Acksaw ridge ว รบ ร ษสมรภ ม ปาฏ หาร ย

Our virtual corridors are filled with a diverse array of content, carefully crafted to engage and inspire วีรบุรุษสมรภูมิรบสงครา enthusiasts from all walks of life. From how-to guides that unlock the secrets of วีรบุรุษสมรภูมิรบสงครา mastery to captivating stories that transport you to วีรบุรุษสมรภูมิรบสงครา-inspired worlds, there's something here for everyone. - 2

E0 B8 9a E0 B9 89 E0 B8 B2 E0 B8 99 E0 B8 9e E0 B8 B8 E0 B8 99 E0 B9

E0 B8 9a E0 B9 89 E0 B8 B2 E0 B8 99 E0 B8 9e E0 B8 B8 E0 B8 99 E0 B9 กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทมีพระราชบัณฑูรให้นำปืนใหญ่ลูกไม้ซึ่งใช้งานมาตั้งแต่ครั้งสมัยกรุงธนบุรี ขึ้นหอรบยิงใส่. สมรภูมิบ้านร่มเกล้า หรือ ยุทธการบ้านร่มเกล้า เป็นการเผชิญหน้าช่วงสั้น ๆ ระหว่างประเทศไทยและประเทศลาว ณ บริเวณบ้านร่ม.

เด อนส ดท ายของป สมาคมสำน กงานบ ญช และกฏหมาย Facebook

เด อนส ดท ายของป สมาคมสำน กงานบ ญช และกฏหมาย Facebook 5. enemy at the gates (2001) ภาพจาก เฟซบุ๊ก enemy at the gates. the enemy at the gates กระสุนสังหารพลิกโลก สร้างจากเรื่องจริงของ วาซีลี กริกอร์เยวิช ไซเซฟ สไนเปอร์ชื่อ. สมรภูมิรบมหาสมุทรแอตแลนติก (battle of the atlantic) . 3 กันยายน 1939 – 8 พฤษภาคม 1945 สมรภูมินี้กินเวลายาวนานเกือบตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง. สงครามโลกครั้งที่ 2 : แฟรงก์ วอลเตอร์ สไตน์ไมเออร์ ปธน. เยอรมนี ขอให้. การก่อการกำเริบของแนวร่วม fulro ต่อเวียดนาม. สงครามเวียดนาม ( เวียดนาม: chiến tranh việt nam) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สงครามอินโดจีนครั้งที่.

%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%81%e0%b9%80%e0%b8%94%e0%b8%b5%e0%b8%a2%e0%b8%a7

%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%81%e0%b9%80%e0%b8%94%e0%b8%b5%e0%b8%a2%e0%b8%a7

created with aximedia slide show creator. download this app: play.google store apps details?id=com.amem. demonstrating on c class coupe 2016 w205 model. الطريقه الاوله. mercedesbenz

mercedes mercedes benz how to videos: hello guys, today i will show you the perfect and simple solution for efi network 0 for ipv4 ipv6 boot failed lenovo boot failed เยียวยา ที่มา

Conclusion

Having examined the subject matter thoroughly, it is clear that the article offers helpful information regarding วีรบุรุษสมรภูมิรบสงครา. From start to finish, the writer presents a wealth of knowledge on the topic. Especially, the section on Z stands out as particularly informative. Thanks for reading the post. If you need further information, please do not hesitate to contact me via the comments. I look forward to hearing from you. Moreover, below are some relevant posts that might be interesting:

5 ธีรภัทร เจริญสุข, สมรภูมสิ ุดท้าย โอกนิ าวา่ (2561), สืบค้นเม่อื วันท่ี 28 กนั ยายน 2564, //www.the101.world/the-last-battlefield-okinawa/.

390

พวกเธอจงึ รวมตัวกนั เล่าเรื่องผ่านนิทรรศการที่พิพธิ ภัณฑ์เพื่อให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ถึงความโหดร้ายของ สงคราม6

พิพิธภัณฑ์แห่งที่สองคือ อดีตศูนย์บัญชาการใต้ดินแห่งจักรวรรดินาวีญี่ปุ่น เป็นเครือข่าย อุโมงค์ท่ีทำเป็นฐานทัพของจักรวรรดินาวีในยุคสงครามโลก ต้ังอยู่ในเขตโทมิกุสุคุท่ีเช่ือมต่อกับอ่าวอิ โตมัน ปัจจุบันฐานทัพใต้ดินแห่งน้ีมีเพียงแสงไฟและแผ่นป้ายบอกเล่าเรื่องราวในสถานท่ีต่าง ๆ ถึงเม่ือครั้งอดีตที่แห่งน้ีเป็นที่ซ่ึงพลเรือโทโอตะ มิโนรุนายพลเรือผู้ป้องกันโอกินาวะใช้บัญชาการรบ จากใต้ดิน พลเรอื โทโอตะแห่งจักรวรรดินาวีเป็นฝา่ ยที่ไม่เห็นด้วยกบั การด้ือดึงสรู้ บกับกองทัพอเมริกา บนโอกินาวะ เน่ืองจากขาแคลนท้ังกําลังพลและยุทธปัจจัย แต่เมื่อคำสั่งจากรัฐบาลทหารโตเกียว ส่ังการมาพลเรือโทโอตะก็จําต้องส่ังการทหารเรือในอาณัติให้คุ้มกันพลเรือนและสู้กับทหารอเมริกา อย่างสุดความสามารถ แต่เม่ือทหารอเมริกันสามารถเข้ายึดจุดยุทธศาสตร์ได้ทั้งปราสาทชูริ และผาแฮ็คซอว์ริดจ์ (Hacksaw Ridge) ทหารเรือที่ถูกล้อมจึงพร้อมใจกันปลิดชีพตัวเองทั้งหมดตาม วิถีบูชิโดในฐานทัพใต้ดินแห่งน้ี 4,000 คน พลเรือเอกโอตะได้ส่งโทรเลขไปถึงรองแม่ทัพเรือ แห่งจักรวรรดิบอกถึงความทุ่มเทของประชาชนชาวโอกินาวะและความโหดร้ายที่ ต้องเผชิญ เพอ่ื ให้รฐั บาลญี่ปุ่นได้ใคร่ครวญถงึ การปฏิบตั ติ อ่ ชาวโอกนิ าวะในอนาคตใหด้ ี7

พิพิธภัณฑ์แห่งท่ีสามคือ สวนสันติภาพโอกินาวะ เป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่ที่สร้างข้ึนบน อดีตสนามรบ ต้ังอยู่บนเนินมาบุนิทางตอนใต้สุดของนาฮะ เป็นสมรภูมิท่ีขมขื่นและนองเลือดแห่ง สุดท้ายก่อนท่ีทหารญี่ปุ่นท่ีเหลือบนเกาะจะยอมแพ้โดยสิ้นเชิง ในสวนบนเนินท่ีถูกปรับภูมิทัศน์ให้ สวยงาม มีพิพิธภัณฑ์บอกเล่าเร่ืองราวสงครามต้ังแต่ต้นจนส้ินสุด จัดแสดงข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับสงคราม การต่อสู้และการบูรณะฟื้นฟูเมืองโอกินาวะ บนเนินเขามาบุนิเหนือพิพิธภัณฑ์มี สุสานที่จังหวัดอื่นทั้ง 46 จังหวัดในญ่ีปุ่นสร้างไว้เพื่ออุทิศให้แก่ทหารผู้ล่วงลับท่ีมาจากจังหวัดน้ัน ๆ และอกี ฟากฝ่ังหน่ึงเปน็ หอประดิษฐานพระพุทธศานตวิ นาตถาคต พระพุทธรปู สำริดองค์ใหญ่ปางพนม มือภาวนาเพ่ือสันติภาพบนฐานดอกบัว ริมหน้าผาน้ันมีสระน้ำปูกระเบ้ืองเป็นแผนที่โลก จุดไฟ ทไี่ ม่มวี นั ดับเพอ่ื อธิษฐานใหส้ นั ตภิ าพเกิดข้ึนตลอดกาล8

จุดมุ่งหมายของพิพิธภัณฑ์ท้ังสามคือ การส่งเสริมสันติภาพ โดยให้เร่ืองราวในอดีตท่ีผ่านมา เป็นการย้ำเตือนถึงความโหดร้นยของสงคราม ใช้พิพิธภัณฑ์เป็นสื่อกลางบอกเล่าความจริง

6 นพพร วงศอ์ นันต์, สมรภูมโิ อกินาวา : การโฆษณาชวนเชอ่ื และความโหดร้ายของกองทพั จักรวรรดิญปี่ นุ่ ตอ่ เพือ่ นรว่ มชาติ (2562), สืบค้นเมอี วันที 28 กันยายน 2564, //www.bbc.com/thai/international-48715311. 7 ธีรภทั ร เจริญสุข, สมรภูมสิ ุดทา้ ย โอกนิ าวา่ (2561), สบื คน้ เมือ่ วนั ท่ี 28 กนั ยายน 2564, //www.the101.world/the-last-battlefield-okinawa/.

8 แหล่งเดมิ .

391

ของสงครามอันโหดร้ายทารุณและเจ็บปวด อีกทั้งยังเป็นการรําลึกถึงผู้เสียชีวิตท้ังหมดในสงคราม ทงั้ ทหารและพลเรอื นทีต้องจบชีวติ ลง

2. ปัญหาความขัดแยง้ ระหวา่ งรฐั บาลญ่ีปุ่นและจังหวดั โอกินาวะ

การต้ังฐานทัพของสหรฐั อเมริกาในจงั หวัดโอกนิ าวะ

ภายหลังจากฐานทัพหลายแห่งทั่วโตเกียวถูกปิด และกองกําลังบางส่วนได้ถูกส่งไปยังโอกินา วะ9ทำให้ในโอกินาวะมีฐานทัพของสหรัฐอเมริกาจำนวนมาก โดยฐานทัพฟุเทนมะท่ีต้ังอยู่ในใจกลาง เมืองกิโนวัน (Ginowan) เป็นเขตที่มีประชากรหนาแน่น รวมท้ังมีสถานศึกษาอยู่รายรอบ จึงมักเกิด ปัญหาท่ีส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยในชีวิตของพลเมืองโดยรอบอยู่บ่อยคร้ัง ทำให้ชาวโอกินาวะ ไม่พอใจและรวมตัวกันต่อต้านฐานทัพแห่งน้ีอยู่เสมอ จนเกิดเป็นปัญหาความขัดแย้งระหว่างชาวโอกิ นาวะ และรัฐบาลญี่ปุน่ ทยี่ ากจะยุติลง

สาเหตุและปัจจัยสำคัญของการต้ังฐานทพั ของสหรัฐอเมริกาในเกาะโอกนิ าวะ

หลังจากท่ีญ่ีปุ่นพ่ายแพ้ต่อสหรัฐอเมริกาในยุทธการโอกินาวะช่วงสงครามโลกครั้ งท่ีสอง ค.ศ. 1945 ทำให้โอกินาวะตกอยู่ภายใต้อารักขาของสหรัฐอเมริกานานถึง 27 ปีโดยภายหลังในปี 1972 รัฐบาลสหรัฐฯ ได้คืนโอกินาวะคืนให้แก่รัฐบาลญ่ีปุ่น ซ่ึงในระหว่างท่ีโอกินาวะอยู่ภายใต้ ภาวะทรสั ตีน้ัน สหรัฐอเมรกิ าได้เข้ามาควบคุมกาํ ลังทหารของญ่ีปุน่ และใหญ้ ี่ปุน่ ร่างรัฐธรรมนูญขึ้นมา ใหม่โดยมีข้อกําหนดว่าห้ามมีอาวุธหรอื กองกําลังเพื่อการรุกรานหรือการทำสงคราม เว้นเพียงแต่เพ่ือ การป้องกันตนเองจากการถูกรุกรานเท่าน้ัน10 ทำให้การรักษาความม่ันคงของญี่ปุ่นจากภัยคุกคามทั้ง ภายในและภายนอกประเทศ เป็นความรับผิดชอบของกองกําลังป้องกันตนเอง (Japan Self- Defense Force) กระทรวงป้องกันตนเองญี่ปุ่นและกองกําลังพันธมิตรญี่ปุ่นกับสหรัฐอเมริกา ตามสนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือด้านความม่ันคงระหว่างญ่ีปุ่นกับสหรัฐอเมริกา เพื่อประกัน เสถียรภาพและความม่ันคงของภูมิภาค11 จากรัฐธรรมนูญท่ีร่างใหม่ ส่งผลให้ญี่ปุ่นจะพึ่งพาอาศัย สหรัฐอเมริกาในการป้องกันประเทศ โดยยินยอมให้สหรัฐอเ มริกามาตั้งฐานทัพอากาศ เรือ และบกได้ ท้ังน้ี เพ่ือเป็นหลักประกันความมั่นคงในระยะยาวของญี่ปุ่น12 โดยฐานทัพของสหรัฐฯ

9 Céline Pajon, Understanding the Issue of U.S. Military Bases in Okinawa (2010), accessed September 22, 2021, //www.ifri.org/sites/default/files/atoms/files/understanding_the_issue_of_u.s._military_bases_in_okinawa.pdf.

10 ปัญญา ศรีสิงห์, ยุทธศาสตรค์ วามมัน่ คงแหง่ ชาติด้านการทหาร ของกองกําลงั ปอ้ งกันตนเองทางอากาศญีป่ นุ่ , 5, สืบคน้ เมอ่ื วันที่ 22 กนั ยายน 2564, //www.asia.tu.ac.th/journal/EA_Journal52_2/A01.pdf.

11 แหล่งเดมิ , 4. 12 ไชยวฒั น์ คำ้ ชู,, นโยบายตา่ งประเทศญ่ปี ุ่น: ความต่อเน่อื งและความเปลย่ี นแปลง (กรุงเทพฯ: สถาบนั เอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2549).

392

ในญ่ีปุ่นมีหลายพ้ืนที่แต่ท่ีมีเยอะและใหญ่ที่สุด คือ ในหมู่เกาะโอกินาวะ ซึ่งในแต่ละฐานทัพ มีการตดิ ต้ังอุปกรณ์เคร่ืองมือและเทคโนโลยที างทหารที่ทนั สมัย

ภาพที่ 1 ทต่ี ้ังของฐานทพั และส่ิงกอ่ สร้างทางทหารของสหรัฐอเมริกาภายในเกาะโอกนิ าวะ ทมี่ า: C.line Pajon (2010)

โอกินาวะนับเป็นยุทธศาสตร์สำคัญในการรักษาความม่ันคงของญ่ีปุ่น และภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้13 ด้วยที่ต้ังทางยุทธศาสตร์ของโอกินาวะท่ีต้ังอยู่ระหว่างฟิลิปปินส์ ทะเลจีน ตะวันออกและทะเลจีนใต้ทำให้ เกาะโอกินาวะเป็นด่านหน้าทางทหารท่ีสำคัญในการรักษาการ และปกป้องผลประโยชน์ด้านความมั่นคงของสหรัฐอเมริกาในภูมิภาคนี้ อีกทั้งการท่ีเกาะโอกินาวะ ต้ังอยู่ใกล้กับประเทศจีน ไต้หวัน คาบสมุทรเกาหลีและญี่ปุ่นแผ่นดินใหญ่ ทำให้ทหารของสหรัฐฯ ทป่ี ระจําการอยู่ทน่ี ่ันสามารถทำหนา้ ท่ีเป็นกองกาํ ลังท่ีพร้อมรับมือกับปัญหาตา่ ง ๆ ท่ีเกดิ ข้ึน โอกินาวะ จึงเปรียบเสมือนทีม่ันที่สหรัฐฯ สามารถปฏิบัติการทางทหารเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของตน และพันธมิตรอย่างญ่ีปุ่นได้อย่างง่ายดาย รวมถึงการส่งนาวิกโยธินจากฟุเทนมะ หรือเคร่ืองบินรบ ของกองทัพอากาศจากฐานทพั อากาศคาเดนา เพื่อโจมตเี ปา้ หมายทั่วภูมิภาค14

ภายหลงั จากการรบที่โอกนิ าวะส้ินสุดลงในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1945 โอกินาวะตกอยู่ภายใต้ การควบคุมของกองทัพสหรัฐฯ เน่ืองด้วยในขณะน้ัน สหรัฐอเมริกาต้องการสร้างฐานทัพสำหรับคอย สอดส่องดูแลและเพ่ือต้านทานการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์จากสหภาพโซเวียตในภูมิภาคนี้ 15

13 HANNAH BEECH, The Tense Relationship Between Japan and the U.S. Military (2016), accessed September 28, 2021, //time.com/4360940/us-military-navy-japan-okinawa-alcohol-bases/. 14 Jacques Fuqua, Understanding Okinawa's Role in the U.S.-Japan Security Arrangement (2001) , accessed September 28, 2021, //spice.fsi.stanford.edu/docs/understanding_okinawas_role_in_the_usjapan_security_arrangement. 15 Lane Johnston, Okinawa and the U.S. military, post 1945 ( 2013) , accessed September 28, 2021, //blogs.scientificamerican.com/expeditions/okinawa-and-the-u-s-military-post-1945/.

393

จนเม่ือโซเวียตล่มสลายแล้ว แต่สหรัฐฯ ก็ยังคงฐานทัพเอาไว้ในโอกินาวะตามข้อตกลงที่ทำร่วมกับ ญ่ีป่นุ มาจนถงึ ปัจจุบัน

ปัญหาจากการที่สหรฐั อเมรกิ าเขา้ มาตั้งฐานทพั ในเกาะโอกนิ าวะ

ภายหลังจากการเข้ามาต้ังฐานทัพบนเกาะโอกินาวะของสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้ฐานทัพ อากาศ ฟุเทนมะ (Marine Corps Air Station Futenma; MCAS Futenma) ของสหรฐั ฯ ท่ีก่อสร้าง ขึ้นเม่ือปี1945 และเป็นฐานปฏิบัติการของฝูงบินท่ี 1 สังกัดกองกําลังนาวิกโยธินสหรัฐ ซึ่งตั้งอยู่ใจ กลางเมืองกิโนวัน (Ginowan) ได้รับการขนานนามว่า 'ฐานทัพที่อันตรายท่ีสุดในโลก' เน่ืองจาก โดยรอบเป็นชุมชนหนาแน่น16 ทั้งยังส่งผลกระทบถึงความเป็นอยู่และปลอดภัยของชาวโอกินาวะ หลายประการ ดังน้ี

ประการแรก ปัญหาการยึดท่ีดินมากข้ึนสำหรับการขยายฐานทัพทหารบนเกาะโอกินาวะ เน่ืองจากฐานทัพทหารของสหรัฐฯ ในโอกินาวะยังคงถูกใช้และยังมีเพิ่มมากขึ้นเร่ือย ๆ สำหรับการ ทดสอบและการจัดเก็บอาวุธนวิ เคลยี ร์อาวธุ เคมีและชีวภาพ ตลอดจนเครื่องบนิ และอุปกรณ์ทางเรือท่ี สร้างโดยบุคลากรทางทหารที่ประจําการอยู่ ทหารสหรัฐฯ จึงมีการรุกล้ำเข้ามาใช้พื้นท่ีเกษตรกรรม ของชาวพ้ืนเมืองโอกินาวะ ในการขยายฐานทัพและสนามซ้อมรบ โดยจากการถูกยึดท่ีดินเพ่อขยาย ฐานทัพทหารบนเกาะ ทำให้ชาวโอกินาวะจำนวนมากมีความเป็นอยู่ท่ียากจนอันเป็นผลมาจากการ สูญเสียท่ีดนิ การไมม่ ีแหลง่ ทำมาหากนิ หรือเนอื่ งจากการขาดแคลนอาหาร17

ประการท่ีสอง อันตรายจากอุบัติเหตุท่ีเกี่ยวข้องกับการบิน จากเหตุการณ์ในปี 1959 เครื่องบินรบของสหรัฐฯ ชนเข้ากับโรงเรียนประถมมิยาโมริระหว่างการบินทดสอบ ต่อมาในปี 2004 เฮลิคอปเตอร์ของกองทัพสหรัฐฯ พุ่งชนมหาวิทยาลัยนานาชาติโอกินาวะอีกทังในปี 2016 เกิด เหตุการณ์เครืDองบินตกใกล้กับชุมชนในเมืองนาโงะ (Nago) ต่อมาในเดือนตุลาคม ปี 2017 เกิด เหตกุ ารณ์เฮลิคอปเตอร์ตกและลุกไหม้ใกล้กับท่ีดินสว่ นตวั ของชาวบ้านในหมบู่ ้านฮิงาชิรวมทั Kงเดือน ธันวาคมในปีเดียวกัน เกิดเหตุการณ์กรอบหน้าต่างของเฮลิคอปเตอร์ตกใส่สนามเด็กเล่นในโรงเรียน ประถม ทำให้มเี ดก็ บาดเจ็บเล็กน้อย ส่งผลให้ชมุ ชนโดยรอบ รวมถงึ นกั เรยี น นกั ศึกษา และผู้ปกครอง ต้องใชช้ วี ติ อย่กู ับความวติ กกังวลอยา่ งตอ่ เน่ืองจากการทดสอบการบนิ ของฐานทัพสหรัฐอเมริกา

ประการท่ีสาม ปัญหามลภาวะทางเสียงที่เกินกว่ามาตรฐานสิ่งแวดล้อมของญี่ปุ่น ท้ังในฐาน ทัพอากาศคาเดนะ (Kadena Air Base) ที่เป็นฐานทัพอากาศสหรัฐฯ ที่ใหญ่ที่สุดในตะวันออกไกล

16 Okinawa Prefectural Government, What Okinawa Wants you to Understand about the U.S. Military Bases (2018), accessed September 28, 2021, //dc-office.org/wp-content/uploads/2018/03/E-all.pdf. 17 Ibid.

