู้ ทนหมวด (รอง ผบ.มว.) อยปู่ ระจำจุดแยกหมวด ภูมปิ ระเทศที่เก้ือกลู ให้การเคลอ่ื นทีเ่ กดิ เสยี งดังงา่ ยและจดั ทำ และจดั ผแู้ ทนของแตล่ ะหม่อู ยูป่ ระจำจุดแยกหมู่ของแต่ละ เครอ่ื งหมายการเดนิ ไวต้ ามความจำเป็น หมวด 6. ในการรบั คำสง่ั การเขา้ ตีจาก ผบ.รอ้ ย.นัน้ ผบ.มว.ปล.จะนำเอา รอง ผบ.มว. (เฉพาะหมวดท่ตี อ้ งนำตน้ ขบวนของกองรอ้ ย) ,ผบ. ผบ.รอ้ ย. ผบ.มว. ผบ.หมู่ 5) รอง ผบ.มว.ท่ีทำหนา้ ท่ี หน.ชุด ลว.จะเป็นผูเ้ ดินทาง หมู่ ปก.และพลนำสารไปรับคำสัง่ เขา้ ตีกบั ตนด้วย ไปรบั คำสงั่ ทัน กลับมารายงานผลการ ลว.ตรวจภูมิประเทศใหก้ บั ผบ. ตามเวลาท่ี ผบ.ร้อย.ได้กำหนดไว้ เม่อื รับคำสั่งจาก ผบ.รอ้ ย.เสรจ็ ร้อย. หน.ชุด ลว. ตอ้ งกลับมารายงานผลการ ลว.ต่อ ผบ. เรียบร้อยแลว้ จะต้งั เวลาใหต้ รงกบั ผบ.ร้อยซกั ถามข้อข้องใจตาม รอ้ ย. ณ สถานทีแ่ ละตามเวลาที่ ผบ.ร้อย.กำหนดให้ ความจำเป็นจาก ผบ.รอ้ ย.และ ประสานงานกบั ผบ.หน่วยขา้ ง 6. ผบ.รอ้ ย. ตอ้ งสัง่ การในภมู ปิ ระเทศจรงิ โดยช้แี จง เคยี งและ ผบ.หน่วยสมทบ (ถา้ มี) ในเรอื่ งที่จำเป็นอยา่ งครบถว้ น ลักษณะภูมิประเทศพ้นื ที่ปฏบิ ัติการใหผ้ ้รู ับคำสง่ั ทราบ ก่อนเนือ้ หาสาระของคำสงั่ ครบถ้วนตามหัวข้อคำสัง่ ยุทธการมีแผนเผชญิ เหตุ 7. กองร้อยต้องทำการเขา้ ตดี ว้ ยรูปขบวนแถวตอนเรยี ง สองหรอื ตอนเรยี งหน่ึงตามความเหมาะสม การปฏิบัตขิ อง ผบ.หนว่ ย-การเข้าตกี ลางคืน 2 - 75 การปฏบิ ตั กิ ารทางยทุ ธวธิ ี การปฏบิ ตั กิ ารทางยุทธวิธี2 - 76 การปฏิบตั ขิ อง ผบ.หนว่ ย-การเข้าตกี ลางคนื การเขา้ ตีกลางคนื /การดำเนนิ กลยทุ ธ์ เร่มิ ตน้ เมื่อ: หนว่ ยเร่ิมเคลอ่ื นที่ผ่านแนวจดุ ออกตีผบ.พัน. อำนวยการยุทธ์กบั หน่วยรอง, สน้ิ สุดเมือ่ : ทำการยึดทหี่ มายไดเ้ รียบร้อย ฝอ./สว่ นทีเ่ ก่ยี วข้องอน่ื ๆ: ติดตามสถานการณ์ ผบ.รอ้ ย. ผบ.มว. ผบ.หมู่ 1. ต้องจัด รอง ผบ.มว.ท่ีเป็น หน.ชุด ลว.เปน็ ผนู้ ำในการ ในระหว่างการดำเนนิ การเขา้ ตีของกองรอ้ ยอาวธุ เบานน้ั มว.ปล. 1. หัวขบวนของ หมนู่ ำของ มว.จะเรมิ่ เคล่ือนท่ีผา่ นจุดออกต ี เคล่อื นท่ีอยูท่ ี่หวั ขบวน จะดำเนินการดังนี.้ - ณ แนวออกตตี ามเวลา น.ที่ ผบ.มว. ไดก้ ำหนด 2. รอง ผบ.มว.ทเี่ คลื่อนทน่ี ำหัวขบวนต้องต้งั มุมภาคของ 1. หัวขบวนของหมวดนำของกองรอ้ ยจะเริ่มเคล่ือนท่ีผ่านจดุ ออก 2. การเคลอ่ื นที่ตอ้ งกา้ วไปอย่างช้า ๆ และเงียบสงบ ทศิ ภาคของทิศจากจดุ ออกตีไปยังจดุ แยก มว.โดยใช้ ตี ณ แนวออกตตี ามเวลา น.ที่ ผบ.รอ้ ย. ได้กำหนด ส่วนตา่ ง ๆ ของหมวดสามารถติดต่อกันไดต้ ลอดเวลา เขม็ ทศิ นำทางเสมอ 2. การเคล่อื นทีต่ อ้ งก้าวไปอย่างชา้ ๆ และเงียบสงบ ส่วนต่าง ๆ 3.หยุดหน่วยเพอ่ื ตรวจสอบทิศทางและระยะทางเขา้ ตีเป็น 3. ต้องจดั ให้มีเจา้ หนา้ ทล่ี ากสายโทรศัพทใ์ นระหวา่ งการ ของหมวดต้องสามารถตดิ ตอ่ กันไดต้ ลอดเวลา ระยะไป เคลื่อนทีเ่ ขา้ ตีและสามารถติดต่อสอ่ื สารทางโทรศัพท์ได้ 3. หยุดหน่วยเพื่อตรวจสอบทศิ ทางและระยะทางเข้าตีเป็นระยะ 4.เมือ่ ผา่ นพน้ื ทอี่ นั ตรายหรอื คับขันมาแล้วต้องมีการหยุด ระหว่าง ผบ.ร้อย กับ ผบ.พนั . และผบ.ร้อย. กับ ผบ.มว. ไป ขบวนเพือ่ ตรวจสอบยอดกำลังพล ของตนได้ตลอดเวลาท่เี คลื่อนทเี่ ข้าตี 4. เมือผ่านพน้ื ทอ่ี ันตรายหรอื คบั ขนั มาแลว้ ต้องมีการหยุดขบวน 5.เมื่อหมเู่ คล่อื นทีม่ าถงึ จดุ แยกหมู่จะต้องพบกบั ผู้แทนหมูท่ ี่ 4. กำลังพลทกุ คนจะต้องเคล่ือนทดี่ ว้ ยความสงบเงยี บโดย เพ่อื ตรวจสอบยอดกำลังพล ได้วางไว้ในทนั ที การเคล่อื นท่ีจากจุดแยกหมวดไปจนถงึ จดุ ใช้เทคนิคการเคลอื่ นทแี่ บบเงยี บท่ีสดุ ท้งั การเดินและการ 5. เม่ือหมวดเคลอ่ื นทม่ี าถงึ จุดแยกหมวดจะต้องพบกับผ้แู ทน แยกหมขู่ องแต่ละหมวดปฏิบตั ดิ ว้ ยความสงบเงยี บ คลาน หมวดท่ีได้วางไวใ้ นทนั ที 6. เมื่อหมวดได้แยกหมตู่ ่างๆ ออก ณ จดุ แยกหมแู่ ลว้ 5. เมื่อถึงจุดแยก มว.เจ้าหน้าท่วี างสายโทรศัพท์ของ มว. 6. ต้งั แต่จุดแยกหมวดไปยังท่หี มายนัน้ ผบ.มว.ปล.ตอ้ งมีการวาง เคลอ่ื นทีต่ อ่ ไปยังแนวปรับรูปขบวนโดยความเรียบร้อย จะต้องเข้ามาเกาะสายโทรศพั ทข์ อง มว.ให้เรียบร้อยเสยี เชอ่ื มสายโทรศพั ทข์ องหมวดกบั สายโทรศัพท์ของกองรอ้ ย และ ปราศจากเสียง – แสง กอ่ นจงึ เคลือ่ นทีอ่ อกไปจากจดุ แยก มว.ได้ โดยไมใ่ ห้มกี าร สามารถติดต่อกับกองรอ้ ยทางโทรศัพท์ได้ 7. สายโทรศัพทข์ องหมวดจะวางไปจนถงึ แนวปรบั รปู ขบวน คบั คัง่ ทีจ่ ดุ แยก มว. 7. ณ จดุ แยกหมวด หมวดจะเคล่อื นท่ไี ปสู่จดุ แยกหม่ขู องตนได้ถกู 8.การปรบั รปู ขบวนหน้ากระดานของแต่ละหมู่ ณ แนวปรับ 6. เมื่อ มว.ต่าง ๆ เคลื่อนทไ่ี ปถงึ จุดแยก หมู่พลนำทาง ตอ้ งตามทิศทางโดยคนนำทางของหมวด รูปขบวนปฏบิ ัตไิ ด้อย่างรวดเร็ว เงยี บ และกวดขันความลับได้ ของแตล่ ะหมู่ตอ้ งนำหมู่ของตนเคลื่อนทีไ่ ปยงั แนวปรับรปู 8. การเคล่ือนที่จากจุดแยกหมวดไปจนถงึ จดุ แยกหม่ขู องแต่ละ อยา่ งดยี ิ่ง ขบวนตามทิศทางท่กี ำหนดไว้ของแตล่ ะหมู่ หมวดปฏิบัติดว้ ยความสงบเงียบ 9. คอยกำกบั ดแู ลการปฏิบัติของกำลงั พล ณ แนวปรับรูป 7. ผบ.