Infographics ว ทยาการคอมพ วเตอร ประย กต ศร ปะท ม

รายงาน วิชาวิทยาการคำนวณ รหัส ว30118 จดั ทำโดย 1. นางสาววรัญญา น่มุ แปลก เลขท่ี 14 2. นางสาวภัทรวดี เผือกน้อย เลขที่ 17 3. นางสาวกลุ ณัฐ สนิสรุ ิวงษ์ เลขที่ 22 4. นางสาวพิมพม์ าดา ศรบี า้ นดอน เลขที่ 23 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5/11 เสนอ คณุ ครจู ิรายุ ทองดี รายงานเลม่ นีเ้ ปน็ สว่ นหนึง่ ของรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณ รหัส ว30118 โรงเรียนนวมนิ ทราชินูทศิ เตรียมอุดมศึกษานอ้ มเกล้า ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 สังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

ก คำนำ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาวิทยาการคำนวณรหัส ว30118 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยมี จุดประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรม ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม โครงสร้างภาษาคอม พิวเตอร์ กระบวนการเขยี นโปรแกรม ในการจัดทำรายงานประกอบสื่อการเรียนรู้ในครั้งน้ี ผู้จัดทำขอขอบคุณ ครูจิรายุ ทองดี ผู้ให้ความรู้ และ แนวทางการศึกษา และเพื่อน ๆ ที่ให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้ จะอำนวยประโยชนต์ อ่ ผทู้ ี่สนใจและศึกษาเนอ้ื หาเพิม่ เตมิ และพฒั นาศกั ยภาพ และบรรลตุ ามเป้าหมาย นางสาววรัญญา นุ่มแปลก ผจู้ ดั ทำ

สารบญั ข เร่ือง หนา้ คำนำ ก สารบญั ข 1. วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) 1 1.1 การนำวิทยาการคอมพิวเตอร์ไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน 1 1.2 ส่อื ดจิ ทิ ัลในชวี ติ ประจำวนั 5 1.3 ประเภทของสื่อดิจทิ ัล 6 1.4 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 7 8 2. กระบวนการเทคโนโลยี (Technology process) 9 2.1 การจดั การข้อมูล 9 2.2 หลักในการบริหารข้อมูล 10 2.3 วตั ถุประสงคใ์ นการจดั การข้อมลู 11 2.4 ประเภทขอ้ มูล 13 13 3. พืน้ ฐานภาษาซี (C Language basic) 15 3.1 กำเนดิ ภาษาซี 15 17 4. เทคโนโลยีประยุกต์ (APPLICATION TECHNOLOGY) 18 4.1 การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นการศกึ ษา 4.2 การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยสี ารสนเทศด้านธุรกิจ 19 4.3 การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศดา้ นสาธารณสุขและการแพทย์ 20 - 21 บรรณานกุ รม ภาคผนวก

1 1. วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) วิทยาการคอมพิวเตอร์ หมายถึง ศาสตร์ที่เรียนรู้เกี่ยวกับการศึกษาทฤษฎีการคำนวณสำหรับ คอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ประกอบดว้ ย ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟต์แวร์ ในปจั จบุ นั มีการพัฒนา ไปอย่างรวดเร็วทั้งด้านอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ รวมถึงเทคโนโลยีอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น เทคโนโลยีด้านการสื่อสาร เพื่อตอบสนองการใช้งานด้านต่างๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน เช่น การจัดทำรายงานด้วยโปรแกรม Microsoft Word การคำนวณยอดขายด้วยโปรมแกรม Microsoft Excel การนำเสนอข้อมูลด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint การค้นหาข้อมูลจาก Google Chrome การติดต่อส่ือสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ด้วย Facebook, Messenger, Line เป็นตน้ การนำวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ไปใช้ในชีวติ ประจำวัน 1. การพัฒนาซอฟตแ์ วร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ ด้วยการเขียนโปรแกรมภาษาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมภาษาไพทอน โปรแกรมภาษาซี หรือโปรแกรมภาษาจาวา จะต้องเรียนรู้ถึงหลักการเขียนโปรแกรมและ การออกแบบอัลกอริทึม เพื่อใช้ใน การ พัฒนาซอฟต์แวร์ออกมาให้มปี ระสิทธิภาพตรงตามความต้องการของผู้ ใช้งานทง้ั ที่อยู่ในรูปแบบ ของเว็บแอปพลิเค ชัน โมบายแอปพลิเคชัน เดสก์ท็อปแอปพลิเคชัน เกม และการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ฝังตัวลงบนอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชนั ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเบือ้ งต้นแก่ผู้ที่มี อาการ เจ็บป่วย