394

(Far East) และในฐานทัพอากาศฟุเทนมะ โดยจากการที่ฐานทัพยังคงมีการฝึกซ้อมและใช้เครื่องบิน ในทุกวัน ส่งผลให้เกิดปัญหาเสียงท่ีดังรบกวนการใช้ชีวิตของคนในชุมชน บางคร้ังเกิน 100 เดซิเบล อีกท้ังยังมีเสียงรบกวนอยู่ในช่วงหลัง 22:00 น. ซ่ึงเป็นเวลาที่มีการจํากัดเท่ียวบินซึ่งอยู่ในข้อตกลง ร่วมกันระหว่างรัฐบาลญ่ีปุ่นและรัฐบาลสหรัฐฯ18 ซ่ึงเสียงดังท่ีเกิดจากเครื่องบินทหารยังทำให้เกิด ปัญหาการสญู เสยี การได้ยนิ อกี ด้วย

ประการท่ีสี่ ปัญหาส่ิงแวดล้อม ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากมายท่ีฐานทัพสหรัฐฯ มีต่อโอกิ นาวะ ทั้งจากการฝึกซ้อม การก่อสร้างต่าง ๆ ทำให้เกิดไฟป่า การพังทลายของดิน และทำให้เกิด แรงส่ันสะเทือนบนเกาะ นอกจากน้ี ปัญหามลพิษทางน้ำยังเกิดขึ้นบ่อยครั้งในฐานทัพฯ และพ้ืนที่ ใกลเ้ คียง เน่ืองจากส่ิงปฏกิ ูลและนำ้ มนั ร่ัวเขา้ สู่ระบบน้ำ

ประการสุดท้าย ปัญหาอุบัติเหตุและอาชญากรรม เป็นปัญหาท่ีเกิดขึ้นอยู่ตลอด เช่น ปัญหา เมาแล้วขับ ปัญหาอาชญากรรมต่าง ๆ โดยในปี 1995 เกิดเหตุการณ์ท่ีทำให้ชาวโอกินาวะไม่พอใจ อย่างรุนแรงและก่อให้เกิดกระแสต่อต้านฐานทัพสหรัฐฯ เน่ืองจากทหารสหรัฐฯ 3 คน ได้กระทำการ ลักพาตัวและข่มขืนเด็กหญิงอายุ 12 ปีได้โดยจำนวนอุบัติเหตุและอาชญากรรมที่ทหารสหรัฐฯ เป็นผู้ก่อนั้น เปรียบเสมือนเช้ือเพลิงที่ยิ่งโหมให้ชาวโอกินาวะยิ่งไม่พอใจและต่อต้านฐานทัพของ สหรัฐฯมากขน้ึ เร่ือย ๆ

ด้วยเหตุนี้ ชาวโอกินาวะที่ต้องใช้ชีวิตอยู่ด้วยความหวาดระแวงถึงความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน รวมถึงผลกระทบจากปัญหาด้านสภาพแวดล้อมท่ีมีต้นเหตุมาจากฐานทัพสหรัฐฯ นับเป็นปัญหาที่สะสมมาโดยตลอดและสง่ ผลกระทบในด้านเศรษฐกิจ การเมือง และความสัมพันธต์ อ่ สหรฐั อเมริการวมถงึ ปญั หาความขดั แยง้ ระหวา่ งรัฐบาลกลางกบั ประชาชนโอกินาวะ

ปัญหาความขดั แย้งระหว่างนโยบายของประเทศกับความต้องการของชาวจังหวัดโอกินา วะ

จากเหตุการณ์ในปี 1995 ท่ีทหารสหรัฐฯ ลักพาตัวและข่มขืนเด็กผู้หญิงวัยเพียง 12 ปี เป็นเสมือนชนวนระเบิดคร้ังใหญ่ท่ีส่งผลให้ชาวโอกินาวะที่ไม่พอใจฐานทัพสหรัฐฯ อยู่แล้ว ย่ิงแสดง ความเกลียดชงั และต่อต้านฐานทัพอากาศฟุเทนมะมากยิ่งขึ้น ชาวโอกินาวะได้รวมตวั กันเพ่ือประท้วง ขับไล่ฐานทัพ ซ่ึงในภายหลังก็ยังคงมีการประท้วงเกิดข้ึนอีกหลายครั้ง เนื่องจากชาวโอกินาวะ

18 Okinawa Prefectural Government, What Okinawa Wants you to Understand about the U.S. Military Bases (2018), accessed September 28, 2021, //dc-office.org/wp-content/uploads/2018/03/E-all.pdf.

395

ยังคงประสบปัญหาท่ีส่งผลกระทบถึงความเป็นอยู่และความปลอดภัยที่เกิดจากฐานทัพสหรัฐฯ อยู่ ตลอด

ในช่วงสมัยรัฐบาลกลางของญ่ีปุ่นที่มีชินโซ อาเบะ (Shinzo Abe) เป็นนายกรัฐมนตรีได้ ออกมาประกาศว่าจะเดินหน้าผลักดันเร่ืองย้ายฐานทัพอเมรกิ า โดยแผนการโยกย้ายฐานทัพฟุเทนมะ ซ่ึงเป็นท่ีต้ังในปัจจุบัน ไปยังเฮโนโกะ (Henoko) ซ่ึงอยู่ทางตอนเหนือของเกาะโอกินาวะและมี ประชากรเบาบางกว่าโดยญี่ปุ่นกับสหรัฐฯ ได้ทำความตกลงกันครั้งแรกเม่ือปี 199619 เพื่อมุ่งหาทาง แก้ไขและบรรเทาความไม่พอใจของชาวโอกินาวะเก่ียวกับปัญหาอาชญากรรมและปัญหาอ่ืน ๆ ท่ี กระทบถึงความปลอดภัยในการใช้ชีวิตซ่ึงมีสาเหตุมาจากฐานทัพ เนื่องจากฐานทัพฟุเทนมะต้ังอยู่ใน บริเวณที่มีประชากรอาศัยหนาแนน่ แต่อย่างไรก็ตาม ชาวโอกนิ าวะต้องการให้สหรัฐอเมรกิ าปดิ ฐานทัพ แห่งน้ีเป็นการถาวรและถอนกําลังพลท้ังหมดออกจากพ้ืนท่ี ไม่ใช่เพียงแค่ย้ายท่ีต้ังฐานทัพไปยังพืนที่ หา่ งไกลแห่งอน่ื แตย่ งั อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดโอกนิ าวะ

ภาพท่ี 2 ตำแหนง่ ทต่ี ้ังของฐานทัพฟเุ ทนมะและพื้นทเี่ ฮโนโกะ ทม่ี า: The Economist (2015)

ทีต้ังของฐานทัพสหรัฐฯ แห่งใหม่ที่จะย้ายไปคือ แหลมเฮโนโกะซากิ (Henokozaki Cape) ซ่ึงอยู่ติดกันกับอ่าวโออุระ (Oura Bay) ทางตอนเหนือของเกาะโอกินาวะ มีลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ อุดมสมบูรณ์มาก รวมถึงมีพ้ืนท่ีทะเลกึ่งเขตร้อนและมีป่าไม้ท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพ

19 Emma Chanlett-Avery and Ian E. Rinehart, The U.S. Military Presence in Okinawa and the Futenma Base Controversy (2016),accessed September 28, 2021,//sgp.fas.org/crs/natsec/R42645.pdf.

396

มีสิ่งมีชีวิตจำนวนกว่า 5,800 สายพันธ์ุ20 โดยในจำนวนนี้ มีมากถึง 1,300 สายพันธุ์ที่ไม่สามารถระบุ ได้ ซ่ึงส่วนใหญ่มีแนวโน้มสูงท่ีจะเป็นสายพันธุ์ใหม่21 อีกทังบริเวณเฮโนโกะน้ีมีความหลากหลายทาง ชีวภาพระดับสูงในญี่ปุ่น ท้ังยังได้รับการยอมรับว่าเป็นหนีงในแหล่งทีมีความหลากหลายทางชีวภาพ แห่งหนึ่งของโลก22 ซ่ึงพ้ืนท่ีของเกาะเฮโนโกะนับเป็นที่สร้างความภาคภูมิใจให้แก่ชาวโอกินาวะ และไม่ต้องการให้มีฐานทัพของสหรัฐอเมริกาเข้าไปตั้ งเทียบชายฝ่ั งทำลายทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

จากสาเหตุข้างต้นจึงนําไปสู่ปัญหาความขัดแย้งระหว่างชาวโอกินาวะกับรัฐบาลกลางญ่ี ปุ่น ซ่งึ มนี โยบายใหส้ หรฐั อเมริกาย้ายฐานทัพไปยังเฮโนโกะที่มีประชาการเบาบาง เพ่ือบรรเทาปัญหาในฟุ เทนมะท่ีมีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น โดยชาวโอกินาวะไม่พอใจและคัดค้านนโยบายการย้าย ฐานทัพไปยังพื้นที่เฮโนโกะ เน่ืองจากถ้าย้ายฐานทัพจากฟุเทนมะไปเฮโนโกะอาจสร้างปัญหามลพิษ ทางทะเลจากการปล่อยน้ำเสีย และการนําเรือรบมาจอดเทียบท่าอาจทําให้พ้ืนท่ีบริเวณชายฝั่งเกิด ความเสียหาย สง่ ผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อมโดยรอบ รวมไปถงึ สัตวน์ ้ำทางทะเล และพื้นทท่ี ำมากินของ ชาวบ้านในบริเวณนั้นไดร้ บั ผลกระทบ

ภายหลังท่ีเกาะโอกินาวะคืนสู่การปกครองของญ่ีปุ่น ถึงแม้อัตราการก่ออาชญากรรมของ ทหารอเมริกันจะลดลง แต่ยังคงเป็นปัญหาใหญ่สำหรับประชากรในท้องถ่ิน รัฐบาลกลางของญี่ปุ่นจงึ ออกนโยบายเพอ่ื ปลอบประโลมชาวโอกนิ าวะ โดยรัฐบาลกลางพยายามให้โอกินาวะได้รบั ผลประโยชน์ จากการต้ังฐานทัพทหารของสหรัฐอเมริกาในท้องถ่ิน อาทิเช่น การเพิ่มค่าเช่าพ้ืนท่ีให้แก่เจ้าของที่ดิน ดำเนินคดใี นศาลญีป่ นุ่ เปน็ ตน้ เพ่ือยนิ ยอมให้สหรัฐอเมรกิ าตั้งฐานทพั ต่อไป23 อย่างไรก็ตาม แม้ชาวโอ กินาวะจะแสดงออกว่าไม่ต้องการให้มกี ารย้ายฐานทัพฟุเทนมะจากพ้ืนทช่ี ุมชนหนาแนน่ ไปยังเฮโนโกะ ที่อยู่ริมชายฝ่ังแต่รัฐบาลกลางก็ยังยืนยันว่าจะยังคงดำเนินการตามแผน และจะทำความเข้าใจกับ ประชาชนชาวโอกินาวะต่อไป พร้อมกับการแบ่งปันผลประโยชน์เพ่ือเอ้ือให้ชาวโอกินาวะดำเนินชีวิต ควบค่ไู ปกับการต้ังฐานทพั ของสหรัฐอเมริกาได้

20 Okinawa Prefectural Government, What Okinawa Wants you to Understand about the U.S. Military Bases (2018), accessed September 29, 2021, //dc-office.org/wp-content/uploads/2018/03/E-all.pdf 21 Okinawa Prefectural Government, Why Do We Oppose the Relocation to Henoko? (2017), accessed September 29, 2021, //dc- office.org/post/753. 22 Okinawa Prefectural Government, What Okinawa Wants you to Understand about the U.S. Military Bases (2018), accessed September 29, 2021, //dc-office.org/wp-content/uploads/2018/03/E-all.pdf. 23 Emma Chanlett-Avery and Ian E. Rinehart, The U.S. Military Presence in Okinawa and the Futenma Base Controversy (2016),accessed September 28, 2021,//sgp.fas.org/crs/natsec/R42645.pdf.

397

ปญั หาการตอ่ ต้านฐานทัพของสหรัฐอเมรกิ าของชาวโอกนิ าวะ

ต้ังแต่ทศวรรษ 1970 ชาวโอกินาวะแสดงออกถึงการต่อต้านฐานทัพสหรัฐฯ ในโอกินาวะ มาโดยตลอด โดยมีการเคลื่อนไหวหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการติดแผ่นป้าย การเดินขบวน การ ชุมนุมหน้าฐานทัพ รวมท้ังมีการทําประชามติซ่ึงประเด็นที่ชาวโอกินาวะกล่าวถึงอย่างมากในการ ต่อต้าน คือจำนวนฐานทัพและทหารอเมริกาที่มีอยู่ในจังหวัด รวมถึงจำนวนอุบัติเหตุและปัญหา ต่าง ๆ เช่น ปัญหาอาชญากรรม มลพิษทางเสียง การทำลายทรัพยากรธรรมชาติท่ีสร้างความ เดือดร้อนให้กับผู้ท่ีอาศัยอยู่บริเวณรอบฐานทัพ ถึงกระน้ันตามข้อตกลงด้านนโยบายความมั่นคง ระหว่างรัฐบาลญี่ปุ่นกับสหรัฐอเมริกา ทำให้รัฐบาลญี่ปุ่นต้องปฏิบัติตาม และพยายามเจรจากับผู้ว่า ราชการจังหวัดและชาวโอกินาวะเพ่ือหาทางยุติข้อขัดแย้งแต่ชาวโอกินาวะยังคงต่อต้านการดำรงอยู่ ของฐานทพั อเมริกา และมมี มุ มองท่ีแตกตา่ งไปจากชาวญี่ปุน่ เกาะใหญ่

โดยจากการท่ีชาวโอกินาวะดำเนินการต่อต้านและคัดค้านการย้ายฐานทัพไปยังเฮโนโกะใน หลากหลายรูปแบบ ท้ังการลงประชามติการต่อต้านและเดินประท้วงในรูปแบบต่างๆ หลายครั้ง ที่แสดงให้เห็นชัดเจนว่าชาวท้องถิ่นไม่ต้องการให้ฐานทัพสหรัฐฯ ต้ังอยู่ในจังหวัดโอกินาวะ เน่ืองจากกังวลในความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิต ทรพั ยส์ นิ และสิ่งแวดล้อม แตก่ ็ยงั ไม่สามารถ ขจัดฐานทัพอเมรกิ าออกจากโอกนิ าวะได้

อีกทั้งเนื่องด้วยสถานการณโ์ ลกปจั จุบัน ประเทศจีนเริ่มขยายอิทธิพลโดยเฉพาะด้านการเมือง และการทหาร อีกทั้งเกาหลีเหนือยังคงดำเนินการทดลองยิงขีปนาวุธใกล้กับน่านน้ำประเทศญ่ีปุ่น ส่งผลต่อมุมมองด้านความม่ันคงและปลอดภัยของคนญ่ีปุ่นจำนวนมาก ประเทศญี่ปุ่นซ่ึงมีเพียงกอง กําลังป้องกันตนเอง จึงจำเป็นต้องพึ่งพากําลังทหารจากสหรัฐอเมริกา ดังนั้น รัฐบาลกลางญี่ปุ่นจึง อนุญาตใหท้ หาร

อเมริกาตั้งฐานทัพในดินแดนญี่ป่นุ ตามข้อตกลงท่ีทําร่วมกัน แม้วา่ รฐั บาลกลางญี่ปุ่นจะทราบ ถึงความไมพ่ อใจของชาวโอกินาวะทีรต่อต้านฐานทพั สหรัฐฯ ก็ตาม24

มุมมองทแ่ี ตกต่างระหวา่ งชาวญ่ีปุน่ และชาวโอกินาวะ

โอกินาวะถือเป็นหนึ่งในจังหวัดท่ีมีความห่างไกลจากเกาะหลักของประเทศญี่ปุ่นเป็นอย่าง มากด้วยภูมิศาสตร์ที่มีความแตกต่างกับพื้นท่ีส่วนใหญ่ในญ่ีปุ่น รวมไปถึงภูมิรัฐศาสตร์ท่ีมีความสำคัญ เป็นหนึ่งในเส้นทางการค้าทางทะเลท่ีสำคัญเส้นทางหน่ึงของระบบการค้าทางทะเลยุคโบราณ

24 สุดปรารถนา ดวงแกว้ , ฐานทัพอเมรกิ าในโอกนิ าว่ากับปมปญั หาซบั ซอ้ น (2562), สบื คน้ เมอื วนั ที่ 25 กันยายน 2564, //asiatrend.ias.chula.ac.th/รายละเอยี ดบทความ/ฐานทัพอเมริกาในโอกินาว่ากับปมปญั หาซบั ซอ้ น.

398

ทำให้พ้ืนท่ีเเห่งน้ีมีความหลากหลายทางชาติพันธุ์เป็นอย่างมาก ในด้านสังคมและภาษานั้น เนื่องจาก แต่เดิมเป็นประเทศอื่นมาก่อน ทำให้คนโอกินาวะเผชิญกับการถูกแบ่งแยกจากคนญ่ีปุ่นในช่วงแรก ด้วยความแบ่งแยกนี้ จึงมีหลายคนท่ีพยายามปกปิดว่าตัวเองเป็นคนโอกินาวะและพยายาม เปล่ียนแปลงให้เหมือนคนญ่ีปุ่นมากท่ีสุดทำให้ภาษาถิ่นโอกินาวะถูกจัดให้เป็นภาษาท่ีใกล้สูญหาย ภาษาหน่ึงของโลก นอกจากน้ี จากการที่คน โอกินาวะพยายามเปลี่ยนอัตลักษณ์ให้เหมือนคนญ่ีปุ่น รวมถึงวัฒนธรรมพ้ืนเมืองหลายอย่างท่ีหายไปหลังสงครามโลก ทำให้อัตลักษณ์ของคนโอกินาวะถูก มองว่ามีความคลุมเครือจนทำให้เกิดโอกินาวะศึกษา ซ่ึงเป็นการศึกษาวิจัยประวัติศาสตร์และ วฒั นธรรมของโอกินาวะขึ้น25

อัตลักษณข์ องชาวโอกนิ าวะ

โอกินาวะเป็นดินแดนทางตอนใต้ของญี่ปุ่น ในอดีตเกาะโอกินาวะเคยเป็นที่ต้ังเมืองหลวง ของอาณาจักรริวกิวท่ีเคยส่งเรือสำเภาสินค้าทำการค้าขายกับต่างประเทศโดยเฉพาะแถบเอเชีย ตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อาณาจักริวกิวได้สถาปนาขึ้นในปี 1429 เป็นรัฐอิสระท่ี ปกครองตนเองมายาวนานกว่า 450 ปี ซ่ึงมีรายได้หลักจากการทำการค้า การออกเดินเรือค้าขาย สินค้าของชาวประมงและเป็นพ่อค้าคนกลางนําเข้าและส่งออกสินค้าระหว่างจีนและญ่ีปุ่น รวมทั้งยัง เปิดรบั ความรู้ และทกั ษะต่าง ๆ ทีรได้รบั ผ่านทางการคา้ ขายและการแลกเปล่ียนกับประเทศญ่ีปุน่ จีน และรวมถึงประเทศอื่น ๆ จากทางตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในยุครุ่งเรืองทางการค้า ซ่ึงอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 14-16 และยังได้ประสานความรู้ และทักษะดังกล่าวให้เข้ากับสภาพ ภมู อิ ากาศตามธรรมชาติจนสร้างเปน็ รากฐานในการพัฒนาวฒั นธรรมอนั เป็นเอกลักษณ์

อัตลักษณ์หลักของชาวโอกินาวะ ได้แก่ ภาษาถิ่นของชาวโอกินาวะ หรือ อุจินากุจิ (うちな ーぐち) เป็นภาษาหน่ึงในกลุ่มภาษารวิ กวิ ซึ่งแตกต่างไปจากภาษาญ่ีปุน่ เกาะหลักท้ังสําเนียงและคําที่ ใช้อันมาจากการผสมผสานวัฒนธรรมจากบรรพบุรุษท่ีทำการค้ากับหลากหลายพ้ืนท่ีซ่ึงแตกแขนงได้ เปน็ อกี หลายภาษาย่อย ๆ ตามลักษณะภูมิประเทศที่เป็นหมู่เกาะของโอกินาวะ เนื่องด้วยปัจจุบันโอกิ นาวะเป็นส่วนหน่ึงของประเทศญี่ปุ่น และเคยมีคําส่ังของรัฐบาลญี่ปุ่นไม่ให้พูดภาษาท้องถ่ินโอกินาวะ แต่ให้พูดภาษาญี่ปุ่นแทนในช่วงสงครามโลก ส่งผลให้ในปัจจุบันเหลือผู้พูดภาษาท้องถ่ินโอกินาวะได้ เพียงจำนวนไม่มาก และในปี 2009 องค์การยูเนสโกได้จัดให้ภาษาท้องถ่ินโอกินาวะเป็นภาษาใกล้ สาบสูญ (Endangered Languages) ปัจจุบันในเกาะโอกินาวะ ประชาชนบนเกาะใช้ภาษาญี่ปุ่นใน

25 Kinyoubi, จากรวิ กวิ สู่โอกนิ าวา: จากอาณาจักรสจู่ ังหวัดของญ่ีปุน่ (2561), สืบค้นเมอื่ วนั ที่ 25 กันยายน 2564, //th.anngle.org/j-culture/ryukyu-okinawa2.html.

