คู่มือกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

คำนำ คู่มือหลักสูตรกิจกรรมเครือข่ำยกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือกำรผลิต จัดทำขึ้นเพื่อใช้ ประกอบกำรเรียนหลักสูตรกิจกรรมเครือข่ำยกลุ่มออมทรัพย์เพื่อกำรผลิต โรงเรียน กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือกำรผลิต โดยมีเนื้อหำท่ีทันสมัยและสอดคล้องกับสถำนกำรณ์ในปัจจุบัน ตลอดจนมคี วำมเหมำะสมสำหรับใชเ้ ป็นคมู่ ือในกำรดำเนินงำนกิจกรรมเครือข่ำย (ธุรกิจชุมชน) กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือกำรผลิตแก่คณะกรรมกำรและสมำชิกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือกำรผลิต มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อให้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อกำรผลิตสำมำรถดำเนินกิจกรรมเครือข่ำยของกลุ่ม ไดอ้ ย่ำงมปี ระสิทธภิ ำพและมีธรรมำภบิ ำล กรมกำรพัฒนำชุมชน หวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำคู่มือฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์แก่คณะกรรมกำร กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือกำรผลิตและสมำชิก ตลอดจนผู้ที่สนใจสำมำรถใช้เป็นคู่มือแนวทำง ปฏบิ ัติงำนและพัฒนำกจิ กรรมเครอื ขำ่ ยกลมุ่ ของตนให้ประสบควำมสำเรจ็ ตอ่ ไป กรมกำรพฒั นำชุมชน มกรำคม 2563 สำรบัญ เรื่อง หนำ้ 1. ควำมเป็นมำของโรงเรยี นกลุ่มออมทรพั ย์เพ่อื กำรผลิต 1 2. หลกั สตู รกจิ กรรมเครือขำ่ ยกล่มุ ออมทรพั ย์เพ่ือกำรผลติ 5 3. เนื้อหำประกอบหลักสูตรกิจกรรมเครอื ข่ำยกลุม่ ออมทรพั ยเ์ พือ่ กำรผลติ 7 4. กรณศี กึ ษำกิจกรรมเครอื ข่ำย (ธรุ กจิ ชุมชน) กลุม่ ออมทรพั ย์เพ่อื กำรผลติ 23 5. เอกสำรประกอบกำรเรียนหลักสตู รกจิ กรรมเครือขำ่ ยกลุ่มออมทรัพยเ์ พอ่ื กำรผลิต 58 6. เนอื้ หำหมวดวชิ ำกำรพัฒนำกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พ่ือกำรผลิตส่คู วำมเขม้ แขง็ (วิชำบงั คบั ) 71 - วชิ ำกำรประเมินศกั ยภำพกลมุ่ ออมทรัพย์เพอ่ื กำรผลติ ตำมหลักธรรมำภบิ ำล 72 - วิชำกำรบรหิ ำรโครงกำร บรหิ ำรสัญญำ และบริหำรหน้ี 90 - วชิ ำกำรสร้ำงวนิ ยั ทำงกำรเงินและกำรออมเชิงคณุ ภำพ 112 ความเปน็ มาของโรงเรยี นกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ กรมการพัฒนาชุมชนพิจารณาคัดเลือกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตที่มีการบริหารจัดการที่ดี มคี วามเขม้ แขง็ มอี าคารสถานที่เหมาะสม/ เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การเดินทางสะดวก มีกิจกรรมเครือข่าย (ธุรกิจชุมชน) คณะกรรมการมีความรู้และประสบการณ์ด้านบริหารจัดการ กลมุ่ ออมทรัพยเ์ พ่ือการผลิต โดยจดั ตั้งขึน้ คร้ังแรก เม่ือปี พ.ศ. 2554 เดิมใช้ชื่อว่า “ศูนย์ศึกษาและพัฒนา กลมุ่ ออมทรพั ย์เพือ่ การผลิต” จัดต้ังภาคละ 1 แห่ง รวม 4 แห่ง ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 จัดตั้งเพิ่มภาคละ 1 แหง่ รวม 4 แห่ง และรวมท้งั ประเทศ 8 แหง่ โดยไดเ้ ปลย่ี นช่ือเปน็ “โรงเรยี นกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พ่อื การผลิต” แนวคดิ โรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จัดตั้งขึ้นภายใต้แนวคิด “พ่ีสอนน้อง เพ่ือนสอนเพ่ือน” โดยเพ่มิ บทบาทให้กลุ่มออมทรัพยเ์ พอื่ การผลติ ทบ่ี ริหารจดั การดี มีความเข้มแข็ง ทาหน้าท่ีเป็นผู้ถ่ายทอด องค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตแก่คณะกรรมการ กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิตที่มีการบริหารจัดการยังไม่เข้มแข็ง และให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ด้านการบริหารจัดการระหว่างคณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต เพื่อนาองค์ความรู้ หรือ ประสบการณ์ทไี่ ด้รบั ไปพัฒนากลุ่มออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิตของตนเองให้เข้มแขง็ ยิง่ ข้ึน วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ ใหม้ ีสถานที่สาหรับการเรยี นร้ดู า้ นกลุม่ ออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลติ 2. เพ่อื พัฒนาศกั ยภาพคณะกรรมการกลุ่มออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิต 3. เพือ่ สรา้ งเครือขา่ ยการเรียนรู้ดา้ นกลุม่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลิต ท่ีต้งั โรงเรียนกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ ภาคเหนอื 1. โรงเรยี นกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลติ บ้านปญั จะพัฒนา ตาบลแม่สาว อาเภอแมอ่ าย จงั หวัดเชยี งใหม่ 2. โรงเรยี นกลุ่มออมทรพั ยเ์ พื่อการผลิตบ้านสระยายชี ตาบลเนินปอ อาเภอสามงา่ ม จงั หวดั พิจติ ร ภาคใต้ 1. โรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์เพอ่ื การผลิตบา้ นดอนคา ตาบลทอนหงส์ อาเภอพรหมครี ี จงั หวดั นครศรีธรรมราช 2. โรงเรียนกลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิตบา้ นหนองมะคา่ ตาบลหนองตาแต้ม อาเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ 1 ภาคกลาง 1. โรงเรียนกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พอ่ื การผลิตบา้ นขอนขว้าง ตาบลดงข้เี หลก็ อาเภอเมือง จังหวัดปราจนี บรุ ี 2. โรงเรียนกลมุ่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิตบ้านหนองผกั นาก ตาบลหนองผกั นาก อาเภอสามชุก จังหวดั สุพรรณบุรี ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1. โรงเรียนกลุม่ ออมทรพั ย์เพอื่ การผลิตบ้านขาม ตาบลบา้ นขาม อาเภอจตั รุ ัส จงั หวัดชัยภูมิ 2. โรงเรยี นกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลติ บา้ นโจด ตาบลเจา้ ท่า อาเภอกมลาไสย จงั หวัดกาฬสินธ์ุ โครงสรา้ งโรงเรยี นกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ โรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์เพอื่ การผลิตมโี ครงสรา้ งและบทบาทหนา้ ที่ ดังนี้ 1. ท่ปี รึกษา มหี น้าที่ ให้คาปรึกษาด้านการบริหารจัดการ และการฝกึ อบรม 2. คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี นกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ ประกอบดว้ ย 1) ผอู้ านวยการโรงเรียนกลมุ่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลิต 2) ผชู้ ว่ ยผ้อู านวยการโรงเรียนกล่มุ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลิต 3) เลขานุการ 4) เหรญั ญิก 5) ผ้ชู ว่ ยเหรญั ญกิ 6) กรรมการฝา่ ยประชาสัมพันธ์/ปฏิคม 7) กรรมการฝา่ ยบริหารจดั การ 8) กรรมการฝา่ ยวิชาการ 9) กรรมการฝา่ ยอืน่ ๆ ตามความเหมาะสม มหี นา้ ที่บริหารจดั การโรงเรยี นกลุ่มออมทรัพยเ์ พื่อการผลิตใหบ้ รรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ และบริหารการฝกึ อบรมใหเ้ ป็นไปตามหลกั สูตร 3. วทิ ยากร ประกอบด้วย 3.1 คณะกรรมการกลมุ่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลติ ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการเปน็ วิทยากรมืออาชพี และ ผา่ นการอบรมด้านการจัดทาหลกั สตู ร การจดั ทาแผนการสอน 3.2 ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พอ่ื การผลิต มหี นา้ ที่ถ่ายทอดองคค์ วามรูแ้ ละประสบการณ์ดา้ นกลมุ่ ออมทรัพย์เพ่อื การผลิต ให้เป็นไปตามหลกั สตู รและ แผนการสอน 2 หลกั สตู รการฝึกอบรม ประกอบดว้ ย 3 หลักสตู ร ได้แก่ 1. หลักสูตรการบริหารจดั การกลุ่มออมทรพั ย์เพอื่ การผลิต ประเดน็ วิชาประกอบด้วย 1.1 ปรับฐานการเรียนรู้ เพ่ือปรบั ฐานการเรยี นรู้ และสรา้ งความค้นุ เคย สร้างบรรยากาศ หาความคาดหวัง และกาหนดกตกิ าการอย่รู ่วมกัน 1.2 การดาเนินงานกลุม่ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลติ เพอ่ื ใหผ้ เู้ ข้าอบรมเข้าใจถงึ แนวคิด หลกั การวัตถุประสงค์ และ แนวทางการดาเนนิ งานกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พือ่ การผลติ 1.3 แนวทางและวธิ กี ารบรหิ ารจดั การกลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลติ ท่มี ีประสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ศกึ ษาแนวทาง และวธิ ีการบรหิ ารจัดการกลุ่มออมทรพั ย์เพือ่ การผลิต การจดั สวัสดิการ กิจกรรมเครอื ขา่ ย การบริหารความเส่ยี ง กฎหมาย/ระเบียบท่ีเก่ยี วขอ้ ง 1.4 การพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตสู่ความเข้มแข็ง เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถประเมิน สถานะกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตของตนเอง และการวางแผนปรับปรุงพัฒนากลุ่ม 2. หลักสูตรการบญั ชกี ลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลติ ประเดน็ วชิ า ประกอบด้วย 2.1 ปรับฐานการเรยี นรู้ เพอื่ ละลายพฤติกรรม สร้างความคนุ้ เคย หาความคาดหวัง ความร้เู บื้องต้น เกยี่ วกับบัญชี และกาหนดกติกาการอยู่ร่วมกนั 2.2 ความรพู้ ื้นฐานเกย่ี วกับบัญชแี ละทะเบียนกล่มุ ออมทรัพยเ์ พอื่ การผลิต 2.3 การจัดทาทะเบียนและเอกสารกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต 2.4 การจัดทาบญั ชีกลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลิต 2.5 เทคนิคการตรวจสอบบญั ชกี ลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลติ 3. หลกั สูตรกจิ กรรมเครือขา่ ย (ธรุ กจิ ชมุ ชน) ประเด็นวิชา ประกอบด้วย 3.1 ปรบั ฐานการเรยี นรู้ เพ่ือละลายพฤตกิ รรม สรา้ งความค้นุ เคย หาความคาดหวัง ทดสอบความรู้เบ้ืองต้น เกย่ี วกับกจิ กรรมเครอื ข่าย และกาหนดกติกาการอยู่ร่วมกนั 3.2 การดาเนินงานกลมุ่ ออมทรัพย์เพ่อื การผลติ และกจิ กรรมเครอื ขา่ ยเพ่อื ให้ผเู้ ขา้ อบรมเขา้ ใจแนวคดิ หลักการ วัตถปุ ระสงค์ แนวทางการดาเนนิ งานและกจิ กรรมเครือขา่ ยกลุ่มออมทรัพยเ์ พื่อการผลิต 3.3 การบรหิ ารจดั การกล่มุ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตใหป้ ระสบผลสาเร็จเป็นการเรียนร้จู ากองค์ความรู้ และประสบการณจ์ รงิ ของกล่มุ ทีม่ ีการบริหารจดั การประสบผลสาเรจ็ 3.4 การบรหิ ารจัดการกจิ กรรมเครือขา่ ยกล่มุ ออมทรพั ย์เพื่อการผลิตเพ่ือใหผ้ ูเ้ ข้าอบรมมีความรู้ ด้านการบรหิ ารจัดการกจิ กรรมเครือขา่ ย 3 ท้ังน้ี การฝึกอบรมทุกหลักสูตรจะมีการทดสอบความรู้ก่อนและหลังการฝึกอบรมและ ผู้ผ่านการประเมนิ จะได้รบั ประกาศนยี บัตรจากกรมการพฒั นาชุมชน 4 หลักสูตร กจิ กรรมเครอื ขา่ ยกล่มุ ออมทรัพย์เพือ่ การผลติ 5 หลักสตู รกจิ กรรมเครอื ขา่ ยกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ หลักการและแนวคดิ สาคญั ของหลกั สตู ร กลมุ่ ออมทรัพยเ์ พ่อื การผลติ เปน็ แหลง่ เงินทนุ หมุนเวยี นสาคญั ในชุมชนที่ใหส้ มาชกิ กู้ยมื ในอตั ราดอกเบี้ยต่า ซงึ่ นอกจากกจิ กรรมการออมและการกู้ยืมแล้ว กลุ่มที่มีความพร้อมหรือมีเงินทุนเพียงพอได้ขยายให้มีการ ดาเนินกิจกรรมเพ่ิมเติมเพื่อสนองตอบต่อความต้องการของสมาชิก หรือเป็นการแก้ไขปัญหาของคน ในชมุ ชน รวมทงั้ เปน็ การสรา้ งอาชีพและเพ่มิ รายไดใ้ ห้กับสมาชกิ ของกลุ่ม และชุมชน ทั้งนี้ กิจกรรมเครือข่าย (ธุรกิจชมุ ชน) เปน็ การลงทุนของกล่มุ ออมทรพั ย์เพือ่ การผลติ ในการดาเนนิ ธรุ กิจ จะแตกต่างกนั ไปตามบรบิ ท ของแตล่ ะพนื้ ท่ี เช่น ศูนย์สาธิตการตลาด ลานตากผลผลิต ยุ้งฉาง โรงสีข้าว ปั๊มน้ามัน การแปรรูปผลผลิต เป็นต้น ปจั จบุ นั มกี ลมุ่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิตจานวนมากที่ยังไม่สามารถจัดต้ังกิจกรรมเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ เพอ่ื การผลิต หรือจัดต้ังแล้ว แต่การบริหารจัดการยังไม่ประสบความสาเร็จ ดังน้ัน การให้คณะกรรมการ “เพอ่ื นสอนเพอ่ื น” จะเป็นการสร้างแรงบนั ดาลใจให้กลุ่มออมทรพั ย์เพ่อื การผลิตจดั ต้งั กิจกรรมเครือข่ายข้ึน และเป็นการเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ ในการบริหารจัดการกิจกรรมเครือข่ายให้ประสบความสาเร็จ และเกิดประโยชน์แกส่ มาชกิ และชมุ ชนต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร 1. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้เก่ียวกับการจัดตั้งและการบริหารจัดการกิจกรรมเครือข่าย กล่มุ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลติ 2. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนาความรู้ ประสบการณ์ไปปรับใช้ในการจัดต้ังและบริหารจัดการ กิจกรรมเครอื ขา่ ยของกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พอ่ื การผลิตของตนเอง เนอ้ื หาสาระของหลกั สตู ร 1. ปรับฐานการเรียนรู้ 2. การดาเนนิ งานกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลิตและกิจกรรมเครอื ข่าย 3. การบริหารจดั การกลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตให้ประสบผลสาเร็จ 4. การบริหารจดั การกิจกรรมเครือขา่ ยกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พือ่ การผลติ ให้ประสบผลสาเร็จ กล่มุ เปา้ หมาย คณะกรรมการและสมาชิกกล่มุ ออมทรพั ย์เพือ่ การผลิต สถานทดี่ าเนนิ การ โรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์เพือ่ การผลิต 6 เนอ้ื หาประกอบหลักสูตร กิจกรรมเครอื ขา่ ย (ธุรกิจชมุ ชน) กลุม่ ออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิต 7 การดาเนนิ งานกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ กรมการพัฒนาชุมชน ดาเนินการส่งเสริมสนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต โดย ศาสตราจารย์ดร.