2 2. โครงสรา้ งการควบ คุมระบบคอมพิวเตอร์ เป็นการเรียนรู้โครงสร้างและสถาปัตยกรรมทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์พ้นื ฐานท่ีคอมพิวเตอร์ต้องมีเพ่ือใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ ใช้งานที่เรยี กว่า ระบบปฏิบัติการ ให้ทำงาน ได้เร็วและมีความเสถียรภาพ มีวงจรคอมพิวเตอร์ที่ใช้เฉพาะงานที่เรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ รวมถึงการเข้ารหัส ถอดรหัส เพื่อใช้ในการควบคุมดูแลความปลอดภัยของข้อมูลที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และบนเครือข่าย คอมพิวเตอร์ โดยโครงสร้างของระบบคอมพวิ เตอรจ์ ะต้องประกอบไปด้วยสว่ นประกอบสำคญั 3 สว่ น คือหน่วยรับ ข้อมูล หน่วยประมวลผลข้อมลู และหนว่ ยแสดงผลขอ้ มลู 3. การสือ่ สารระหวา่ งเคร่ืองคอมพิวเตอร์หรอื อุปกรณ์สอ่ื สาร เป็นการศึกษาเกยี่ วกบั ทฤษฎีการสื่อสารข้อมูล โครงสร้าง และโปรโตคอลของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ การนำคอมพวิ เตอร์หรืออุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ตา่ ง ๆ มาเชื่อมต่อผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถใช้งาน ร่วมกัน รวมถึงการนำ-คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศไปให้บริการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต็ และเครื่องมอื ตา่ ง ๆ เช่น สมารต์ โฟนแทบ็ เล็ท เพือ่ ให้การส่อื สารเปน็ ไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3 4. การนำไปใชง้ านดา้ นกราฟิกและมัลติมีเดีย เป็นการประยุกต์เอาหลกั การทางคณิตศาสตร์ไปผสานเข้ากับการออกแบบชิน้ งานรปู ร่างต่างๆ รวมถึงการ จดั การเรอ่ื งของภาพน่ิงภาพเคล่ือนไหวและเสยี ง โดยเฉพาะปจั จุบนั ในเร่อื งของเทคโนโลยีการประมวลผลภาพ เป็น กระบวนการจัดการวิเคราะหส์ ารสนเทศของรูปภาพ โดยใชค้ อมพวิ เตอร์ ในการประมวลผลเชน่ ระบบการตรวจจับ ใบหน้า การตรวจจับความเคลื่อนไหวของวัตถุ ซึ่งมีหลักการที่สำคัญ คือ การทำให้ภาพมีความคมชัดปราศจาก สัญญาณรบกวน โดยการแบ่งส่วนของวัตถุที่สนใจออกจากภาพ เพื่อนำภาพวัตถุที่ได้ไปวิเคราะห์หาข้อมูลเชิง ปริมาณ เช่น ขนาด รูปร่าง ทิศทางการเคลื่อนที่ของวตั ถุจะเห็นได้วา่ ระบบต่าง ๆ ที่ ใช้เทคโนโลยีการประมวลผล ข้อมูลจะมีการประมวลผลภาพเป็นจำนวนมาก และเป็นกระบวนการที่ต้องทำซ้ำๆ ในรูปแบบเดิม ซึ่งงานใน ลักษณะนี้หากใช้คนในการวิเคราะห์ จะต้องใช้กำลังคนในการทำงานสูงใช้เวลาในการวิเคราะห์ข้อมูลนานและ อาจจะทำให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นได้ ดังนั้นคอมพิวเตอร์จึงเป็นองค์ประกอบสำคัญในการทำหน้าที่วิเคราะห์และ ประมวลผลภาพในระบบต่าง ๆ 5. การประยุกต์ใชง้ านอย่างชาญฉลาด เป็นการสร้างระบบสารสนเทศที่มีความชาญฉลาดหรือปัญญาประดิษฐ์ เพื่อนำไปประยุกต์ ใช้ ในการ ทำงาน โดยเป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศที่มีแม่แบบมาจากมนุษย์ หรือการเลียนแบบพฤติกรรมของมนุษย์ซึ่ง เปน็ การเรียนรู้เกย่ี วกบั กระบวนการคดิ การกระทำ การให้เหตุผล การอนมุ าน การทำงานของสมอง และในปจั จบุ ัน มกี ารพัฒนาความสามารถของปัญญาประดิษฐ์ เพอ่ื ท่จี ะนำเข้ามาชว่ ยงานในด้านต่าง ๆ มากมาย เชน่ หุ่นยนต์ดูแล ผู้ป่วยและผู้สูงอายุ หุ่นยนต์เพื่อการแพทย์คอยช่วยเหลือในการผ่าตัด หุ่นยนต์เพื่อจัดการด้านการผลิตใน ภาคอตุ สาหกรรม

4 6. การคำนวณและการประยกุ ต์ ใชง้ านระดับสูง เป็นการศึกษาค้นคว้าและนำไปใช้เกี่ยวกับหลักการคำนวณของเครื่องคอมพิวเตอร์ และวิธีการนำ คอมพิวเตอร์ไปใช้ในงานระดับสูงที่มีความยากในการนำไปประยุกต์ใช้งาน เช่น งานด้านชีวภาพ งานด้าน วิทยาศาสตร์ งานด้านมลั ตมิ ีเดียขนั้ สงู เชน่ 1) ระบบสนบั สนุนการตดั สินใจ (Decision Support System : DSS) • โปรแกรมพยากรณ์อากาศ • โปรแกรมแจ้งเตอื นภยั ธรรมชาติ 2) ระบบผเู้ ช่ียวชาญ (Expert System : ES) • โปรแกรมตรวจและวินจิ ฉยั โรค • โปรแกรมจำแนกองค์ประกอบของสสาร

5 ส่ือดิจทิ ลั ในชวี ติ ประจำวนั องคป์ ระกอบของสอื่ ดิจิทัล 1. ข้อความ เปน็ ส่วนทเี่ ก่ียวข้องกบั เนื้อหา เพอ่ื ใช้แสดงรายละเอยี ดของเรื่องที่นำเสนอซ่ึงถือว่าเป็นองค์ประกอบ พนื้ ฐานทส่ี ำคัญ 2. เสยี ง ถูกจดั เกบ็ อยู่ในรูปของสัญญาณดิจทิ ลั โดยสามารถที่จะปรบั แต่งโดยใชโ้ ปรแกรมจดั การด้านเสยี ง เพ่อื ให้ เสียงทไ่ี ดย้ ินมีความน่าสนใจ 3. ภาพนิ่ง เป็นภาพท่ีไมม่ ีการเคลอื่ นไหว โดยอาจเป็นภาพถ่าย ภาพวาด หรอื ภาพที่ตกแตง่ ข้ึนมาด้วยโปรแกรม เฉพาะทาง ในปจั จบุ ันภาพนบั ว่าเป็นส่วนที่มีผลต่อผคู้ นเปน็ อยา่ งมากในการนำเสนอผา่ นสื่อดจิ ิทัล ซ่ึงภาพน้นั สามารถใช้สื่อความไดด้ ีกวา่ ตัวอกั ษร และสามารถนำเสนอผา่ นส่อื 4. ภาพเคล่ือนไหว เปน็ ภาพกราฟิกที่มีการเคล่ือนไหวเพอื่ แสดงให้เห็นถงึ ข้ันตอนหรือปรากฏการณท์ ่ีเกดิ ข้ึนอยา่ ง ตอ่ เนอ่ื ง ทงั้ นี้เพอ่ื สรา้ งสรรคจ์ ินตนาการให้เกดิ แรงจูงใจจากผเู้ ข้าชมเนอื้ หา 5. วิดีโอ ถือเปน็ ส่ือดิจทิ ัลท่ีได้รบั ความนยิ มอย่างมาก เพราะสามารถนำเสนอข้อมูลทุกอยา่ งได้ ท้งั ข้อความ เสยี ง ภาพน่งิ ภาพเคล่ือนไหว