399

การสืรอสารแทนแลว้ แต่ยังคงเหลือสําเนียงและคําศัพทบ์ างคําที่ยังได้รบั อิทธิพลมาจากภาษาท้องถ่ิน โอกินาวะดง้ั เดิมอยู่26

อัตลักษณ์ต่อมาคือ ด้านการแต่งกาย การแต่งกายของชาวโอกินาวะจะนิยมใช้ผ้าบาโชฟุ (Bashofu) ที่เป็นหน่ึงในหมู่ผ้าทอของโอกินาวะท่ีมีประวัติศาสตร์ยาวนานที่สุด เป็นผ้าที่สวมใส่ในทุก ชนช้ัน เนื่องด้วยคุณสมบัติของผ้าที่ลมผ่านได้และมีความทนทาน มีข้ันตอนต่าง ๆ มากกว่า 20 ขนั้ ตอน ต้ังแตก่ ารทำด้ายไปจนถึงการทอผ้า โดยเริ่มจากการเพาะเส้นใยกล้วย (บาโช) ซึ่งเป็นวัตถุดิบ ที่ใช้ทำด้าย ซึ่งบาโชฟุเป็นผา้ ชนดิ เดียวในญ่ีปุ่นที่ยังคงทำดว้ ยมือและไม่มีการใชส้ ารเคมใี นทกุ ขั้นตอน ของกระบวนการ ต้ังแต่ไร่กล้วยไปจนถึงสีย้อม27 และเนื่องจากเป็นงานฝีมือท่ีทำด้วยมือทั้งหมด จึง จำเป็นต้องอาศัยเทคนิคท้ีเช่ียวชาญและความอดทน ปัจจุบันผ้าชนิดน้ีมักไม่ค่อยถูกนําทำเป็นชุด กิโมโนสำหรับสวมใส่ประจำวันกนั แล้วแต่จะใชเ้ พ่ือผลิตสนิ คา้ ในรปู แบบอื่น ๆ แทน เชน่ เคร่ืองประดับ กระเป๋า เปน็ ต้น

ในด้านวัฒนธรรมการกิน อาหารพื้นบ้านของชาวโอกินาวะมีการพัฒนาสืบต่อมาในแบบท่ีไม่ เหมอื นใคร เนื่องจากสภาพภูมอิ ากาศท่ีแตกต่างจากเกาะหลักของญ่ีปนุ่ อีกทั้งยงั ได้รบั อทิ ธิพลจากการ แลกเปลี่ยนกบั แต่ละประเทศ เชน่ ญี่ปุ่นเกาะหลักและจนี เปน็ ต้น ซ่ึงชาวโอกินาวะใช้ภมู ปิ ญั ญาในการ ดํารงชีวิตมาปรับใช้ในการประกอบอาหาร โดยอาหารพื้นบ้านของชาวโอกินาวะมีคุณค่าทาง โภชนาการท่ีดีตามแนวคดิ ท่ีเชื่อว่า “อาหารเป็นยา” ซึ่งเป็นการรักษาและปอ้ งกันอาการเจบ็ ปว่ ยด้วย การรับประทานอาหารตามปกติอาหารพื้นบ้านถกู เรยี กวา่ เป็น “คูซูอมิ นุ ” และ “นูจงิ ซู อู ิ” ซึ่งเช่ือมโยง โดยตรงถงึ สขุ ภาพและสุขภาวะที่ดีทานแล้วอายุยนื นอกจากน้ี ยงั มกี ารนาํ วัตถดุ บิ ต่าง ๆ มารวมอยู่ใน อาหารพ้ืนบ้านได้อย่างหลากหลายผ่านการปรุงอาหาร เช่น จัมปุรุ (การผัดสไตล์โอกินาวะ มี สว่ นประกอบหลกั คือเต้าห้ผู ักรวมเน้ือหรือปลาและไข)่ อาหารของชาวโอกินาวะมวี ัตถุดิบหลายอย่างท่ี ช่วยรักษาสมดลุ ทางโภชนาการแม้ว่ารปู แบบของวตั ถดุ บิ และการรับประทานอาหารจะเปล่ียนแปลงไป จากสมัยขาดแคลนอาหารภายหลังสงครามและภายใต้อาณัตกิ ารปกครองของอเมรกิ า หากแต่วิธีการ ปรงุ อาหารกย็ งั ไม่เปลี่ยนแปลง28

26 WeXpats, ภาษาทอ้ งถ่นิ โอกนิ าวา่ うちなーぐち "อจุ ินากุจิ" (2564), สบื ค้นเมื่อ 25 กันยายน 2564, //we-xpats.com/th/guide/as/jp/detail/6573/.

27 Noriko Nii, Presenting the Power of Okinawa “Power of Textiles”, accessed September 25, 2021, //www.visitokinawa.jp/information/power-of-textiles.

28 Visit Okinawa Japan, Food Culture in Okinawa, accessed September 25, 2021, //www.visitokinawa.jp/about-okinawa/food-culture.

400

มุมมองของชาวญป่ี ุน่ ทมี่ ีต่ออัตลักษณข์ องชาวโอกินาวะ

หลังจากท่ีอาณาจักรริวกิวตกอยู่ภายใต้การปกครองของญ่ีปุ่นและเปล่ียนสถานะมาเป็น จังหวัด โอกินาวะ ทําให้กระแสค่านิยมจากหมู่เกาะใหญ่ยอ่ มหลั่งไหลเข้าไปด้วย ภาษาริวกิวเอนเอียง เข้าใกล้ภาษาญี่ปุ่นมากข้ึน นักเรียนถูกสอนให้ตระหนักว่าตัวเองคือคนญี่ปุ่น ต้องจงรักภักดีต่อ จกั รพรรดแิ ละทเ่ี ดน่ ชดั ท่ีสดุ คือ ชาวโอกนิ าวะถกู หา้ มไม่ใหใ้ ชภ้ าษาถิ่น29

ด้วยความแตกต่างทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมต่าง ๆ ส่งผลให้ชาวโอกินาวะและชาว ญ่ีปุน่ เกาะใหญ่มีมุมมองที่แตกต่าง ชาวโอกนิ าวะเกิดความคิดว่าชาวญ่ีปุ่นไม่เข้าใจความเป็นโอกินาวะ รู้สึกถูกมองว่ามีล้าหลังและโดนดูถูก บางคร้ังภาษาและสําเนียงโอกินาวะถูกนําไปล้อเลียนในรายการ โทรทัศน์และถูกทําให้เป็นเรื่องตลกขบขันชวนหัวเราะ เน่ืองจากภาษาและสําเนียงของโอกินาวะ แตกตา่ งจากญป่ี ่นุ เกาะใหญ่อยา่ งชัดเจน รวมไปถงึ ถกู แบง่ แยกในด้านต่าง ๆ เช่น การกิน การแต่งกาย การประกอบอาชพี ดว้ ยความแบง่ แยกนี้ จงึ มหี ลายคนที่พยายามปกปิดวา่ ตนเองเปน็ คนโอกินาวะและ พยายามปรับเปล่ียนให้เหมือนคนญี่ปุ่นมากที่สุด เช่น การเปล่ียนเสียงอ่านนามสกุล การพยายาม เปลี่ยนมาใช้สําเนียงและภาษาญ่ีปุ่น30 ส่วนในด้านเศรษฐกิจน้ันเมื่อโอกินาวะเป็นส่วนหน่ึงของญ่ีปุ่น กลบั ถกู มองเป็นจงั หวดั ท่ียากจนทส่ี ุดทาํ ใหเ้ กิดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกจิ ตามมา

ในส่วนของมุมมองท่ีชาวญ่ีปุ่นมีต่อเร่ืองฐานทัพของสหรัฐอเมริกาในโอกินาวะนั้น ค่อนข้าง แตกต่างจากชาวโอกินาวะอย่างเห็นได้ชัด เน่ืองจากชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่มองว่าฐานทัพสหรัฐฯ ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของจังหวัดโอกินาวะและเศรษฐกิจของโอกินาวะจะไม่เติบโตหากไม่มีฐาน ทพั ซDึ งขดั กบั ความคดิ ของชาวโอกินาวะส่วนใหญ่ ทาํ ใหช้ าวโอกนิ าวะบางสว่ นคิดว่าชาวญี่ปุน่ ดถู ูกชาว โอกินาวะ ทั้งนี้ในปัจจุบนั โอกินาวะมรี ายได้เพิ่มขึเนหลายเทา่ ตัวและชาวโอกินาวะเชื่อว่าเศรษฐกิจของ โอกินาวะเติบโตข้ึนได้โดยไม่ต้องพึ่งพาฐานทัพสหรัฐฯ แต่ชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่ยังไม่คิดเช่นน้ัน31 เกาะโอกินาวะเป็นเกาะทางตอนใต้ของประเทศญี่ปุ่นท่ีมียุทธศาสตร์เหมาะแก่การตั้งฐานทัพของ สหรัฐอเมริกา เพื่อดูแลเสถียรภาพและความมั่นคงของภูมิภาค แต่ภายหลังจากการเข้ามาต้ังฐานทัพ ของสหรัฐฯ ได้ก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ มากมายแก่ชาวพ้ืนเมืองท่ีอยู่บริเวณเกาะโอกินาวะ อาทิเช่น ปัญหาอาชญากรรม อุบัติเหตุต่าง ๆ ท้ังจากบนพื้นดินและอากาศ ปัญหามลพิษทางเสียง มลพิษทางทะเล เป็นต้น ชาวโอกินาวะต้องประสบปัญหาดังกล่าวมาตลอดหลายปีหลังจากฐานทัพ

29 โฆษิต ทพิ ย์เพียงพงษ์, สะดุดคำ “จากรวิ กิวสู่โอกนิ าวาในสงคราม” (2561), สบื ค้นเมอ่ื 25 กันยายน 2564, //mgronline.com/japan/detail/9610000063189. 30 Kinyoubi, จากรวิ กิวสูโ่ อกินาวา: จากอาณาจักรสจู่ ังหวัดของญี่ปนุ่ (2561), สบื ค้นเมรื อวันที่ 25 กันยายน 2564, //th.anngle.org/j-culture/ryukyu-okinawa2.htmll 31 สุดปรารถนา ดวงแก้ว, ฐานทพั อเมริกาในโอกินาวา่ กับปมปัญหาซบั ซอ้ น (2562), สบื ค้นเมือ่ วนั ท่ี 25 กนั ยายน 2564, //asiatrend.ias.chula.ac.th/รายละเอียดบทความ/ฐานทพั อเมริกาในโอกินาว่ากบั ปมปัญหาซบั ซอ้ น.

401

สหรฐั ฯ เขา้ มามีบทบาทในเกาะส่งผลให้เกิดการรวมกลุ่มข้ึนมาต่อต้านการต้ังฐานทัพทหารในเกาะโอกิ นาวะ และมีการเรียกร้องให้ย้ายฐานทัพไปที่อ่ืนที่ไม่ใช่ในบริเวณเกาะโอกินาวะ ซึ่งการเรียกร้อง เหล่านั้นล้วนไม่สําเร็จ จึงนําไปสู่ปัญหาความขัดแย้งระหว่างภาคประชาชนกับด้านนโยบาย ระดับประเทศของรัฐบาลกลาง ซึ่งรัฐบาลกลางก็พยายามหาหนทางยุติปัญหา หากแต่ด้วยข้อตกลงท่ี ญ่ีปุ่นทํากับสหรัฐอเมรกิ า จึงต้องให้มีฐานทัพของสหรัฐฯ ดํารงอยู่ในญ่ีปุ่น นอกจากนี้ ในประเด็นทาง สงั คมเกย่ี วกับความเป็นโอกนิ าวะก็ยังไม่กลมกลืนรวมกับชาวญี่ปุ่นใหญ่มากนกั ดว้ ยความแตกต่างทาง ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม อัตลักษณ์ของชาวโอกินาวะและชีวิตความเป็นอยู่ที่แตกต่างไปจากชาว ญ่ีปุ่นเกาะใหญ่จึงทําให้เกิดการแบ่งแยกทางภาษาและสังคมเกิดขึ้น ชาวโอกินาวะส่วนใหญ่ต้อง ปรับเปลี่ยนให้คล้ายคลึงกับชาวญี่ปุ่นเพ่ือที่จะได้ไม่ถูกมองว่าแตกต่าง ท้ังนี้ มุมมองของชาวญ่ีปุ่นทีมี ต่ออัตลักษณ์ของชาวโอกินาวะน้ันมักจะแตกต่างกันจึงทาํ ให้ไม่เป็นหนึ่งเดียวและเน่ืองด้วยวัฒนธรรม ภูมศิ าสตร์และอื่น ๆ ที่แตกต่างกนั ระหว่างชาวญ่ีปุ่นและชาวโอกนิ าวะ จึงทาํ ใหป้ ญั หาดังกล่าวยังคงมี อยใู่ นปจั จุบัน

3. บทบาทของผู้วา่ ราชการจังหวัดโอกินาวะต่อการตังฐานทพั ของสหรัฐอเมริกา

เนื่องจากฐานทัพของสหรัฐฯ เข้ามาต้ังในโอกินาวะนับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ส่งผลให้ชาวโอกินาวะต้องแบกรับความกังวลเร่ืองความปลอดภัยของชีวิต ทรัพย์สิน และ สภาพแวดล้อม จากปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดจากฐานทัพสหรัฐฯ มาเป็นเวลานาน จนนําไปสู่การต่อต้าน ฐานทัพและเกิดความขัดแย้งกับรัฐบาลกลาง ส่งผลให้ผู้ว่าราชการจังหวัดโอกินาวะ ผู้เปรียบเสมือน ตัวแทนของชาวโอกินาวะท่ีต้องเข้าไปร่วมหาทางแก้ไขปัญหากับรัฐบาลกลางซ่ึงในบทนี้ จะกล่าวถึง ผู้ว่าราชการจังหวัดที่มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาฐานทัพสหรัฐอเมริกา ที่เด่นชัด ได้แก่ เคอิจิ อินามิ เนะ (Keiichi Inamine), ฮิโรคาสุ นากาอิมะ (Hirokazu Nakaima), ทาเคชิ โอนากะ (Takeshi Onaga)

ก า ร แ ก ้ ไ ข ป ั ญ ห า ข อ ง ผ ้ ู ว ่ า ร า ช ก า ร จ ั ง ห ว ั ด ก ั บ ป ั ญ ห า เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร ต้ั ง ฐ า น ท ั พ ข อ ง สหรัฐอเมริกาในโอกินาวะ

ผู้ว่าราชการจงั หวัดมีบทบาทอยา่ งมากต่อการพัฒนาภายในจังหวัด การเลือกต้ังผู้ว่าราชการ จังหวัดเป็นอีกหนึ่งช่องทางท่ีประชาชนสามารถแสดงความต้องการท่ีแท้จริงของตัวเองได้ซึ่งผู้ว่า ราชการจังหวัดโอกินาวะ เป็นเสมือนตัวแทนของชาวโอกินาวะที่เข้ามาแก้ไขปัญหาฐานทัพสหรัฐฯ ท่ี สรา้ งปัญหาจนนาํ มาสคู่ วามไม่พอใจให้แกช่ าวโอกนิ าวะมาเป็นเวลานาน

402

1. Keiichi Inamine (1998-2006)

เคอิจิ อินามิเนะ (Keiichi Inamine) ได้รับการเลือกตั้งในปี 1998 โดยดํารงตําแหน่งผู้ว่า ราชการจังหวัดต่อจาก มาซาฮิเดะ โอตะ (Masahide Ota) โดยอินามิเนะอธิบายลักษณะเฉพาะของ โอกินาวะประการแรก โอกินาวะอยู่ภายใต้การควบคุมของสหรัฐฯ ในช่วง 27 ปีแรกของช่วงหลัง สงคราม ในขณะทจี่ ังหวัดอ่ืนของญปี่ นุ่ มีการเติบโตทางเศรษฐกิจอยา่ งรวดเรว็ แต่ผคู้ นในโอกนิ าวะรู้สึก เหมือนถูกทอดท้ิง อีกท้ังฐานทัพทหารของสหรัฐฯ ในโอกินาวะถูกสร้างข้ึนในช่วงที่สหรัฐฯ ควบคุม ด้วยเหตุน้ี เกาะที่มีพื้นท่ีเพียง 0.6 เปอร์เซ็นต์ของพ้ืนท่ีญ่ีปุ่นท้ังหมดจึงต้องแบกรับภาระในการรักษา ฐานทัพทหารสหรัฐฯ ประการที่สอง ฐานทัพทหารส่วนใหญ่ในโอกินาวะสร้างขึ้นบนที่ดินของเอกชน ในขณะทฐี่ านทัพในจังหวดั อ่ืน ๆสร้างขน้ึ บนท่ีดินสาธารณะ

เคอิจิ อินามิเนะ ยังพูดถึงสถานการณ์ทางการเมืองที่ไม่เหมือนใครของโอกินาวะว่า หลังจาก การสิ้นสุดลงของสงครามเย็น พรรคปฏิรูปท่ีสนับสนุนโซเวยี ต ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพรรคคอมมิวนิสต์และ พรรคสังคมนิยม ได้ลดความสําคัญของพวกเขาในเวทีการเมืองของญ่ีปุ่น และพรรคประชาธิปไตย ญ่ีปุ่น(Democratic Party of Japan ; DPJ) ได้ก้าวเข้ามาระหว่างนักปฏิรูปกับพวกอนุรักษ์นิยม อเมรกิ นั (pro-American conservatives) อยา่ งไรก็ตาม ในสมชั ชาโอกนิ าวะ (Okinawa Assembly) เกอื บ 40 เปอรเ์ ซน็ ต์ของสมาชิกเป็นนกั ปฏริ ูปหรือฝ่ายซ้าย และไม่มสี มาชิก DPJ ด้วยเหตนุ ี้ โอกนิ าวะ จึงถูกแบ่งแยกอย่างชัดเจนระหว่างกลุ่มเผชิญหน้าท้ังสองกลุ่ม ได้แก่ พรรคอนุรักษ์นิยมที่สนับสนุน สนธิสัญญาความร่วมมือและความมั่นคงระหว่างสหรัฐฯ และญี่ปุ่น และอ้างว่าการลดจํานวนฐานทัพ ในโอกินาวะจะทำลายความสัมพันธ์น้ี และนักปฏิรูปท่ีต่อต้านสนธิสัญญาน้ี และเรียกร้องให้ถอนฐาน ทพั ออกจากโอกนิ าวะโดยสมบรู ณ์32

อินามิเนะกล่าวว่ารัฐบาลโอกินาวะตระหนักถึงความสําคัญของสนธิสัญญาความร่วมมือและ ความมน่ั คงระหว่างสหรัฐฯ และญป่ี นุ่ และบทบาทสำคัญที่ฐานทพั สหรฐั ฯ ที่มอี ยู่ในโอกินาวะถึง 75% แต่อินามิเนะก็ตระหนักเช่นกันว่าการยกภาระนี้ออกจากชาวโอกินาวะก็เป็นส่ิงสำคัญเช่นเดียวกัน เน่ืองจากฐานทพั สหรฐั ฯ นาํ ปญั หามาส่โู อกนิ าวะ ท้ังปญั หาอบุ ตั ิเหตุอาชญากรรม มลภาวะตา่ ง ๆ และ การทาํ ลายสิ่งแวดลอ้ ม

โดยรัฐบาลสหรฐั ฯ กําลังวางแผนเพื่อปรบั เปล่ียนแผนกองกาํ ลังทหารและส่ิงท่ีอาํ นวยฐานทัพ ทั่วโลกในเรื่องน้ีผู้ว่าการเคอิจิ อินามิเนะ ได้หารือกับรัฐบาลสหรัฐฯ เกี่ยวกับข้อเรียกร้อง 4 ประการ คือ หนึ่ง การย้ายฐานทัพนาวิกโยธนิ สหรัฐฯ ออกจากโอกินาวะ สอง การปรับปรุงการปฏิบัติการของ

32 Center for Strategic and International Studies, The Okinawa Perspective by Keiichi Inamine, Governor of Okinawa (2005), accessed September 27, 20121,//csis-website prod.s3.amazonaws.com/s3fs- public/legacy_files/files/attachments/050315_okinawa_summary.pdf.