มว., พลนำสาร, และพลทางสายจะเคล่ือนท่ไี ปกับ 9. เมอื่ หวั ขบวนของหมวดเคลือ่ นทีม่ าถึงจดุ แยกหม่ขู องตนแลว้ ขบวนให้เป็นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย หมู่ย่านกลางไปจนถงึ แนวปรับรูปขบวน ต้องได้พบกับคนนำทาง (ผู้แทนหมู่) ณ ที่นน้ั ทันที 10. การปฏบิ ตั ิของกำลังพล เม่ือเกดิ พลแุ สงปฏิบัตไิ ดอ้ ยา่ ง 8. กำลงั พลของแต่ละ มว.จะตอ้ งสามารถวางตัวท่แี นว 10. เมื่อหมวดไดแ้ ยกหมูต่ า่ งๆ ออก ณ จุดแยกหมู่แลว้ เคล่อื นที่ รวดเรว็ และขา้ ศึกไม่สามารถตรวจการณ์เห็นได้ ปรับรูปขบวนเปน็ แนวโดยไม่มชี อ่ งวา่ งระหวา่ งหมู่ ตอ่ ไปยังแนวปรับรูปขบวนโดยความเรียบรอ้ ยปราศจาก 11. เมอ่ื ไดร้ บั อาณตั สิ ัญญาณเข้าตะลมุ บอนหมู่ต่างๆ ใน 9. ก่อนท่ีจะเริ่มตะลุมบอนตอ่ ท่ีหมายต้องร้องขอการยงิ เสยี ง – แสง สายโทรศัพทข์ อง กองรบปฏบิ ตั ิการเข้าโจมตีต่อท่ีหมายอย่างพรอ้ มเพรยี งกนั ส่องสว่างเสมอ หมวดจะวางไปจนถงึ แนวปรับรูปขบวน ในลักษณะการจโู่ จม 10. การปฏบิ ตั ิการเข้าตะลุมบอนกำลังพลทง้ั กองร้อยจะ 11. การปรบั รูปขบวนหน้ากระดานของแต่ละหมู่ ณ แนวปรบั รูป 12. ในระหว่างการเขา้ ตะลมุ บอน รปู ขบวนของแต่ละหมูจ่ ะ ต้องเข้าทำการตะลมุ บอนเพอื่ ยึดที่หมายอยา่ งหา้ วหาญ ขบวนปฏบิ ัติได้อยา่ งรวดเรว็ เงียบ และกวดขนั ความลบั ได้ ไมเ่ กิดการสับสน และเฉียบขาด อยา่ งดยี ่ิง 13. หมู่สามารถควบคุมหนว่ ยในการเขา้ ตะลมุ บอนและ 11.ผบ.ร้อย.ควบคมุ ให้หน่วยรองปฏิบตั ติ ามแผนทว่ี างไว้ 13. คอยกำกบั ดูแลการปฏบิ ัตขิ องกำลังพล ณ แนวปรับรปู ขบวน ดำเนนิ การกวาดล้างที่หมายไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ เสมอ ให้เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย.วางกำลงั หน้าที่หมาย ณ แนวปรับ 14. หมู่จะเข้าตะลุมบอนตรงทศิ ทางที่หมายของตน ผบ.ร้อย. ผบ.มว. ผบ.หมู่ โดยดำรงไว้ซ่ึงความกล้าหาญ รวดเรว็ รนุ แรง ทำลายใน รปู ขบวนปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เงยี บ ปราศจาก เสียง - แสง 15. การกวาดลา้ งท่ีหมายจะไมเ่ ลยข้นั การเคล่ือนทอี่ อกไป สว่ นการบังคบั บัญชาและการตดิ ตอ่ สอื่ สารของ ขศ. 14. การปฏิบตั ขิ องกำลังพล เม่ือเกิดพลแุ สงปฏบิ ัติไดอ้ ย่างรวดเร็ว ดำเนนิ กลยุทธ์ต่อส่วนทเี่ ปน็ จดุ อ่อน ขศ. ขดั ขวางการเพงิ่ และขา้ ศึกไมส่ ามารถตรวจการณ์เห็นไดเ้ มอื่ ได้รับอาณตั สิ ญั ญาณ เตมิ กำลงั เขา้ ตะลมุ บอนหมู่ตา่ งๆ ในกองรบปฏิบตั กิ ารเข้าโจมตตี อ่ ที่หมาย 12. ผบ.รอ้ ย. ต้องรายงานสถานการณ์ให้ ผบ.พัน.ทราบ อย่างพรอ้ มเพรียงกันในลักษณะการจโู่ จมในระหว่างการเข้า อยูต่ ลอดเวลา ตะลมุ บอน รปู ขบวนของแต่ละหมู่จะไมเ่ กดิ การสบั สน 13. เมอื่ ผบ.รอ้ ย. ทราบว่าไม่สามรถดำเนินกลยทุ ธต์ ่อไป 15. การกวาดล้างท่ีหมายจะไมเ่ ลยขน้ั การเคล่ือนทีอ่ อกไป ขา้ งหน้าได้ หลงั จากการไดร้ บั การตดิ ต่อมาจาก ผบ.มว. ผบ.ร้อย ต้องตัดสนิ ใจใช้กองหนนุ ของตนเองตามคำส่งั ยุทธการท่ใี หไ้ ว้ 14. ผบ.ร้อย. ต้องคอยประสานการปฏบิ ัติอยู่ตลอดเวลา กบั หนว่ ยเหนือ และหนว่ ยรอง การปฏิบัตขิ อง ผบ.หนว่ ย-การเข้าตกี ลางคืน 2 - 77 การปฏิบัติการทางยุทธวธิ ี การปฏิบตั กิ ารทางยทุ ธวธิ ี2 - 78 การปฏิบตั ขิ อง ผบ.หนว่ ย-การเข้าตกี ลางคนื การเข้าตีกลางคนื /การปฏบิ ตั ิหลังการดำเนนิ กลยุทธ์ เรมิ่ ต้นเมื่อ: หน่วยทำการยึดท่ีหมายไดเ้ รียบร้อยผบ.พัน. : กำกบั ดูแลการปฏิบตั ิการจัดระเบียบใหมแ่ ละ สนิ้ สดุ เมอื่ : การปฏบิ ัตกิ ารจดั ระเบยี บใหม่เรียบรอ้ ย เตรยี มการส่งั การต่อไป ฝอ./สว่ นทเี่ กีย่ วข้องอน่ื ๆ: อำนวยการ ผบ.ร้อย. ผบ.มว. ผบ.หมู่ 1. การเสริมความมน่ั คง ณ ท่หี มาย การดำเนินการของ มว.ปล.เม่อื ยึดทหี่ มายไดแ้ ล้วจะมีการปฏบิ ตั ิ การเสรมิ ความมัน่ คง ณ ท่หี มาย 1.1 หน่วยระดบั หม่แู ละหมวดต้องนำกำลังหน่วยของตน ดังน้ี. 1.หลังกวาดล้างที่หมายเสร็จแล้ว ผบ.หม่ตู ้องนำกำลงั หมู่ เคล่ือนทีเ่ ขา้ ไปวางกำลังตามท่ี ผบ.หนว่ ยเหนอื ของตน 1. ในทนั ทีท่กี ำลงั ของหมวด ปล.กวาดล้างทห่ี มายแลว้ เสรจ็ ผบ. ของตนเขา้ ไปยงั พ้ืนที่ เสริมความม่ันคงให้ถูกตอ้ งและไม่ กำหนด มว.ปล.จะกำกบั ดูแลการวางกำลังของหมู่ ปล.ต่างๆ ในทันที สบั สน อลหม่าน 1.2 ผบ.หม/ู่ ผบ.หมวด จะต้องอำนวยการและกำกบั ดแู ล 2. ระหวา่ งกำกบั ดแู ลการวางกำลงั เสรมิ ความมน่ั คง ณ ที่หมาย 2.เมือ่ ไดร้ ับแบง่ มอบพืน้ ที่ๆ แน่นอนในการวางกำลงั เสริม ใหก้ ำลังพลของตนเข้าประจำท่ีมัน่ ในลักษณะกระจาย อยู่นน้ั จะชเี้ ขตการวางกำลังให้ ผบ.หมู่ ทราบในพ้ืนทจี่ รงิ อกี ความมั่นคง ณ ทีห่ มาย จาก ผบ.