6 ประเภทของสื่อดจิ ิทัล เน่ืองจากความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยที ำให้สื่อดจิ ิทัลมีมากมายในปจั จบุ ัน โดยทีส่ ื่อดจิ ิทลั จะมลี กั ษณะและ ประสทิ ธภิ าพทีแ่ ตกตา่ งกนั ในแต่ละประเภท ซ่ึงสือ่ ดจิ ิทลั ที่พบเหน็ ได้ ในปจั จบุ ันมีตัวอย่างดังน้ี 1. เว็บไซต์ (Website) คือ ส่ือท่นี ำเสนอข้อมูลผา่ นอิน ทอรเ์ นต็ สามารถเขา้ ถึง ไดผ้ ่านนทางเวบ็ บราวเซอร์ ซ่งึ เนอ้ื หาของส่ือจะประกอบ ไปดว้ ยข้อความเสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลอ่ื นไหว และวดิ โี อ 2. ซีดี/ดีวดี ี (CD/DVD) คือ สอื่ ท่ีสามารถใช้อ่าน (Read)และบนั ทึก (Write) ข้อมลู ภาพ เสียง วิดีโอ รวมถึงข้อมูล ทางคอมพิวเตอร์ เช่น ไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง ไฟล์วดิ ีโอ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 3. วิทยุดิจิทัล (Digital Radio) คือ วิทยทุ ่ีสามารถรบั การส่งผา่ นของคลื่นเสียง ภาพ และข้อความดว้ ยสัญญาณ ดิจิทลั โดยผฟู้ งั จะสามารถฟังเสยี ง ดูภาพ และอ่านข้อความไปพร้อม ๆ กันได้ 4. พอดแคสต์ (Podcast) คือ การเผยแพรเ่ สียงและวดิ ีโอผ่านอินเทอรเ์ น็ต ซึ่งผู้ใช้งานสามารถโหลดเกบ็ ไว้ดู หรือฟังเมอ่ื ไรก็ได้ โดยไมจ่ ำเป็นต้องต่ออนิ เทอรเ์ น็ตไวต้ ลอดเวลา

7 เทคโนโลยสี ารสนเทศ การนำเทคโนโลยีมาใช้ ในการดำเนินชีวติ จะเปน็ การนำเทคโนโลยเี ขา้ มาชว่ ยในการจัดหาข้อมูล วิเคราะห์ ข้อมูลประมวลผลข้อมูล จัดการและจัดเก็บข้อมูล เรียกใช้หรือแลกเปลี่ยนข้อมูล และเผยแพร่ข้อมูลโดยข้อ-มูลที่ กล่าวถึงนั้นเป็นได้ทั้งข้อความ ภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหว เสียง วิดีโอ และในปัจจุบันข้อมูลต่าง ๆ มีเป็นจำนวนมาก ดังนั้น เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์จึงมีความสำคัญเป็นอย่างมากในการเข้ามาดำเนินการ กับข้อมูลต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นแต่ทั้งนี้การแสวงหาและการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารอย่างถูกต้อง รวดเร็วประหยัดค่าใช้จ่าย และมี ประสทิ ธภิ าพ ก็จำเปน็ ตอ้ งอาศยั เทคโนโลยีโทรคมนาคมร่วมด้วยนอกจากน้ีการที่สารสนเทศจะก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อผู้ใช้งานกต็ ้องอาศยั ทั้งเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีโทรคมนาคม ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าเทคโนโลยี สารสนเทศครอบคลุมหลาย ๆ เทคโนโลยีหลักเช่น เทคโนโลยีด้านฮาร์ดแวร์ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล เครือข่าย อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ต่าง ๆเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันมคี วามสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพและสมรรถภาพ ในหลาย ๆ ด้าน เช่น การลดต้นทุนหรือลดค่าใช้จ่าย การเพิ่มคุณภาพของสินค้าและบริการ การสร้างกระบวนการ หรือกรรมวิธีใหม่การสร้างผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ดังนั้นจึงเห็นว่าในปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน เกอื บทกุ กิจกรรมขององคก์ รหรือหนว่ ยงานเชน่ การแพทย์ การปกครอง สังคม เกษตรกรรมอุตสาหกรรม