403

ฐานทัพอากาศคาเดนะ (Kadena Air Base) สาม หยุดการก่อสร้างศูนย์ฝึกการยิงจริงของกองทัพ สหรัฐฯ ท่ี Camp Hansen และข้อสุดท้าย การแก้ไขข้อตกลงทวิภาคีว่าด้วยสถานภาพของกองกําลงั ทหารสหรัฐฯ ในญี่ปุ่นหรือ Status of Forces Agreement (SOFA) ซ่ึงเป็นข้อตกลงท่ีระบุว่า เจ้าหน้าที่ของกองทัพสหรัฐฯอยู่เหนือกฎหมายของญ่ีปุ่น อินามิเนะกล่าวว่าเขาได้ย่ืนข้อเรียกร้อง เหล่าน้ีไปยังรัฐบาลญี่ปุ่นแล้ว นอกจากน้ีเคอิจิ อินามิเนะ ได้ขอให้สหรัฐอเมริกาพิจารณาถึง ลักษณะเฉพาะของโอกินาวะและสภาพความเป็นจริงรวมถึงขอให้ลดจํานวนฐานทัพที่มากเกินไป ซึ่ง เปน็ ส่ิงทชี่ าวโอกินาวะต้องแบกรบั มานานกวา่ 50 ปี33

2. Hirokazu Nakaima (2006-2014)

ฮิโรคาสุ นากาอิมะ (Hirokazu Nakaima ) ชนะการเลอื กตั้งครง้ั แรกในปี 2006 เขาไดร้ ับการ สนับสนุนจากพรรคเสรีประชาธิปไตย (Liberal Democratic Party: LDP) และกลุ่มธุรกิจชุมชนของ โอกนิ าวะ การขึ้นมาเป็นผูว้ า่ ราชการจังหวดั โอกินาวะของนากาอมิ ะได้แสดงให้เหน็ ถงึ การแก้ไขปัญหา เร่ืองข้อตกลงทวิภาคในการย้ายฐานทัพอากาศนาวิกโยธิน (Marine Corps Air Station Futenma; MCAS Futenma) ภายในฟุเทนมะ ไปยังบริเวณเฮโนโกะ (Henoko) ซ่ึงนากาอิมะไม่เห็นด้วยกับ ข้อตกลงดังกล่าว เขาได้เรียกร้องให้ย้ายฐานทัพอากาศนาวิกโยธินออกนอกโอกินาวะ และปฏิเสธใน การเจรจาเกย่ี วกบั การดำเนนิ การตามแผนการย้ายฐานทัพภายในฟุเทนมะกบั รฐั บาลกลางญี่ปุ่น

การข้ึนมาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดโอกินาวะคร้ังท่ี 2 ในปี 2010 มีผลสืบเนื่องมาจากจุดยืน ของเขาที่ไม่ต้องการให้ฐานทัพอากาศอยู่ภายในจังหวัดโอกินาวะในเมื่อ 4 ปีก่อน แต่การดำเนินการ แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการย้ายฐานทัพอากาศนาวิกโยธินในปี 2010 ของนากาอิมะมีความแตกต่างกับ นโยบายในสมยั แรก โดยในปี 2010 นากาอิมะเห็นดว้ ยท่ีจะมีการย้ายฐานทพั อากาศนาวิกโยธินภายใน ฟุเทนมะไปยัง เฮโนโกะ ในเมืองนาโงะ ซึ่งเป็นพ้ืนที่ทางตอนเหนือของเกาะโอกินาวะและมีประชากร ค่อนข้างน้อยเพื่อลดปัญหาที่ฐานทัพทหารมีต่อชุมชนโดยรอบ ซ่ึงมีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น ทางตอนใต้ของโอกินาวะโดยชาวโอกินาวะมีการเคล่ือนไหวต่อต้านแผน Futenma Replacement Facility หรือ FRF ทไ่ี ดร้ ับการฟนื้ ฟแู ละได้รับการสนบั สนนุ อย่างมาก ปลายปี 2013 ผู้นําระดบั สูงของ พรรคเสรีประชาธิปไตย (Liberal Democratic Party of Japan : LDP) หรือพรรคของรัฐบาล ได้ กดดันนากาอิมะเพื่อให้ยกเลิกการคัดค้านการย้ายที่ต้ังฐานทัพอากาศนาวิกโยธินในฟุเทนมะ และให้ อนุมัตใิ บอนุญาตการถมทะเลตรงเฮโนโกะเพื่อดำเนินแผนการยา้ ยท่ีต้งั ฐานทพั โดยผูว้ ่าราชการนากาอิ มะได้เดินทางไปโตเกียว เพ่ือเสนอข้อเรียกร้องในการอนุมัติใบอนุญาตให้ถมทะเล โดยนากาอิมะ เรียกร้องท้ังหมด 4 ข้อ ดังน้ี ข้อแรก กองทัพสหรัฐฯ ต้องยุติการปฏิบัติการภายในฟุเทนมะภายใน 5

33 Ibid.

404

ปี ขอ้ ทส่ี อง กองทัพสหรัฐฯ ตอ้ งส่งคืน Camp Kinser ภายใน 7 ปี ขอ้ ทสี่ าม กองทพั ตอ้ งนําเคร่ืองบิน MV-22 Osprey อย่างน้อยครึ่งหน่ึงออกนอก โอกินาวะทันทีและนําเครื่องบิน Osprey ออกท้ังหมด หลังฟุเทนมะปดิ สนามบิน และข้อสุดท้ายสหรัฐอเมริกาและญ่ีปุ่นแกไ้ ขข้อตกลงว่าด้วยสถานภาพของ กองกําลังทหารสหรัฐฯ ในญ่ีปุ่น (Status of Forces Agreement : SOFA) เพ่ืออนุญาตให้มีการ สอบสวนฐานทัพ โดยเจ้าหนา้ ที่ประจำจังหวดั ในดา้ นสิงแวดล้อมและโบราณคดนี อกจากนี้ นากาอิมะ ยังขอเงินทุนเพิDมเติมสำหรับมหาวิทยาลัยโอกินาวะสำหรับรันเวย์ที่สองที่สนามบินนาฮะ รวมถึง ระบบรถไฟ และเพ่ือการคืนท่ีดินที่ส่งคืนโดยสหรัฐอเมริกา ซ่ึงนายกรัฐมนตรีชินโซ อาเบะตกลงท่ีจะ ให้การสนับสนุนทางการเงินตามคําร้องขอและให้คําม่ันว่าจะพยายามอย่างเต็มท่ี เพ่ือปฏิบัติตาม เงอ่ื นไขเกย่ี วกับการมีอยู่ของกองทัพสหรฐั ฯ ในโอกนิ าวะ อย่างไรกต็ าม การดําเนินการที่เก่ียวข้องกับ ฐานทัพดังกล่าว นอกจากการยินยอมจากรัฐบาลญ่ีปุ่นแล้ว ต้องได้รับการยินยอมจากสหรัฐฯ ด้วย ต่อมาฮโิ รคาสนุ ากาอิมะ เซ็นอนุมตั ใิ บอนญุ าตการถมทะเล (Futenma Airfield Relocation Facility; FRF)และกดดันรัฐบาลอาเบะให้ทําตามสัญญาซึDงสําหรับรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ส่วนหนึ่งแสดงความ เตม็ ใจทจี่ ะเจรจาในบางพนื้ ทแ่ี ตไ่ ม่ทง้ั หมด อยา่ งไรกต็ าม สหรัฐอเมรกิ าปฏเิ สธแผนการท่ีจะปิดฐานทัพ ฟุเทนมะก่อนที่เฮโนโกะจะเปิดใช้งานได้34 แต่ภายหลังในช่วงปลายเดือนธันวาคม 2013 ฮิโรคาสุนา กาอิมะได้อนุญาตให้มีการบุกเบิกทีDดินเพื่อเริ่มต้นสร้างฐานทัพทหารสหรัฐฯแห่งใหม่ที่เฮโนโกะโดย ฝา่ ฝนื คําสญั ญาก่อนหนา้ น้ี

3. Takeshi Onaga (2014-2018)

ทาเคชิ โอนากะ (Takeshi Onaga) ผู้สืบทอดตําแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดโอกินาวะต่อจากฮิ โรคาสุ นากาอิมะ (Hirokazu Nakaima) ในฐานะผู้ว่าราชการจังหวัดและอดีตสมาชิกพรรคอนุรักษ์ นิยม โอนากะแสดงจุดยืนอย่างชัดเจนว่าต้องการให้ฐานทัพฟุเทนมะปิดตัวอย่างถาวร แล ะกองทัพ สหรัฐฯ ถอนทหารออกไปจากพื้นท่ี เน่ืองจากการมีอยู่ของฐานทัพอากาศฟุเทนมะ ทำให้เกิดคดี อาชญากรรมและอุบตั เิ หตุหลายครั้งในทอ้ งที่ของโอกินาวะ

การขึ้นมาของโอนากะได้สรา้ งความวติ กกังวลให้แก่นายชนิ โซ อาเบะเป็นอยา่ งมาก เนื่องจาก อาเบะสนับสนุนการยา้ ยฐานทัพฟุเทนมะ (Futenma) ไปยังเฮโนโกะ (Henoko) แต่จากนโยบายของ โอนากะทคี่ ดั คา้ นแผนการย้ายฟเุ ทนมะในโอกนิ าวะนับตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งเมDื อปลายปี 2014 ทำให้ แผนการย้ายฐานทัพดำเนินไปด้วยความลําบาก โอนากะได้ใช้หลากหลายกลยุทธ์และกลวิธีในการ ขัดขวางหรือชะลอการสร้าง Futenma Replacement Facility หรือ FRF ภายในเฮโนโกะ โดย หลังจากความพยายามครั้งแรกของโอนากะในการเจรจาแผนการย้ายฐานทัพใหม่กับรัฐบาลกลาง

34 Emma Chanlett-Avery and Ian E. Rinehart, The U.S. Military Presence in Okinawa and the Futenma Base Controversy (2016), accessed September 29, 2021, //sgp.fas.org/crs/natsec/R42645.pdf.

405

ได้รับการต่อต้าน ในเดือนมีนาคม 2015 เขาเรียกร้องให้กระทรวงกลาโหมหยุดงานถมทะเลนอก ชายฝ่ังแต่คณะรัฐมนตรีของอาเบะได้ตัดสินว่าการก่อสร้างเป็นไปตามระเบียบและข้อบังคับเก่ี ยวกับ การถมทะเล หลังจากนั้น โอนากะได้แต่งตั้งคณะกรรมการผู้เช่ียวชาญเพ่ือพิจารณาเก่ียวกับผู้ว่า ราชการคนก่อนหน้าที่เซ็นอนุมัติใบอนุญาตการถมทะเล กรรมาธิการตัดสินว่าการอนุมัติน้ันผิด กฎหมาย ต่อมาในเดือนตุลาคม 2015 โอนากะใช้ผลการพิจารณาของคณะกรรมาธิการประกอบการ เพกิ ถอนคําส่ังของผู้วา่ ราชการคนกอ่ นท่ีอนมุ ตั ิแผนการก่อสรา้ งสนามบนิ ทหารแหง่ ใหม่เพ่ือรองรับการ ย้ายฐานทัพอากาศฟุเทนมะที่อยู่ทางตอนใต้ของเกาะโอกินาวะ แต่คณะรัฐมนตรีปฏิเสธแผนงานของ โอนากะ ทําให้เขาตอ้ งเขา้ รับการพิจารณาโดยสภาบคุ คลที่สามท่ีจัดการข้อพิพาทระหว่างรัฐบาลกลาง กับรัฐบาลท้องถ่ิน35 ทั้งนี้ โอนากะพยายามคัดค้านแผนงานย้ายฐานทัพอากาศฟุเทนมะอยู่ตลอดช่วง การดำรงตำแหน่งของเขา โอนากะ กล่าวว่าแผนการก่อสร้างจะส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม รวมถึง ชาวโอกินาวะต้องการให้ฐานทัพย้ายออกไปจากโอกินาวะ ไม่ใช่เพียงแค่ย้ายไปอยู่ส่วนอื่นของเกาะ ทั้งน้ี เลขาธิการคณะรัฐมนตรีญี่ปุ่นยืนยันว่าต้องย้ายฐานทัพตามแผนที่กำหนดด้วยเหตุผลด้านความ ปลอดภัย แม้จะต้องเผชญิ กบั กระแสตอ่ ตา้ นจากประชาชนในพื้นที่ก็ตาม

ปัจจัยทสี่ ง่ ผลทำใหช้ าวโอกินาวะเลือกผ้วู า่ ราชการจงั หวดั

การเลือกต้ังผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นเหตุการณ์สำคัญอย่างหนึ่งของโอกินาวะ และมีความ แตกต่างจากจังหวัดอ่ืน ๆ เน่ืองด้วยปัจจัยเกี่ยวกับปัญหาของฐานทัพสหรัฐฯ ที่ต้ังอยู่ประมาณ 75% ของพื้นท่ีทั้งหมดภายในโอกินาวะ ฐานทัพสหรัฐฯ ก่อให้เกิดปญั หาเกี่ยวกับความเป็นอยู่ รวมถึงความ ปลอดภัยของชาวโอกินาวะ อีกทั้งจากเหตุการณ์ที่ทหารสหรัฐฯ ข่มขืนเด็กนักเรียนผู้หญิงญี่ปุ่น ได้ สร้างความไม่พอใจให้แก่ชาวโอกินาวะ จนนําไปสู่การประท้วงในหลาย ๆ คร้ัง อย่างไรก็ตาม แม้ว่า ทางรัฐบาลกลางจะมีการทำสนธิสัญญาความร่วมมือและความม่ันคงระหว่างสหรัฐฯ และญี่ปุ่นที่จะ ย้ายฐานทัพสหรัฐฯ จากฟุเทนมะไปยังบริเวณเฮโนโกะ และพยายามปรับปรุงคุณภาพชีวิตคนภายใน ท้องถ่ิน ด้วยการให้เงินอุดหนุน แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ การเลือกต้ังผู้ว่าราชการจังหวัดจึงมี บทบาทสำคญั ในการเจรจา และแก้ไขปัญหาฐานทพั สหรฐั ฯ

ในการเลือกต้ัง ชาวโอกินาวะส่วนใหญ่จะพิจารณานโยบายของผู้ลงสมัคร 2 ประการ คือ ประการแรก นโยบายการแก้ไขปญั หาฐานทัพสหรฐั ฯ ผูส้ มคั รแต่ละคนเห็นดว้ ยหรือไม่เหน็ ด้วยกับการ ย้ายฐานทัพภายในโอกินาวะ ประการที่สองคือ นโยบายทางด้านเศรษฐกิจ เน่ืองจากฐานทัพสหรัฐฯ ส่วนใหญ่รุกล้ำพ้ืนท่ีเกษตรกรรมของชาวท้องถ่ิน ส่งผลให้ชาวท้องถ่ินไม่สามารถประกอบอาชีพ รวมถึงการขาดแคลนอาหาร ซึ่งการเลือกตั้งภายในโอกินาวะเปรียบเสมือนการลงประชามติของคน

35 Emma Chanlett-Avery and Ian E. Rinehart, The U.S. Military Presence in Okinawa and the Futenma Base Controversy (2016), accessed September 29, 2021, //sgp.fas.org/crs/natsec/R42645.pdf.

406

ภายในโอกินาวะท่ีมีต่อฐานทัพสหรัฐฯ แสดงถึงการยอมรับหรือปฏิเสธเกี่ยวกับแผนการก่อสร้างฐาน ทพั แหง่ ใหม่ภายในเฮโนโกะ และเป็นการแสดงออกถึงท่าทขี องชาวโอกินาวะท่ีมตี ่อรฐั บาลกลาง

การพ่ายแพก้ ารเลือกต้ังของ Keiichi Inamine

การดําเนินนโยบายการแก้ไขปัญหาฐานทัพสหรัฐฯ ของเคอิจิ อินามิเนะที่ตระหนักถึง ความสำคัญของสนธิสัญญาความรว่ มมือและความมั่นคงระหว่างสหรฐั ฯ และญี่ปนุ่ และบทบาทสำคัญ ของฐานทัพสหรัฐฯ เขาได้เจรจาเกี่ยวกับข้อเรียกร้องที่ชาวโอกินาวะต้องการกับสหรัฐฯ นอกจากนี้ เคอิจิ อินามิเนะได้ขอให้สหรัฐอเมริกาพิจารณาถึงลักษณะเฉพาะของโอกินาวะและสภาพความเป็น จรงิ รวมถงึ ขอใหล้ ดจำนวนฐานทพั ท่ีมากเกนิ ไป ซึ่งเป็นส่ิงทชี่ าวโอกนิ าวะตอ้ งแบกรบั มาอย่างยาวนาน

ในปี 2006 มีการเลือกต้ังผู้ว่าราชการจังหวัดโอกินาวะ ผู้ที่มีสิทธิลงสมัครเลือกต้ังได้ศึกษา เก่ียวกับฐานทัพสหรัฐฯ และเศรษฐกิจในโอกินาวะเป็นพิเศษ เนืDองจากประวัติศาสตร์อันยาวนาน ของการถูกบังคับให้อาศัยอยู่กับฐานทัพสหรัฐฯ36 โดยคู่แข่งคนสําคัญท่ีทําให้อินามิเนะต้องลงจาก ตําแหน่งผู้วา่ ราชการจังหวัดคือ ฮโิ รคาสุ นากาอิมะ (Hirokazu Nakaima) การรณรงคห์ าเสียงของนา กาอิมะไดแ้ รงสนับสนุนจากพรรครว่ มรัฐบาลของพรรคเสรปี ระชาธิปไตย (LDP) และบรษิ ัทธรุ กจิ ขนาด ใหญ่ในท้องถนิ่ สง่ ผลใหเ้ ขามีนโยบายท่ีให้ความสําคัญกบั เศรษฐกจิ การรณรงคห์ าเสียงของนากาอิมะ แสดงให้เห็นถึงการที่เขาเข้าใจเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ และรากฐานของโอกินาวะ นากาอิมะให้ คําม่ันสัญญาว่าจะลดอัตราการว่างงานเรื้อรัง 7.6% ภายในโอกินาวะ ลดลงให้เท่ากับญ่ีปุ่น แผ่นดินใหญ่ประมาณ 4.3% เขาเป็นผู้สมัครเพียงคนเดียวที่มีความกล้าหาญในการแถลงนโยบาย เศรษฐกิจเช่นนี้ ด้วยความแตกต่างจากผู้สมัครคนอ่ืน ๆ และนโยบายทางด้านการทหารทีDปฏิเสธ แผนการยา้ ยฐานทัพสหรฐั ฯ สง่ ผลทําให้ฮโิ รคาสนุ ากาอิมะไดร้ บั การเลือกตั้งขนึ้ ในปี 2006

การพ่ายแพก้ ารเลอื กตั้งของ Hirokazu Nakaima

การดำเนินนโยบายในสมัยที่ 2 ของฮิโรคาสุนากาอิมะ (Hirokazu Nakaima) ในปี 2013 แตกตา่ งจากในสมยั แรก เขาเห็นด้วยและสนับสนุนแผนการยา้ ยฐานทัพอากาศนาวิกโยธินจากใจกลาง เมืองกิโนวัน (Ginowan) ไปทางเหนือของเกาะที่เฮโนโกะ (Henoko) นากาอิมะเซ็นอนุมัติใบอนุญาต การถมทะเลท่ี เฮโนโกะ โดยได้รับการสนับสนุนจากพรรคเสรีประชาธิปไตยของชินโซ อาเบะ ก่อให้เกดิ ความขัดแยง้ ในทอ้ งถนิ่ และสรา้ งความโกรธเคอื งในหมู่ชาวโอกินาวะจาํ นวนมาก ชาวทอ้ งถ่ิน

36 Hideki Yoshikawa, Internationalizing the Okinawan Struggle: Implications of the 2006 Elections in Okinawa and theUS (2007), accessed September 29, 2021, //apjjf.org/-Hideki-YOSHIKAWA/2314/article.html.