ยุวัฒน์ วุฒิเมธี อดีตอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ได้เริ่มดาเนินการคร้ังแรก 2 แห่ง ณตาบลขวั มุง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ และตาบลละงู อาเภอละงู จังหวัดสตูล ในวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2517 และถือวนั ท่ี 6 มนี าคม ของทุกปี เปน็ วันคล้ายวันกอ่ ตัง้ กลมุ่ ออมทรัพย์เพอ่ื การผลติ กลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลติ เปน็ การผสมผสานระหว่างแนวคิด ของสหกรณ์การเกษตร เครดิตยูเน่ียน และ สินเชื่อเพื่อการเกษตร โดยใช้ “เงินเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน” ทาให้คนมีคุณธรรม มีการช่วยเหลือ เกอื้ กูล เอ้ืออาทร แบ่งปนั ซง่ึ กนั และกัน เกดิ กระบวนการเรยี นรู้การทางานร่วมกันตามวิถที างประชาธิปไตย แนวคดิ แนวคิดที่ 1 การรวมคนในหมู่บ้านชุมชน ให้ช่วยเหลือซึ่งกันและกันโดยรวมคนท่ีมีฐานะแตกต่างกันให้ช่วยเหลือกัน อยูบ่ นพื้นฐานความเชอ่ื ท่ีว่า “จนเงินแต่ไม่จนน้าใจ” แนวคิดที่ 2 การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนเงินทุนโดยการรวมกลุ่มออมเงนิ แล้วใหส้ มาชิกกู้ยืมเป็นทุนในการ ประกอบอาชีพ แนวคิดท่ี 3 การนาเงินทุนไปใช้ดาเนินการ ด้วยความขยัน ประหยัด ถูกต้อง เพ่ือให้ได้ทุนคืนและมีกาไร เป็นการสร้างรายไดใ้ ห้กับสมาชกิ แนวคดิ ที่ 4 การลดต้นทุนในการครองชีพ โดยให้สมาชิกมีการจัดตั้งศูนย์สาธิตการตลาด เป็นการรวมตัวกันซื้อ รวมตวั กนั ขาย สามารถลดตน้ ทุนในการซื้อสนิ คา้ อุปโภค บริโภคและปัจจัยการผลติ ได้ หลกั การ การดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นการรวมตัวของประชาชน บริหารจัดการโดย ประชาชนและเพ่ือประโยชนข์ องสมาชิกและประชาชนในหม่บู า้ น มีหลกั การดาเนนิ งาน ดงั นี้ 1. ความรู้สึกเป็นเจ้าของ เป็นการสร้างความรู้สึกการเป็นเจ้าของให้กับสมาชิกทุกคน ทาให้เกิด ความรบั ผิดชอบ และชว่ ยกันดูแลเอาใจใสใ่ นการดาเนนิ งานของกลุ่ม 2. การพงึ่ ตนเอง ฝึกนิสัยการประหยดั และอดออม โดยนาเอาคณุ สมบตั ิพิเศษ 2 ประการของชมุ ชน คือ ความซ่ือสัตย์ และ ความอดทน มารวมกันในรูปกลุ่มทาให้มีเงินทุนของชุมชนเป็นของตนเอง ลดการพึ่งพา แหลง่ ทุนจากภายนอกหมูบ่ ้าน 3. หลกั คุณธรรม ใช้การออมทรัพยเ์ ปน็ เครื่องมือในการพัฒนาคนเพ่ือให้คนมีคุณธรรม 5 ประการ คือ ความซอ่ื สัตย์ ความเสียสละ ความรับผิดชอบ ความเหน็ อกเหน็ ใจ และความไว้วางใจ 4. หลักการควบคุมกันเอง สมาชิกกลุ่มฯทุกคนจะต้องให้ความสนใจดูแลความเคล่ือนไหวและตรวจสอบ ซ่ึงกันและกัน 8 วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือพัฒนาคน โดยใชห้ ลักการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นเครื่องมือในการพัฒนาตนเอง และ เพื่อนสมาชิกใหม้ ีคณุ ธรรม 5 ประการ เพ่ือพัฒนาเศรษฐกจิ ชมุ ชน โดยการระดมเงินออม จัดตั้งเป็นกองทุนทาให้ชุมชนมีแหล่งเงินทุนในการ กยู้ มื ไปประกอบอาชพี ใช้ตามความจาเป็นของครอบครัว และเรียนรู้กิจกรรมเชิงธุรกิจ สามารถเพิ่มรายได้ ใหก้ ับครอบครวั เพื่อพัฒนาสังคมโดยการปลูกฝังคุณธรรม 5 ประการ ปลูกฝังวิถีประชาธิปไตยก่อให้เกิด ความสามคั คี การช่วยเหลอื เอ้ืออาทรตอ่ กนั ความร่วมมือร่วมใจ ความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน ความเท่าเทียมกัน ของสมาชิก คุณธรรมของสมาชกิ ซ่งึ มี 5 ประการ ดงั น้ี 1. ความซื่อสตั ย์ตอ่ กนั หมายถงึ การสร้างสจั จะต่อตนเองในการประหยัด อดออมอยา่ งสมา่ เสมอ และการซือ่ สตั ยต์ ่อกลุ่มในการ ถือหุน้ หรอื ฝากเงินในกล่มุ อยา่ งต่อเน่ือง เม่อื กเู้ งนิ ไปแลว้ กใ็ ช้คนื เงินตามสัญญา 2. ความเสียสละ หมายถึง ความมนี า้ ใจเอือ้ เฟอ้ื แบ่งปนั ส่ิงท่ีดีให้แก่กัน ไม่มีจิตใจคับแคบ เช่น หากเพื่อนมีความเดือดร้อน ก็จะให้เพ่ือนได้กู้เงินก่อน ซึ่งการเสียสละนี้จะเป็นการ ผูกมิตรไมตรีระหว่างสมาชิก สร้างนิสัยให้เห็นแก่ ประโยชนข์ องส่วนรวม 3. ความรับผดิ ขอบ หมายถึง การร่วมมอื กบั กลุ่มในการดาเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ โดยการเขา้ รว่ มประชมุ การแสดงความคิดเห็น และขอ้ เสนอต่อการบริหารงานกล่มุ ความรับผิดชอบ ดังกล่าวจะทาใหก้ ลุม่ ออมทรัพย์เพอ่ื การผลิตสามารถ แกป้ ัญหาของสมาชกิ ได้ อย่างมีพลงั 4. ความเหน็ อกเห็นใจ หมายถึง ความรสู้ กึ ร่วมภายในใจของเพอื่ นสมาชิก ทเ่ี ข้าใจความรู้สึกของเพื่อนสมาชิกด้วยกัน หากเกิด ความเขา้ ใจตอ่ กันแล้วจะทาใหก้ จิ กรรมทที่ ารว่ มกนั ทุกอย่างราบรื่นไปไดด้ ว้ ยดี ความเห็นอกเห็นใจอาจแสดงออกด้วย การกล่าวคาพูดที่ดี เช่น การให้กาลังใจแก่คณะกรรมการทเ่ี สียสละแรงกายแรงใจมาทางานให้กบั กลมุ่ เป็นตน้ 5. ความไวว้ างใจกัน หมายถึง การแสดงความรู้สึกทางบวกต่อความคาดหวังที่มีต่อการเข้าร่วม เป็นสมาชิกกลุ่ม เช่น การไว้วางใจเพ่ือนสมาชิกท่ีกู้เงินไปว่านาเงินไปใช้ ในทางท่ีเป็นประโยชน์และจะนาเงินมาชาระคืนได้ ความไว้วางใจต่อการทาหน้าท่ี ของคณะกรรมการ เป็นตน้ ความไวว้ างใจดังกลา่ วจะนามาซึ่งความยุติธรรม ที่สมาชกิ ทุกคนจะไดร้ บั บริการจากกลุม่ โดยเทา่ เทียมกัน 9 แนวทางและวิธกี ารดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพอื่ การผลิต แนวทางและวธิ กี ารดาเนนิ งานกลมุ่ ออมทรัพย์เพอื่ การผลิตต้องเป็นไปตามวิธกี ารท่ีสาคัญ ดังนี้ 1. จานวนเงินสจั จะสะสมใหเ้ ป็นไปตามความสมคั รใจท่จี ะออมตามศักยภาพของสมาชิกโดยมงุ่ เนน้ ความสม่าเสมอ ในการสง่ และสามารถปรบั เปล่ยี นเพม่ิ หรือลดไดเ้ มอื่ สนิ้ ปปี ิดบญั ชงี บดลุ กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต 2. การส่งเงินสัจจะสะสม สมาชิกหรือผู้แทนครัวเรือนที่เป็นสมาชิก ต้องนาส่งด้วยตนเอง ณ ท่ีทาการ กลมุ่ ออมทรพั ย์เพือ่ การผลติ ตามวนั เวลา และสถานท่ี ๆ กลุ่มกาหนด และให้คณะกรรมการกล่มุ ออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตรวบรวมเงินสัจจะฝากเข้าบญั ชธี นาคารของกล่มุ ออมทรัพย์เพื่อการผลิตภายใน3วันทาการ 3. ห้ามมใิ หส้ ง่ เงินสัจจะสะสมล่วงหนา้ กอ่ นระยะเวลาทีส่ มาชิกไดใ้ ห้สัจจะไว้กับกลุ่ม ยกเว้นกรณีจาเป็น ท้ังนี้ ให้อยู่ในดลุ ยพินจิ ของคณะกรรมการ 4. การรับเงินสัจจะสะสมหรือรับชาระคืนเงินกู้ยืมของสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต ให้คณะกรรมการ รวบรวมเงินดังกล่าวเข้าบัญชีธนาคารของกลุ่มออมทรัพย์เพ่ื อการผลิตภายใน 3 วันทาการ เม่ือมีสมาชิกยื่นขอกู้เงิน ให้เบิกถอนเงินจากธนาคารตามระเบียบเบิกจ่ายของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จะนาเงินดังกลา่ วขา้ งต้นจ่ายใหส้ มาชกิ กู้โดยไม่ผ่านระบบบญั ชีธนาคารไมไ่ ด้ 5. การดาเนินธุรกรรมของกลมุ่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลิตทุกประเภทให้ดาเนินการผ่านระบบบัญชีธนาคาร ทกุ ครัง้ 6. หา้ มมิให้กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตคิดดอกเบี้ยเงนิ กู้จากสมาชิกเกินอตั ราทก่ี ฎหมายกาหนด (15% ตอ่ ป)ี 7. หา้ มมิให้กลมุ่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลิตดาเนินกิจกรรมในลักษณะเข้าข่ายต้องห้ามตามพระราชบัญญัติธุรกิจ สถาบนั การเงิน พ.