8 2. กระบวนการเทคโนโลยี (Technology process) การจัดการขอ้ มลู บทบาทและความสำคญั ของการจดั การข้อมูล ข้อมูล (Data) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญส่วนหนึ่งของระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ การจัดการข้อมูล (Data Management) เป็นกลยุทธ์หนึ่งในการบริหารองค์การให้มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคของ เทคโนโลยีข่าวสาร คอมพิวเตอร์ที่เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว การจัดการและบริ หารองค์การให้ประสบ ความสำเร็จนั้น การตัดสินใจที่ถูกต้อง รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ถือเป็นหัวใจของการทำธุรกิจในยุคปัจจุบัน ดังนั้นการจัดการข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ เพื่อนำไปสู่การตัดสินใจที่ถูกต้องจะช่วยให้องค์การอยู่รอดได้ในการ แขง่ ขันกบั องค์การอน่ื ๆ ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ในเหตุการณ์ต่างๆ ที่ได้จากการสังเกต การจดบันทึก การสัมภาษณ์และการ สอบถาม แต่ข้อมูล นี้ตอ้ งยงั ไม่มีการประมวลผล ไม่มีการวิเคราะห์ หรือทเี่ รียกว่าเป็นข้อมูลดิบ โดยที่ยังไม่สามารถ นำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ทนั ที การจัดการข้อมูล คือ การบริหาร การจัดเก็บข้อมูล การประมวลข้อมูลให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่มีประโยชน์ที่พร้อมจะ สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ในทันทีการจัดการข้อมูลจะเกิดประโยชน์สูงสุดหรือประสิทธิภาพสูงสุดก็ต่อเมื่อผู้ใช้ ข้อมูลสามารถใช้ข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และเป็นกลางมากที่สุด เพื่อจะได้นำข้อมูลเหล่า นั้นมา ช่วยในการตัดสินใจหรือนำไปใช้ประโยชน์อื่นๆ ต่อไปใน ปัจจุบันนี้ข้อมูลต่างๆ ได้ถูกจัดการไว้อย่างเป็นระเบียบ โดยเก็บไว้ในสงิ่ ที่เรียกวา่ แฟม้ (File)

9 หลกั ในการบริหารขอ้ มลู ประกอบดว้ ย 1. ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล (Access) ได้ง่ายรวดเร็วและถูกต้อง โดยจะต้องมีการกำหนดสิทธิ ในการเรยี กใชข้ ้อมูลตามลำดับความสำคัญของผู้ใช้ 2. จะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล (Security) ข้อมูลที่จัดเกบ็ ไว้จะตอ้ งมีระบบรักษา ความ ปลอดภัยเพอ่ื ปอ้ งกันการจารกรรมข้อมลู 3. สามารถเปลย่ี นแปลงแก้ไขในอนาคตได้ (Edit) ท้ังนีเ้ นื่องจากแผนท่วี างไว้อาจจะตอ้ งมีการ เปล่ยี นแปลง ตามสถานการณจ์ ึงทำให้ต้องมกี ารจัดระเบยี บขอ้ มูล แก้ไขขอ้ มูลพร้อมทัง้ จดั หาข้อมลู มาเพิ่มเติม 4. ข้อมูลที่จัดเก็บอาจจะต้องมีการจัดแบ่งเป็นส่วนหรือสร้างเป็นตาราง เพื่อง่ายแก่การปรับปรุงข้อมูล ในลกั ษณะการจดั การฐานข้อมูลแบบสัมพนั ธ์ (Relational database) ซ่งึ จะกลา่ วถึงภายหลัง วตั ถุประสงค์ในการจดั การขอ้ มลู – การเกบ็ ข้อมูลเพือ่ ให้สามารถนำกลบั มาใช้ไดใ้ นภายหลงั – การจัดข้อมูลให้อยใู่ นรปู แบบท่ีสามารถเรียกใชไ้ ด้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ – การปรับปรุงข้อมูลใหม้ ีความถกู ตอ้ งสมบรู ณ์อยเู่ สมอ – การปกป้องข้อมูล จากการทำลาย ลักลอบใช้ หรือแก้ไขโดยมิชอบ รวมทั้งปกป้องข้อมูลจากอุบัติเหตุที่อาจเกิด จากวินาศภัยหรือความบกพรอ่ งภายในระบบคอมพิวเตอร์

10 ประเภทข้อมลู ข้อมูลทีน่ ำมาประมวลผลเพือ่ ใหเ้ ป็นสารสนเทศสามารถจำแนกตามลักษณะได้ 2 ลกั ษณะ คือ 1) จำแนกตามแหลง่ ทีม่ า 2) จำแนกตามรูปแบบของขอ้ มูล 1) ขอ้ มูลทีจ่ ำแนกตามแหล่งท่ีมา สามารถจำแนกออกเป็น 2 ประเภท คอื 1.1 แหล่งข้อมูลภายในองค์กร แบบนี้จะเป็นการเก็บข้อมูลที่เกิดขึ้นภายในหน่วยงานของตนเอง เช่น ข้อมูลของนักเรียน ข้อมูล ในบริษัท ขอ้ มูลในโรงพยาบาล เป็นตน้ 1.2 แหล่งข้อมูลภายนอกองค์กร เป็นข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งอื่นที่อยู่นอกหน่วยงาน ซึ่งข้อมูลเหล่าน้ี ส่วนมากจะเป็นข้อมลู ที่มี ความพิเศษกวา่ ข้อมลู ภายในองค์กร เพราะต้องอาศัยความสามารถของหน่วยงานอืน่ เขา้ มาเกี่ยวขอ้ ง เพื่อความเหมาะสม และ ความเปน็ ธรรมของข้อมูลน้นั ๆ เชน่ ตอ้ งการทราบอัตราการใชจ้ ำนวนไฟฟ้าท่ี มีจำนวนมากที่สุด 10 อันดับต้นของประเทศ จะเห็น ว่าการต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้จะต้องอาศัยแหล่งข้อมูล ของ ทอ่ี ืน่ เช่น หน่วยงานการไฟฟ้า หนว่ ยงานจัดเก็บค่าไฟฟ้า 2) ขอ้ มูลท่ีจำแนกตามรปู แบบของข้อมูล สามารถจำแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ 2.1 ขอ้ มลู ชั้นต้น หรือ ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) ขอ้ มลู ปฐมภูมิ (Primary data) คือ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงท่ีไดจ้ ากการเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากเเหลง่ ข้อมูล โดยตรง เช่น ข้อมลู จากการสมั ภาษณ์ การสงั เกต การทดลอง การทดสอบ ขอ้ มูลการเข้าชน้ั เรยี นของนกั เรียนเเต่ละ ภาคการศกึ ษา ซึง่ เก็บข้อมูลโดยวธิ กี ารเช็คช่ือเขา้ เรยี น เปน็ ต้น 2.2 ขอ้ มลู ชั้นทีส่ อง หรือ ขอ้ มลู ทุตยิ ภูมิ (Secondary data) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) คือ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ได้จากการนำข้อมูลที่ผู้อ่ืนรวบรวมไว้ อย่างเป็นระบบ มาใช้งานโดยไม่ต้องลงมือเก็บรวบรวมข้อมูลเอง เช่น สถิติจำนวนประชากรที่กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยรวบรวมการตีพมิ พ์เผยเเพร่ ซ่ึงสามารถนำเอาไปทำการประมวลผลตอ่ ได้ เปน็ ต้น