407

กล่าวหาว่าเขาติดสินบนจากรฐั บาลกลางที่ให้เงินสนับสนุนในการพัฒนาพื้นที่ภายในโอกินาวะเพิ่มขึ้น เพอื่ ทจ่ี ะใหเ้ ขาอนุมัติใบอนญุ าตการถมทะเล และสนับสนุนแผนการย้ายฐานทพั สหรัฐฯ

การเลือกต้ังในปี 2014 การรณรงค์หาเสียงของทาเคชิโอนากะ (Takeshi Onaga) ประสบ ความสําเร็จและสามารถเอาชนะใจชาวโอกินาวะได้นโยบายของเขาแสดงจุดยืนชัดเจนว่าไม่ต้องการ ให้มีฐานทัพสหรัฐฯ บนเกาะโอกินาวะ โดยนโยบายการแก้ไขปัญหาฐานทัพสหรัฐฯ ที่เน้นการลด จํานวนฐานทัพบนเกาะโอกินาวะ คัดค้านการย้ายฐานทัพจากฟุเทนมะไปยังบริเวณเฮโนโกะ และ ความมุ่งม่ันของเขาท่ีจะระงับการก่อสร้างและถมทะเลทีDเฮโนโกะ นโยบายดังกล่าวส่งผลให้เขาชนะ การเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงมากกว่านากาอิมะ สะท้อนให้เห็นถึงความเข้มแข็งของนโยบายท่ีมุ่งเน้น แก้ไขปัญหาท่ีชาวโอกนิ าวะต้องประสบโดยมีสาเหตมุ าจากฐานทัพสหรัฐฯ เป็นเวลานาน อีกทั้งเขายงั พยายามนําเสนอถึงอตั ลักษณ์ร่วมกันของชาวโอกนิ าวะ เพอ่ื ให้ชาวโอกนิ าวะที่มีสิทธเิ ลือกต้ังสนับสนุน และลงคะแนนเสยี งให้แก่เขาในการเลือกต้ังผวู้ ่าราชการจงั หวัดโอกนิ าวะ

บทสรุป

โอกินาวะเป็นจุดยุทธศาสตร์ความมั่นคงที่สำคัญของญ่ีปุ่น และภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เน่ืองจากลักษณะทางภูมิศาสตร์ของหมู่เกาะ ทำให้สามารถเข้าถึงประเทศอื่น ๆ ภายในเอเชีย ตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ง่ายขึ้น ซึ่งหลังจากท่ีญ่ีปุ่นแพ้สงครามโลกครั้งท่ี 2 ส่งผลให้ ญ่ีปุ่นตกอยู่ภายใต้การปกครองของสหรัฐฯ เป็นระยะเวลากว่า 27 ปี (1945-1972) การต้ังฐานทัพ ของสหรัฐฯ ในใจกลางเมืองกิโนวัน (Ginowan) ซ่ึงเป็นเขตท่ีมีประชากรหนาแน่น สถานที่ศึกษา จำนวนมาก ทำให้มักเกิดปัญหาและส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยของชาวโอกินาวะอยู่บ่อยคร้ัง จน ได้ชื่อวา่ 'ฐานทัพที่อันตรายท่ีสดุ ในโลก'นําไปสู่การรวมตวั กนั ของชาวโอกนิ าวะท่ีแสดงออกถึงความไม่ พอใจและแสดงทา่ ทตี อ่ ตา้ นฐานทัพอยเู่ สมอ

ปญั หาท่ีชาวโอกินาวะไม่พอใจตอ่ ฐานทพั มี 4 ประการ ไดแ้ ก่ ประการแรก ปญั หาการยึดที่ดิน ชาวท้องถน่ิ สำหรบั การขยายฐานทัพ การขยายพ้ืนทดี่ งั กล่าวได้รุกล้ำพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมของชาวท้องถิ่น ทำให้สูญเสียที่ดินในการประกอบอาชีพและประสบปัญหาขาดแคลนอาหาร ประการที่สอง ความไม่ ปลอดภัยจากการทดสอบการบินของฐานทัพสหรัฐฯ ท่ีมักประสบอุบัติเหตุสร้างความเสียหายให้กับ สถานที่และบางคร้ังทำให้ชาวท้องถ่ินต้องบาดเจ็บจนถึงขั้นเสียชีวิต ส่งผลให้ชาวโอกินาวะต้องใช้ชวี ิต อยู่กับความวิตกกังวลและความไม่ปลอดภยั ในชีวิต ประการที่สาม ปัญหามลภาวะทางเสยี งท่ีเกินกว่า มาตรฐาน มาจากการท่ีฐานทัพฝึกซ้อม ส่งผลให้เกิดปัญหาเสียงที่ดังรบกวนการใช้ชีวิตของคนภายใน ชุมชน ประการที่สี่ปัญหาส่ิงแวดล้อม การตั้งฐานทัพสหรัฐฯ ส่งผลให้เกิดไฟป่า การพังทลายของดิน มลพิษทางน้ำ เป็นต้นและประการสุดท้าย ปัญหาอุบัติเหตุและอาชญากรรม เป็นปัญหาที่เกิดขึ้น

408

บอ่ ยครั้ง เชน่ ปัญหาเมาแล้วขับปัญหาอาชาญกรรมต่าง ๆ ซ่งึ ในปี 1995 เกดิ เหตกุ ารณ์รุนแรง ทหาร สหรัฐฯ ได้ลักพาตัวและข่มขืนเด็กหญิงอายุ 12 ปีส่งผลทําให้ชาวโอกินาวะไม่พอใจจนนําไปสู่กระแส ต่อต้านฐานทัพสหรัฐฯ จากเหตุการณ์ดังกล่าวถือเป็นชนวนที่สำคัญส่งท่ีผลให้ชาวโอกินาวะคัดค้าน และตอ่ ตา้ นการมีอยู่ของฐานทัพสหรฐั ฯ ในโอกินาวะอย่างรุนแรง เกิดการประท้วงขบั ไลฐ่ านทัพหลาย ครงั้

จากสถานการณ์ดังกล่าว ทำให้รัฐบาลกลางในช่วงของชินโซอาเบะออกนโยบายการย้ายฐาน ทัพสหรฐั อเมรกิ า โดยมีแผนโยกยา้ ยฐานทัพฟเุ ทนมะ ไปยงั เฮโนโกะ ซ่ึงอย่ขู องตอนเหนอื ของเกาะโอกิ นาวะ โดยรัฐบาลญี่ปุ่นและสหรัฐฯ มีการทำข้อตกลงกันครั้งแรกในปี 1996 เพ่ือแก้ไขและบรรเทา ความไม่พอใจของชาวโอกินาวะ แต่แท้จริงแล้วชาวโอกินาวะต้องการให้ฐานทัพสหรัฐฯ ปิดฐานถาวร และถอนกําลังท้ังหมดออกจากพื้นท่ีภายในโอกินาวะ การเรียกร้องดังกล่าวไม่ประสบความสำเร็จจึง นําไปสู่ความขัดแย้งระหว่างชาวโอกินาวะกับรฐั บาลกลาง นอกจากนี้ประเด็นทางสังคมเก่ียวกบั ความ เป็นโอกินาวะที่ไม่สามารถกลมกลืนรวมกับชาวญี่ปุ่นได้ด้วยความแตกต่างทางประวัติศาสตร์ภาษา วัฒนธรรม รวมถึง อัตลักษณ์ของชาวโอกินาวะที่มีความแตกต่างกับชาวญี่ปุ่นเกาะใหญ่ชาวญ่ีปุ่นมอง วา่ โอกนิ าวะดูไมเ่ หมือนญ่ีปุ่น ทําให้เกดิ การแบง่ แยกข้ึน รวมถงึ มมุ มองในเรื่องต่าง ๆ ของชาวญ่ีป่นุ ทั้ง ด้านเศรษฐกิจ สังคม อัตลักษณ์และประเด็นปัญหาฐานทัพสหรัฐฯ นั้นแตกต่างจากชาวโอกินาวะ ทํา ให้ทงั้ สองไม่เป็นหนึ่งเดยี วซ่ึงในปจั จบุ นั ปญั หาดังกลา่ วยงั คงมีอยู่

การตั้งฐานทัพของสหรัฐฯ เป็นภาระที่ชาวโอกินาวะต้องแบกรับมาเป็นเวลานาน เนื่องจาก ฐานทพั สหรฐั ฯ ไดส้ รา้ งปัญหาให้แก่ชาวโอกนิ าวะ จนนําไปสู่การต่อต้านและมีความขัดแย้งกับรัฐบาล กลาง ส่งผลให้ผู้ว่าราชการจังหวัดโอกินาวะที่เปรียบเหมือนตัวแทนของชาวโอกินาวะต้องเข้าไปร่วม หาทางแก้ไขปัญหากับรัฐบาลกลาง ซ่ึงผู้ว่าราชการจังหวัดโอกินาวะได้พยายามหาวิธกี ารแก้ไขปัญหา เกี่ยวกับฐานทัพสหรัฐฯ เคอิจิ อินามิเนะ น้ันตระหนักถึงความสำคัญของสนธิสัญญาความม่ันคง สหรฐั ฯ ญ่ีปุ่น และก็ตระหนกั ถงึ ความต้องการของชาวโอกินาวะดว้ ยเชน่ กนั เขาจงึ เขา้ หารือกับรัฐบาล กลาง รวมถึงทางสหรัฐฯ เก่ียวกับแผนท่ีจะย้ายฐานทัพสหรัฐฯ จากตอนใต้ของเกาะท่ีมีประชากร หนาแนน่ ไปยงั ตอนเหนือของเกาะท่ีมปี ระชากรเบาบาง แต่การเรยี กรอ้ งไม่ประสบความสำเร็จเท่าไหร่ นัก นําไปสู่ในสมัยของฮิโรคาสุนากาอิมะที่เปรียบเสมือนความหวังของชาวโอกินาวะ ในช่วงสมัยแรก เขาไม่เห็นด้วยกับการที่จะย้ายฐานทัพ เขาปฏิเสธท่ีจะดำเนินการตามแผนของรัฐบาลกลาง ส่งผลทำ ใหเ้ ขาไดร้ ับเลือกใหด้ ำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นสมัยที่ 2 แตใ่ นสมยั น้ีนากาอิมะถูกกดดันจาก รัฐบาลกลางในการคัดค้านการย้ายฐานทัพ ทำให้เขาต้องอนุมัติใบอนุญาตการถมทะเล และเห็นด้วย กับการย้ายฐานทัพสหรัฐฯ ส่งผลทำให้ชาวโอกินาวะไม่พอใจ และมองว่านากาอิมะทรยศชาวโอกินา วะ ทำให้การเลือกต้ังครั้งใหม่ในปี 2014 เขาได้พ่ายแพ้ให้แก่ทาเคชิ โอนากะ การขึ้นมาของโอนากะ

409

สร้างความวิตกกังวลให้แก่รัฐบาลกลางอย่างมาก เน่ืองจากเขาปฏิเสธการย้ายฐานทัพสหรัฐฯ และ ต้องการให้ย้ายฐานทัพออกจากโอกินาวะ เขาดำเนินการสั่งหยุดการถมทะเลท่ีผู้ว่าราชการจังหวัดคน ก่อนอนมุ ัติ ทง้ั นี้ การแก้ไขปญั หาของผวู้ ่าราชการจังหวัดท้ัง 3 คนลว้ นตั้งอยู่บนความต้องการของชาว โอกินาวะ หากแต่ด้วยปัจจัยอ่ืน ๆ ท่ีทําให้ผู้ว่าราชการจังหวดั บางคนต้องจำยอมทำตามแผนงานของ รัฐบาลกลาง

ปัญหาฐานทัพสหรัฐฯ ภายในโอกินาวะ เป็นประเด็นโต้เถียง และเกิดการประท้วงต่อต้าน ต้ังแต่หลังสงครามโลกครั้งสองมาจวบจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากปัญหาของฐานทัพ ส่งผลต่อความ เป็นอยู่และความปลอดภัยของชาวโอกินาวะ เนื่องด้วยอุบัติเหตุและปัญหาต่าง ๆ ท่ีมีสาเหตุมาจาก การมีอยู่ของฐานทัพสหรัฐฯ ทําให้นําไปสู่ความขัดแย้งระหว่างชาวโอกินาวะกับฐานทัพ รวมไปถึง รฐั บาลกลางของญี่ปุ่นแม้ว่าในปจั จบุ ันทางรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นพยายามที่จะหาแนวทางใน การแก้ไขปัญหาในเร่ืองฐานทพั การทําข้อตกลงย้ายฐานทัพเพื่อบรรเทาความไมพ่ อใจของชาวโอกินา วะ แต่ชาวท้องถ่ินก็ยังไม่พอใจและเรียกร้องให้ปิดฐานทัพและย้ายออกจากพื้นท่ีโอกินาวะซ่ึงรัฐบาล กลางเข้าใจชาวโอกินาวะ และตระหนักถึงความต้องการของพวกเขา หากแต่รัฐบาลกลางยงั คงยืนยนั ทจี่ ะดำเนนิ แผนการย้ายฐานทัพสหรัฐฯ ไปยงั พื้นทเ่ี ฮโนโกะที่อยู่ทางตอนเหนือของโอกินาวะ สง่ ผลให้ ปญั หาความขัดแยง้ นี้ ดำเนนิ มาจนถงึ ปจั จุบัน และยากท่ีจะยุตลิ ง

เอกสารอา้ งองิ

โฆษิต ทิพย์เพียงพงษ์. (2561). สะดุดคํา “จากริวกิวสู่โอกินาวาในสงคราม". สืบค้น 22 กันยายน 2564,

จาก //mgronline.com/japan/detail/9610000063189

ไชยวัฒน์ คำ้ ชู. (2549). นโยบายตา่ งประเทศญี่ปุ่น: ความต่อเนื่องและความเปลี่ยนแปลง. กรงุ เทพฯ:

สถาบนั เอเชยี ศึกษาจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

ธีรภัทร เจริญสุข. (2561). สมรภูมิสุดท้าย โอกินาว่า. สืบค้น 24 กันยายน 2564, จาก //www.the

101.world/the-last-battlefield-okinawa/

410

นพพร วงศอ์ นนั ต์. (2562). จักรพรรดญิ ี่ป่นุ : จาก “สบั สน" สู่ “ซาบซงึ้ " ความทรงจำของเหยื่อ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค ร้ั ง ที่ 2 ใ น โ อ ก ิ น า ว า . ส ื บ ค ้ น 2 0 ก ั น ย า ย น 2564, จ า ก //www.bbc.com/thai/international-48097622

นพพร วงศอ์ นนั ต.์ (2562). สมรภมู โิ อกนิ าวา : การโฆษณาชวนเชื่อ และความโหดรา้ ยของกองทพั จ ั ก ร ว ร ร ด ิ ญี่ ป ุ ่ น ต ่ อ เ พ่ื อ น ร ่ ว ม ช า ติ . ส ื บ ค ้ น 2 0 ก ั น ย า ย น 2564, จ า ก //www.bbc.com/thai/international-48715311

ปัญญา ศรสี ิงห์. (ม.ป.ป.). ยทุ ธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติดา้ นการทหาร ของกองกาํ ลงั ป้องกนั ตนเอง ท า ง อ า ก า ศ ญี่ ป ุ ่ น . ช า ต ิ . ส ื บ ค ้ น 2 8 ก ั น ย า ย น 2564, จ า ก //www.asia.tu.ac.th/journal/EA_Journal52_2/A01.pdf

ปารณ ศรสี ุนทร. (2564). จิตสํานึกสาธารณะญ่ีปนุ่ : ความขดั แย้งในจติ ใจของคนญปี่ ุ่นหลังสงครามโลก คร้ังท่ีสอง. สืบค้น 20 กันยายน 2564, จาก //adaybulletin.com/life-feature- japan-publicmind-after-world-war-ii/59527

สดุ ปรารถนา ดวงแก้ว. (2562). ฐานทพั อเมรกิ าในโอกนิ าวา่ กบั ปมปญั หาซับซ้อน. สืบค้น 20 กันยายน 2564, จาก //asiatrend.ias.chula.ac.th/รายละเอียดบทความ/ฐานทัพอเมริกาในโอ กนิ าวา่ กบั ปมปัญหาซับซ้อน

Kinyoubi. (2561). จากรวิ กวิ สโู่ อกินาวา: จากอาณาจักรสู่จังหวัดของญป่ี นุ่ . สบื ค้น 23 กันยายน 2564, จาก //th.anngle.org/j-culture/ryukyu-okinawa2.html

WeXpats. (2564). ภาษาท้องถน่ิ โอกนิ าวา่ うちなーぐち "อุจินากุจิ". สืบคน้ 2 ตลุ าคม 2564, จาก //we-xpats.com/th/guide/as/jp/detail/6573/

Center for Strategic and International Studies. (2005). The Okinawa Perspective by

Keiichi Inamine, Governor of Okinawa. Available from: //csis-websiteข prod.s3.amazonaws.com/s3fs- public/legacy_files/files/attachments/050315_okinawa_summary.pdf

(accessed on September 27, 20121)

411

Céline Pajon. (2010). Understanding the Issue of U.S. Military Bases in Okinawa. Available from: //www.ifri.org/sites/default/files/atoms/files/understanding_ the_ issue_of_u.s._military_bases_in_okinawa.pdf (accessed on September22, 2021)

Emma Chanlett Avery and Ian E. Rinehart. (2016). The U.S. Military Presence in Okinawa And the Futenma Base Controversy. Available from: //fas.org/sgp/crs/natsec /natsec/R42645.pdf (accessed on September22, 2021)

HANNAH BEECH. (2016) . The Tense Relationship Between Japan and the U.S. Military. Available from: //time.com/4360940/us-military-navy-japan-okinawa- alcohol-bases/(accessed on September 28, 2021)

Hideki Yoshikawa. (2007). Internationalizing the Okinawan Struggle: Implications of the 2006 Elections in Okinawa and the US. available from: //apjjf.org/-Hideki- YOSHIKAWA/2314/article.html (accessed on September30, 2021)

Jacques Fuqua. (2001). Understanding Okinawa's Role in the U.S.-Japan Security Arrangement. Available from: //spice.fsi.stanford.edu/docs/ understanding_okinawas_role_in_the_usjapan_security_arrangement (accessed on September28, 2021)

Lane Johnston. (2013). Okinawa and the U.S. military, post 1945. Available from: //blogs.scientificamerican.com/expeditions/okinawa-and-the-u-s-military- post-1945/(accessed on October 1, 2021)

412

Noriko Nii. ( n.d.) . Presenting the Power of Okinawa “Power of Textiles”. Available from: //www.visitokinawa.jp/information/power-of-textiles (accessed on October2, 2021)

Okinawa Prefectural Government Washington D.C. Office. (2017). Why Do We Oppose The Relocation to Henoko?. Available from: //dc- office.org/post/753(accessed on September28, 2021)

Okinawa Prefectural Government Washington D.C. Office. (2018). What Okinawa Wants You to Understand about the U.S. Military Bases. Available from: //dc- office.org/wpcontent/uploads/2018/03/E-all.pdf (accessed on September28, 2021)

Visi t Okinawa Japan. (n.d.). Food Culture in Okinawa. Available from: //www.visitokinawa.jp/about-okinawa/food-culture (accessed on October2, 2021)