ศ. 2551 วธิ กี ารบรหิ ารจดั การกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ ท่มี ีประสิทธภิ าพ การบริหารคน บรหิ ารเงินทุน และบริหารกิจกรรมกลุ่ม สมาชกิ กล่มุ ออมทรัพย์เพ่ือการผลิต สมาชิกกลุ่มออมทรพั ย์เพือ่ การผลติ มี 3 ประเภท คอื 1.สมาชิกสามัญ ได้แก่ บุคคลธรรมดาในหมู่บ้านหรือตาบลทุกเพศ ทุกวัย ท่ีสมัครเข้ามาเป็นสมาชิกกลุ่ม ตามระเบียบข้อบังคบั ของกลุ่ม 2.สมาชกิ วิสามญั ได้แก่ กลุ่ม องค์กร ภายในหมู่บ้านหรือตาบล ท่ีทางราชการสนับสนุนและรับรองฐานะที่ สมัครเข้ามาเป็นสมาชกิ กล่มุ ตามระเบียบขอ้ บงั คับของกลุ่ม 3.สมาชิกกิตติมศักด์ิ ไดแ้ ก่ ข้าราชการ คหบดี ภกิ ษุ สามเณร บคุ คลทม่ี คี วามสนใจ และให้การสนับสนุนกลุ่ม โดยไม่หวังผลตอบแทนตามทคี่ ณะกรรมการมมี ตเิ ห็นชอบ 10 การสมคั รเปน็ สมาชิก 1.ยืน่ คาขอเปน็ สมาชกิ ณ ท่ที าการกลุ่ม 2.เง่อื นไขการรับสมคั รเปน็ ไปตามระเบยี บข้อบงั คับกลุ่ม การสน้ิ สุดการเปน็ สมาชกิ 1.ตาย 2.ลาออก 3.ขาดคุณสมบตั ิตามทรี่ ะบุไวใ้ นระเบยี บของกลุ่ม 4.ท่ีประชมุ มมี ตใิ หอ้ อกดว้ ยคะแนนเสยี ง 2 ใน 3 ของสมาชิกทง้ั หมด บทบาทหน้าท่ีของสมาชิก 1. รแู้ ละเขา้ ใจแนวทางการดาเนนิ งานของกล่มุ 2. รู้ทีจ่ ะเลือกคนดเี ปน็ กรรมการ 3. รู้กตกิ าและร้ทู ่จี ะปฏบิ ัติตาม 4. รหู้ น้าที่และความรับผิดชอบ 5. รกู้ ิจกรรมและการดาเนนิ งานของคณะกรรมการ 6. รู้วิธกี ารตรวจสอบ คณะกรรมการกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ คณะกรรมการกลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิต ประกอบด้วยคณะกรรมการ 4 คณะ แต่ละคณะไม่ควรนอ้ ยกว่า 3 คน โดยวาระการดารงตาแหน่ง คราวละไม่เกิน 4 ปี โครงสรา้ งและบทบาทหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการ 1. คณะกรรมการอานวยการ มหี น้าที่ • กาหนดระเบยี บข้อบงั คบั • จดั ทาบญั ชีและทะเบยี นเอกสารต่าง ๆ • บรหิ ารงานของกลมุ่ 2. คณะกรรมการเงนิ กู้ มหี นา้ ท่ี • พิจารณาคาร้องขอกเู้ งินของสมาชกิ • ตดิ ตามการใช้จ่ายเงนิ ก้ใู หเ้ ปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ • เรง่ รัดการส่งคนื เงินกู้ กรณีสมาชิกผดิ สัญญา • เยี่ยมเยียน/ชว่ ยเหลอื ให้คาแนะนาแก่สมาชิก 11 3. คณะกรรมการตรวจสอบ มหี นา้ ที่ • ตรวจสอบบัญชี • ตรวจสอบทะเบียนเอกสาร • ตรวจสอบการดาเนนิ งานของกรรมการกลุ่ม 4. คณะกรรมการส่งเสริม มหี นา้ ท่ี • ชกั ชวนผูส้ นใจสมัครใจเปน็ สมาชกิ กลุม่ • เสริมสร้างความเข้าใจในหลกั การกลุ่ม • เผยแพรผ่ ลการดาเนินงาน การดาเนนิ งานของคณะกรรมการ 1. มีนโยบาย โครงการ/กจิ กรรมและแผนการดาเนินงานทช่ี ดั เจน 2. มคี วามรบั ผดิ ชอบ 3. มีการบรหิ ารเชิงธุรกิจ 4. ส่งเสริม ขับเคลอ่ื นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งแก่สมาชกิ 5. มีการประชุมสมา่ เสมออยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 ครงั้ 6. มกี ารเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ 7. มแี ผนการตดิ ตาม/ ตรวจสอบ และประเมนิ ผล การกาหนดกตกิ าหรอื ขอ้ บงั คบั 1. เกิดจากการมีสว่ นร่วมของสมาชิกทกุ คนในการประชมุ ใหญ่ 2. ทุกคนทราบและเข้าใจตรงกัน 3. ทุกคนต้องถือปฏบิ ตั ิโดยเครง่ ครัด 4. ปรบั ปรงุ แกไ้ ขโดยการประชุมใหญป่ ระจาปี การบรหิ ารเงนิ ทนุ แหลง่ ทม่ี าของเงินทนุ เงนิ ทนุ ของกลุ่มออมทรัพยเ์ พื่อการผลติ อาจไดม้ าจากเงินต่าง ๆ ดังน้ี 1. เงนิ คา่ สมัครเข้าเป็นสมาชิก ค่าธรรมเนยี ม และเงนิ คา่ ปรับกรณีผดิ สัญญา 2. เงินสัจจะสะสม เป็นเงินท่ีได้จากการออมของสมาชิกจานวนเท่า ๆ กันทุกเดือน เพื่อใช้เป็นทุนในการ ดาเนนิ งานกลุ่มออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิต ซง่ึ จะจ่ายเงินคืนเมื่อขาดจากการเป็นสมาชิกภาพเท่านั้น โดยกลุ่ม จะจา่ ยผลตอบแทนใหส้ มาชกิ ในรปู ของเงินปันผล 3. เงนิ สัจจะสะสมพเิ ศษ เปน็ เงนิ รบั ฝากจากสมาชกิ ท่ีมีเหลือและประสงค์จะฝากไว้กับกลุ่ม ซ่ึงสามารถถอนไป ใชไ้ ดต้ ามความจาเปน็ และจา่ ยผลตอบแทนเป็นดอกเบย้ี หรอื เงนิ ปนั ผลตามระเบยี บกลุ่ม 12 4. เงินอดุ หนุน กลมุ่ อาจไดร้ ับเงินอดุ หนุนจากส่วนราชการ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ และองค์กรอ่นื ๆ 5. เงนิ ก้ยู ืมจากแหลง่ เงินทุน เช่น ธนาคาร หรือสถาบนั การเงินอื่น ๆ 6. รายไดอ้ ่ืน ๆ เชน่ เงินทนุ สารอง ดอกเบีย้ เงินบริจาค ประเภทของเงนิ ทนุ กล่มุ ออมทรัพย์เพอื่ การผลติ เงินทุนของกล่มุ ออมทรัพย์เพือ่ การผลติ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี 1. เงินทุนดาเนินการ เป็นเงินทุนที่นาไปทากิจกรรมของกลุ่ม เช่น การให้กู้ยืม การบริหารศูนย์สาธิต การตลาด ยุ้งฉาง ธนาคารข้าว โรงสี ป๊ัมน้ามัน เป็นต้น เงินจานวนน้ีได้มาจากเงินสะสมของสมาชิก เงินทีร่ ับฝาก เงินอดุ หนนุ จากหน่วยงานตา่ ง ๆ หากสมาชิกผู้ใดลาออก จะต้องคนื เงินสะสมแก่สมาชิกผนู้ น้ั 2. เงนิ ทนุ สาหรบั ใช้เปน็ คา่ ใช้สอย เป็นเงนิ ทนุ สาหรับใช้จา่ ยในการบริหารงานของกลุ่ม เช่น ค่าสมุด ดินสอ ปากกา อุปกรณ์สานักงาน รวมถึงค่าใช้จ่ายในการประสานงานต่าง ๆ เงินจานวนน้ีได้มาจากค่าสมัคร ค่าธรรมเนียมแรกเขา้ และเงินจากการจดั สรรผลกาไรบางสว่ นที่ระบุใหน้ ามาใช้ในการบรหิ ารจดั การ ทงั้ น้ี การเก็บรกั ษาเงินทุนของกลุ่มออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ ทาได้โดยการฝากไว้กับธนาคาร แยกเป็น 2 บัญชี คือ 1. บญั ชฝี ากประจา ไดแ้ ก่ เงนิ สจั จะสะสมของสมาชกิ และเงินบริจาคทมี่ วี ัตถุประสงค์เปน็ เงินทนุ ของกลมุ่ 2. บญั ชีเผอื่ เรยี ก ไดแ้ ก่ เงนิ ค่าสมัคร เงินคา่ ธรรมเนียมแรกเข้า และเงินคา่ ปรบั ค่าบรกิ ารตา่ ง ๆ การเกบ็ รกั ษาเงินทนุ ของกลุม่ กรมการพัฒนาชุมชน มีแนวทางและคาแนะนาให้กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต นาเงินสัจจะสะสม เงินชาระคืนเงินกู้หรือเงินรับอ่ืน ๆ จากสมาชิกในแต่ละเดือน “นาฝากธนาคารก่อนที่จะปล่อยให้สมาชิกกู้ยืม” ซึ่งแนวทางดังกล่าวกลุม่ อาจจะเหน็ วา่ เป็นการไม่สะดวก ยุ่งยาก เสียเวลา แต่การนาเงินเข้าบัญชีธนาคาร ทกุ ครง้ั ที่มกี ารรับเงิน - จา่ ยเงนิ จะมขี ้อดี ดังน้ี 1. ป้องกันปัญหาการทุจริตของกลุ่ม เพราะว่า ถ้ากลุ่มใดท่ีเก็บเงินสัจจะแล้วให้เหรัญญิกหรือ คณะกรรมการถือเงินสด อาจเกิดความเส่ียงท่ีกรรมการจะนาเงินไปใช้ส่วนตัว ซ่ึงเป็นกรณีปัญหาการ รอ้ งเรยี นส่วนใหญ่ และสมาชกิ กวา่ จะได้เงินคืนต้องมกี ารฟอ้ งรอ้ ง การนาเงนิ ฝากเข้าบัญชีธนาคาร จึงเป็น การป้องกนั ไวก้ ่อน ดกี วา่ ปลอ่ ยให้เกดิ ปัญหาแล้วมาแกไ้ ขในภายหลัง 2. สะดวกต่อการจัดทาบัญชีและการตรวจสอบบัญชี เพราะถ้านาเงินสัจจะที่เก็บจากสมาชิกฝากเข้า บญั ชธี นาคารทุกครง้ั จะทาใหผ้ ทู้ าหน้าท่จี ดั ทาบญั ชี บันทึกรายการในระบบบัญชีต่าง ๆ ของกลุ่มได้อย่าง ถูกต้อง รวมทง้ั ทาให้สามารถตรวจสอบบญั ชีไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ 13 การบริหารกิจกรรมกลุ่ม การบริหารกิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ยึดหลักการมีส่วนร่วมของสมาชิกและใช้ คุณธรรม 5 ประการ เปน็ สาคญั ดังนี้ 1.