มว. อีกครงั้ หน่งึ แลว้ ตอ้ งรีบ กำลังกนั ออกไปจนสามารถใช้อำนาจการยงิ ป้องกนั การ ครัง้ หน่ึง ปรับแนวทางการวางกำลงั ของหมู่ ในลักษณะทีเ่ ปน็ ผู้กำหนด ตโี ตต้ อบของฝา่ ยข้าศึกได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 3. กำหนดที่ต้งั ยงิ ทแี่ นน่ อนในการเสริมความมัน่ คง ณ ท่หี มายให้ ท่ตี ้ังและมอบเขตการยงิ ใหก้ ับทหารเป็นรายบคุ คลอยา่ งถูก 1.3 ผบ.ร้อย. จะตอ้ งเลอื กและประจำอยู่ณ ท่ีตรวจการณ์ ปก.ทง้ั สองกระบอกรวมทั้งท่ตี ้ังยงิ ของ คจตถ.ดว้ ย ต้องและเหมาะสม ที่สามารถตรวจการณไ์ ปขา้ งหน้าไดอ้ ย่างกว้างขวาง 4. สงั่ การเก่ยี วกบั การจดั ระเบยี บใหม่ในเร่ือง การสำรวจยอด 3. จดั การระวังป้องกันทนั ทโี ดยสง่ ยามคอยเหตอุ อกไปเพ่อื 1.4 ผบ.รอ้ ย./ผบ.มว.ค.60 ตอ้ งกำหนดทีต่ ้งั ยงิ ค.60 และ กำลงั พล อาวุธ ยุทโธปกรณ์, การรายงานผลการสูญเสยี และการ ปอ้ งกนั การตีโตต้ อบ และแจง้ การเขา้ มาของขา้ ศึก ใหเ้ ปล่ยี นยา้ ยท่ีตั้งยงิ ข้นึ มาประจำที่ตงั้ ยิงท่กี ำหนดทันที ทดแทนตำแหน่งทสี่ ำคญั ,การเพ่ิมเตมิ กระสนุ 4. ในขณะที่ปฏบิ ัติการเสรมิ ความมัน่ คง ณ ทีห่ มายนั้น ต้อง สั่งการให้อาวุธท่มี าสมทบเข้าประจำทต่ี ง้ั ยงิ อยา่ งมี 5. ผบ.มว. (หรือมอบหมายให้ รอง ผบ.มว.) ทำการกำกบั ดแู ล กำกบั ดแู ลใหท้ หารแตล่ ะบุคคลวางอาวธุ ปนื ไว้ในท่ีตัง้ ยิง ประสิทธิภาพ.รวมทงั้ การเปลย่ี นย้ายท่ตี ้ัง ทก.รอ้ ย ดว้ ย การปฏบิ ัติการเสริมความมัน่ คง ณ ที่หมายและการจัดระเบยี บ ช่ัวคราวในลกั ษณะที่ใหส้ ามารถปฏิบตั ิการยงิ ไดจ้ ากทต่ี ้งั น้นั เช่นกนั ใหม่ดว้ ยตนเองตลอดเวลา เมือ่ เกดิ เหตุการณฉ์ กุ เฉนิ ได้ 2. การจดั ระเบยี บใหม่ 6. รายงานสถานภาพกำลงั พล อาวธุ ยุทโธปกรณก์ ารสญู เสียและ 5. กำหนดท่ตี ั้งยิงและทศิ ทางยงิ หลกั เพ่มิ เติมให้แกพ่ ลยงิ ปืน 1) ใหม้ ีการรายงานการสูญเสียตามสายการบังคับบญั ชา เสนอความต้องการทางการส่งกำลังบำรงุ เพ่มิ เตมิ ไปยงั ผบ.รอ้ ย. เลก็ กลและพลยิง M 203 เพ่อื คุม้ ครองแนวทางการเคลอ่ื นท่ี 2) รอง ผบ.รอ้ ย. จะตอ้ งคอยเฝา้ ฟงั การรายงานการสูญ ในโอกาสอนั สมควร ท่สี ำคญั เสยี และดำเนินการทางธรุ การตามหนา้ ทโ่ี ดยอัตโนมตั ิ 6. สำรวจสถานภาพอาวธุ กระสนุ และยทุ โธปกรณ์ของทหาร คอยอำนวยการให้มกี ารนำกระสนุ มูลฐานทอ่ี ยู่ ณ ขบวน แตล่ ะบคุ คลดว้ ยตนเองในทันท ี สัมภาระกองรอ้ ยไปจา่ ยเพิม่ เตมิ ใหก้ ับหน่วยรอง ของตน 7. รายงานการสญู เสยี ของกำลังพลและยทุ โธปกรณ์ของ ทันทีและเบกิ เพ่มิ เติมรวมท้งั จะตอ้ งอำนวยการใหม้ ีการส่ง แตล่ ะหมู่ และเสนอความต้องการทางการส่งกำลงั เพิม่ เติม กลบั ผูบ้ าดเจ็บและเชลยศึกอย่างเหมาะสม ไปยัง ผบ.มว.โดยเรว็ 8. กำกับดแู ลการดัดแปลงภูมปิ ระเทศของทหารภายในหมู่ ของตนตลอดเวลา 9. เสนอความตอ้ งการจำนวนกระสนุ เพมิ่ เตมิ ให้เตม็ ตาม อตั รา 10.พื้นที่เสริมความม่นั คง ณ ที่หมายนัน้ ตอ้ งมีหลมุ บคุ คล ของ ผบ.หม่ดู ว้ ย การตั้งรบั /ขนั้ การรับภารกิจ การเตรียมการและการเคลื่อนย้าย เริ่มต้นเม่อื : ผบ.หนว่ ยรับคำสง่ั จาก ผบ.หน่วยเหนือเรยี บร้อยแลว้ ผบ.พัน.:ออกคำสัง่ ยุทธการให้กบั ส้ินสุดเม่อื : เคลื่อนยา้ ยกำลงั พลไปยังพนื้ ทีป่ ฏบิ ตั กิ ารเรยี บร้อยแล้ว ผบ.หน่วยรองฝอ./ส่วนทีเ่ กย่ี วข้องอ่นื ๆ:เสนอแนะการปฏบิ ตั ใิ หก้ บั ผบ.พัน. ผบ.ร้อย. ผบ.มว. ผบ.หมู่ การรับภารกจิ การรับภารกจิ การรับภารกิจ 1.แจง้ ให้ รอง ผบ.ร้อย.ทราบถึงเวลาทต่ี นจะไปรับคำสัง่ 1.ผบ.มว.ต้องนำบุคคลตอ่ ไปน้ีไปรว่ มรับคำสง่ั ดว้ ย (รอง ผบ.มว., 1. ผบ.หม.ู่ ต้องไปรบั คำสงั่ ตาม เวลา และสถานท่ีท่ผี บ.รอ้ ย. จาก ผบ.พนั .และงานต่าง ๆ ทีม่ อบให้กระทำหรือกำกับ ผบ.หมู่ ปก. และพลนำสาร) ตาม เวลา และสถานทท่ี ี่ ผบ.รอ้ ย. ได้กำหนดไว้ถกู ตอ้ งและทันเวลา ดแู ล ไดก้ ำหนดไว้ 2. ผบ.หม.ู่ ตอ้ งมกี ารซกั ถามข้อข้องใจตามความจำเปน็ จาก 2.ผบ.ร้อย.นำบุคคลตอ่ ไปนร้ี ่วมไปรบั คำสง่ั ด้วยคอื ผบ.มว. 2.ผบ.มว.ต้องมีการซักถามขอ้ ข้องใจตามความจำเปน็ จาก ผบ. ผบ.มว.และประสานงานกบั ผบ.หนว่ ยขา้ งเคยี งและ ผบ. ค.60, นายสิบสื่อสาร, พลนำสาร , ผตน.ป. และตอ้ งไป ร้อย.และประสานงานกับ ผบ.หนว่ ยขา้ งเคียงและ ผบ.หน่วย หนว่ ยสนับสนนุ , ผบ.หน่วยสมทบ(ถ้ามี)ในเรือ่ งท่จี ำเปน็ รบั คำสงั่ จาก ผบ.พนั . ณ ตำบลและทันตามเวลาท ่ี สนับสนนุ , ผบ.หน่วยสมทบ (ถา้ ม)ี ในเรอ่ื งที่จำเป็นอย่างครบถว้ น อย่างครบถว้ น ผบ.พัน.กำหนด 3.วางแผนการใชเ้ วลา และการสง่ั การในเร่ืองกำหนดเวลาและ 3.วางแผนการใช้เวลา และการส่ังการในเรอ่ื งกำหนดเวลา 3.ออกคำสัง่ เตรยี มเพือ่ แจง้ ให้ ผบ.หนว่ ยรองทราบทันที สถานทซี่ ่งึ ตนจะใชเ้ ปน็ ทีส่ ง่ั การต้งั รบั แก่หน่วยรอง และสถานทซี่ งึ่ ตนจะใชเ้ ป็นที่สั่งการต้ังรบั แก่หนว่ ยรอง ในคำสงั่ เตรยี มนนั้ จะต้องระบถุ ึง ภารกจิ , เวลาและ 4.