413

ปญั หาคอมมิวนิสตม์ ลายากับความร่วมมือไทย - มาเลเซยี

(The Malayan Communist Insurgency and Thailand-Malaysia

Cooperation) *

ศิรริ ัตน์ นอ้ ยชาตรี** จดิ าภา แสงอินทร์** พมิ ลวรรณ ประภัสสร**

ภัทรวรรณ จิตรสวาท**

1. ทมี่ าและความสำคัญ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซียมีมาอย่างยาวนาน

และมีความเกี่ยวเนื่องกันในหลายมิติ ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม โดยเฉพาะ ตั้งแต่ปี 1945 ที่นักประวัติศาสตร์มาเลเซียถือ เป็นประวัติศาสตร์มาเลเซียยุคใหม่ สถานะของ มาเลเซียในขณะนั้นยังแตกตัวเป็นรัฐเล็กรัฐน้อย ภายใต้การ ปกครองของอังกฤษ และได้มีการ รวมตวั กนั เป็นสหพนั ธรัฐในเวลาต่อมา

มาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษในวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 1957 โดยประเทศไทยเป็น ประเทศแรก ๆ ที่รับรองความเป็นชาติของประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นการสถาปนาความสัมพันธ์ ทางการทูตระหว่างไทยกับ มาเลเซียอย่างเป็นทางการ อีกทั้งห้วงเวลาที่ประเทศมาเลเซียอยู่ในช่วง กอ่ รา่ งสรา้ งตวั ประเทศไทยมีบทบาท สำคัญอยา่ งมากในการประคบั ประคอง และใหค้ วามช่วยเหลือ และเหตุการณ์สำคัญที่ประเทศไทยและประเทศ มาเลเซียร่วมมือกันแก้ปัญหาจนประสบผลสำเร็จ คือ การรว่ มมอื ปราบปรามพรรคคอมมวิ นสิ ต์มลายา

เนื่องจากปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์มลายาได้ส่งผลกระทบอย่างมากต่อความมั่นคง ของประเทศไทย และประเทศมาเลเซีย ทง้ั ในด้านเศรษฐกจิ สังคม จิตวทิ ยา การเมือง และการทหาร อีกทั้งปัญหานี้ยังส่งผล กระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและประเทศมาเลเซียด้วย แต่สุดท้ายทั้งสองประเทศก็ได้ร่วมมือกันแก้ไขปัญหาจนสำเร็จได้ ซึ่งจากประเด็นดังกล่าวได้นำไปสู่ ความสนใจของผู้จัดทำว่าพรรคคอมมิวนิสต์มลายาได้ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย และประเทศมาเซียอย่างไรบ้าง และประเทศไทยร่วมมือกับประเทศมาเลเซีย ในการแก้ไขปัญหา พรรคคอมมิวนิสตม์ ลายาอย่างไร

*บทความนี้เปน็ สว่ นหนึง่ ของรายงานวิชาประวัติศาสตร์ความสัมพนั ธร์ ะหว่างไทยกับประเทศเพ่ือนบ้าน ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 **นิสติ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์

414

2. พรรคคอมมวิ นิสต์มลายาในประเทศมาเลเซยี พรรคคอมมวิ นสิ ต์มลายาถูกก่อต้ังข้นึ เม่ือปี ค.ศ. 1930 ในชว่ งแรกพรรคได้รับการสนับสนุน

จากชาวจีนที่อาศยั อยู่ในมลายาเทา่ นัน้ ต่อมาพรรคได้ร่วมมือกับอังกฤษเพือ่ ขับไล่กองทัพญีป่ ุ่นออก จากคาบสมุทร มลายูไดส้ ำเร็จ สง่ ผลใหพ้ รรคไดร้ ับการสนบั สนุนจากคนมลายาเพ่ิมข้ึน อยา่ งไรก็ตาม ถึงแม้ว่าพรรคจะเคยร่วมมือกับอังกฤษมาก่อน แต่พรรคก็ต้องการขับไล่อังกฤษออกไปจากมลายา แล้วกต็ ั้งรฐั บาลขึน้ มาใหม่เช่นกัน โดยพรรคจะใช้วิธีการต่อต้านอังกฤษดว้ ยความรนุ แรง ทำให้ปัญหา ก่อการร้ายของพรรคกลายมาเป็นปัญหา สำคัญของมาเลเซีย ซึ่งในบทนี้จะกล่าวถึงตั้งแต่การก่อต้ัง พรรคคอมมวิ นสิ ต์มลายาในประเทศมาเลเซียตลอด จนถึงปัญหาต่าง ๆ ท่เี กดิ ขึน้ จากพรรค 2.1 การกอ่ ต้ังของพรรคคอมมวิ นิสต์มลายา

เมื่ออังกฤษเข้ามาครอบครองคาบสมุทรมลายูแล้ว ก็ได้พัฒนาเศรษฐกิจบริเวณนี้ด้วย ส่งผลให้เศรษฐกิจของมลายาเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในด้านการผลิตดีบุกและยางพารา ซึ่งการทำเหมืองดีบุก และสวนยางพาราจำเป็นจะต้องใช้แรงงานจำนวนมาก ทำให้มีชาวจีน และอินเดยี เข้ามาเป็นแรงงานมากขึ้น ก่อใหเ้ กิดการแบ่งเชอ้ื ชาตใิ นเวลาตอ่ มา37

นอกจากนี้ประชาชนจีนในแผ่นดินใหญ่ที่เห็นว่าชาวจีนในมลายาถูกอังกฤษกดข่ี และมีความเกลียดชังอังกฤษอยู่ก่อนแล้ว จากการที่อังกฤษได้เข้ามาทำลายประชาชนชาวจีน อีกทั้งยังบังคับให้ชาวจีนสูบฝิ่น และค้าฝิ่นอีกด้วย ชาวจีนแผ่นดินใหญ่จึงเห็นว่าเป็นโอกาสเหมาะ ที่จะเผยแพร่อุดมการณ์คอมมิวนิสต์ให้กับชาวจีนในมลายา เพื่อที่จะให้เกิดการปฏิวัติ โดยตั้งเปา้ หมายว่าจะขับไล่องั กฤษออกจากแผ่นดินมลายา38และเพื่อป้องกันผลประโยชนข์ องตนเอง รวมไปถงึ การมบี ทบาทในด้านการเมืองการปกครอง39

ด้วยแนวทางดังกล่าว การก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์มลายาจึงได้รับการสนับสนุนจากชาวจีน ในมลายาเป็นจำนวนมาก ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากที่คนจนี ในมลายา ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ นั้น ไม่ได้รับ ความเป็นธรรมจากรัฐบาลอังกฤษ และไม่ได้รับสิทธิในด้านต่าง ๆ เท่าเทียม กับชาวพื้นเมืองมลายา ทั้งในเรื่องของการประกอบอาชีพ คุณภาพชีวิต รวมไปถึงการไม่ได้รับสิทธิ ทางการเมืองใด ๆ เลยทำให้ชาวจีนในมลายาเกิดความไม่พอใจ ดังนั้นเมื่อลัทธิคอมมิวนิสต์ ซง่ึ มีแนวคิดตอ่ ตา้ นการกดข่ีของนายทุนแพรเ่ ข้ามา ชาวจีนในมลายาจงึ รบั แนวคิดนอี้ ย่างงา่ ยดาย40

37นภา เหลอื งนันทการ, “ยอ้นการต่อสูเ้พอ่ื เอกราชของ “มาเลเซยี ” จากสมยอั าณานคิม ถึงสภาพหลงัไดรบ้ เั อกราช”, ศลิ ปวฒั นธรรม, สบื คน้ เมื่อวันท่ี 13 กุมภาพันธ์ 2565, //www.silpa-mag.com/history/article_69538.

38 ชมุ ศกดั ิอ์ ินทรรก์ ษั ์, “การศกษึ ายทุ ธศาสตร์การจดั การสงคั มสมบรู ณแ์บบในสามจงัหวดชั ายแดนภาตใต,” ้ (โครงการจัดตงั้ สถาบัน สมทุ รรฐั เอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใตศ้ กึ ษา มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี, 2546), 9.

39นภา เหลอื งนนั ทการ, อา้ งแล้ว 1. 40 อัฟฟาน ตลุ ยศักด์ิ, “ความไมเ่ ท่าเทียมทางสงคั มและชาตพิ นั ธุ์ในมาเลเซยี (กรณีศึกษานโยบายภูมปิ ตุรากับคนจนี ),” ประชาไท, สืบค้น เมือ่ วันที่ 22 กมุ ภาพันธ์ 2565, //prachatai.com/journal/2014/05/53364.

415

อีกทั้งการก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์มลายาอาจกล่าวได้ว่าเป็นผลมาจากการแข่งขันของฝ่าย ก๊กมนิ ตงั๋ และฝา่ ยคอมมิวนิสตจ์ ีนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในการสร้างอิทธิพลด้วยเช่นกัน สืบเนื่องจากความต้องการสร้างอิทธิพลแข่งขันกับฝ่ายก๊กมินตั๋ง ซึ่งเคยขยายอิทธิพลไว้ในภูมิภาคน้ี อยู่ก่อนแล้ว ในปี ค.ศ. 1929 พรรคคอมมิวนิสต์จีนจึงได้จัดตั้งคณะกรรมการชั่วคราว ของพรรคคอมมิวนิสต์ประจ าดินแดนทะเลใต้ (The South Seas Committee of Communist Party) และต่อมาคณะกรรมการดังกล่าวได้ผลักดันแนวทางจนนำไปสู่การจัดตั้งพรรคคอมมิวนิสต์ มลายา (The Malayan Communist Party-MCP) ขึน้ ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1930

โดยแนวทางสำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์มลายา คือ การผลักดันการปฏิวัติที่ตั้งอยู่บน พื้นฐานของ ท้องถิ่น หมายถึง พรรคคอมมิวนิสต์มลายาจะไม่ได้เป็นแค่ส่วนหนึ่งหรือสาขาหนึ่งของ พรรคคอมมิวนิสต์จีน แม้ว่าพรรคคอมมิวนิสต์จีนจะเป็นกำลังสำคัญในการผลักดันให้เกิดการจัด ตั้งพรรคขึ้น แต่สิ่งที่พรรคคอมมิวนิสต์มลายาต้องมุ่งมั่นดำเนินการอย่างแท้จริง ได้แก่ การกำหนด ผลประโยชนข์ องตนภายใตอ้ าณานิคมมลายา41 2.2 มาเลเซยี กับปัญหาพรรคคอมมิวนสิ ตม์ ลายา

ในปี ค.ศ. 1941 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นได้บุกยึดมลายาไปจากอังกฤษ เมื่อญี่ปุ่นเข้าครอบครองมลายาแล้ว ญี่ปุ่นได้พยายามสร้างความแตกแยกระหว่างชาวจีน และชาวพื้นเมืองมลายา โดยทำให้คนจีนรู้สึกถึงความไม่เท่าเทียมในด้านต่าง ๆ เมื่อเทียบกับ ชาวพื้นเมืองมลายา ไม่ว่าจะเป็นสิทธิด้านการเมือง สิทธิด้านที่ดินท ากิน อีกทั้งญี่ปุ่นยังปฏิบัติ ต่อชาวจีนอย่างรุนแรง โดยมีการสั่งฆ่าและจับกุมชาวจีนในมลายาที่ ต่อต้านญี่ปุ่นทำให้ชาวจีน ในมลายาที่เป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์มลายาอยู่แล้ว ได้ร่วมมือกับอังกฤษจัดตั้งกลุ่มต่อต้านญี่ปนุ่ โดยใช้ชื่อว่า กองทัพประชาชนมลายาต่อต้านญี่ปุ่น (The Malayan People’s Anti Japanese Army) จนสามารถขบั ไล่ญป่ี นุ่ สำเร็จในปี ค.ศ. 1945

สาเหตุที่อังกฤษยอมร่วมมือกับพรรคคอมมิวนิสต์มลายาในการต่อต้านญี่ปุ่น ทั้ง ๆ ท่ีพรรค ไม่เคยได้รับการยอมรับว่าถูกต้องตามกฎหมายจากอังกฤษ อีกทั้งพรรคยังมีนโยบายขับไล่อังกฤษ ออกไปจากมลายา เพราะอังกฤษเล็งเห็นว่าเพียงแค่อังกฤษไม่มีกำลังพอจะขับไล่ญี่ปุ่นออกไปได้ ประกอบกบั ท่ญี ีป่ ุ่นเร่ิมบุก Kota Bharu ในมลายาเหนือ องั กฤษจงึ กลวั วา่ ญปี่ นุ่ จะยดึ ดินแดนบริเวณ คาบสมุทรมลายูไปได้ทง้ั หมด จงึ ตดั สินใจร่วมมือกบั พรรคคอมมวิ นสิ ตม์ ลายา42

เมื่อขับไล่ญี่ปุ่นออกไปจากมลายาสำเร็จแล้ว อังกฤษก็ได้กลับเข้ามาครอบครองมลายาอีก ครง้ั ถงึ แมว้ ่าพรรคคอมมิวนสิ ต์มลายาจะเคยร่วมมือกับอังกฤษในการขบั ไล่ญ่ีปุ่น แตพ่ รรคก็ยังคงไม่ ละทิ้งอุดมการณ์ขบั ไล่อังกฤษออกไปจากมลายา โดยปฏิบตั ิการของพรรคในชว่ งแรกนั้นยงั ไม่รุนแรง

41Anna Belogurova, The Nanyang Revolution: The Comintern and Chinese Networks in Southeast Asia, 1890-1957 (n.p.: Cambridge

University Press, 2019), 50-51.

42ชมุ ศักดิอ์ นิ ทรร์ ักษ์, อา้ งแล้ว 2,9-10.

416

มากนัก ต่อมาใน ปี ค.ศ. 1947 จีนเป็ง (Chin Peng) ได้เข้ามารับตำแหน่งเลขาธิการพรรคต่อจาก ลอยเตก็ (Loi Teck) พรรคจึงไดเ้ ปลย่ี นแปลงการดำเนินงานใหม่ไปเป็นแนวทางการต่อสู้แบบรุนแรง มากยง่ิ ข้นึ เพ่ือใหส้ อดคล้องกับนโยบายของพรรคคอมมิวนสิ ต์สากล43

พรรคได้เริ่มปฏิบัติการสร้างความเดือดร้อนให้กับระบบเศรษฐกิจของชาวอังกฤษในมลายา โดยเข้าไปทำลาย และซุ่มโจมตีกองกำลังของเจ้าหน้าท่ี และสถานีตำรวจบีบบังคับให้เจ้าหน้าท่ี ของทางราชการออกไป จากพื้นที่ชนบทต่าง ๆ เพื่อให้สมาชิกของพรรคสามารถเข้าไปหาเสบียง อาหาร และติดต่อสื่อสารกันได้ และสร้างเขตปลดปล่อยในพื้นที่ต่าง ๆ แล้วใช้พื้นที่ดังกล่าว เปน็ ฐานปฏบิ ัติการเพ่อื ทจ่ี ะขยายพืน้ ทเี่ หลา่ นอ้ี อกไปทวั่ ประเทศ

การสร้างความวุ่นวาย และก่อความไม่สงบที่ใช้ความรุนแรงของพรรคคอมมิวนิสต์ ได้ขยายออกไปอย่าง กว้างขวาง สถานการณ์ในมลายาเริ่มเลวร้ายลงเรื่อย ๆ จนในที่สุด พรรคคอมมิวนิสต์มลายาได้ปฏิบัติการครั้ง ร้ายแรงที่สุด ด้วยการลอบเข้าไปสังหาร อาเธอร์ วอล์คเกอร์ (Arthur Walker) เจ้าของสวนยางชาวอังกฤษ และ ด้ยิงนายจอห์น อัลลิสัน (John Allison) นายเอียน คริสเตียน (Ian Christian) ผู้จัดการสวนยาง ซึ่งเหตุการณ์น้ี ทำให้รัฐบาล สหพันธรัฐมลายาสิ้นสุดความอดทน จึงประกาศภาวะฉุกเฉินเป็นคร้ังแรก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1948 มีผลบังคับใช้เฉพาะภาคกลางของรัฐเปรัค และภาคตะวันตกของรัฐยะโฮร์ และต่อมาได้ ประกาศขยายการบงั คบั ใชภ้ าวะฉกุ เฉินออกไปท่ัวมลายา

พรรคคอมมิวนิสตม์ ลายาได้สร้างความเดือดร้อนให้กับมลายานานหลายปี44จนเมือ่ วันท่ี 31 สิงหาคม ค.ศ. 1957 มลายาได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์จากอังกฤษ และเปลี่ยนชื่อประเทศ เป็นมาเลเซีย พรรคคอมมิวนิสต์มลายาไม่ยอมรับเอกราชนี้ โดยอ้างว่าเอกราชของมาเลเซีย ยังไม่สมบูรณ์เพราะยังมีสนธิสัญญา ผูกพันอยู่กับอังกฤษ จึงต้องการล้มล้างรัฐบาลมาเลเซียแล้ว จดั ตง้ั รัฐบาลใหม่ โดยยังคงใช้ความรนุ แรงในการล้มลา้ งรัฐบาลมาเลเซยี

ต่อมารัฐบาลภายใต้การนำของ ตนกู อับดุล ราห์มาน นายกรัฐมนตรีคนแรกของมาเลเซีย ยังคง ด าเนินการปราบปรามโจรคอมมิวนิสต์อย่างหนักท าให้สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์มลายา ต้องหลบหนีเข้า ชายแดนไทย-มาเลเซีย และในวันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1960 รัฐบาลมาเลเซีย ก็ประกาศยกเลิกภาวะฉุกเฉนิ จงึ ถือว่าสิ้นสดุ สงคราม 12 ปี ในมาเลเซยี

ภายหลังจากวิกฤตการณ์มาเลเซียในปี 1960 ที่พรรคคอมมิวนิสต์มลายาได้ถอยร่นไป บริเวณชายแดนมาเลเซีย-ไทย ก็ได้มีฝึกฝนเพิ่มเติมและดึงชาวไทยบริเวณชายแดนไทย-มาเลเซีย มาเป็นแนวร่วมของพรรค เพื่อที่จะกลับมาโจมตีรัฐบาลมาเลเซียอีกครั้ง จนเกิดเป็นวิกฤตการณ์ มลายาครั้งที่ 2 ในปีค.ศ. 1968 จากการขัดแย้งกันทางอาวุธระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์มลายา

43Rahaman Kamel, A review of the Country Insurgency Operation in Malaysia, Research Paper, (Bangkok: The royal Thai Armies Staff College, 1991), 7-8. 44ชมุ ศักดิอ์ ินทร์รักษ์, อ้างแลว้ 2, 13.