11 การประมวลผลผลข้อมูล การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหรือจัดระเบียบข้อมูลให้อยู่ใน รูปแบบที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งาน ข้อมูลโดยทั่วไปเกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระเบียบจากขบวนการนับหรือการวัด ไม่ สามารถสอ่ื ความหมายให้เข้าใจหรือใชป้ ระโยชน์ได้ การประมวลผลจึงเปน็ วธิ ีการนำข้อมลู (Data) กลายสภาพเป็น สารสนเทศ (Information) ท่ีมีประสิทธภิ าพและนำไปใชป้ ระโยชนต์ ่อไปได้ ซึ่งวธิ กี ารประมวลผลขอ้ มลู เพือ่ ให้ได้มา ซ่ึงสารสนเทศ มหี ลายวธิ ี ดังนี้ วธิ กี ารประมวลผลขอ้ มูล 1. การคำนวณ (Calculation) หมายถึง การนำข้อมูลที่เป็นตัวเลขมาทำการ บวก ลบ คูณ หารยกกำลัง เช่น การคำนวณภาษี การคำนวณคา่ แรง เปน็ ตน้ 2. การจัดเรียงข้อมูล (Sorting) เปน็ การเรยี งข้อมลู จากน้อยไปหามาก หรอื มากไปหานอ้ ย เพื่อทำให้ดูง่าย ขึ้น ค้นหาข้อมูลทีต่ ้องการได้เร็วขึน้ เช่น การเรียงคะแนนดบิ ของนักเรียนจากมากไปหานอ้ ย การเก็บบัตร ดัชนสี ำหรับหนังสือต่างๆ โดยการเรยี งตามตัวอักษร จาก ก ข ค ถงึ ฮ เป็นตน้ จะเห็นได้ว่าการเรียงลำดับ ข้อมูลสองประเภทใหญ่ๆด้วยกันคือ การเรียงข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric) และการเรียงข้อมูลที่เป็น ตัวอักษร (Alphabetic) สำหรับการจัดเรียงข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์นั้นถ้าข้อมูลเป็นตัวอักษรจะ จดั เรียงตามลำดับของรหัสแทนข้อมลู 3. การจัดกลุ่ม (Classifying) หมายถงึ การจดั ขอ้ มูลโดยการแยกออกเปน็ กลมุ่ หรือประเภทตา่ งๆ เชน่ การ นำข้อมูลเกี่ยวกับประวัตินักศึกษา มาแยกตามคณะต่างๆเช่น แยกเป็นนักศึกษาที่สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ นักศึกษาที่สังกัดคณะครุศาสตร์ เป็นต้น การทำเช่นนี้ทำให้การค้นหาข้อมูลทำได้ง่ายขึ้น และยังสะดวก สำหรับทำรายงานตา่ งๆ 4. การดึงข้อมูล (Retrieving) หมายถงึ การคน้ หาและการนำข้อมลู ท่ีตอ้ งการมาจากแหล่งเก็บเพอ่ื นำไปใช้ งาน เชน่ ตอ้ งการทราบค่าคะแนนเฉล่ียๆ สะสมของนักศึกษา ที่มีเลขประจำตวั 33555023 ซึ่งสังกัดคณะ วิทยาศาสตร์ ถ้าข้อมูลเรียงโดยแยกตามคณะวิชาและในแต่ละคณะวิชาเรียงตามหมายเลขประจำตัว การ ดึงข้อมูลจะเริ่มต้นค้นหาแฟ้มของคณะวิชา และค้นหาข้อมูลเริ่มจากกลุ่มแรก โดยดูเลขประจำตัว จนกระทั่งพบหมายเลขประจำตัว 33555023 ก็จะดึงเอาค่าคะแนนเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาผู้นี้นำไปใช้ ตามท่ตี อ้ งการ

