การหาจุดเดือดของสารบริสุทธิ์


��ú���ط��� ��� ����������Ƿ���Сͺ���������§��Դ�������ѵԵ�ҧ � �Ф���� ��������ѵ�੾�е�� ��ú���ط��������ѵԷ���Ӥѭ��� �ըش��ʹ ��Шش�������Ǥ����
���ѵԢͧ��ú���ط���
1. ��ú���ط������繢ͧ�����ըش��ʹ��������� �� �ش��ʹ�ͧ��Ӻ���ط��� ��ҡѺ �100 �C � �����ѹ����ҡ�Ȼ��� (�����ѹ 1 ����ҡ�� ���� 760 ��������âͧ��ͷ)
2. �ش���͡�秢ͧ��ú���ط���Ф�������� �� �ش���͡�秢ͧ��Ӻ���ط�����ҡѺ 0 �C
�����˵� ��Ҥ����ѹ����ҡ������¹� �ش��ʹ��Шش���͡�秢ͧ��ú���ط��������¹� �� �ش��ʹ�ͧ��Ө�����¹�����ͤ����ѹ����ҡ������¹� �ѧ���

�����ѹ����ҡ�� (mm.�ͧ��ͷ) �ش��ʹ�ͧ��� ( �C)
752 99.70
756 99.85
760 100.00 *�ش��ʹ���Ԣͧ���
764 100.15
768 100.29

3. �ش�������Ǣͧ��ú���ط����繢ͧ�秨Ф����
4. ��ú���ط��쪹Դ˹��� �դ�������ö㹡�������੾�е��㹵�Ƿ���������Ъ�Դ
5. ����˹��������ѵ�੾�е�Ǣͧ��ú���ط������Ъ�Դ �ѧ���
��ú���ط��� ����˹��� (g/cm3)
Ṿ���չ 1.02
��ӵ�� 1.58
������������ѧ��๵ 2.17

��ػ���ᵡ��ҧ�����ҧ��ú���ط���Ѻ��������
������º��º ��ú���ط��� ��������
1. �ӹǹ��Դ�ͧ��� �������§��Դ���� ������ҡ���� 1 ��Դ
2. �ش��ʹ ����� ��褧���
3. �ش�������� ����� ��褧���
4. �ش���͡�� ����� ��褧���
5. ����˹��� ����� ������¹��������Ѻ��������鹢ͧ��������
6. ��������ö㹡������� ����� � �س�������Ф����ѹ˹�� � ��褧���

  วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2562  เวลา 10.00 - 11.00 น. ณ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ โครงการห้องเรียนพิเศษ SMP โรงเรียนคัมภีร์วิทยา มีการเรียนการสอนภาคปฏิบัติรายวิชาเคมี เรื่อง การหาจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารละลาย ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 SMP โดยมี อ.สูไวนะ เบ็นดาโอะ เป็นผู้สอน
วัตถุประสงค์การทดลอง
1. ทดลองหาจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารละลาย
2.บอกความแตกต่างระหว่างจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารละลายได้

วัสดุอุปกรณ์และสารเคมีที่ใช้
1.กลีเซอรอลในเอทานอล           4.แนพทาลีน              7.ตะเกียงแอลกอฮอล์   10. แท่งแก้วคนสาร
2.เอทานอล                               5.หลอดคาปิลลารี       8.ขาตั้งพร้อมที่จับ        11. ด้าย
3.กรดเบนโซอิก                         6.หลอดทดลอง          9.เทอร์โมมิเตอร์           12.บีกเกอร์


การหาจุดเดือด ( Boiling Point ) การที่สารไม่บริสุทธิ์ หรือ สารละลายจุดเดือดไม่คงที่ เกิดจากอัตราส่วนระหว่างจำนวนโมเลกุลของตัวถูกละลาย และ ตัวทำละลาย เปลี่ยนแปลงไปโมเลกุลที่มีจุดเดือดต่ำจะระเหยไปเร็วกว่าทำให้สารที่มีจุดเดือดสูงใน อัตราส่วนที่ มากกว่าจึงเป็นผลให้จุดเดือดสูงขึ้นเรื่อย ๆ

การหาจุดหลอมเหลว ( Melting Point ) จะสามารถทดสอบกับสารที่บริสุทธิ์ และสารที่ไม่บริสุทธิ์ได้ โดย