ออกคำส่งั เตรียมเพื่อแจ้งให้ ผบ.หน่วยรองทราบทนั ทใี นคำสั่ง 4. ออกคำสง่ั เตรยี มเพอื่ แจง้ ให้ ผบ.หน่วยรองทราบทนั ทใี น สถานที่ที่ จะให้ ผบ.มว. และ ผบ.หนว่ ยสมทบไปรับ เตรียมนน้ั อย่างนอ้ ยทีส่ ุดจะต้องระบถุ งึ ภารกจิ เวลาและสถานท่ี คำสง่ั เตรยี มน้นั อยา่ งน้อยท่สี ดุ จะตอ้ งระบุถงึ ภารกจิ เวลา คำสัง่ ตงั้ รบั ทจ่ี ะให้ ผบ.หมู่ และ ผบ.หน่วยสมทบไปรับคำส่งั ตงั้ รับ และสถานท่ีท่ี จะให้ ผบ.หมู่ และ ผบ.หน่วยสมทบไปรบั คำ 4.ประมาณการใช้เวลาและให้ทำการเคลือ่ นยา้ ยหน่วย ไป 5. นำผลจากการวิเคราะหภ์ ารกจิ ข้าศึก (SALUTE) และสภาพ สั่งตั้งรับ ยงั ทีร่ วมพลที่สามารถปฏิบัตภิ ารกิจไดท้ ันตามเวลาท่ี ภูมปิ ระเทศ (OCOKA) มาประกอบในการวางแผนข้ันตน้ 5. นำผลจากการวเิ คราะหภ์ ารกิจ ข้าศึก (SALUTE) และ ผบ.พัน. กำหนด 6.ต้องประมาณการใชเ้ วลาและให้ทำการเคลือ่ นยา้ ยหนว่ ย ไปยัง สภาพภูมปิ ระเทศ (OCOKA) มาประกอบในการวางแผนขัน้ ตน้ 5.เมอ่ื รับคำสง่ั จาก ผบ.พัน.แลว้ ต้องรีบตรวจภูมปิ ระเทศ ท่รี วมพลทีส่ ามารถปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ได้ทนั ตามเวลาที่ ผบ.ร้อย. 6. ประมาณการใช้เวลาและให้ทำการเคลื่อนย้ายหน่วย ไป ทันที โดยแบ่งงานให้ ผบ.มว.ค.60 ผตน.ป. และนายสบิ กำหนด ก่อนที่ ผบ.มว.จะทำการ ลว.ตรวจภูมิประเทศนนั้ จะตอ้ ง ยงั ทร่ี วมพลท่ีสามารถปฏิบตั ิภารกิจไดท้ ันตามเวลาท่ี ผบ.มว. สอ่ื สารช่วยตรวจภมู ิประเทศอย่างเหมาะสม ศึกษาและพิจารณาลักษณะภูมิประเทศจากแผนทีใ่ นการตรวจ กำหนดการปฏิบตั ิของ ผบ.หนว่ ย-การคงั้ รับ 2 - 79 6.นำผลจากการลาดตระเวนตรวจภูมิประเทศมาประกอบ ภมู ปิ ระเทศน้ัน ผบ.มว.จะตอ้ งแบง่ มอบหนา้ ทใ่ี ห้ รอง ผบ.มว. 7 ทำการตรวจภูมิประเทศบรเิ วณขา้ งหนา้ ขนพร.ในแนว กบั แผนทีไ่ ดว้ างไว้ข้างต้นเพอื่ ทำแผนให้สมบูรณ์โดยให้ และ ผบ.หมู่ ปก.ช่วยทำการตรวจในบางเรอ่ื งอยา่ งเหมาะสม ขนพร. ตรวจเขตการวางกำลงั ตามทไ่ี ดร้ ับมอบจากผบ.มว.ใน สองคลอ้ งกับ สถานการณ์ แผนของ กองพนั และภารกจิ 7. ทำการตรวจภมู ปิ ระเทศเขตการวางกำลังบริเวณข้างหน้า ขนพร. ลักษณะมีการกำบังและซอ่ นพรางตลอดเวลานำผลจากการ ของกองพนั ตามท่ีได้รบั มอบจากผบ.รอ้ ย. และร่วมกบั ผบ.หมู่ ปก.กำหนดทต่ี ้ัง ลาดตระเวนตรวจภูมปิ ระเทศมาประกอบกับแผนที่ไดว้ างไว้ 7.การออกคำส่ังยทุ ธการต้องส่ังการให้ทันตรงตามเวลาที่ ยงิ ปก.ทแ่ี น่นอนหลงั จากไดท้ ำการตรวจภูมิประเทศรว่ มหารอื กับ ขา้ งตน้ เพ่ือทำแผนใหส้ มบูรณ์ ตนกำหนดไว้ในคำสง่ั เตรยี ม (ถา้ ไมส่ ามารถส่ังการได้ตาม รอง ผบ.มว.และ ผบ.หมู่ ปก. เพอ่ื รับขอ้ เสนอแนะในการทำแผน 8.สั่งการให้ทันตรงเวลาทต่ี นกำหนดไวใ้ นคำสง่ั เตรียม (ถ้าไม่ เวลาที่กำหนดก็จะตอ้ งมีการแจ้งข่าวสารไปยังหนว่ ยรอง ให้สมบูรณ์และออกคำส่ังตัง้ รบั ใหท้ นั ตรงตามเวลาท่ตี นกำหนดไว้ สามารถสง่ั การได้ทันตามเวลาที่กำหนดจะต้องมกี ารแจ้ง ทราบก่อนต้องออกคำสงั่ ด้วยวาจาในภูมิประเทศช้ีแนว ในคำส่งั เตรยี ม ข่าวสารไปยงั หน่วยรองทราบก่อน และเขตรับผดิ ชอบใหก้ บั หน่วยรองทราบในภูมปิ ระเทศ 8.การออกคำสัง่ ยทุ ธการดว้ ยวาจาในภมู ิประเทศทมี่ ีการปกปิด 9.การออกคำส่ังยุทธการด้วยวาจาในภูมิประเทศท่มี กี าร จรงิ การดว้ ยวาจาต้องมีสาระสำคญั ครบตามคำสงั่ หวั ข้อ กำบงั ชีแ้ นวและเขตรับผิดชอบใหก้ บั หน่วยรองทราบขอ้ ความที่ ปกปดิ กำบงั ชแี้ นวและเขตรับผดิ ชอบให้กับหนว่ ยรองทราบ คำสง่ั ยุทธการและเปน็ แผนทปี่ ระเมินค่าได้ว่ามี สง่ั การดว้ ยวาจาตอ้ งมีสาระสำคญั ครบถ้วนตามหวั ข้อคำสงั่ ข้อความที่ส่ังการดว้ ยวาจาตอ้ งมสี าระสำคญั ครบถว้ นตาม ยทุ ธการ ใช้คำพูดส้ัน ชดั เจนสมบูรณ์ การปฏบิ ัตกิ ารทางยทุ ธวิธี การปฏิบัตกิ ารทางยทุ ธวธิ ี2 - 80 การปฏบิ ตั ิของ ผบ.หน่วย-การต้งั รบั ผบ.ร้อย. ผบ.มว. ผบ.หมู่ ประสิทธิภาพในการมอบหมายภารกจิ กับหน่วยรอง ผบ. การเตรียมการและการเคลอื่ นย้าย หัวข้อคำสัง่ ยทุ ธการ ใชค้ ำพูดส้ัน ชัดเจนสมบรู ณ์ เนื้อหา หน่วยรองต้องเข้าใจภารกจิ ในการนำกำลงั เข้าทร่ี วมพลของ มว.ปล.เพื่อเตรยี มการปฏบิ ัตทิ าง ของคำสัง่ เป็นแผนงานท่ีถูกต้องและมปี ระสทิ ธิภาพ ในการ การเตรยี มการและการเคลอ่ื นย้าย ยทุ ธวิธี ผบ.มว.ปล. ตอ้ งมกี ารสง่ั การและกำกบั ดแู ลในเรอ่ื ง มอบหมายภารกจิ กบั หน่วยรองไดม้ กี ารเนน้ ยำ้ จนมนั่ ใจวา่ การนำกำลังเขา้ ที่รวมพลของกองร้อยอาวุธเบาเพ่อื เตรยี ม 1. มีการสั่งการหรือชแ้ี จงให้ รอง ผบ.มว.และ ผบ.หม่ทู ราบในเร่อื ง ผบ.หน่วยรองเขา้ ใจภารกิจของตน โดยมกี ารกำกบั ดแู ล การปฏบิ ัติการทางยุทธวิธี ผบ.รอ้ ย. จะตอ้ งมีการสั่งการ ทตี่ ั้งทรี่ วมพลเสน้ ทางและรูปขบวนเดนิ เคล่อื นที่ไปยงั ท่ีรวมพล อย่างใกล้ชิด และสามารถตอบข้อขอ้ งใจแกห่ น่วยรองได้ และกำกบั ดแู ลในเรอ่ื งต่อไปนี้ กำหนดเวลาเร่มิ เคลื่อนท่ไี ปยงั ท่ีรวมพล อยา่ งดี 1. มกี ารสั่งการหรอื ชแี้ จงสถานการณ์ให้ รอง ผบ.