12 5. การรวมขอ้ มูล (Merging) หมายถงึ การนำข้อมูลต้ังแต่สองชุดขน้ึ ไปมารวมกันใหเ้ ปน็ ชุดเดียวเชน่ การนำ ประวัติส่วนตัวของนักศึกษา และประวัติการศึกษามารวมเป็นชุดเดียวกัน เป็นประวัตินักศึกษา เป็นต้น การรวมข้อมลู จดั ไดว้ ่าเปน็ วิธกี ารท่ีนยิ มใช้กันมากในระบบการจัดการฐานข้อมูลในปัจจบุ นั นี้ 6. การสรปุ ผล (Summarizing) หมายถึง การสรุปส่วนต่างๆ ของข้อมลู โดยย่อเอาเฉพาะสว่ นที่เปน็ ใจความ สำคัญ เพื่อเน้นจุดสำคัญและแนวโน้ม เช่น การนำข้อมูลมาแจงนบั และทำเปน็ ตารางการหายอดนกั ศึกษา ของแต่ละวิชา ข้อมูลเหล่านี้ใช้สำหรับพิมพ์เป็นรายงานสรุปส่งขึ้นไปให้ผู้บริหารระดับสูง เพื่อใช้ในการ บรหิ าร 7. การทำรายงาน (Reporting) หมายถึง การนำข้อมูลมาจัดพิมพ์รายงานรูปแบบต่างๆ เช่น รายงานการ วเิ คราะหอ์ าชพี ของผูป้ กครองของนักศึกษา รายงานการเรยี นของนกั ศึกษา เป็นตน้ 8. การบันทึก (Recording) หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลเอาไว้โดยทำการคัดลอกข้อมูลจากต้นฉบับแล้ว เก็บเป็นแฟม้ (Filing) เชน่ การบนั ทึกประวตั สิ ่วนตัวนักศกึ ษาแต่ละคน เป็นตน้ 9. การปรับปรุงรักษาข้อมูล (Updating) หมายถึง การเพิ่ม (Add) หรือการเอาออก (Delete) และการ เปลย่ี นคา่ (Change) ข้อมลู ท่ีอยู่ในแฟ้มให้ทนั สมยั อยเู่ สมอ

13 3. พื้นฐานภาษาซี (C Language basic) กำเนดิ ภาษาซี ภาษา C ได้รับการออกแบบและพัฒนาขึ้นโดย Dennis Ritchie เมื่อปีค.ศ. 1972 ณ ห้องปฏิบัติการเบลล์ (Bell Laboratory) โดยออกแบบเพื่อใช้งานบนระบบปฏิบตั ิการ Unixบนเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ DEC PDP- 11ในความเป็นจริงภาษา C ได้สืบสานมาจากภาษา B ที่พัฒนาขึ้นโดย Ken Thompson ซึ่งภาษา B นี้ตั้งอยู่บน ภาษา BCPL ซ่ึงพฒั นาโดย Martin Richards ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง ( High-Level-Language) และ ภาษาโปรแกรมที่นักเขียนโปรแกรมหรือที่เรียกว่าโปรแกรมเมอร์ นิยม ใชก้ นั มาก เนื่องจากเปน็ ภาษาท่ีมีความเร็วในการทำงานสูงใกล้เคียงกับ ภาษาเครื่อง มีโครงสร้างที่ชัดเจน เข้าใจง่าย สามารถเขียนโปรแกรม เพอ่ื ติดตอ่ กับฮาร์ดแวรข์ องเคร่ืองคอมพิวเตอรไ์ ด้อย่างดี ภาษาซีเกิดขึ้น ในปี ค.ศ.1972 ผู้คิดคน้ คอื นายเดนีสริทชี (Dennis Ritchie) การศึกษา ภาษาซี ถือวา่ เปน็ พ้ืนฐานในการศึกษาภาษาใหม่ ๆ ได้ กฎเกณฑก์ ารเขียนภาษาซี กฎเกณฑ์ในการเขยี นภาษา C ทคี่ วรคำนงึ มดี ังน้ี 1. จะต้องกำหนดพรโี ปรเชสเชอรท์ ี่ต้นโปรแกรมก่อน เช่น

include<stdio.h>,

include<conio.h> 2. คำสงั่ ต่างๆจะใชอ้ ักษรพมิ พเ์ ล็ก 3. ตวั แปรท่ีใชง้ านในโปรแกรมตอ้ งประกาศไว้เสมอ 4. ภายในโปรแกรมต้องมีอย่างนอ้ ยหนึง่ ฟงั กช์ ัน คือ main ( ) 5. ใช้เครื่องหมาย { เพื่อบอกจุดเริ่มต้นของชุดคำสั่ง และเครื่องหมาย } เพื่อบอกจุดสิ้นสุดของชุดคำสั่ง โดย สามารถซ้อนเครอ่ื งหมาย { } เพม่ิ ไว้ภายในได้ 6. สน้ิ สดุ ของแตล่ ะประโยคคำสง่ั จะตอ้ งจบด้วยเครื่องหมาย ; (semicolon) 7. สามารถใช้เครื่องหมาย /*comment*/ หรือ //comment เพื่อระบุหมายเหตุภายในโปรแกรม โดยคำอธิบาย ท่ีอย่ภู ายใตเ้ ครอ่ื งหมาย /*comment*/ หรอื //comment จะไมถ่ กู นำไปประมวลผล

14 • ข้อดีของภาษาซี เป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นโครงสร้างจึงเขียนโปรแกรมง่าย โปรแกรมที่ เขียนขึ้นจะทำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพสูง สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้รวดเร็วกว่าภาษาระดับสูงอื่น ๆ สั่งงานอุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ได้ เกอื บทกุ ส่วนของฮารด์ แวร์ ซงึ่ ภาษาระดับสูงภาษาอน่ื ทำงานดังกลา่ วไดน้ ้อยกว่า คอมไพเลอรภ์ าษาซีทกุ โปรแกรม ในท้องตลาดจะทำงานอ้างอิง มาตรฐาน(ANSI= American National Standards Institute) เกือบทั้งหมด จึงทำ ให้โปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษาซีสามารถนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ทุกรุ่นที่มาตรฐาน ANSI รับรอง โปรแกรมที่ เขยี นข้นึ ดว้ ยภาษาซีสามารถนำไปใช้กบั เคร่อื งคอมพิวเตอรท์ ่ีใชซ้ ีพียตู า่ งเบอร์กันได้ หรอื กล่าวได้วา่ โปรแกรมมคี วาม ยดื หยนุ่ (portability) สูง • ข้อเสียของภาษาซี ภาษาซีไม่มีตัวจัดการจองหน่วยความจำในตัวเอง เมื่อเวลาเราต้องการจองหน่วยความจำแบบ Dynamic ภาษาซีทำ wrapper เพื่อติดต่อกับระบบปฏิบัติการเพื่อขอจองหน่วยความจำโดยตรง ปัญหาก็คือ การติดต่อกัน ระหวา่ งโปรแกรมของเรากับระบบปฏิบัติการ เป็นไปอย่างหลวม ๆ ถ้าโปรแกรมลมื บอกระบบปฏิบัติการว่าเลิกจอง หน่วยความจำดังกล่าว หน่วยความจำนั้นก็จะถูกจองไปเรื่อย ๆ เราจะเห็นเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วในตอน เช้า แต่พอตกบ่ายก็ช้าลงจนทำงานไม่ไหว จนสุดท้ายต้องเปิดเครื่องใหม่ สาเหตุหลักของปัญหานี้คือ สิ่งที่เรียกว่า หน่วยความจำรัว่ หรือ Memory Leak ตวั อย่างการเขยี นภาษาซีและผลลพั ธ์