ทางานในรูปคณะกรรมการ โดยสมาชกิ เลือกตัวแทนเขา้ มาเป็นกรรมการบริหารกลุม่ 2.สมาชกิ รว่ มกนั กาหนดระเบียบ ขอ้ บงั คบั และสมาชิกต้องปฏิบตั ติ ามอย่างเครง่ ครดั 3.มีการจัดทาบญั ชี ทะเบยี น เอกสารที่เก่ยี วข้องอยา่ งชดั เจน ครบถว้ น เป็นปัจจบุ ัน 4.มกี ารตรวจสอบการดาเนินงานให้เป็นไปอยา่ งโปร่งใส 5.มกี ารจัดสรรผลประโยชน์อยา่ งเป็นธรรม กจิ กรรมของกล่มุ ออมทรัพยเ์ พอ่ื การผลิต กิจกรรมพืน้ ฐานของกลุม่ ออมทรัพยเ์ พ่ือการผลิต ประกอบด้วย 1. การดาเนนิ การทางการเงนิ สง่ เสริมใหส้ มาชิกนาเงินมาออมทรัพยใ์ นรูปของเงินค่าหุ้น โดยจะต้องมาสะสมเงินค่าหุ้นอย่างสม่าเสมอ เรยี กว่า “เงินสจั จะสะสม” เพอื่ เปน็ กองทุนสาหรบั สมาชิก ท่ีเดือดร้อนให้กู้ยมื เม่อื ถงึ คราวจาเปน็ 2. การดาเนนิ ธรุ กิจ เป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของชุมชน เช่น ศูนย์สาธิตการตลาด ยุ้งฉาง ปั๊มน้ามัน ลานตากผลผลติ โรงสีข้าว กองทุนป๋ยุ ชีวภาพ เป็นต้น เป็นการฝึกหัดการดาเนินธุรกิจในระบบกลุ่ม โดยมุ่งหวงั ผลกาไร เพ่ือนาไปดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ นอกจากนี้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตยังสนับสนุน เงินกู้ให้กับสมาชิกท่ีเป็นชาวบ้านในชุมชน นาไปเป็นเงินทุนในการลงทุนประกอบอาชีพและใช้ศูนย์สาธิต การตลาดเป็นแหล่งกระจายสนิ คา้ OTOP ในพ้ืนที่ 3. การจัดสวัสดกิ าร กลมุ่ ออมทรัพย์เพอื่ การผลิตตอ้ งนาเงินจากการจดั สรรกาไรสุทธิประจาปี มาจดั สวัสดิการให้กับสมาชิก ในรปู แบบต่าง ๆ ไดแ้ ก่ การรกั ษาพยาบาล ฌาปนกิจสงเคราะห์ ทนุ การศึกษา ทุนสาธารณะประโยชน์ ฯลฯ 4. การส่งเสริมคุณภาพชวี ิต เพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวติ ของสมาชิกกลมุ่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลิตจึงต้องส่งเสริมสมาชิกในการพัฒนาอาชีพ ให้เกิดรายได้ โดยกลุ่มมีบทบาทด้านการสนับสนุนเงินทุนให้สมาชิกนาไปประกอบอาชีพ รวมทั้งส่งเสริม ใหส้ มาชิกมีคุณภาพชีวิตทด่ี ขี ึ้นทกุ ๆ ด้าน 14 การกยู้ มื เงนิ ของสมาชกิ 1. จานวนเงนิ กูย้ ืม ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบข้อบังคบั กลุ่ม และให้กู้เฉพาะบุคคลท่ีเปน็ สมาชกิ กล่มุ เท่านั้น 2. ให้ผูก้ ู้ยื่นคาขอกูต้ ามแบบทก่ี ลุ่มกาหนดต่อคณะกรรมการเงนิ กู้ ณ ทีท่ าการกลุม่ ตามวัน เวลา ทก่ี าหนด 3. ใหผ้ ทู้ ไ่ี ดร้ ับอนุมตั ิเงินกู้ ทาสัญญาเงินกู้กับกลุ่ม จานวน 3 ฉบับ โดยเก็บไว้ท่ีคณะกรรมการ 1 ฉบับ ผู้กู้ 1 ฉบับ และผู้คา้ ประกนั เงนิ กู้ 1 ฉบบั 4. การค้าประกันเงนิ กู้ ผู้ค้าประกันจะต้องเป็นสมาชิกกลุ่มเท่าน้ัน จานวนผู้ค้าประกันให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบงั คบั ของกลมุ่ 5. การคิดอตั ราดอกเบ้ยี เงนิ กู้ ต้องไมเ่ กินอตั ราท่กี ฎหมายกาหนด (ไมเ่ กินรอ้ ยละ 15 ต่อปี) สาหรบั อตั ราคา่ ปรบั กรณีผดิ สัญญาเงินกู้ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบข้อบงั คบั ของกลมุ่ 6. คณะกรรมการตอ้ งทาทะเบยี นคุมเงนิ กู้ และทะเบยี นคุมลูกหนี้ ให้เป็นปัจจบุ นั 7. การรับคืนเงนิ กู้ ใหค้ ณะกรรมการนาฝากธนาคาร ภายใน 3 วันทาการ การจัดสรรผลกาไรของกลมุ่ การจัดสรรผลกาไรของกลุ่ม มีความสาคัญต่อกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและสมาชิกมาก เพราะเป็นการกาหนดเก่ียวกับผลประโยชน์ของกลุ่มฯ ว่าจะจัดสรรผลกาไรจากผลการดาเนินกิจการ ของกลมุ่ ทีไ่ ด้รบั ในแต่ละปีใหก้ ับสมาชกิ ในอัตราเทา่ ไร นอกจากน้ี การจัดสรรผลกาไรเป็นการแสดงให้เห็นถึง ความสามารถในการบริหารจัดการของกลุ่มด้วย ท้ังนี้ การจัดสรรผลกาไรของกลุ่มจะต้องเป็นไป ตามขอ้ บงั คบั ของกลมุ่ ควรประกอบดว้ ย • จัดสรรเป็นทุนสารองของกลุ่ม เงินส่วนน้ีเป็นเงินทุนโดยรวมของกลุ่ม จะนาออกมาใช้ได้ต้องผ่านมติ ทีป่ ระชมุ ของกล่มุ • จัดสรรเป็นทนุ สวสั ดกิ ารหรือสาธารณะ กลุ่มสะสมไว้สาหรับใช้จ่ายเพอื่ เป็นสวัสดิการแก่สมาชิกและใช้เป็น สาธารณะประโยชน์ของหมูบ่ ้าน/ชมุ ชน • จัดสรรเปน็ ทุนขยายงานของกล่มุ การใชท้ ุนประเภทน้ตี ้องไดร้ ับการอนมุ ัติจากท่ีประชมุ • จัดสรรเป็นเงินเฉลี่ยคืนแก่สมาชิก แบ่งตามสัดส่วนดอกเบี้ยเงินกู้ ซ่ึงสมาชิกผู้กู้แต่ละคนจ่ายให้แก่กลุ่ม ในระหวา่ งปีบญั ชี • จดั สรรเงนิ ปนั ผล แบง่ ใหส้ มาชกิ ตามสดั ส่วนของจานวนหุน้ ทีม่ อี ย่ใู นวนั สิ้นปบี ญั ชี • จดั สรรเปน็ ทุนรกั ษาระดับอัตราเงนิ ปันผล เพื่อรกั ษาระดบั อตั ราเงินปนั ผล ซงึ่ จะถอนออกมาใช้ โดยมติของ ทีป่ ระชุมใหญ่สามญั เพือ่ จ่ายสมทบเป็นเงินปันผลตามห้นุ • จดั สรรเปน็ เงนิ ค่าตอบแทนกรรมการและค่าใช้จา่ ยในการดาเนนิ การตามมตทิ ่ีประชมุ สามญั 15 ขอ้ หา้ มการดาเนนิ งานกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ กรมการพฒั นาชุมชน ไดท้ าความตกลงกับธนาคารแหง่ ประเทศไทย ในการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ เพ่อื การผลิต เพอ่ื มิใหก้ ลุ่มออมทรัพยเ์ พอื่ การผลติ ทาผิด พ.ร.บ.การธนาคารพาณิชย์ พ.ศ.2505 พ.ร.บ. การประกอบการธรุ กจิ เงินทนุ ธรุ กจิ หลักทรัพย์และธุรกิจฟองซิเอร์ พ.ศ. 2522, พ.ศ. 2551 โดยมีข้อห้าม ดงั นี้ 1.ห้ามรบั ฝากเงนิ จากบคุ คลภายนอกทไี่ ม่ใชส่ มาชกิ กล่มุ ฯ 2.ห้ามบคุ คลภายนอกทีไ่ ม่ใชส่ มาชกิ กลุ่มฯกูเ้ งนิ 3.หา้ มคิดดอกเบย้ี เกินอัตรากว่าท่กี ฎหมายกาหนด (รอ้ ยละ 15 ต่อปี) การดาเนนิ งานกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ และกจิ กรรมเครอื ขา่ ย กรมการพัฒนาชุมชน ดาเนินการส่งเสริมสนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต โดยศาสตราจารย์ ดร.