ร้อย. 2. ในขณะทนี่ ำกำลังพลเคลอื่ นที่ไปเขา้ ทร่ี วมพลนัน้ ก่อนถึงท่ี การตรียมการและการเคลื่อนย้าย และผบ.มว. ทราบในเรื่องท่ีต้ังท่ีรวมพลเสน้ ทางและรูป รวมพลต้องสง่ั หยุดรปู ขบวนไวก้ ่อน แล้วตนเองไปตรวจพ้นื ท่ี ในการนำกำลงั เขา้ ทร่ี วมพลของ หมู่ ปล.เพอื่ เตรียมการ ขบวนเดินท่ีเคลอื่ นทไี่ ปยังทร่ี วมพลกำหนดเวลาเร่ิม รวมพลเพ่อื ตกลงใจแบ่งมอบพนื้ ทแ่ี นน่ อนให้แกห่ นว่ ยรองของตน ปฏิบัตทิ างยทุ ธวิธี ผบ.หมู่ ปล.ตอ้ งมีการสั่งการและกำกบั เคลื่อนทไี่ ปยังท่ีรวมพล ได้อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม ดแู ลในเร่อื งตอ่ ไปนี้ 2. แบง่ พื้นทร่ี วมพลใหแ้ ก่ มว.ตา่ ง ๆ และ ทก.รอ้ ย. ใน 3.แบ่งมอบพื้นทรี่ วมพลใหห้ มตู่ ่างๆ, ท่ีตัง้ ทก.หมวดที่ตง้ั ปก., 1. มีการส่งั การหรือช้ีแจงให้ หน.ชดุ ทราบในเรื่องที่ตง้ั ท ่ี ลกั ษณะกระจายกำลังและมกี ารกำบังและซอ่ นพรางดี คจตถ.และจัดส่งยามคอยเหตไุ วอ้ ยา่ งเหมาะสม รวมพลเส้นทางและรปู ขบวนเดินเคลื่อนท่ไี ปยงั ท่รี วมพล 3. อาวธุ ประจำหน่วยทกุ ชนดิ ต้อง เขา้ ประจำอยู่ในทตี่ ั้งยงิ 4. วางกำลังในลกั ษณะการกระจายกำลงั มกี ารกำบงั และซอ่ นพราง กำหนดเวลาเริม่ เคลอ่ื นทีไ่ ปยังที่รวมพล ท่ีสามารถปอ้ งกันทรี่ วมพลได้ 5. อาวุธประจำหน่วยทกุ ชนิดเขา้ ประจำอย่ใู นท่ีตั้งยิงทส่ี ามารถ 2. ในขณะทนี่ ำกำลังพลเคลือ่ นทไ่ี ปเขา้ ท่รี วมพลนั้น ก่อน 4. จดั ให้มียามตรวจการณต์ ามความเหมาะสม ป้องกันท่ีรวมพลได้ ถึงทีร่ วมพลตอ้ งสงั่ หยุดรูปขบวนไว้กอ่ น แล้วตนเองไปตรวจ 5. ยานพาหนะของกองรอ้ ยต้องจอดไว้ในลักษณะกระจาย 6. ต้องมีการกวดขันในเร่ือง แสง – เสียงในการนำกำลงั เข้า พนื้ ทร่ี วมพลเพอื่ ตกลงใจแบ่งมอบพืน้ ทแ่ี น่นอนใหแ้ ก่หน่วย กำลงั ห่างกนั ไม่นอ้ ยกว่า 30 เมตร ในที่ซ่งึ มีการซ่อน เคลอ่ื นทีเ่ พอ่ื การปฏบิ ัติทางยุทธวธิ ี ผบ.มว.ปล. ต้องมีการส่งั การ รองของตนได้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม พรางด ี และกำกับดแู ล 3. แบ่งมอบพื้นที่รวมพลให้ชุด ทตี่ ง้ั ทก.หมู่ ทต่ี ั้ง ปลก., 6. กำลงั พลของหนว่ ยตอ้ งเข้าประจำทีซ่ ่ึงอยใู่ นลกั ษณะท่ี 7. มกี ารสั่งการหรือชแ้ี จงให้ รอง ผบ.มว.และ ผบ.หมทู่ ราบในเรือ่ ง M 203 และจัดส่งยามคอยเหตุไว้อย่างเหมาะสมวางกำลัง กระจายกำลงั กันออกไปและมกี ารกวดขนั ในเร่ือง เสียง, เสน้ ทางและรปู ขบวนเดนิ เคลื่อนท่ไี ปยังท่ีรวมพลภายใตร้ ปู ขบวน ในลกั ษณะการกระจายกำลงั มีการกำบังและซ่อนพราง แสง และ ความเงียบสงบ ของกองร้อยกำหนดเวลาเริ่มเคล่อื นท่ี 4. อาวธุ ประจำหน่วยทกุ ชนิดเข้าประจำอย่ใู นท่ีตง้ั ยงิ ท่ี 7.พจิ ารณาการเคลื่อนยา้ ยกำลังพลเข้าดำเนินกลยุทธโ์ ดย สามารถปอ้ งกนั ทร่ี วมพลได้ ใช้ข้อพิจาณา ภมู ปิ ระเทศและสถานการณ์ขา้ ศึก เพ่อื 5. ต้องมกี ารกวดขนั ในเรอ่ื ง แสง - เสยี งในการนำกำลงั เขา้ กำหนด รปู ขบวน เสน้ ทาง การระวังปอ้ งกันทง้ั การเคลอ่ื น เคลื่อนท่เี พ่ือการปฏิบัติทางยทุ ธวธิ ี ผบ.หมู่ ปล.ตอ้ งมกี าร ย้ายด้วยการเดินเทา้ และยานยนต์ โดยในการบังคบั ส่ังการและกำกบั ดูแลในเรื่องการสั่งการหรอื ชแี้ จงให้ รอง บัญชา ผบ.พัน จะเคล่ือนยา้ ยไปกบั กำลังส่วนใหญอ่ ยู่ ผบ.มว.และ ผบ.หมู่ ทราบในเรอ่ื งเส้นทางและรปู ขบวนเดนิ บริเวณที่สามารถควบคุมและสงั่ การหน่วยได้อย่างมี เคลื่อนทไ่ี ปยงั ท่รี วมพลภายใต้รปู ขบวนของกองร้อยกำหนด ประสิทธิภาพ เวลาเร่มิ เคลอื่ นที่ การตงั้ รับ/ข้นั การตั้งรับ เริ่มต้นเมอ่ื : เคลอ่ื นย้ายกำลงั พลไปยังพ้ืนท่ีปฏบิ ตั กิ ารเรียบรอ้ ยแล้ว ผบ.พนั . : อำนวยการยุทธ์กับหนว่ ยรอง สิน้ สุดเม่ือ: ทำการสรู้ บกับขา้ ศึกจนสามารถกำหนด ฝอ./สว่ นท่เี ก่ียวข้องอื่นๆ: ตดิ ตามสถานการณ์ แนวทางปฏิบตั ติ ่อไปหรือรับภารกิจต่อไป ผบ.รอ้ ย. ผบ.มว. ผบ.หมู่การปฏิบตั ิของ ผบ.หนว่ ย-การตงั้ รับ 2 - 81 1. การระวังป้องกนั 1. การระวงั ปอ้ งกนั 1. การระวังป้องกนั 1) กอ่ นที่จะเร่มิ ดัดแปลงภมู ปิ ระเทศอย่างน้อยทสี่ ดุ หนว่ ยใน กอ่ นที่จะเร่ิมดัดแปลงภมู ิประเทศอย่างน้อยท่สี ดุ หมวดจะตอ้ งจัดใหม้ ี ก่อนทจ่ี ะเริม่ ดดั แปลงภูมิประเทศอยา่ งนอ้ ยที่สุดหม่จู ะตอ้ งจดั ให้มี ระดับหมวดจะตอ้ งจัดให้มยี ามตรวจการณ์คอยเฝา้ ตรวจพืน้ ท่ี ยามตรวจการณ์คอยเฝา้ ตรวจพื้นท่หี นา้ แนว ขนพร. 1 คน และมกี าร ยามตรวจการณค์ อยเฝา้ ตรวจพื้นท่ีหนา้ แนว ขนพร. 1 คน และมี หน้าแนว ขนพร. 1 คน และมกี ารผลัดเปลยี่ นยามตรวจการณ์ ผลัดเปล่ยี นยามตรวจการณก์ ันทุก 30 นาทแี ละมีการติดต่อสอ่ื สารกับ การผลัดเปลย่ี นยามตรวจการณก์ นั ทุก 30 นาทแี ละมกี ารตดิ ตอ่ กนั ทกุ 30 นาทีอาวธุ ยิงสนบั สนนุ ของ มว.ตา่ ง ๆ จะต้องเขา้ ผบ.มว. ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพอาวธุ ยิงสนบั สนนุ ของ มว.จะตอ้ งเข้า สือ่ สารกบั ผบ.หมู่ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ อาวธุ ยิงสนับสนนุ ของ ประจำอยู่ในท่ีซ่ึงสามารถทำการยงิ ไดท้ ันที (โดยยงั ไม่มหี ลมุ ปืน) ประจำอยใู่ นทีท่ สี่ ามารถทำการยิงไดท้ ันที (โดยยงั ไมม่ ีหลุมปืน) หมจู่ ะต้องเข้าประจำอยูใ่ นท่ที ส่ี ามารถทำการยงิ ได้ทันที (โดยยังไม่ 2) มว.ปล.ในแนวหนา้ จะต้องจดั ยามคอยเหตุ ไปประจำท่ี 2. การดดั แปลงภมู ิประเทศ มีหลุมปืน) ตรวจการณ์อยขู่ า้ งหน้าแนว ขนพร. ในระยะไม่เกิน 400 เมตร 1) ท่ตี ัง้ ยงิ หรอื ท่วี างตัวต้องมกี ารดัดแปลงหลมุ บุคคลในลกั ษณะท่มี พี น้ื 2. การดดั แปลงภมู ิประเทศ อยา่ งน้อยท่ีสดุ 1 คน และใหม้ กี ารตดิ ต่อสื่อสารกบั ผบ.มว.ได้ การยงิ ดมี น่ั คงแข็งแรงมกี ารกำบงั และซอ่ นพรางเป็นอย่างดกี ารถากถาง 1) ทีต่ ัง้ ยิงหรือที่วางตัวตอ้ งมกี ารดดั แปลงหลุมบุคคลในลกั ษณะที่ 2. การดดั แปลงภูมปิ ระเทศ พนื้ ที่การยิงตอ้ งสามารถยงิ ได้และตอ้ งไมเ่ สยี ประโยชน์ดา้ นการซอ่ น มีการยงิ ดีมั่นคงแข็งแรงมีการกำบงั และซ่อนพรางเป็นอย่างดีการ 1) ทีต่ ัง้ ยิงหรือที่วางตวั มีการดดั แปลงหลุมบุคคลในลกั ษณะท่ีมี พราง ถากถางพนื้ ท่ีการยงิ ตอ้ งสามารถยงิ ไดแ้ ละตอ้ งไมเ่ สียประโยชน์ พื้นท่ีการยงิ ดีมีความม่นั คงแข็งแรงมกี ารกำบงั และซ่อนพราง 2) ท่ตี ง้ั ยงิ ปก. ของ มว.ต้องมเี ขตการยงิ เต็มพื้นทรี่ ับผดิ ชอบของ มว. ดา้ นการซ่อนพราง เป็นอย่างดมี กี ารถางถางพน้ื ท่ีการยงิ ใหส้ ามารถยิงปืนไดแ้ ละไม่ และยา่ นกระสนุ กวาดอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2) ที่ตั้งยงิ ปลก ต้องมีเขตการยิงเต็มพื้นท่รี ับผดิ ชอบ และยา่ น เสียประโยชน์ดา้ นการซอ่ นพราง 3) คจตถ. ตอ้ งตั้งยงิ ไว้ในลกั ษณะทสี่ ามารถคุ้มครองเขตรับผิดชอบของ กระสนุ กวาดอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2) ทีต่ ้ังยิง ปก. ของแต่ละ มว. ในแนวหน้าตอ้ งมีเขตการยงิ ที่ มว.ได้ (อาจมคี วามจำเป็นตอ้ งมีทีต่ ัง้ ยงิ สำรองดว้ ย) 3) ค.M 203 ต้องใช้ประโยชน์ยิงไปในท่อี ับกระสนุ ให้มากทีส่ ุดโดย ทาบทบั กันจนเตม็ พน้ื ทร่ี ับผดิ ชอบของทห่ี มายและมียา่ นกระสุน 4) ค. M 203 ตอ้ งใชป้ ระโยชนย์ ิงไปในทอ่ี ับกระสนุ ใหม้ ากท่สี ดุ โดย เฉพาะอย่างยิง่ ในพ้นื ที่อับกระสนุ ในยา่ นการยิงกวาดของ ปก.ใน กวาดอยา่ งมีประสิทธภิ าพ เฉพาะอยา่ งย่งิ ในพน้ื ที่อับกระสนุ ในยา่ นการยงิ กวาดของ ปก.ในแนวยิง แนวยงิ ฉากป้องกันขั้นสดุ ทา้ ย (ถา้ ม)ี 3) คจตถ. ต้องตง้ั ยงิ ไวใ้ นลักษณะท่สี ามารถคุ้มครองเขต ฉากป้องกันขน้ั สดุ ทา้ ย(ถ้ามี) 4) อาวธุ ทุกชนดิ ต้องมีแผน่ จดระยะและมกี ารเตรยี มการยิงใน รบั ผดิ ชอบ มว.ได้อยา่ งเตม็ ท่ี (อาจมีความจำเป็นต้องมที ีต่ ัง้ ยิง 5) หลุมบคุ คลทีใ่ ชเ้ ปน็ ทต่ี รวจการณข์ อง มว.ตอ้ งสามารถตรวจการณไ์ ด้ เวลากลางคนื สำรองด้วย) ท่วั เขตรับผิดชอบของ มว.อาวุธทุกชนดิ ตอ้ งมีแผน่ จดระยะและมีการ 5) หลมุ บคุ คลที่ใช้เป็นท่ตี รวจการณข์ องหมู่ ตอ้ งสามารถ 4) ค.M 203 ต้องใช้ประโยชน์ยงิ ไปในทีอ่ บั กระสนุ ให้มากที่สุด เตรียมการยิงในเวลากลางคืน ตรวจการณไ์ ดท้ ัว่ เขตรับผดิ ชอบของหมู่ อาวธุ ทกุ ชนิดต้องมแี ผ่น โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในพ้นื ท่อี บั กระสุนในยา่ นการยิงกวาดของ 6) ผบ.มว.ตอ้ งกำหนดทอี่ ยู่ของ รอง ผบ.มว.ไว้ ณ สถานทีท่ ่ซี ึง่ สามารถ จดระยะและมกี ารเตรยี มการยิงในเวลากลางคืน ปก.ในแนวยงิ ฉากป้องกันข้นั สุดท้าย (ถา้ ม)ี ช่วยเหลอื ผบ.มว.ในการบงั คับบญั ชาหมูต่ า่ ง ๆ ไดต้ ลอดแนวทมี่ นั่ ของ 6) ผบ.หมู่ จะต้องจดั ให้มีทม่ี นั่ สำรองและทีม่ ัน่ เพ่มิ เติมอย่าง 5) อาวธุ ทกุ ชนดิ ต้องมแี ผน่ จดระยะและมกี ารเตรยี มการยิงใน มว.ผบ.มว.จะตอ้ งจดั ให้มที มี่ น่ั สำรองและท่ีมน่ั เพม่ิ เตมิ อยา่ งเหมาะสม เหมาะสมรวมทัง้ ให้มีการซักซ้อมการเคลื่อนท่1ี ครั้งมกี ารจัดทำ เวลากลางคืน รวมทั้งให้มกี ารซกั ซอ้ มการเคลอ่ื นท่ี 1 ครง้ั มีการจัดทำแผนการยิงของ แผนการยิงของ หมู่ สง่ ให้ผบ.ร้อย.ทันตามเวลาท่ี ผบ.รอ้ ย.กำหนด 6) ผบ.รอ้ ย.จะต้องกำหนดที่ตงั้ มว.หนุนให้อยหู่ า่ งจากขนพร. มว.สง่ ให้ ผบ.ร้อย.ทนั ตามเวลาที่ ผบ.ร้อย. กำหนดไวท้ ีต่ ง้ั ทก.มว. ไว้ท่ีตงั้ สามารถติดตอ่ กบั ผบ.มว.ได้อย่างรวดเรว็ มีประสทิ ธิภาพ ไมน่ ้อยกว่า 350 เมตรทัง้ มว.ในแนวหนา้ และ มว.หนนุ ต้องจดั สามารถตดิ ตอ่ กับ ผบ.หมตู่ า่ งและ ผบ.รอ้ ย.ไดอ้ ย่างรวดเรว็ มี และ ขณะทำการดัดแปลงภมู ิประเทศนั้น ผบ.หมู่ ไดม้ กี าร ให้มที ี่ม่นั สำรองและมีทีม่ นั่ เพิม่ เติมอย่างเหมาะสมรวมทัง้ จัดให้ ประสิทธภิ าพและขณะทำการดดั แปลงภมู ปิ ระเทศน้นั ผบ.มว.และ ผบ. ตรวจตราและกำกับดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ จากที่มั่นจริงไปยังท่ีม่นั มีการซักซ้อมการเคลอ่ื นทีจ่ ากทีม่ ่นั จรงิ ไปตัง้ ทม่ี ่ันสำรองและที่ หมู่ ได้มีการตรวจตราและกำกับดูแลอย่างใกลช้ ิดจากท่มี ั่นจริงไปยงั สำรองและทม่ี ่นั เดิมอย่างน้อย เพิ่มเตมิ อยา่ งนอ้ ย 1 ครง้ั ทม่ี ่ันสำรองและท่มี ัน่ เดิมอย่างนอ้ ย 3. ขณะปฏิบัตกิ ารตง้ั รบั การปฏิบตั ิการทางยุทธวธิ ี การปฏบิ ตั กิ ารทางยทุ ธวธิ ี2 - 82 การปฏบิ ตั ิของ ผบ.หน่วย-การต้งั รบั ผบ.รอ้ ย. ผบ.มว. ผบ.หมู่ ผบ.หมู่ ตอ้ งคอยกำกับดูแลกำลงั พลให้มีควมพรอ้ มรบ และ 7) ทตี่ งั้ ทก.ร้อย.จะต้องต้งั อยูข่ ้างหลังท่ีมน่ั จริงของ มว.หนนุ 3. ขณะปฏบิ ัตกิ ารตั้งรับ เพิม่ เติมความแขง็ แรงของท่มี ัน่ อยตู่ ลอดเวลาตอ้ งรักษาการตดิ ตอ่ 3. ในขณะที่ กดป. และ กดร.ถอนตัว ผบ.ร้อย. ตอ้ งแจ้ง ผบ.มว.และ ผบ.หมตู่ ้องคอยกำกับดูแลกำลังพลใหม้ ีความพร้อมรบ กบั หน่วยขา้ งเคยี งและมกี ารกระจายขา่ วสารท่ไี ด้รบั จากกองร้อย สถานการณ์ให้ ผบ.หน่วยรองของตนทราบโดยตอ่ เนอ่ื ง และเพมิ่ เติมความแข็งแรงของทมี่ น่ั อยตู่ ลอดเวลารกั ษาการติดต่อกบั ไปยังหนว่ ยรองและหนว่ ยขา้ งเคยี งอยตู่ ลอดเวลารายงานทนั ที กำกับดแู ลหน่วยรองทกุ หน่วยใหอ้ ยู่ในสภาพพรอ้ มรบดำรงการ หนว่ ยขา้ งเคยี งและมีการกระจายขา่ วสารทไ่ี ดร้ ับจากกองรอ้ ยไปยงั เมื่อมสี ถานการณท์ างยุทธวธิ ไี ปยงั หน่วยเหนอื อยา่ งต่อเน่ือง ตดิ ต่อส่อื สารทางสายไวอ้ ย่างต่อเนือ่ งใหห้ นว่ ยรองที่เกยี่ วขอ้ ง หนว่ ยรองและหน่วยข้างเคียงอยูต่ ลอดเวลา รายงานทันทีเม่อื มี 2. การปฏบิ ัติเมอ่ื ขา้ ศึกเขา้ ตี (กดป./กดร.ถอนตวั ) อำนวยความสะดวกในเรื่องการผ่านแนวของ กดป. และ/หรอื สถานการณ์ทางยุทธวธิ ีไปยงั หน่วยเหนืออย่างตอ่ เนอื่ ง 1) แจง้ สถานการณใ์ ห้ ผบ.หนว่ ยรองทราบโดยตอ่ เน่อื งรายงาน กดร.ตามลำดับ รวมทง้ั รายงานให้ ผบ.พัน. ทราบและพยายาม 4. การปฏบิ ตั ิเมือ่ ขา้ ศกึ เขา้ ตี (กดป./กดร.ถอนตัว) สถานการณใ์ ห้ ผบ.มว.ทราบ กำหนดเป้าหมายและร้องขอการยงิ จาก ป.และค. ทาง ผตน. 1) แจง้ สถานการณใ์ ห้ ผบ.หน่วยรองทราบโดยต่อเน่อื งรายงาน 2) คอยกำกบั ดแู ลหน่วยรองทุกหนว่ ยใหอ้ ย่ใู นสภาพพร้อมรบ ทำการยิงระยะไกล สถานการณใ์ ห้ ผบ.ร้อย.ทราบ ดำรงการติดต่อสื่อสารทางสายไวอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ งประมาณ 4. เมือ่ ขา้ ศึกเคลือ่ นท่ผี ่านแนวกองรักษาด่านรบแล้ว ผบ.รอ้ ย. 2) คอยกำกับดแู ลหนว่ ยรองทุกหนว่ ยใหอ้ ย่ใู นสภาพพรอ้ มรบดำรงการ สถานการณ์กำหนดเปา้ หมายร้องขอและปรบั การยงิ ของอาวธุ ยิง 1) ต้องรายงานสถานการณใ์ ห้ ผบ.พนั . ทราบกำหนดเป้าหมาย ติดต่อส่ือสารทางสายไว้อย่างต่อเน่ืองประมาณสถานการณก์ ำหนด สนบั สนนุ ตอ่ เป้าหมายทเี่ กิดข้นึ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง และรอ้ งขอการยงิ ดว้ ยอาวุธเลง็ จำลองจาก ป. และ ค.ประมาณ เปา้ หมายรอ้ งขอและปรับการยิงของอาวธุ ยงิ สนบั สนนุ ตอ่ เป้าหมายที่ 3) ผบ.หมู่ ตอ้ งสง่ั การเพ่อื แกไ้ ขสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นไดอ้ ยา่ ง สถานการณโ์ ดยตอ่ เนื่องเพอื่ ใหท้ ราบหนทางปฏบิ ตั ขิ องข้าศึก เกดิ ขึ้นไดอ้ ย่างถกู ต้อง เหมาะสม ถูกตอ้ งทันเวลามีประสทิ ธิภาพ กำหนดการถอนตัวของ และกระจายข่าวสารให้ ผบ.หนว่ ยรองทราบ กำหนดการถอน 3) ผบ.มว.ตอ้ งสงั่ การเพื่อแกไ้ ขสถานการณ์ ที่เกดิ ขึน้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สว่ นระวังปอ้ งกันเฉพาะบริเวณไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับสถานการณ์ ตวั ของสว่ นระวังปอ้ งกันเฉพาะบรเิ วณอยา่ งเหมาะสม ถกู ต้องทนั เวลามีประสทิ ธภิ าพ กำหนดการถอนตัวของสว่ นระวงั กำหนดการเปดิ ฉากการยิงของอาวุธเลง็ ตรงต่างๆ ไดอ้ ยา่ ง 2) กำหนดการเปดิ ฉากการยงิ ของอาวธุ เล็งตรงตา่ งๆ อย่าง ปอ้ งกันเฉพาะบรเิ วณไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับสถานการณ์กำหนดการ เหมาะสมมปี ระสทิ ธภิ าพใชอ้ าวุธที่อยู่ภายใตก้ ารควบคุมของตน เหมาะสมและมปี ระสทิ ธภิ าพพยายามใช้อาวธุ ท่อี ยูภ่ ายใตก้ าร เปดิ ฉากการยิงของอาวธุ เลง็ ตรงต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสมมี ก่อนรอ้ งขอการยงิ สนบั สนุนจากหนว่ ยเหนอื ควบคุมของตนก่อนร้องขอการยงิ สนบั สนนุ จากหน่วยเหนือ ประสทิ ธิภาพใชอ้ าวธุ ท่อี ยูภ่ ายใต้การควบคมุ ของตนกอ่ นร้องขอการยงิ 3. เม่อื ข้าศกึ เคลอ่ื นที่เข้าประชดิ แนวยิงฉากป้องกนั ขัน้ สุดทา้ ย 3) โยกย้ายกำลงั เข้าทต่ี ้งั ยงิ สำรองและเพ่มิ เติมไดส้ อดคล้องกับ สนบั สนนุ จากหน่วยเหนอื 1) กำลงั สว่ นต่าง ๆ ในแนว ขนพร.