15 4. เทคโนโลยปี ระยกุ ต์ (APPLICATION TECHNOLOGY) 1. การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศด้านการศึกษา การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศด้านการศึกษานั้น มีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือกระจายการศึกษาใหเ้ ข้าถึงประชาชนให้ มากที่สดุ การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นการศกึ ษา มีดังน้ี 1) วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย (Video on Demand : VOD) เป็นระบบที่นำภาพวิดีโอมาบันทึกเป็นไฟล์ในระบบ คอมพิวเตอร์และนำไฟล์ดังกล่าวมาเผยแพร่ผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อให้ผู้เรียนที่อยู่ห่างไกลมีโอกาส เรียนรู้ได้ในเวลาที่สะดวก อีกทั้งยังจัดทำเป็นลักษณะของ สื่อผสม (multimedia) ซึ่งสามารถกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ เรียนอยู่ตลอดเวลา รวมทั้งยังจำลองสภาพจริงที่ช่วยให้เกิด การเรยี นร้อู ย่างชดั เจน ดังน้นั ในท้องถ่ินห่างไกลที่ขาดบคุ ลากร ทางการศกึ ษาเฉพาะทาง ขาดอปุ กรณก์ ารทดลองหรืออุปกรณ์ ทางการศึกษาต่าง ๆ ก็ยังคงสามารถเรยี นรู้ได้เทา่ เทียมกับเด็ก ในเมอื ง ตัวอยา่ งเว็บไซตท์ ี่นำเสนอวีดีทัศน์ตามอัธยาศัย 2) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-books) เป็นหนังสือท่ี อยู่ในรูปแบบของไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ต้องใช้กระดาษ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถอ่านได้โดยใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ประเภทพกพาและซอฟต์แวร์ที่ใช้อ่าน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก เครื่องพีดีเอ และโทรศัพท์มือถือ บางรุ่นที่มีระบบปฏิบัติการ Microsoft Mobile นอกจากนี้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังสามารถดาวน์โหลดหรืออ่านได้จาก เว็บไซดท์ างอนิ เทอร์เน็ต

16 3) ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-library) หมายถึง แหล่งรวมความรู้ที่มีระบบการทำงานของห้องสมุดให้อยู่ใน รปู แบบอัตโนมัติ เช่น ระบบบรกิ ารยืม–คืนทรัพยากรด้วยรหัส บาร์โค้ด ระบบบริการสืบค้นข้อมูลทรัพยากร และระบบ ตรวจเช็คสถิติการยืม-คืนทรัพยากร เป็นต้น ดังนั้นห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์จะเก็บข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และ ให้บรกิ ารขอ้ มลู ผ่านเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ 4) การเรียนรู้แบบออนไลน์ (e-learning) เป็นการ จัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้เรียนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต (internet) หรืออินทราเน็ต (intranet) ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนรู้ได้ตามความสามารถ และความสนใจ โดยเนื้อหาในบทเรียนซึ่งอาจประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอ และมัลติมีเดียอื่น ๆ ซึ่งผู้เรียน จะต้องมีโปรแกรมเว็บบราว์เซอร์ (web browser) ในการ แสดงผลการเรียน การเรียนรู้แบบออนไลน์จะทำให้ผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นระหว่างกนั ไดเ้ ช่นเดียวกับการเรียนใน ชั้นเรียนปกติ การเรียนรู้ออนไลน์จึงเป็นการเรียนสำหรับทุก คนที่สามารถเรียนร้ไู ดท้ ุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone anywhere and anytime)

17 2. การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นธุรกิจ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาธุรกิจ พาณิชย์ และสำนักงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิตและการบริการ ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านธุรกิจ พาณิชย์ และ สำนกั งาน จำแนกได้ ดงั น้ี 1) การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce) คือ การทำกิจกรรมทางธุรกิจผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ ใน ทุกช่องทางเช่น อนิ เทอรเ์ น็ต โทรศพั ท์ วิทยุ แฟกซ์ เปน็ ต้น ท้ังในรูปแบบข้อความ เสยี ง และภาพ โดยกิจกรรมทาง ธุรกิจจะเน้นการขายสินค้าหรือบริการซึ่งเริ่มตั้งแต่ส่วนของผู้ชื่อ สามารถดำเนินการเลือกซื้อสินค้าหรื อบริการ คำนวณเงิน ชำระเงนิ รวมถึงการไดร้ บั บรกิ ารหลังการขายได้โดยอัตโนมัติ สว่ นของผูข้ าย สามารถนำเสนอสนิ คา้ รับ เงินชำระค่าสินค้า ตัดสินค้าจากคลังสินค้า และประสานงานไปยังผู้จัดส่งสินค้า รวมถึงการบริหารหลังการขายได้ โดยอัตโนมัติ ปัจจุบันประเทศไทยนิยมใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับธุรกิจประเภท OTOP ซึ่งสามารถ ประชาสมั พันธส์ นิ ค้าของแต่ละทอ้ งถ่ินให้เป็นท่ีร้จู ักทั่วโลก ซ่ึงช่วยสร้างรายไดใ้ ห้กบั ชุมชนได้ในระดับหนึง่ 2) สำนักงานอัตโนมัติ (office automation) เป็นการนำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ โทรศัพท์ เทเลเท็กซ์ เครื่องเขียนตามคำบอกอัตโนมัติ (dictating machines) เครื่องถ่ายเอกสารแบบ หน่วยความจำ เครื่องโทรสาร ฯลฯ มาใช้ช่วยให้การปฏิบัติงานในสำนักงาน เกิดประสิทธิภาพและความสะดวก รวดเร็วมากขึน้ การใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอรจ์ ะช่วยในเร่ืองการประมวลผลขอ้ มูลได้อย่างรวดเร็ว การติดต่อสือ่ สาร ภายในสำนักงานเป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ และยงั ช่วยให้ลดปรมิ าณการใชก้ ระดาษของสำนักงานไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