ยุวัฒน์ วุฒเิ มธี อดีตอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ได้เริ่มดาเนินการครั้งแรก 2 แห่ง ณ ตาบลขวั มุง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ และตาบลละงู อาเภอละงู จังหวัดสตูล ในวันที่ 6 มีนาคม 2517 และถือวันท่ี 6 มนี าคม ของทุกปี เปน็ วันคล้ายวนั กอ่ ต้งั กลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลติ กล่มุ ออมทรพั ย์เพ่อื การผลติ เปน็ การผสมผสานระหว่างแนวคิด ของสหกรณ์การเกษตรเครดิตยูเนี่ยน และสินเชื่อเพอ่ื การเกษตร โดยใช้ “เงินเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน” ทาให้คนมีคุณธรรม มีการช่วยเหลือ เกือ้ กูล เอ้อื อาทร แบ่งปันซึง่ กนั และกัน เกดิ กระบวนการเรียนรู้การทางานร่วมกัน ตามวิถีทางประชาธิปไตย มีการรับฟังความคิดเห็นของเสียงส่วนใหญ่ เคารพในกฎกติกาที่มาจากข้อตกลงร่วมกัน เกิดการเรียนรู้ การบรหิ ารจดั การเงินทนุ ของตนเอง เพอื่ จัดสรรผลประโยชน์ และจดั เปน็ สวสั ดกิ ารให้กับสมาชิก ทาให้ชุมชน มีแหลง่ ทุนในการประกอบอาชพี เป็นของตนเอง ลดการพ่ึงพาแหล่งทุนจากภายนอกชุมชน และสาคัญที่สุด คือ เป็นการฝึกคนให้มคี วามอดทน มสี ัจจะ มรี ะเบียบวินัยในการใชเ้ งิน ร้จู กั ใช้จา่ ยเงนิ อยา่ งมีเหตุมีผล มีความ เหมาะสม พอประมาณกับตนเองและครอบครัวเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับครอบครัวและชุมชนตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ฯ รัชกาลท่ี 9 กล่มุ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต หมายถงึ การรวมตัวของประชาชน เพื่อช่วยเหลือตนเอง และช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน โดยการประหยัดทรัพย์แล้วนามาสะสมทีละเล็กทีละน้อย เป็นประจาสม่าเสมอ เรียกว่า “เงนิ สจั จะสะสม” เพ่ือใช้เปน็ ทุนใหส้ มาชิกท่มี คี วามจาเปน็ เดือดร้อนกู้ยมื ไปใช้ในการลงทุนประกอบอาชีพหรือ เพอื่ สวสั ดิการของตนเอง และครอบครัว กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จึงเป็นกลไกสาคัญในกระบวนการ เสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ทาให้เกิดการพัฒนาชุมชนครอบคลุมในหลาย ๆ มิติ ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม การส่งเสริมประชาธิปไตย การพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ตลอดจนการสง่ เสรมิ วัฒนธรรม วถิ กี ารดารงชวี ิตของคนในชุมชน ซ่ึงเป็นรากฐานในการพฒั นาชมุ ชนให้เขม้ แข็งไดอ้ ย่างยงั่ ยนื 16 กจิ กรรมเครอื ขา่ ย (ธรุ กจิ ชมุ ชน) หมายถงึ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พ่อื การผลิต หรือการลงทุนของกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต อนั ประกอบดว้ ย กิจกรรมทางการผลติ กจิ กรรมทางการขายผลผลติ กิจกรรมการซื้อ -ขาย การบริการ และการบริโภคของชุมชน จะเห็นได้ว่ากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีความเข้มแข็ง จะสามารถยืนหยัดได้ด้วยตนเองและสามารถขยายการลงทุนหรือขยายกิจการ โดยอาศัยความร่วมมือ และการมีส่วนร่วมของสมาชิกเพ่ือยกระดับความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน ดังน้ัน ข้ันตอนการดาเนินงาน เพอ่ื ใหก้ ิจกรรมเครอื ขา่ ยประสบความสาเร็จ ควรมีขัน้ ตอนสาคญั ดังนี้ 1. ค้นหาความต้องการของตลาด การจะดาเนินกิจกรรมเครือข่าย กลุ่มจะต้องทราบความต้องการสินค้าและบริการของสมาชิกและคน ในชุมชน ความได้เปรียบทางด้านการผลิต หรือการแข่งขันเพราะชุมชนแต่ละพ้ืนท่ีมีความได้เปรียบทาง ทรัพยากรท่ีแตกต่างกัน น้ันคือกลุ่มควรตระหนักว่าจะนาทรัพยากรของชุมชนท่ีมีอยู่มาผลิตสินค้าอะไร เพ่อื ตอบสนองความต้องการและเกิดประโยชน์ต่อกลุม่ และชมุ ชนไดม้ ากทีส่ ดุ 2. เลอื กวธิ ีการผลิตสินค้าหรอื บริการทเ่ี หมาะสม การดาเนินกิจกรรมเครือข่ายจะต้องทราบว่าผู้ที่ลงมือผลิตมีใครบ้าง และผู้ที่เก่ียวข้องกับการผลิต มีใครบ้าง จึงควรให้ผู้ท่ีมีความสามารถนี้เป็นผู้ลงมือผลิต ให้คาแนะนาในการผลิต และยังให้พึ่งพาผู้ท่ี เกี่ยวข้องกับการผลิต เช่น หน่วยงานราชการ สถาบันวิชาการต่าง ๆ นอกจากน้ี ในการผลิตที่เหมาะสม ของธรุ กจิ จะต้องคานงึ ถงึ ปจั จัยการผลิต อันประกอบด้วย ที่ดิน แรงงาน และทุนท่ีใช้ในการดาเนินงาน และ ผ้ปู ระกอบการ 3. ใครคือกลมุ่ เป้าหมาย การดาเนินกิจกรรมเครือข่ายจะต้องทราบว่าควรขายสินค้าให้กับใคร และลูกค้าจะซื้อสินค้าของเรา ได้อย่างไรซง่ึ ลูกคา้ อาจแบง่ เป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต หรือลูกค้าในชุมชนท่ีไม่ได้เป็นสมาชิก ขน้ึ อยูก่ ับตัวสินคา้ และความต้องการสนิ คา้ จะเป็นตวั กาหนด เชน่ กรณีผา้ ทอเกาะยอ ลกู ค้าเปน็ คนนอกชุมชน กรณีปั๊มน้ามันลูกค้าจะเป็นสมาชิกกลุ่มหรือคนในชุมชน สาหรับการเข้าถึงลูกค้าน้ัน สามารถแบ่งลูกค้า ออกเปน็ 2 ประเภท ประกอบดว้ ยลกู ค้าปลีกคือลูกค้ารายย่อยท่ีซื้อสินค้าเพ่ือนาไปบริโภคเอง และลูกค้าส่ง คอื ลูกค้าทซี่ อ้ื สินค้าในปริมาณมากเพือ่ นาไปขายต่อ 4. กาหนดรูปแบบทีเ่ หมาะสม รูปแบบท่เี หมาะสมสาหรบั การดาเนินกจิ กรรมเครือข่าย แบ่งเป็น • กลุ่มทไ่ี มเ่ ป็นทางการ คือ ไม่มกี ารจดทะเบยี นตามกรอบกฎหมายใด ๆ เชน่ กลมุ่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิต จะมีความเป็นอิสระในการดาเนินงาน แต่ไม่สามารถทานิติกรรมในนามของกลุ่มได้ ข้อเสียของกลุ่มดัง กล่าวคือระดมทนุ ไดน้ อ้ ย ข้อดคี อื การบรหิ ารงานภายในกลมุ่ มคี วามคลอ่ งตัวเน่ืองจากสมาชิกบริหารงาน ภายในกลมุ่ • กลุ่มทีเ่ ปน็ ทางการ คอื กลุ่มทม่ี ีการจดทะเบียนตามกฎหมายในรูปแบบต่าง ๆ เช่นวิสาหกิจชุมชน ข้อเสีย คือการบรหิ ารงานมีความซับซ้อนมากยงิ่ ข้ึนและมีความล้าช้า สว่ นข้อดคี ือการระดมทุนสามารถทาได้รวดเร็ว 17 ปัจจยั ทกี่ าหนดความสาเรจ็ ของการดาเนนิ กจิ กรรมเครอื ขา่ ย (ธุรกจิ ชมุ ชน) 1. ความเข้าใจของสมาชิก สมาชกิ จะตอ้ งเขา้ ใจในความแตกตา่ ง ขอบเขต และข้อจากัดของกลุ่มในการดาเนิน กิจกรรมเครอื ข่าย 2.ความตอ้ งการและเป้าหมายของการดาเนินกิจกรรมเครือข่าย ซึ่งบางกลุ่มอาจดาเนินกิจกรรมเครือข่าย พอไดก้ าไรแคพ่ ออยพู่ อกินหรือสามารถแก้ปัญหาให้กับสมาชิก เช่นกิจกรรมเครือข่ายเกี่ยวกับการเกษตร หรอื ปศสุ ตั ว์ บางกลมุ่ อาจมเี ป้าหมายคอื กาไร เพอื่ นาผลกาไรมายกระดับความเป็นอยู่ของสมาชิกให้มีความ เป็นอยู่ท่ีดีขนึ้ และเกิดประโยชน์แกช่ ุมชน 3. เงินทนุ เพราะเงินทนุ เป็นปจั จยั หนึ่งท่กี าหนดความสาเร็จของกจิ กรรมเครอื ขา่ ย ดงั น้นั การดาเนินกิจกรรม เครอื ขา่ ย ควรเรม่ิ จากกิจการเล็กไปใหญ่ ค่อยๆ สะสมเงินทุนจากสมาชิกเพ่ือสร้างความแข็งแกร่งให้เกิดกับ ธุรกจิ 4. ทรัพยากรบคุ คล ซึ่งบุคคลเหล่านีจ้ ะตอ้ งมีความรู้ ความสามารถทั้งด้านภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ และวิทยาการ สมยั ใหม่ ทงั้ นจ้ี ะต้องเปน็ คนท่ีรักงานในชุมชน ชอบงานท้าทาย มีความเสยี สละ ไม่หวังผลตอบแทนมากเกินไป 5. การมีส่วนร่วมของสมาชิกและชุมชน เป็นสิ่งสาคัญท่ีสุดในการจัดต้ังกิจกรรมเครือข่าย ถ้าสมาชิก ไม่ร่วมมือการดาเนินกิจกรรมเครือข่ายก็ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ โดยท่ีสมาชิกควรมี 4 ร่วม คือ ร่วมคิด รว่ มตัดสนิ ใจ รว่ มทา และร่วมรบั ผิดชอบ การบรหิ ารจดั การกจิ กรรมเครอื ขา่ ย กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ การจัดตง้ั กจิ กรรมเครอื ข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพอ่ื การผลติ (ธุรกจิ ชมุ ชน) เป็นการลงทุนดาเนินกิจกรรม ท่ีมีความเส่ียง ดังนั้นการจัดต้ังกิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่ม จะต้องมีการพิจารณาอย่างรอบด้าน ซ่ึงมีข้อควร พิจารณา ดังนี้ 1. เหตผุ ลความจาเป็นและสภาพกอ่ นจัดตั้ง ควรพจิ ารณาแยกเป็นขอ้ ๆ เพอื่ ให้มองภาพชดั เจน เข้าใจง่าย ตวั อยา่ ง กรณีกยู้ ืมเงินมเี หตผุ ลความจาเป็นและสภาพก่อนจัดตงั้ ดังนี้ (1) สมาชิกขาดเงนิ ทุนในการประกอบอาชีพ (2) ครัวเรือนสว่ นใหญ่มรี ายไดไ้ มเ่ พยี งพอ สาหรบั แก้ไขปญั หาความเดือดร้อนที่เกิดข้ึนอย่างกะทันหัน หรือ ปลดเปลื้องหนสี้ ิน (3) ครัวเรือนสมาชกิ มหี นีส้ ินซ้าซ้อน (4) ชุมชนยังขาดทักษะการบรหิ ารจัดการเงินทุนให้เกิดประโยชน์สงู สดุ 18 ตวั อย่าง กรณีโรงสขี ้าว มีเหตผุ ลความจาเปน็ และสภาพกอ่ นจัดตงั้ ดังน้ี (1) ถูกกดราคาจากพอ่ ค้าคนกลาง ทาให้ชาวนาขายขา้ วเปลอื กราคาถกู แต่ต้องซ้อื ขา้ วสารราคาแพง (2) ในพ้ืนทีห่ ่างไกล ตอ้ งเสยี ค่าใช้จา่ ยในการขนสง่ ข้าวไปโรงสี (3) ถกู เอารัดเอาเปรียบจากโรงสีเอกชน 2. ประโยชนท์ ส่ี มาชกิ และชมุ ชนไดร้ บั ตวั อยา่ ง กรณกี ้ยู ืมเงินมีประโยชน์ตอ่ สมาชกิ และชมุ ชน ดงั นี้ (1) มีแหลง่ เงินทุนภายในชุมชนให้กูย้ มื เพอื่ การประกอบอาชีพและแกไ้ ขปัญหาความเดือดร้อนของครัวเรอื น โดยยดึ หลกั ความไวว้ างใจ (2) สรา้ งวนิ ัยการเงินเพอื่ ลดปญั หาหน้สี ินซ้าซ้อนของครัวเรอื น (3) ส่งเสรมิ ให้ชมุ ชนไดเ้ รียนร้กู ารบริหารจัดการเงนิ ทนุ ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด สง่ เสรมิ ใหช้ มุ ชนไดช้ ว่ ยเหลอื กนั เอง โดยยดึ หลกั การพึง่ พาตนเอง ตวั อย่าง กรณโี รงสีขา้ วมีประโยชน์ตอ่ สมาชกิ และชมุ ชน ดังน้ี (1) แก้ปัญหาพอ่ คา้ คนกลางกดราคาข้าว (2) ลดภาระค่าขนสง่ ข้าวไปโรงสี (3) ทาใหค้ ่าใชจ้ ่ายลดลง ไดป้ รมิ าณข้าวตามจรงิ (4) เกษตรกรมีข้าวสารบริโภค ขาย ในชมุ ชน (5) มีการบรกิ ารอานวยความสะดวกในการสขี า้ วใหส้ มาชกิ และชุมชน (6) มีการซอ้ื ข้าวเปลือกมาสเี พือ่ การจาหนา่ ยผลผลิตและแจกจ่ายผู้มรี ายได้น้อย (7) มีการพฒั นาศกั ยภาพการทางานและการอยู่ร่วมกันในสังคมเชิงคณุ ธรรม (8) มีแหลง่ รบั ซือ้ ขา้ วปลอดภยั ในชมุ ชน 3. ประเดน็ ขนั้ ตอนการจดั ตง้ั ควรพจิ ารณาแยกเป็นข้อ ๆ เพือ่ ใหม้ องเหน็ ภาพชดั เจน เข้าใจงา่ ย เรมิ่ ต้ังแตส่ ภาพกอ่ นจดั ตั้ง จนถึง ปจั จุบัน ตัวอย่าง กรณีโรงสีขา้ วมีขนั้ ตอนการจัดตัง้ ดังน้ี (1) ประชมุ ประชาคม ราษฎรในชุมชน เพ่อื วิเคราะห์หาข้อมลู ในชุมชน (2) จดั ตัง้ กลมุ่ สมาชกิ กลมุ่ จัดหางบประมาณในการดาเนนิ กจิ กรรม โดยขอรบั การสนบั สนนุ จากภาครฐั เอกชน และประชาชนในชมุ ชน (3) เลือกคณะกรรมการบรหิ าร (4) จัดทาระเบียบขอ้ บงั คับของโรงสี (5) เตรยี มประสานงาน ดาเนนิ การ ดา้ นการจดั เตรียมความพร้อม (6) ศึกษาขอ้ มูลทเี่ กี่ยวกับขั้นตอนการสขี า้ ว และเทคนคิ การบรหิ ารจดั การกล่มุ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ ทาการเช่อื มโยง กิจกรรมของกลุ่ม องคก์ รต่าง ๆ ในหมู่บ้านและชมุ ชนใกลเ้ คยี ง 19 ตัวอย่าง กรณีย้งุ ฉาง มขี ั้นตอนการจดั ต้งั ดงั น้ี (1) ประชมุ ประชาคม ราษฎรในชมุ ชน เพ่อื วเิ คราะหห์ าข้อมลู ในชุมชน (2) จัดต้ังกลุ่ม สมาชิกกลุ่ม จัดหางบประมาณในการดาเนินกิจกรรม โดยขอรับการสนับสนุนจากภาครัฐ เอกชน และประชาชนในชมุ ชน (3) เลือกคณะกรรมการบรหิ าร (4) จดั ทาระเบียบข้อบังคบั ของยงุ้ ฉาง (5) เตรยี มประสานงาน ดาเนินการ ด้านการจัดเตรียมความพร้อม (6) ศกึ ษาขอ้ มลู ท่เี กย่ี วกบั การดาเนนิ งานยุง้ ฉาง และเทคนิคการบริหารจดั การกล่มุ ให้มีประสทิ ธภิ าพ 4. เงินทนุ ท่มี าของเงนิ ทนุ ตั้งต้น แหล่งเงนิ ทนุ จานวนเงนิ ทุนหมุนเวียน การจัดสรรเงิน เพื่อจัดซื้อ - คัดเลือกสินค้า และวัตถดุ ิบ 5. โครงสร้างคณะกรรมการและการควบคมุ กากบั ดูแล โครงสร้างคณะกรรมการอาจประกอบด้วยคณะกรรมการชุดใหญ่ คณะกรรมการชุดย่อย หรือ คณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ และแสดงถึงบทบาท อานาจหน้าท่ีของแต่ละฝ่าย วิธีการลงมติ การช้ีขาด การส่ังการ การควบคุมบังคบั บัญชา ตัวอย่าง กรณีคณะกรรมการบรหิ ารจดั การโรงสขี ้าวแบง่ คณะกรรมการบรหิ ารออกเปน็ ๕ ฝา่ ย ไดแ้ ก่ (1) ฝา่ ยการผลติ มหี น้าที่ ตดิ ต่อประสานงานและวางแผนในการผลิตข้าวเปลือก แปรรูปผลผลติ (2) ฝ่ายจัดซื้อ มีหนา้ ท่ี วางแผนการจดั ซอื้ ขา้ วเปลอื กจากสมาชิก ควบคมุ การเบิกจ่ายข้าวเปลอื กให้ฝา่ ยผลิต (3) ฝ่ายการตลาด มีหน้าท่ี วางแผนการตลาด ติดต่อประสานงานกับชุมชนภายนอกและหน่วยงาน ทม่ี คี วามสนใจ ตดิ ต่อลกู คา้ ประชาสัมพนั ธ์ เข้ารว่ มประชุมกิจกรรมแสดงสินค้าจัดส่งสินค้า ทั้งขายตรงและ ขายปลกี ตดิ ตอ่ พ่อคา้ คนกลาง (4) ฝ่ายบญั ชี มีหนา้ ท่ี จัดทาบญั ชรี ายรับ รายจ่าย ทั้งหมด และควบคมุ เรือ่ งการเงนิ จัดสรรปนั ผลสวัสดิการ ต่าง ๆ แกส่ มาชิกในชุมชนอยา่ งเป็นธรรมใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บ (5) ฝ่ายตรวจสอบ มีหน้าที่ ตรวจสอบการเงิน สต๊อกสินค้า ตรวจสอบให้กลุ่มดาเนินงานเป็นไปตาม วัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั ต้ัง 6. บุคลากร วิธีการคัดเลือกบุคลากร ฝึกอบรมทักษะในงาน วิธียึดเหนี่ยวน้าใจกัน เงินเดือนและค่าตอบแทน จัดการบรหิ ารงานบุคคล ตามหลักระบบอุปถัมภ์หรอื ระบบคณุ วฒุ ิ 7. ผลผลติ การจดั เก็บขอ้ มูลหมวดหมสู่ ินค้า ระบบเก็บข้อมูลลกู ค้า รายการขายสดแตล่ ะวัน รายการสินค้าคงเหลือ รายการสินค้าขายดี - ไม่ดี รายการควบคุมลกู หน้ี การตรวจสอบ - ควบคุมคณุ ภาพ 20 8. การคานวณตน้ ทนุ – ผลกาไร - การจัดแบง่ ผลกาไร ตวั อย่าง กรณกี ารจัดแบ่งผลกาไรของโรงสีข้าว โดยคานวณเงินจากรอ้ ยละของเงนิ เฉลีย่ คืนเปน็ รายเดือนแก่ ผซู้ อื้ สินค้าทเ่ี ปน็ สมาชิก รอ้ ยละของเงินปันผลให้แก่สมาชิกตามจานวนหุ้น หรือเงินปันผลให้สมาชิกกลุ่ม / กองทนุ ชุมชน ตามจานวนหุ้น 9. เคร่อื งจกั ร แหล่งซือ้ ขายเครื่องจกั ร การตดิ ตัง้ และซอ่ มบารงุ รกั ษา 10. ตลาด วิธีหาตลาดรบั ซื้อ แหลง่ จดั จาหนา่ ย การกระจายสินคา้ วิธีสง่ เสรมิ การขาย – เพม่ิ ยอดขาย 11. สถานทด่ี าเนินการ - จัดจาหน่าย - แหลง่ วัตถุดบิ เหตุผลทเ่ี ลือกอาจพิจารณาวา่ สถานทน่ี ี้มีข้อไดเ้ ปรยี บดกี วา่ แหลง่ อืน่ อย่างไร 12. ทะเบยี น เอกสารบญั ชแี ละอุปกรณท์ จี่ าเปน็ ลักษณะของกิจกรรมที่ดาเนินการ เช่น กรณีกู้ยืมเงินต้องมีทะเบียนคุมสินค้า คุมลูกหนี้ และคุมเจ้าหนี้ กรณี ศูนยส์ าธติ การตลาด ตอ้ งมีทะเบียนซ้ือสนิ คา้ ของสมาชิก บัญชรี บั - จ่ายรายวัน บัญชีเงินสด – บัญชี เงินฝากธนาคาร (ส.) บัญชีรายได้และหนี้สิน (ร.) บัญชีรายจ่ายและทรัพย์สิน (จ.) งบกาไร - ขาดทุน และงบดุล ซึ่งแต่ละทะเบียน เอกสาร หรืออุปกรณ์ มีวิธีการใช้ประโยชน์และเก็บรักษาแตกต่างกัน และสนับสนุนกัน