417

กับกองกำลังรักษาความปลอดภัยแห่งรัฐบาลกลางมาเลเซีย ซึ่งการก่อความไม่สงบเริ่มข้ึน เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์มลายาเข้าโจมตีกองกำลังความมั่นคงในโกรฮ์-เบตง ทางตอนเหนือ ของมาเลเซียตะวันตก45ทำให้รัฐบาลมาเลเซียต้องเร่งปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์มลายาอีกครั้ง แต่เนื่องจากพรรคคอมมิวนิสต์มลายาได้ถอยร่นเข้าไปตั้งฐานปฏิบัติการบริเวณชายแดน ไทย-มาเลเซีย ทำให้มาเลเซยี ตอ้ งรว่ มมือกับไทยในการแกป้ ญั หาดังกล่าว

3. พรรคคอมมิวนสิ ต์มลายาในประเทศไทย เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์มลายาพ่ายแพ้การต่อสู้ในประเทศมาเลเซีย ส่งผลให้สมาชิกบางส่วน

ของพรรค ตอ้ งหลบหนเี ขา้ มาอยบู่ ริเวณชายแดนของประเทศไทย ถึงแม้ในช่วงแรกพรรคไม่มีนโยบาย สร้างความเดือดร้อน ให้กับประเทศไทย แต่ช่วงหลังพรรคคอมมิวนิสต์มลายาตอ้ งการเสริมสร้างกอง กำลังให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น ทำให้ปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์มลายาส่งผลกระทบต่อประเทศไทย อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ในบทนี้จะกล่าวถึงตั้งแต่การเข้ามาและปฏิบัติการพรรคคอมมิวนิสต์มลายา ในประเทศไทย ตลอดไปจนถึงไทยกับปัญหาพรรค คอมมิวนิสต์มลายาที่ส่งผลกระทบต่อความม่ันคง ของประเทศไทย และต่อความสมั พันธร์ ะหวา่ งประเทศไทยกับมาเลเซีย 3.1 การเขา้ มาและปฏิบตั ิการของพรรคคอมมิวนิสต์มลายาในประเทศไทย

ภายหลงั จากมาเลเซียมีนโยบายปราบปรามพรรคคอมมวิ นิสต์มลายา ทำให้สมาชิกของพรรค บางส่วน ได้หลบหนีเข้ามาอยู่บริเวณชายแดนไทย-มาเลเซีย อีกทั้งยังดำเนินปฏิบัติการต่าง ๆ ภายในประเทศไทย ซึ่งมรี ายละเอยี ดดงั นี้ 3.1.1 การเข้ามาในประเทศไทยของพรรคคอมมิวนสิ ตม์ ลายา

เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์มลายาถูกรัฐบาลมาเลเซียปราบปรามอย่างหนัก ส่งผลให้สมาชิก บางส่วนของ พรรคได้หลบหนีเข้ามาอยู่บริเวณชายแดนไทย-มาเลเซีย เนื่องจากบริเวณนี้เป็นพื้นท่ี ห่างไกลและมีลักษณะภูมิประเทศเป็นป่าทึบ ส่งผลให้พรรคคอมมิวนิสต์มลายาได้รับประโยชน์ หลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการจัดหาสมาชิกเข้าร่วมขบวนการได้ง่าย เพราะประชาชนส่วนมาก เป็นชาวจนี และชาวมุสลมิ เหมือนกนั ได้รบั การสนบั สนนุ จากคนในพนื้ ที่ ทงั้ การโดนบังคับ และเต็มใจ อำนาจรัฐไทยในพื้นที่บริเวณชายแดนอ่อนแอ พรรคคอมมิวนิสต์มลายาจึงสามารถเคลื่อนไหว ไดอ้ ย่างเสรี และพ้นื ท่ีมีความอดุ มสมบรู ณ์ จึงสามารถจดั หาส่งิ ของต่าง ๆ ไดต้ ามความตอ้ งการ46

ช่วงแรกที่พรรคคอมมิวนิสต์มลายาเข้ามาในประเทศไทย ได้จัดแบ่งกำลังออกเป็น 3 กรม ได้แก่ กรมท่ี 8 ตั้งฐานปฏิบัติการอยู่ที่อำเภอสะเดา อำเภอนาทวี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา และมีพื้นที่ปฏิบัติการอยู่ ในรัฐปะลิสและรัฐเคดาห์ กรมที่ 10 ตั้งฐานปฏิบัติการอยู่ที่อำเภอแว้ง อำเภอสุครี ิน จังหวดั นราธิวาส และมี พน้ื ทปี่ ฏบิ ตั ิการอยู่ในรัฐกลันตัน กรมท่ี 12 ตงั้ ฐานปฏบิ ตั ิการอยู่

45ชมุ ศักดอิ์ ินทรร์ กั ษ์, อา้ งแลว้ 2,16-18. 46 นันทวรรณ ยอดพิจิตร, “ความรว่ มมือของไทยตอ่ มาเลเซีย: ศกึ ษากรณกี ารแก้ปญั หาพรรคคอมมิวนิสตม์ ลายา พ.ศ. 2520-2532,” (วทิ ยานพิ นธ์ปริญญา มหาบัณฑิต คณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2543), 44-45.

418

ที่อำเภอเบตง จังหวัดยะลา และมีพื้นที่ปฏิบัติการอยู่ที่ตอนกลางของรัฐเคดาห์ และตอนเหนือ ของรัฐเปรัค

ต่อมาในปี 1970 เกิดความขัดแย้งกันทางอุดมการณ์ และแนวทางการดำเนินงานภายใน พรรค สาเหตุมาจากพรรคมีสายลับแทรกซึมเข้ามาเยอะมาก สมาชิกพรรคต่างก็มีความคิดเห็น ที่แตกต่างกันในการจัดการปัญหานี้ ทำให้พรรคคอมมิวนิสต์มลายาได้ถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ พรรคคอมมิวนิสต์มลายากลุ่มเก่า พรรคคอมมิวนิสต์มลายากลุ่มปฏิวัติ และพรรคคอมมิวนิสต์ มลายากลุ่มมาร์กซิสต์-เลนนิ

หลังจากพรรคถูกแบ่งเป็น 3 กลุ่มแล้ว ต่อมาไม่นานพรรคก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงอีกคร้ัง อัน เนื่องมาจากอิทธิพลของสถานการณ์โลกเปลี่ยนไป โดยฝ่ายคอมมิวนิสต์ได้แยกออกเป็น 2 สาย คือ สายรัสเซีย ที่นิยมลัทธิมาร์ก-เลนิน และสายจีนที่นิยมเหมา เจ๋อ ตุง ทำให้พรรคคอมมิวนิสต์ มลายาต้องถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มเช่นกัน47 ได้แก่ พรรคคอมมิวนิสต์มลายากลุ่มเก่า ซึ่งเป็นกลุ่ม คอมมิวนิสตส์ ายจนี ทนี่ ิยมเหมา เจ๋อ ตงุ มี จางจงหมงิ เป็นเลขาธิการพรรค สมาชกิ มาจากกรมที่ 8 มี พื้นที่เคลื่อนไหวอยู่ที่ อำเภอสะเดา อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา และอำเภอควนโดน จังหวัดสตูล กรมที่ 12 เขต 2 มีพื้นที่เคลื่อนไหวทางทิศตะวันตก ที่ถนน สายเบตง-ยะลา ตั้งแต่อำเภอยะหา อำเภอธารโต อำเภอเบตง จังหวัดยะลา และที่อยู่ตามแนวชายแดนติดกับ รัฐเคดาห์ ประเทศ มาเลเซยี

พรรคคอมมิวนิสต์มลายา ซึ่งเป็นกลุ่มคอมมิวนิสต์สายรัสเซียที่นิยมลัทธิมาร์ก-เลนิน มีจีนเป็ง เป็นเลขาธิการพรรค สมาชิกมาจากกรมที่ 10 มีพื้นที่เคลื่อนไหวอยู่ตามแนวชายแดน ไทย-มาเลเซีย ตั้งแต่ อำเภอศรีสาครไปจนถึงอำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส กรมที่ 12 เขต 1 มีพื้นที่เคลื่อนไหวอยู่บริเวณตำบลธารน้ำทิพย์ ตำบลยะรม อำเภอเบตง จังหวัดยะลา และเขต 41 เขตพเิ ศษ กรมท่ี 12 มีพืน้ ทเ่ี คลือ่ นไหวอำเภอยะหา อำเภอบนั นังสตา จงั หวดั ยะลา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา48

3.1.2 ปฏิบตั ิการของพรรคคอมมวิ นสิ ต์มลายาในประเทศไทย ในช่วงแรกนั้นพรรคคอมมิวนิสต์มลายาจะไม่มีนโยบายสร้างความเดือดร้อนให้กับประเทศ

ไทย แต่ช่วงหลังพรรคต้องการเสริมสร้างกองก าลังให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น จึงมีปฏิบัติการต่าง ๆ ได้แก่ ปฏิบัติการเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์และดึงชาวไทยบริเวณชายแดนเข้ามาสนับสนุนพรรค ซึ่งพรรค คอมมิวนิสต์มลายาให้ความสำคัญกับการได้รับความสนับสนุนจากมวลชน เนื่องจาก

47 เอกรินทรบ์ า รุงภกั ดิ์, “100 ปี พรรคคอมมิวนิสต์จีน: อทิ ธิพลต่อคอมมวิ นสิ ต์ไทยในมุมมอง "สหายชัย" จรัล ดิษฐาอภิชยั ,” BBC, สบื ค้นเมอ่ื วนั ที่ 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, //www.bbc.com/thai/thailand-57488754. 48 นันทวรรณ ยอดพิจิตร, อา้ งแลว้ 10,49-51.

419

พวกเขามีแนวคิดว่างานการเมืองเกี่ยวกับมวลชนเป็นอาวุธสำคัญที่สุดของสงครามปฏิวัติ ดังน้ัน ทางพรรคจึงพยายามใช้วิธีการโฆษณา ชวนเชื่อแตกต่างกันไป เพื่อดึงให้ชาวไทยแต่ละกลุ่ม เข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสตม์ ลายา วิธีการของพรรคคอมมิวนสิ ต์มลายาต่อกลุม่ ชาวไทยเชื้อสายจนี จะใช้วิธีโฆษณาชวนเชื่อโดยอ้างว่า กลุ่มตนเองมีเชื้อชาติเป็นชาวจีนเหมือนกัน ประเทศจีนซึ่งมีการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์เป็นประเทศที่เจริญที่สุดในโลกประเทศหน่ึง ดังนั้นพวกตนจะช่วยยกระดับชาวไทยเชื้อสายจีนให้ดีขึ้น จึงขอให้ชาวไทยเชื้อสายจีน เข้าร่วมกับฝ่ายตน และถ้าผู้ใดไม่ร่วมมือจะถือว่าเป็นผู้ขัดขวางการทำสงครามปฏิวัติ วิธีการของพรรคคอมมิวนิสต์มลายาต่อกลุ่มชาวไทยมุสลิม จะใช้วิธีอ้างว่าพวกตนกำลังทำสงคราม เพื่อปลดปล่อยมาเลเซียจากอิทธิพลของอังกฤษ โดยเมื่อทำสำเร็จแล้วต่อไปก็จะทำการปลดปล่อย จังหวัดภาคใต้ของประเทศไทยให้ได้ปกครองกันเอง จึงขอให้ชาวไทยมุสลิมเข้าร่วม และสนับสนุน พวกตนก่อน วิธีการของพรรคคอมมิวนสิ ตม์ ลายาต่อกลุ่มชาวไทยพุทธ จะใช้วิธีการอ้างถึงเหตุการณ์ ในปัจจุบันว่า พรรคคอมมิวนิสต์มลายาได้ช่วยเหลือป้องกันไม่ให้ขบวนการก่อการร้ายเข้ามารุกล้ำ ข่มเหงชาวไทย ซงึ่ เปน็ ประโยชน์ต่อชาวไทย จึงขอใหช้ าวไทยชว่ ยสนับสนนุ การดำเนินงานของพรรค เป็นการตอบแทน ปฏิบัติการเรียกเก็บค่าคุ้มครองและภาษีเถื่อน โดยพรรคคอมมิวนิสต์มลายาขู่ บังคับเรยี กเก็บเงินจากประชาชนชาวไทยบริเวณชายแดน ซง่ึ จำนวนเงินมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับฐานะ แต่ละครอบครัว และถา้ หากครอบครวั ใดปฏเิ สธกจ็ ะได้รบั การลงโทษอยา่ งรุนแรง

ปฏิบัติการเกณฑ์คนเข้ามาเป็นแนวร่วมของสมาชิกพรรคหากครอบครัวใดมีบุตรมากกว่า 3 คน จะตอ้ งส่งบุตรเข้ามาเป็นสมาชิกของพรรคอย่างน้อย 1 คน

ปฏิบัติการแทรกซึมเข้าไปในหมู่บ้านชาวไทย โดยพรรคจะให้สมาชิกของตนแยกย้ายกันไป ตามหมู่บ้าน ต่าง ๆ บริเวณ ชายแดน เพื่อทำหน้าท่ีดูแลความเรียบร้อย ไม่ว่าจะเป็นตัดสินคดคี วาม ออกกฎต่าง ๆ ตลอดจนไปถึงมีอำนาจในการเลือกผนู้ ำหมบู่ ้าน49

อีกทั้งพรรคคอมมิวนิสต์มลายายังมีการจัดตั้งองค์กรแนวร่วมต่าง ๆ ขึ้นมาอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็น สันนิบาตเยาวชนคอมมิวนิสต์มลายา สันนิบาตเยาวชนประชาธิปไตยใหม่มลายา พรรคภราดรอสิ ลาม มิกชน สมาคมสตรี สมาคมหมู่บ้าน เป็นต้น โดยการจัดตั้งองค์กรเหล่านี้เพื่อช่วยให้พรรคสามารถ ดำเนินการได้อย่างราบรื่น ซึ่งองค์กรเหล่านี้จะกระจายอยู่ทั่วไปในเขตชายแดนไทย-มาเลเซีย มีหน้าท่ีปฏิบตั ิงานเพื่อ สนับสนนุ การทำงานกรมตา่ ง ๆ ของพรรคคอมมิวนิสต์มลายา50

49 Plydamkwan Channel, “EP 26 l ย้อนอดีตที่ปลายด้ามขวาน: “จคม.” หนว่ ยรบใต้ดินแห่งมลายา l OA291163,” (วิดิโอ), 29 พฤศจิกายน 2563, สบื ค้น เมือ่ วันที่ 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, //www.youtube.com/watch?v=gjZyma0ITtk.

50 นันทวรรณ ยอดพิจติ ร, อา้ งแล้ว 10,45-46.

420

3.2 ไทยกับปัญหาพรรคคอมมิวนสิ ต์มลายา ในระยะแรกสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์มลายาที่เข้ามาหลบซ่อนและแฝงตัวอยู่ตามบริเวณ

แนวพรมแดน ไทย-มาเลเซีย เพียงต้องการแค่สะสมเสบียงอาหาร อุปกรณ์ และกำลังพลให้เข้มแข็ง เพื่อที่จะเข้าไปปฏิบัติการในมาเลเซียได้อีกครั้ง แต่ต่อมาพรรคคอมมิวนิสต์มลายาได้ขยายการ ปฏบิ ัติการออกไป สง่ ผลให้ประเทศไทย ต้องประสบปัญหาอนั เน่อื งมาจากพรรคคอมมวิ นิสตม์ ลายา 3.2.1 ปญั หาความมั่นคงของประเทศไทย

ภายหลังจากที่พรรคคอมมิวนิสต์มลายาเข้ามาในประเทศไทยได้มีการขยายปฏิบัติการ ออกไป เพ่ือต้องการหามวลชนมาสนับสนนุ พรรคให้มากข้นึ ประเทศไทยจงึ ได้รบั ผลกระทบอย่างมาก จากการ ปฏิบัติการของพรรค และทำให้ปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์มลายากลายมาเป็นปัญหาสำคัญ ทส่ี ่งผลกระทบต่อความม่ันคงด้านตา่ ง ๆ ของประเทศไทย ดงั น้ี

ด้านเศรษฐกิจ พรรคคอมมวิ นสิ ต์มลายาได้มีการเรย่ี ไรเงิน รวมไปถึงเสบียงอาหาร เครื่องใช้ ประเภท ตา่ ง ๆ และยารกั ษาโรค จากประชาชนที่อยู่ในพืน้ ทจี่ ังหวดั ชายแดนภาคใต้ หากผู้ใดไม่มีเงิน จ่ายจะต้องเข้าไปเป็นกำลังของพรรคแทนผู้ใดปฏิเสธที่จะให้ความร่วมมือก็จะได้รับการลงโทษอย่าง รุนแรง การขู่บังคับเรี่ยไรเงินจากประชาชนนั้น ทำให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว และไม่กล้า ออกไปประกอบอาชีพได้อย่างเต็มที่ ในแต่ละปีประชาชนต้องเสียเงินสนับสนุนพรรคประมาณ ปีละกว่า 100 ล้านบาท และทางราชการก็สูญเสียทรัพย์สิน เพื่อใช้ในการปราบปรามพรรค ปลี ะกว่า 200 ลา้ นบาท51อกี ทง้ั ปัญหาพรรคคอมมิวนสิ ต์มลายายงั สง่ ผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ใหต้ ้องสูญเสียไป เพราะรัฐบาลไม่สามารถเข้าไปพัฒนาเศรษฐกิจในบริเวณ ดังกลา่ วไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี

ด้านสังคมและจิตวิทยา เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์มลายาเข้ามาตั้งฐานปฏิบัติการอยู่ ภายในประเทศไทย พรรคก็ได้พยายามแสวงหาการสนับสนุนจากประชาชนในพื้นที่ ซึ่งพรรคจะใช้ วิธีการโฆษณาชวนเชื่อ โดยการ ชักจูงให้ประชาชนเห็นถึงข้อดีตา่ ง ๆ ของการเข้ามาสนับสนุนพรรค การท่ีประชาชนชาวไทยจำนวนมากหลงเชื่อ และหลงผิดเขา้ ไปเปน็ สมาชิกของพรรคคอมมิวนิสต์มลา ยา ได้ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติในด้านสังคม และจิตวิทยา เพราะทำให้ประชาชนหันไป นยิ มกลุ่มผ้กู ่อการรา้ ย และยังทำใหเ้ กดิ ช่องวา่ งระหว่างรัฐกับประชาชน

ด้านการเมือง พฤติกรรมของพรรคคอมมิวนิสต์มลายานั้นเป็นภัยโดยตรงกับการเมือง การปกครองไทยอย่างมาก เนื่องจากพรรคได้มีการสอดแทรกแนวคิดและอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ โดยพยายามชี้ให้ประชาชนรู้สึกว่ารัฐบาลไม่ให้ความเท่าเทียมกันต่อประชาชน โดยเฉพาะบุคคลที่มี เชื้อสายมุสลิมทำให้ประชาชนเกิดความรู้สึกต่อต้านรัฐบาล และหันไปเข้าร่วมกับพรรค นอกจากนี้ พรรคยังได้มีการสร้างอำนาจซ้อน รัฐ โดยจัดส่งสมาชิกไปทำหน้าที่ดูแลความเรียบร้อยตามหมู่บ้าน

51 มานพ จติ ต์ภูษา และคณะ, ความรว่ มมือระหว่างไทยและมาเลเซียในการปราบปรามกองก าลงัทเี่ ป็นปฏิปักษ์ต่อรฐับาลไทยและ มาเลเซยี (ภาควชิ าสคั ศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี, 2525), 218.

421

แนวชายแดนที่ห่างไกลการดูแลจากเจ้าหน้าที่รัฐ อีกทั้งเข้าไปมีบทบาทในการจัดตั้งผู้นำของหมู่บ้าน สง่ ผลให้อำนาจรฐั เขา้ มาไมถ่ ึงประชาชน และประชาชน เกดิ ความเช่ือถือพรรคมากกวา่ เจา้ หนา้ ที่52

ด้านการทหาร เนอื่ งจากพรรคคอมมิวนิสต์มลายาใช้ยุทธวิธีในการรบแบบกองโจร ตามแบบ ของเหมา เจ๋อ ตุง ซึ่งจะเน้นการซุ่มยิง การก่อวินาศกรรมต่อสิ่งสาธารณประโยชน์ และหลอกล่อให้ เจ้าหน้าที่ติดตามเข้าไปค้นหาในพื้นที่ที่พรรคได้วางกับดักหรือระเบิดไว้ ทำให้ฝ่ายเจ้าหน้าที่ต้อง สูญเสยี เปน็ อย่างมาก53

3.2.2 ปัญหาความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศไทยกบั ประเทศมาเลเซีย ปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์มลายาได้ส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย

ให้เกิดความ หวาดระแวงต่อกัน เนื่องจากในช่วงแรกไทยเห็นว่าปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์มลายา ไม่ใช่ปัญหาโดยตรงของไทย เพราะพรรคมีจุดมุ่งหมายชัดเจนที่ต้องการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ประเทศของมาเลเซียไปเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ ประกอบกับไทยกำลังประสบปัญหาขบวนการโจร ก่อการร้ายเพื่อแบ่งแยกดินแดน 4 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ซึ่งเป็นปัญหาที่กระทบต่อความมั่นคง ในไทยโดยตรง ทำให้ไทยต้องเร่งแก้ปัญหานี้โดยเร่งด่วน ในขณะที่พรรคคอมมิวนิสต์มลายา ไม่ได้มีจุดประสงค์จะก่อการร้ายในไทยโดยตรง ทางการไทยจึงไม่ได้ออก นโยบายเกี่ยวกับ พรรคคอมมิวนิสต์มลายา มาเลเซียจึงเกิดความไม่ไว้วางใจไทยในการแก้ปัญหาดังกล่าว และคิดว่าไทยต้องการใช้ประเด็นเรื่องพรรคคอมมิวนิสต์มลายาไว้แลกเปลี่ยนกับกลุ่มขบวนการ ก่อการรา้ ยในไทย54

ถงึ แม้วา่ ในปี ค.ศ.1977 ไทยจะมคี วามพยายามในการแก้ไขปัญหาพรรคคอมมิวนสิ ต์มลายา อย่างจริงจัง แต่ก็ไม่ได้ทำให้ปัญหาความไม่ไว้วางใจต่อกันนี้หมดไป โดยจะเห็นว่ามีบ่อยครั้งที่ผู้นำ ของมาเลเซยี ออกมาพดู แสดงความไม่ไวว้ างใจต่อไทยในเร่อื งน้ี

ขณะเดียวกันไทยก็หวาดระแวงว่ามาเลเซียไม่จริงใจต่อการแก้ปัญหาการก่อการร้าย เพื่อแบ่งแยกดินแดนในไทยเช่นกัน เนื่องจากทางการไทยได้เสนอให้ขบวนการก่อการร้ายเป็นศัตรู รว่ มกันกับมาเลเซีย เหมือนกบั พรรคคอมมวิ นสิ ต์มลายาอย่หู ลายคร้ัง แต่ก็ไดร้ ับการปฏิเสธตลอดมา ทั้ง ๆ ที่พรรคคอมมิวนิสต์ มลายามีความสัมพันธ์กับขบวนการก่อการร้ายเพื่อแบ่งแยกดินแดน ในประเทศไทย โดยพรรคคอมมิวนิสต์ มลายากับขบวนการก่อการรา้ ยจะพ่ึงพากนั ในการจดั หาอาวุธ และมปี ฏบิ ตั กิ ารบางอย่างร่วมกัน เชน่ ร่วมมอื กนั ทำรา้ ยเจา้ หนา้ ทท่ี เ่ี ขา้ ไปปราบปราม เป็นตน้ 55

52 ชุมศักด์ิอินทร์รักษ์, อา้ งแล้ว 2,17. 53นันทวรรณ ยอดพิจติ ร, อา้ งแล้ว 10,72-74. 54อรชา รกั ดี, “6 ทศวรรษความสัมพันธ์ไทย-มาเลเซีย: เพอื่ นบ้านท่แี นบแน่น,” วารสารอลั ขฮิกมะฮุ มหาวิทยาลัยฟาฎอนี, 8, ฉ.15 (มกราคม-มิถุนายน 2561): 184-185.