18 3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสาธารณสขุ และการแพทย์ การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศด้านสาธารณสขุ และการแพทย์มวี ัตถปุ ระสงคห์ ลัก เพ่ือใหป้ ระชาชนมี สขุ ภาพอนามัยที่ดีขน้ึ ตลอดจนไดร้ บั การรกั ษาพยาบาลท่ีดขี ึ้น ดงั นี้ 1) ระบบแพทย์ทางไกล (telemedicine) เป็นโครงการของรัฐบาลที่ยกระดับการให้บริการรกั ษาผู้ป่วย ในทอ้ งถน่ิ ทุรกนั ดารผา่ นเครอื ขา่ ยโทรคมนาคม โดยเร่มิ จากส่งข้อมูลผู้ปว่ ยดว้ ยการถ่ายทอดสดผา่ นทางดาวเทียมใน การประชุมทางไกลผา่ นเครือข่าย (video conference system) ขณะตรวจอาการผปู้ ่วยจากสถานีอนามยั เช่ือมไป ยงั เคร่ืองปลายทางที่โรงพยาบาลประจำอำเภอ เพอ่ื ให้แพทย์ผเู้ ชยี่ วชาญของโรงพยาบาลปลายทางได้ดูภาพลักษณะ ของผู้ป่วย ก่อนทำการวินิจฉัยอาการผ่านจอมอนิเตอร์อย่างละเอียดอีกครั้ง พร้อมกับให้คำแนะนำในการรักษา กลับมายังเจา้ หน้าที่สถานอี นามัย เพื่อให้การรักษาพยาบาลเป็นไปอย่างถูกต้องและถูกวิธีท่สี ุด 2) ระบบการปรึกษาแพทย์ทางไกล (medical consultation) เป็นระบบการปรึกษาระหว่าง โรงพยาบาลชุมชนกับโรงพยาบาลที่มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญผ่านสัญญาณดาวเทียม ซึ่งสามารถส่งได้ทั้งข้อมูล ภาพ ภาพเคล่อื นไหว และเสยี ง

19 บรรณานุกรม _______ . “วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์.” (ระบบออนไลน์). แหล่งทม่ี า : //bit.ly/2OzjSgk (16 กุมภาพนั ธ์ 2564). _______ . “ส่ือดิจิทัลเพื่อการศกึ ษา.” (ระบบออนไลน์). แหลง่ ท่มี า : //sopha2017.wordpress.com/ (16 กมุ ภาพนั ธ์ 2564). อรพรรณ อาจหาญยงิ่ . “การจดั การข้อมลู .” (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : //sites.google.com/site/newteamacc2559/kar-cadkar-khxmul?fbclid=IwAR3ZZig0XL_ntCZX4- ulCK0u_fIaH7hVibIfknc2PBmGazse3bnXTgaKHZY (16 กุมภาพันธ์ 2564). กูหารง บูซาแล. “แหล่งข้อมูล.” (ระบบออนไลน์). แหลง่ ท่ีมา : //sites.google.com/site/loryeng2/haelng-khxmul?fbclid=IwAR2RNPTnZRtbVWSo90- Us61kORdQd6qjmbk5WLuGMtfbRPYXe_HyGov1Hu0 (16 กุมภาพนั ธ์ 2564). นทั รนิ ไชยพูน . “ประวัติของภาษาซี.” (ระบบออนไลน์). แหลง่ ทม่ี า : //sites.google.com/site/ccomputeryrc/prawati-khxng-phasa- si?fbclid=IwAR0HPZFsQZW2alDkNLBLEOeUcTh8WFCSyQ-Fn6nG7dM3VzeJ_UQ5lzfgK8A (16 กมุ ภาพนั ธ์ 2564). ______ . “กำเนิดภาษาซ.ี ” (ระบบออนไลน์). แหลง่ ที่มา : //www.bankhai.ac.th/dev_c/first_c_language.html?fbclid=IwAR3ZZig0XL_ntCZX4- ulCK0u_fIaH7hVibIfknc2PBmGazse3bnXTgaKHZY (16 กมุ ภาพันธ์ 2564). ปรานอม หยวกทอง . “การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ.” (ระบบออนไลน์). แหล่งท่มี า : //sites.google.com/site/kroonom/kar-prayukt-chi-the (16 กมุ ภาพันธ์ 2564). URL – ADMIN //sites.google.com/ntun.ac.th/fah22-11/computer-science?authuser=0

20 ภาคผนวก 1. ยอดผเู้ ขา้ ดูเวบ็ ไซต์ของ Admin และยอดแชร์ 100 แชร์ Link - //www.facebook.com/kullanat.sanisuriwong QR CODE

21 2. แนบสถิติผู้เข้าชมการ (live) หรือการนำเสนอออนไลน์ ยอดวิว 100 วิว หรือยอดแชร์ 100 แชร์ Link - //www.facebook.com/pimmada.sribandon.9/videos/1082089922266505/ QR CODE =

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