- สารบริสุทธิ์จะมีจุดหลอมเหลวคงที่ และ มีอุณหภูมิช่วงการหลอมเหลวแคบ

- สารไม่บริสุทธิ์จะมีจุดหลอมเหลวไม่คงที่ และ มีอุณหภูมิในช่วงการหลอมเหลวกว้างซึ่งอุณหภูมิฃ่วงการหลอม หมายถึง อุณหภูมิที่สาร เริ่มต้นหลอมจนกระทั่งสารนั้นหลอมหมดโดยในอุณหภูมิช่วงการหลอม ถ้าแคบต้องไม่เกิน 2 องศาเซลเซียส

วีดีโอ แสดงจุดเดือดของเอทานอล

ภาพประกอบการทดลอง



 ในการทดลองนักเรียนสมารถอภิปรายได้ว่าเอทานอล มีจุดเดือดอยู่ในช่วง 76 -78 องศาเซลเซียส ซึ่งตำ่กว่าสารละลายกลีเซอรอลในเอทานอลที่มีจุดเดือด 80 องศาเซลเซียส ส่วนจุดหลอมเหลวของแนพทาลีนมีค่าเท่ากับ  81  องศาเซลเซียส ซึ่งสูงกว่าสารละลายเบนโซอิกในแนพทาลีน ที่มีจุดหลอมเหลว 77 องศาเซลเซียส โดยสามารถสรุปได้ว่า จุดเดือดของสารบริสุทธิ์มีค่าตำ่กว่าจุดเดือดของสารละลายที่มีสารบริสุทธิ์นั้นเป็นตัวทำละลาย และจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์มีค่าสูงกว่าสารละลายที่มีสารบริสุทธิ์นั้นเป็นตัวทำละลาย  จากที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติในครั้งนี้ ทำให้ทราบและเข้าใจในเรื่องจุดเดือดและจุดหลอมเหลวมากขึ้น ได้เพิ่มทักษะการทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ อีกทั้งยังทราบวิธีการหาความบริสุทธิ์ของสารต่างๆได้อีกด้วย

การหาจุดเดือดของสาร ทำได้อย่างไร

การหาจุดเดือดของของเหลวทำได้ 2 วิธี คือ ถ้ามีของเหลวในปริมาณมากพอก็สามารถจะหาจุด เดือดได้ด้วยวิธีการกลั่น ก็จะได้จุดเดือดของสาร คือ อุณหภูมิเมื่อสารนั้นเริ่มกลั่นตัวออกมาร ซึ่งจะกล่าว ถึงและทำการทดลองในการทดลองที่ 3 แต่ถ้ามีสารปริมาณน้อยก็จะทำการหาจุดเดือด โดยวิธีไมโคร

เรื่อง จุดเดือดของสารบริสุทธิ์และสารผสมเป็นอย่างไร

สารบริสุทธิ์มีจุดเดือดคงที่ เช่น น้ำกลั่นเป็นสำรบริสุทธิ์ มี องค์ประกอบเพียงชนิดเดียว จุดเดือดคงที่ สำรบริสุทธิ์อื่น ๆ ก็มีจุด เดือดคงที่เช่นเดียวกับน้ำกลั่น เช่น ปรอทมีจุดเดือด 356.7 °C กลีเซ อรอลมีจุดเดือด 290 °C สารผสมมีจุดเดือดไม่คงที่ เช่น สำรละลำยโซเดียมคลอไรด์ เป็นสำรผสม ประกอบด้วยน้ำกลั่นกับโซเดียมคลอไรด์ มี ...

การหาจุดเดือดคืออะไร

การหาจุดเดือด ( Boiling Point ) การที่สารไม่บริสุทธิ์ หรือ สารละลายจุดเดือดไม่คงที่ เกิดจากอัตราส่วนระหว่างจำนวนโมเลกุลของตัวถูกละลาย และ ตัวทำละลาย เปลี่ยนแปลงไปโมเลกุลที่มีจุดเดือดต่ำจะระเหยไปเร็วกว่าทำให้สารที่มีจุดเดือดสูงใน อัตราส่วนที่ มากกว่าจึงเป็นผลให้จุดเดือดสูงขึ้นเรื่อย ๆ

จุดเดือดของสารบริสุทธิ์และสารละลายแตกต่างกันอย่างไร

ความแตกต่างประการหนึ่งระหว่างสารบริสุทธิ์กับสารละลายก็คือ การมีจุดเดือดและจุดเยือกแข็งที่ต่างกัน กล่าวคือสารบริสุทธิ์จะมีจุดเดือดคงที่ ในขณะที่จุดเดือดของสารละลายไม่คงที่ เช่น น้ำบริสุทธิ์มีจุดเยือกแข็ง(จุดหลอมเหลว) 0 oC และมีจุดเดือดปกติเท่ากับ 100.0 oC คงที่

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