55 นันทวรรณ ยอดพิจิตร, อ้างแล้ว 10,82-85.

422

4. ความรว่ มมอื ระหว่างไทยกับมาเลเซียในการจัดการพรรคคอมมิวนิสต์มลายา ความร่วมมือระหว่างไทยและมาเลเซียเริ่มต้นข้ึนจากการที่พรรคคอมมิวนิสต์มลายาได้เร่ิม

สร้างปัญหาต่าง ๆ ให้กับประชาชนไทยตามแนวชายแดนเพิ่มมากขึน้ ทำให้รัฐบาลไทยเริ่มตระหนัก ถึงปัญหานี้ และให้ความร่วมมือกับประเทศมาเลเซียในการปราบปราม โดยถือว่าพรรคคอมมิวนิสต์ มลายานี้เป็นศัตรูร่วมกัน ระหว่างไทยกับมาเลเซีย ซึ่งในบทนี้จะกล่าวถึงนโยบายต่าง ๆ ของไทย และมาเลเซีย ตลอดจนไปถึงความร่วมมือของทั้งสองฝ่ายในการจัดการพรรคคอมมิวนิสต์มลายา ซึ่งแบ่งเป็นสองช่วง ได้แก่ ช่วงก่อนปี ค.ศ. 1977 ที่ไทยยังมองว่าปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์มลายา ไม่ใช่ปัญหาโดยตรงของตน และหลังปี ค.ศ. 1977 ที่ไทยเริ่มมองเห็นว่าปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์ มลายาได้ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ และต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย กับมาเลเซยี รฐั บาลไทยจงึ ต้องเร่งแก้ปญั หาดังกลา่ วอยา่ งจรงิ จัง

4.1 นโยบายของมาเลเซียและไทยก่อนรว่ มมือจดั การพรรคคอมมิวนิสตม์ ลายา กอ่ นปี ค.ศ. 1977

เนื่องจากมาเลเซียมองว่าปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์มลายาส่งผลกระทบต่อความมั่นคง ของประเทศรัฐบาลมาเลเซียจงึ พยายามออกนโยบายต่าง ๆ เพื่อต้องการปราบปราม ถงึ แม้ว่าสมาชิก บางส่วนของพรรคได้หลบหนีการปราบปรามเข้ามาอยู่บริเวณชายแดนประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่เมื่อสบโอกาสก็ยังกลับเข้าไปก่อการร้ายในประเทศมาเลเซียอีก ทำให้รัฐบาลมาเลเซียยังคงออก นโยบายต่าง ๆ และเร่งทำข้อตกลงกับไทยเพื่อแก้ปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์มลายา ซึ่งมีรายละเอียด ดังน้ี 4.1.1 นโยบายเก่ียวกบั พรรคคอมมิวนิสตม์ ลายาของมาเลเซยี

ภายหลังประเทศมาเลเซียได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1957 รัฐบาลมาเลเซียยังคงกำหนด นโยบายต่าง ๆ เพื่อใช้ปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์มลายาต่อจากอังกฤษ เนื่องจากมองว่าปัญหา พรรคคอมมิวนิสต์มลายาส่งผลกระทบต่อความมั่นคง และต่อการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ปัญหาการก่อการร้ายของ พรรคคอมมิวนิสต์มลายา ที่ได้สร้างความเดือดร้อนให้แก่รัฐบาล และประชาชนเปน็ อยา่ งมาก ดงั น้นั รัฐบาล มาเลเซยี จงึ มนี โยบายทีส่ ำคัญ ดังนี้

นโยบายด้านการทหาร รัฐบาลมาเลเซียได้มีแนวทางในการปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์ มลายา ด้วยอาวุธ และวิธีการทางทหารที่รุนแรง โดยการพัฒนากองทัพ ทั้งกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทพั อากาศ เพ่อื ให้มปี ระสิทธภิ าพในการป้องกันและปราบปรามภัยจากคอมมวิ นิสต์ที่เกิดข้ึน ซึ่งทางรัฐบาลได้มีการจัดตั้ง หน่วยงานที่มีชื่อว่า คณะกรรมการปฏิบัติการแห่งชาติ (National Action Committee) ขึ้นมา เพื่อต่อต้านและ ปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์มลายา นอกจากนี้ฝ่าย ตำรวจกไ็ ด้เข้ามามีบทบาทมากขึ้น โดยมีการจดั ต้งั หนว่ ยปราบปรามที่เรียกวา่ หนว่ ยพเิ ศษ (Special Branch) ที่ทำหน้าที่รับผิดชอบในการปราบปรามคอมมิวนิสต์ ส่วนการปราบปรามพรรค คอมมิวนิสต์มลายาตามแนวชายแดนไทย-มาเลเซียนั้น ก็ยังคงมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

423

ภายใต้รหัสปฏิบัติการชื่อ กอนซาเลส (Gonzales) โดยใช้กำลังตำรวจ และทหาร ทั้งทางบก ทางเรอื และทางอากาศ ในการปฏบิ ตั ิการน้ี

นโยบายด้านกฎหมาย รัฐบาลมาเลเซียได้มีการประกาศพระราชบัญญัติฉบับใหม่ขึ้นมาใช้ ในการปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์มลายา คือ The Essential (Community Self-Reliance) Regulation ซึ่งได้ให้อำนาจรัฐในการจับกุมผู้ก่อการร้ายหรือผู้ที่บ่อนทำลายทางการเมือง โดยเป็นพระราชบัญญตั ฉิ บับพเิ ศษทไี่ ม่ต้องผา่ นการพิจารณาของรฐั สภา

นโยบายด้านสังคมและจิตวิทยา รัฐบาลมาเลเซียได้หันมาเน้นวิธีการในการรณรงค์ เพื่อต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อของพรรคอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐต่าง ๆ ในประเทศก็ได้จัดตั้งหน่วย ปฏิบัติการที่เรียกว่า คณะกรรมการปฏิบัติการ (Action Committee) ขึ้นเพื่อช่วยสนับสนุน การดำเนินงานของหน่วยงานสว่ นกลาง และรัฐบาลยังไดม้ กี ารจดั ทำใบปลิวเพื่อแจกจา่ ยไปยังพ้ืนท่ีป่า ในเขตรัฐเปรัค ซึ่งเป็นเขตปฏิบัติการที่สำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์มลายา โดยมุ่งหวังให้สมาชิก ของพรรค ฯ กลับใจ และออกมามอบตัวต่อทางราชการ เป็นต้น

นโยบายด้านเศรษฐกิจ รัฐบาลมาเลเซียได้ให้ความสำคัญกับนโยบายด้านเศรษฐกิจ เพ่อื เอาชนะใจประชาชนที่เคยตกอยภู่ ายใต้การครอบงำของพรรคคอมมิวนิสต์มลายาใหม้ ีสถานะทาง เศรษฐกิจที่ดีขึ้น โดย การจัดทำโครงการต่าง ๆ ที่สำคัญ ได้แก่ การสร้างทางหลวงจากฝั่งตะวันออก ไปยังฝั่งตะวันตกของประเทศที่เชื่อมระหว่างเมืองกริก (Gik) ของรัฐเปรัค กับเมืองเจลิ (Jei) ของรัฐกลันตัน การสร้างเขื่อนเตเม็งกอ (Temengor) เพื่อป้องกันน้ำท่วม และการสร้าง สาธารณปู โภคดา้ นไฟฟา้ เปน็ ตน้ 56 4.1.2 นโยบายเก่ียวกับพรรคคอมมิวนสิ ตม์ ลายาของไทย

ในระยะนี้ทางการไทยเห็นว่าปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์มลายาไม่ใช่ปัญหาโดยตรงของไทย เนื่องจาก พรรคมีจุดมุ่งหมายชัดเจนที่ต้องการจะล้มล้างรัฐบาลมาเลเซีย อีกทั้งขณะนั้นไทยก ำลัง ประสบปัญหา ขบวนการโจรก่อการร้ายเพื่อแบง่ แยกดินแดน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึง่ เปน็ ปัญหา ที่กระทบต่อความมั่นคง ในไทยโดยตรง ทำให้ไทยต้องเร่งแก้ปัญหานี้โดยเร่งด่วน ในขณะที่พรรค คอมมิวนิสต์มลายาไม่ได้มีจุดประสงค์จะก่อการร้ายในไทยโดยตรง ทางการไทยจึงไม่ได้ออกนโยบาย เกี่ยวกับพรรคคอมมิวนิสต์มลายา แต่ก็ให้ความร่วมมือกับรัฐบาลมาเลเซียในการแก้ปัญหาดังกล่าว ในรูปแบบของการทำข้อตกลงระหวา่ งกัน57

4.1.3 ข้อตกลง ไทย-มาเลเซยี สมาชกิ บางส่วนของพรรคคอมมิวนสิ ต์มลายาได้หลบหนีการปราบปรามจากรฐั บาลมาเลเซีย

เข้าไป ซ่องสุมก าลังบริเวณชายแดนประเทศไทย แล้วกลับมาก่อการร้ายในประเทศมาเลเซีย ดังนั้นรัฐบาลมาเลเซียจึง ขอความร่วมมือจากไทยในการทำข้อตกลงเพื่อปราบปรามพรรค

56 นนั ทวรรณ ยอดพิจติ ร, อา้ งแลว้ 10,34-42. 57เอกรินทร์ บ ารงุ ศกั ดิ์, อ้างแล้ว 11.

424

คอมมิวนิสต์มลายาร่วมกัน ถึงแม้ว่าช่วงนี้ไทย ยังไม่ได้ให้ความสำคัญกับปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์ มลายา แต่ด้วยต้องการรักษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับมาเลเซียไว้ จึงต้องยินยอมให้ความ ร่วมมือ โดยนับตัง้ แต่มาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี ค.ศ. 1957 ได้ทำข้อตกลงด้วยกนั หลาย ฉบบั ดังน้ี

ข้อตกลงปี ค.ศ. 1959 เป็นความร่วมมือกันเพื่อจัดตั้งหน่วยปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์ มลายา ขึ้นมาใหม่ ให้มีประสิทธิภาพในการปราบปรามดยี ง่ิ ขึน้

ข้อตกลงปี ค.ศ. 1963 เป็นข้อตกลงเพื่อให้มีการยกเลิกข้อตกลงฉบับเดิม และให้ทำ ข้อตกลงฉบบั ใหมข่ น้ึ มาแทน

ข้อตกลงปี ค.ศ. 1967 มีการกำหนดให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นมา 2 ชุด คือ คณะกรรมการ ชายแดนทั่วไป (General Border Committee) และคณะกรรมการชายแดน ส่วนภูมิภาค (Regional Border Committee) โดยกำหนดให้คณะกรรมการทั้งสองมีหน้าที่หารือ ร่วมกัน เพือ่ หามาตรการในการปราบปรามพรรคคอมมิวนสิ ตม์ ลายาอย่างเหมาะสม

ขอ้ ตกลงปี ค.ศ. 1970 เป็นข้อตกลงทปี่ รับปรุงมาจากความตกลง ค.ศ. 1967 เพ่ือใหม้ คี วาม เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมมากยิ่งขึ้น โดยได้กำหนดให้คง คณะกรรมการท้งั 2 ระดบั ขา้ งตน้ ไว้58 4.2 นโยบายของมาเลเซยี และไทยหลังรว่ มมือจัดการพรรคคอมมิวนิสต์มลายา หลงั ปี ค.ศ. 1977

แม้ว่าที่ผ่านมารัฐบาลมาเลเซียและไทยได้ร่วมมือกันปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์มลายา แต่ก็ไม่สามารถปราบปรามให้หมดลงได้ ในขณะเดียวกันปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์มลายาได้ส่งผล กระทบต่อความมั่นคงของไทย และต่อความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซีย กอปรกับความ หวาดกลัวลัทธิคอมมิวนิสต์ภายใต้ บริบทของยุคสงครามเย็นอยู่แล้ว ไทยจึงต้องกำหนดนโยบาย ความร่วมมือกับต่างประเทศมากขึ้น และต้องการแก้ปัญหานี้จริงจัง ส่งผลให้ไทยได้กำหนดนโยบาย ในการปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์ภายในประเทศและ ร่วมมือในการก าหนดข้อตกลงระหว่าง ไทย-มาเลเซยี ต้ังแตป่ ี ค.ศ. 1977 เปน็ ตน้ มา โดยจะมคี วามเข้มขน้ และ จริงจงั มากขน้ึ สว่ นมาเลเซีย ยังคงดำเนินนโยบายปราบปรามพรรคคอมมวิ นสิ ต์มลายาอยา่ งต่อเน่ือง......... 4.2.1 นโยบายเก่ียวกับพรรคคอมมิวนิสตม์ ลายาของมาเลเซีย

นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1977 เป็นต้นมา รัฐบาลมาเลเซียยังคงเน้นนโยบายการใช้กำลังเข้า ปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์อย่างรุนแรงโดยต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าภายหลังไทยจะมีนโยบายผ่อนปรน ทางทหาร แล้วหันมาใช้แนว ทางการเจรจาอย่างสันติ และพยายามเชิญมาเลเซียเข้ามาร่วมการ เจรจาอยู่หลายครั้ง แต่มาเลเซียยังคงปฏิเสธนโยบายดังกล่าว และมองว่าการเจรจาด้วยสันติวิธี ไม่อาจรับประกันได้ว่าพรรคคอมมิวนิสต์มลายาจะไม่สร้างความเดือดร้อนให้กับมาเลเซียอีก ดังนัน้ การใชก้ ำลงั ปราบปรามต่อไปเป็นประโยชน์กับมาเลเซียมากกว่า

58 นันทวรรณ ยอดพิจิตร, อ้างแลว้ 10,53-54.

425

ต่อมาในปี ค.ศ. 1986 จึงเริ่มหันมาใช้นโยบายผ่อนปรนทางทหาร โดยสาเหตุมาจาก เหตุการณ์ที่ รัฐบาลมาเลเซียประสบความสำเร็จจากการใช้นโยบายผ่อนปรนทางทหารจนทำให้ ผู้ก่อการร้ายในรัฐ ซาราวัคลดลงจากพันกว่าคนเหลือเพียงไม่ถึงร้อยคน ซึ่งมาเลเซียคาดว่าในกรณี พรรคคอมมวิ นสิ ตม์ ลายาก็อาจประสบความสำเร็จเช่นเดียวกัน รวมท้ังยงั พจิ ารณาเหน็ ว่าแนวทางการ เจรจาอยา่ งสนั ติที่ไทยใช้สามารถทำให้สมาชิกบางสว่ นของพรรคมอบตวั ได้ในปี ค.ศ. 1987 อกี ทั้งการ ใชว้ ธิ ีเจรจาแทนการต่อส้ดู ้วยอาวธุ ยอ่ มจะสามารถลดการสญู เสียชีวิตของทหาร ตำรวจ และเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องได้ นับแต่นั้นจึงมีการเจรจากับแกนนำ พรรคคอมมิวนิสต์มลายาเพื่อหาข้อตกลงกัน ในประเด็นต่าง ๆ จนสุดท้ายสามารถหาข้อตกลงร่วมกันได้ และได้ ลงนามสนธิสัญญาสันติภาพ เพอื่ ยุติปญั หาดังกล่าวอย่างเป็นทางการเม่ือวนั ที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 198959 4.2.2 นโยบายเกี่ยวกับพรรคคอมมิวนิสตม์ ลายาของไทย

ปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์มลายาได้ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศไทย และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศไทย-มาเลเซีย กอรปกับความหวาดกลัวลัทธิคอมมิวนิสต์ภายใต้ บริบทของยุคสงครามเย็นอยู่ แล้วทำให้รัฐบาลไทยได้กำหนดนโยบายต่าง ๆ เพื่อป้องกันและ แก้ปัญหาลัทธิคอมมิวนิสต์ รวมไปถึงได้ก าหนด นโยบายจัดการกับปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์มลายา อยา่ งจริงจังมากขนึ้

นับตั้งแต่ปี ค.ศ.1977 เป็นต้นมา รัฐบาลไทยใช้นโยบายการทหารน าการเมือง โดยเน้นการ ใชก้ าลังเขา้ ปราบปรามพรรคคอมมิวนสิ ต์มลายาอย่างรนุ แรง ก าลงั ทหารและอาวุธเป็นหลักส าคัญ ในการต่อสู้ รวมท้งั ยุทธวิธตี า่ ง ๆ เชน่ การคน้ หา ท าลาย การปดิ ล้อม ตรวจค้น จับกุม และใช้กองก าลังบุกเข้าโจมตีต่อฐานก าลัง ของพรรคอย่างต่อเนื่องและรุนแรง เพื่อกดดันให้พรรคสลายตัวหรือ มอบตวั ในที่สุด ประกอบกับช่วงนี้เปน็ ชว่ งที่ นายกรฐั มนตรี ณ ขณะน้ัน คอื นายธานินทร์ กรัยวิเชียร มีแนวคิดและการด าเนินงานในการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างรุนแรง อันเนื่องมาจากการใช้ นโยบายผูกพันกับสหรัฐอเมริกาและต่อต้านคอมมิวนิสต์60 ต่อมาในปี ค.ศ. 1980 เป็นต้นมา ไทยได้ เปลี่ยนมาใช้นโยบายการเมืองนำการทหาร หรือคำสั่ง 66/23 ซึ่งนโยบายนี้เป็นคำสั่งของ นายกรัฐมนตรี ณ ขณะนั้น คือ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ จุดประสงค์ของนโยบายนี้ เพื่อต้องการ เอาชนะคอมมิวนิสต์โดยเน้นแนวทางการต่อสู้อย่างสันติ จัดการความอยุติธรรมทางสังคม ส่งเสริม การมีส่วนร่วมทางการเมืองและการกระบวนการประชาธิปไตย มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมต่อผู้ แปรพกั ตร์ จากพรรคคอมมิวนสิ ต์มลายา และมกี ารนำเอาประชาชนที่อยู่ในเขตเป้าหมายให้มาอยู่กับ ฝ่ายรัฐบาล ใน ขณะเดียวกันก็เร่งเข้าไปปราบปรามอิทธิพลจากลัทธิคอมมิวนิสต์ให้หมดสิ้นไป นอกจากนี้ได้มีการนำนโยบาย ดังกล่าวมาปรับใช้กับนโยบายอื่น ๆ เช่น แนวทางการเมืองน าการทหาร นโยบายใต้ร่มเย็น อีกทั้งได้มีการออกคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 5/24 ที่ 65/25

59 วนั ชยั จติ ตจ์ ำนงค์, “ปญั หาชายแดนภาคใต้,” จติ วทิ ยาความมน่ ัคง, 2530, 307.

60 ชัยโชค จุลศริ วิ งศ์, 5 ทศวรรษ การต่างประเทศของไทย จากความขดัแยง้สู่ความรว่ มมอื , (คณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2536), 128-135.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