ตอ้ งทวคี วามรนุ แรงในการยงิ การดำเนนิ กลยุทธ์ของขา้ ศึกและทนั เวลา 5. เมอ่ื ขา้ ศึกเคลอื่ นท่เี ขา้ ประชิดแนวยิงฉากป้องกนั ข้นั สดุ ท้าย โดยอัตโนมตั ิ 5. เมอ่ื ข้าศึกเคลอื่ นที่เข้าประชิดแนวยงิ ฉากปอ้ งกนั ข้นั สดุ ทา้ ย กำลังสว่ นต่าง ๆ ในแนว ขนพร.ทวีความรนุ แรงในการยงิ โดยอตั โนมตั ิ 2) ผบ.หมู่ ต้องพจิ ารณาการร้องขอการยงิ ฉากปอ้ งกันข้ันสดุ ท้าย กำลงั ส่วนต่างๆ ในแนว ขนพร.ตอ้ งทวคี วามรุนแรงในการยงิ ผบ.มว.ต้องพิจารณาการร้องขอการยงิ ฉากป้องกันขนั้ สุดท้าย และสง่ และสง่ สญั ญาณหยดุ ยงิ ฉากป้องกันขั้นสดุ ท้ายใหเ้ รว็ ที่สุดเทา่ ที่ โดยอัตโนมัติ และเป็นผู้ส่งสัญญาณร้องขอการยงิ ฉากผบ.มว. สัญญาณหยุดยงิ ฉากป้องกนั ขั้นสุดทา้ ยใหเ้ รว็ ทสี่ ุดเท่าที่สามารถกระทำ สามารถกระทำได้ต้องคอยอำนวยการโยกยา้ ยกำลังทหารภายใน เป็นผพู้ ิจารณาวา่ สมควรรอ้ งขอการยิงฉากป้องกันขน้ั สุดทา้ ย ได้ตอ้ งคอยอำนวยการโยกยา้ ยกำลงั ทหารภายในทมี่ ่ันของ มว.ให้ ท่มี ่ันของใหส้ อดคล้องกบั สถานการณท์ เ่ี กิดขึน้ อย่างได้ผล มีการ ผตน.ป. และ ค.สามารถส่งคำขอยิงฉากปอ้ งกนั ขนั้ สุดทา้ ยได้ สอดคล้องกับสถานการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ตอ้ งมีการกำกบั ดแู ลให้มกี ารเพมิ่ เตมิ กำกับดูแลใหม้ กี ารเพิม่ เติมกระสนุ และยุทโธปกรณ์ภายในหมู่ อยา่ งรวดเร็วเมื่อเห็นสัญญาณรอ้ งขอการยิงฉากปอ้ งกนั ข้นั กระสนุ และยทุ โธปกรณภ์ ายในหมวดอยา่ งเพียงพอและแสดงลักษณะ อยา่ งเพยี งพอและตอ้ งแสดงลกั ษณะผ้นู ำอย่างสงู ณ ตำบลวิกฤติ สดุ ทา้ ย และผบ.รอ้ ย.ตอ้ งกำกบั ดแู ลและสง่ั การยงิ ฉากปอ้ งกัน ผนู้ ำอยา่ งสูง ณ ตำบลวิกฤตแิ ละบังเกิดผลในด้านการนำหน่วย และบังเกิดผลในดา้ นการนำหนว่ ย ขน้ั สดุ ท้าย การต้งั รับ/ขั้นการจดั ระเบยี บใหม่ เริ่มต้นเมอ่ื : ทำการสูร้ บจนข้าศึกถกู ทำลายหรอื ถอนตัว ผบ.พัน.:กำกบั ดแู ลการปฏบิ ัตกิ ารจดั ระเบยี บใหม ่ ส้นิ สุดเมือ่ : ทำการจดั ระเบียบใหม่เรยี บรอ้ ยและเตรียมการปฏิบตั ิต่อไป และเตรียมการสัง่ การต่อไป ฝอ./สว่ นท่เี ก่ียวขอ้ งอ่ืนๆ:อำนวยการ ผบ.รอ้ ย. ผบ.มว. ผบ.หมู่ 1. ผบ.ร้อย.จะต้องเป็นผู้กำหนดและสั่งการให้สถาปนาท่มี ั่น 1. ผบ.มว.จะต้องเปน็ ผ้กู ำหนดและสั่งการใหส้ ถาปนาทม่ี ั่นใหม่ 1. ผบ.หมู่ จะตอ้ งเปน็ ผู้กำหนดและสั่งการให้สถาปนาที่มน่ั ใหม่ ใหม่ 2. เม่อื ไดร้ ับคำส่ังให้สถาปนาที่มน่ั ใหม่ ทกุ หนว่ ยตอ้ งมกี ารเปลี่ยนย้าย 2. เม่อื ได้รับคำส่ังให้สถาปนาท่ีมั่นใหม่ ทกุ หน่วยตอ้ งมกี ารเปล่ียน 2. เมื่อได้รบั คำส่ังใหส้ ถาปนาท่มี ่ันใหม่ ทกุ หนว่ ยตอ้ งมีการ ท่ีต้งั ไปยงั ท่มี น่ั สำรองหรือเพม่ิ เตมิ ต้องรีบนำกำลงั กลบั เข้าประจำทมี่ ั่น ย้ายท่ตี ั้งไปยังท่ีม่นั สำรองหรอื เพ่ิมเติม ต้องรบี นำกำลงั กลับเขา้ เปล่ียนย้ายทีต่ ั้งไปยงั ทมี่ ั่นสำรองหรือเพ่มิ เติม ตอ้ งรบี นำกำลงั จรงิ ตามเดิมอย่างรวดเร็วจดั ตัง้ สว่ นระวังป้องกนั เท่าที่สถานการณจ์ ะ ประจำท่มี น่ั จรงิ ตามเดิมอย่างรวดเร็วจัดต้งั ยามคอยเหตเุ ท่าที่ กลบั เข้าประจำท่มี นั่ จริงตามเดิมอย่างรวดเร็วจดั ต้งั ส่วนระวงั อำนวยใหก้ ระทำไดใ้ นทันที มีการเฝา้ ตรวจและติดตามขา่ วสาร สถานการณ์จะอำนวยให้กระทำได้ในทนั ที มีการเฝ้าตรวจและ ป้องกันเฉพาะบริเวณเท่าทสี่ ถานการณจ์ ะอำนวยให้กระทำได้มี เคล่ือนไหวของขา้ ศึกโดยต่อเน่ือง และมีการกระจายข่าวสารอยา่ งมี ตดิ ตามขา่ วสารเคลือ่ นไหวของขา้ ศกึ โดยต่อเนอ่ื ง และมกี าร การเฝ้าตรวจและติดตามข่าวสารเคล่ือนไหวของขา้ ศึกโดย ประสิทธภิ าพ กระจายข่าวสารอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ตอ่ เน่อื ง และมีการกระจายขา่ วสารอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 3. สำรวจการสูญเสยี กำลังพลและจัดการกบั สว่ นโยกยา้ ยตำแหนง่ ท่ี 3. สำรวจการสูญเสียกำลงั พลและจัดการกบั ส่วนโยกยา้ ยตำแหนง่ 3 สำรวจการสญู เสียกำลังพลและจดั การกับสว่ นโยกย้าย สำคัญกอ่ น รายงานการสญู เสยี กำลงั พลและยุทโธปกรณ์ ท่ีสำคญั ก่อนรายงานการสญู เสยี กำลังพลและยุทโธปกรณ์ ตำแหน่งทส่ี ำคญั กอ่ นรายงานการสญู เสียกำลงั พลและ 4. ใหก้ ารรักษาพยาบาลและส่งกลบั ผู้บาดเจ็บโดยด่วน ร้องขอกำลงั 4. ใหก้ ารรักษาพยาบาลและส่งกลับผู้บาดเจบ็ โดยดว่ นรอ้ งขอ ยุทโธปกรณ์ ทดแทนเบกิ และจ่ายกระสนุ , ยทุ โธปกรณ์เพิม่ เติมซ่อมแซมเครือ่ ง กำลังทดแทนเบิกและจ่ายกระสุน,ยุทโธปกรณเ์ พ่ิมเตมิ ซ่อมแซม 4 ใหก้ ารรักษาพยาบาลและส่งกลับผบู้ าดเจบ็ โดยด่วนรอ้ งขอ กีดขวางต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ เครอ่ื งกีดขวางตา่ งๆ ให้มปี ระสทิ ธภิ าพ กำลังทดแทนเบิกและจา่ ยกระสนุ , ยุทโธปกรณเ์ พิ่มเติม ซ่อมแซมเคร่ืองกดี ขวางตา่ ง ๆ ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ การปฏิบตั ิของ ผบ.หนว่ ย-การตงั้ รับ 2 - 83 การปฏบิ ัตกิ ารทางยุทธวธิ ี

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