อย่างไรบา้ ง 13. เวลาเปดิ - ปิดทาการ เหตผุ ลที่เลือกช่วงเวลาดงั กลา่ ว 14. ขอ้ จากดั การดาเนินกจิ กรรมภายใต้สถานะ สภาพแวดล้อม ประชากร ทรัพยากร ลกั ษณะนสิ ัย งบประมาณที่มี จากดั หรอื ระเบียบกฎหมายที่มีผลบงั คับ ซง่ึ เปน็ ข้อจากดั กลมุ่ ออมทรัพยเ์ พอื่ การผลติ ตอ้ งพบกบั อะไรบา้ ง 15. ขอ้ ป้องกนั และการแกไ้ ข กรณียังไม่เกิดปัญหาแต่เป็นการป้องกันมิให้เกิดปัญหาภายหลัง เกิดปัญหาแล้วมีข้อแก้ไขอย่างไร ได้ผลดีอย่างไร 16. ข้อทีค่ วรรู้ จุดสังเกตตรวจจับทุจริตพฤติกรรมส่อทุจริตของผู้เก่ียวข้องความจาเป็นของหลักทรัพย์ค้าประกัน ทาเลดาเนนิ การทเี่ หมาะสม ได้สารวจพฤตกิ รรมผู้บรโิ ภคในการตัดสินใจซ้ือสินค้า หรือความเป็นไปได้ทาง ธุรกิจหรอื ไม่ 17. เทคนคิ การทางาน การสื่อความเข้าใจ (ดว้ ยถอ้ ยคา ภาษา เชน่ พูด เขยี นหรอื ไมใ่ ช้ถอ้ ยคา เชน่ เคร่ืองหมายและสัญญาณ) วธิ ีการจงู ใจการวินจิ ฉัยสั่งการ (โดยสามัญสานกึ หรือเหตุผล) วิธีดาเนินงานท่ีได้ผลดี ลดความผิดพลาด ลดแรงงาน ลดเวลา หรือการจดั รา้ นค้าใหน้ ่าสนใจ 21 18. การจดั การความรู้ วิธี/ประสบการณ์ท่ีได้ขุดค้น และรวบรวมความรู้ จัดหมวดหมู่ สื่อสารถ่ายทอดความรู้แบบรุ่นสู่รุ่น แบบตัวต่อตัว การจัดกิจกรรมกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ หรือส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ สรา้ งองคค์ วามรูใ้ หม่ ประยกุ ต์ใช้ความรู้ 19. สรปุ ประเมนิ สถานการณป์ จั จุบนั ประเมินสถานการณ์ของกิจกรรมท่ีดาเนินการด้วย SWOTAnalysis ซึ่งเป็นเครื่องมือวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมและศักยภาพ แยกเปน็  จุดแขง็ (Strengths) ปัจจยั ภายในทีส่ นบั สนนุ ใหด้ าเนินกจิ กรรมอยไู่ ด้  จุดอ่อน (Weaknesses) สภาพปัญหาภายในที่เกิดขน้ึ และยังแกไ้ ขไม่ได้  โอกาส (Opportunities) ปัจจยั ภายนอกที่สนับสนนุ การดาเนินกิจกรรม  อปุ สรรค (Threats) ภัยคุกคามจากภายนอกทีไ่ มส่ ามารถควบคมุ จัดการไดเ้ ลย ตัวอยา่ งแผนปฏบิ ตั กิ าร การดาเนินกจิ กรรมเครอื ขา่ ย (ธุรกจิ ชมุ ชน) ของกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลติ การดาเนนิ กจิ กรรมเครอื ข่ายกลุม่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลติ กลุ่มควรมีการจดั ทาแผนการ ดาเนินงาน เพื่อเตรยี มความพรอ้ มในประเดน็ ดงั นี้ 1) ชอ่ื กิจกรรม 2) เหตุผลความจาเปน็ สภาพก่อนจัดต้ัง สภาพปญั หา ความต้องการ ทรัพยากรท่มี ใี นพนื้ ท่ี 3) ระบุความต้องการแกป้ ญั หา หรอื การดาเนินภารกจิ และความสาคัญ 4) ระบุความจาเป็นเรง่ ด่วนและความสาคญั 5) ระบนุ โยบาย/แผนงานของกลุ่มออมทรัพยเ์ พ่ือการผลิตท่เี กีย่ วข้อง 6) วัตถปุ ระสงคก์ ิจกรรม 7) กลมุ่ เป้าหมาย 8) พ้นื ทก่ี ารดาเนินงาน 9) ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั 10) ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 22 กรณศี ึกษากจิ กรรมเครือข่าย (ธุรกิจชมุ ชน) กลุม่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลิต 23 โรงน้าด่มื ชมุ ชน ที่มาของการกอ่ ตงั้ คณะกรรมการกลุม่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลิต มีแนวคิดท่ีจะ ดาเนินกิจกรรมเครือข่ายของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตข้ึน โดยมุ่งเน้นประโยชน์ให้เกิดข้ึนกับคนในชุมชม เร่ิมจากการ สารวจข้อมูลความต้องการของคนในชุมชน จากมติ ท่ีประชุมพบว่าน้าด่ืมเป็นส่ิงที่ทุกบ้านต้องซื้อหาไว้บริโภค และในชมุ ชนยังไม่มโี รงนา้ ดืม่ ทาใหต้ อ้ งซื้อหาจากนอกชุมชน ตามร้านค้า ห้างร้าน หรือร้านสะดวกซื้อ เงินในชุมชน ไหลออกไปนอกชุมชน หากมีโรงน้าดื่มของชุมชนเอง นอกจากจะลดค่าใช้จ่ายในการซื้อน้าด่ืมที่ถูกลงแล้ว เงินจะ หมนุ เวียนภายในหม่บู า้ น /ชุมชนดว้ ย จึงเป็นที่มาของการทา โรงน้าดืม่ ชมุ ชนขึ้น ขนั้ ตอน/วธิ ีการ 1. นาตวั อย่างนา้ ไปทดสอบ กรณนี ้าประปา ให้นาตวั อย่างน้าไปทดสอบด้านจุลชีววิทยา กับกรมวิทยาศาสตร์บริการ เพื่อทดสอบคุณภาพน้า โดย ภ า ช น ะ ที่ ใ ช้ เ ก็ บ ตั ว อ ย่ า ง ต้ อ ง ส ะ อ า ด แ ล ะ ไ ด้ ผ่ า น ก า ร ฆ่ า เ ช้ื อ ทาความสะอาดหัวก๊อกน้า โดยเช็ดด้วยผ้าสะอาดหรือสาลี ชบุ แอลกอฮอล์สาหรับเช็ดแผล แล้วเปิดน้าทิ้งประมาณ 5 นาที เพื่อไล่น้าที่ค้างอยู่ภายในท่อออกก่อนบรรจุลงขวดเก็บตัวอย่าง ลา้ งมือใหส้ ะอาด เปดิ ฝาขวดเก็บตัวอย่างโดยจับเฉพาะด้านบน หา้ มจบั ด้านในของฝาหรอื ปากขวด ใสน่ า้ ลงในขวดสูงระดับไหล่ ของขวด อย่าใส่จนน้าล้นแล้วรีบปิดฝาขวด ติดแผ่นป้ายท่ีข้าง ขวดเกบ็ ตัวอยา่ ง ระบรุ ายละเอยี ดของตัวอย่าง ดงั น้ี ชื่อตัวอย่าง น้า สถานที่เก็บ วันเวลาที่เก็บ นาตัวอย่างน้าส่งเพ่ือทดสอบ โดยเร็วท่ีสุด อย่างช้าไม่เกิน 6 ช่ัวโมงหลังเก็บตัวอย่าง ท้ังนี้ เนื่องจากจุลินทรีย์เพ่ิมจานวนตลอดเวลา ในกรณีที่เก็บจาก ต่างจังหวัด ควรนาขวดตัวอย่างใส่ในถุงพลาสติก รัดปากถุง ให้แน่นเพ่ือกันน้าจากภายนอกปนเป้ือนเข้าไป แล้วแช่เย็น ในกระตกิ นา้ แข็งระหวา่ งการนาสง่ ตวั อยา่ ง 24 กรณีไม่มีน้าประปา/น้าประปาไม่เพียงพอ/น้าบาดาล ต้องนาน้าส่งตรวจสอบคุณภาพน้า ตามพ.ร.บ.นา้ บาดาล พ.ศ.2520 และทแี่ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข (ถ้ามี) ในการย่ืนคาขอ และในการ พิจารณาอนุญาต ด้วยการเก็บตัวอย่างน้าจากบ่อน้าบาดาลท่ีเจาะใหม่ ให้เก็บในขณะทาการทดสอบปริมาณน้า โดยเก็บก่อนทาการหยุดสูบประมาณ 15 นาที การเก็บตวั อย่างนา้ จากบ่อน้าบาดาลท่ีได้รับใบอนุญาตใช้น้า บาดาลแล้ว ให้เก็บหลังจากการเร่ิมสูบนา้ ใช้ในวนั ทจี่ ะเก็บตัวอยา่ งไมน่ ้อยกวา่ 15 นาที ภาชนะที่จะใส่ตัวอย่าง น้า ต้องเป็นขวดแก้ว หรือขวดพลาสติกที่สะอาด และจะต้องล้างทั้งขวดและฝาด้วยน้าท่ีจะบรรจุเสียก่อน ประมาณ 2- 3 ครั้ง แลว้ จงึ บรรจุตัวอย่างน้าให้เต็ม ปดิ ฝาใหแ้ น่น แลว้ รีบนาส่งวิเคราะหท์ นั ที สถานท่ยี นื่ คาขอ สานักควบคุมกิจการน้าบาดาล หรอื สานกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจังหวัด , สานกั ทรพั ยากรนา้ บาดาล เขต 1 - 12 2. การขออนญุ าตสถานทีผ่ ลิตนา้ ดม่ื และชาระภาษีโรงเรือน ติดต่อหน่วยงานท้องท่ี (องค์การบริหารส่วนตาบล) ในเรื่องการขออนุญาตสถานท่ีผลิตน้าดื่มและ การชาระภาษีโรงเรือน สถานท่ีผลิตโรงน้าดื่มชุมชน ซ่ึงต้องดูสถานที่ต้ังและอาคารผลิต เพื่อป้องกัน การปนเป้ือน ห้องผลิตแยกเป็นสัดส่วน ห้องบรรจุมีความถาวร สะอาด ปลอดภัย หรือไม่ เครื่องจักร เครื่องมือ และอปุ กรณก์ ารผลิตได้มาตรฐาน ภาชนะบรรจุปลอดภยั เป็นต้น สถานทต่ี ้ังอาคารผลิตและบรเิ วณใกลเ้ คียงตอ้ งอย่ใู นท่ี ๆ เหมาะสม ไมท่ าใหเ้ กดิ การปนเปือ้ นกบั นา้ บริโภค หรือหากไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ต้องมีมาตรการ ป้องกันเพ่ิมเติม อาคารผลิตต้องมีผนังทั้ง 4 ด้าน การจัดอาคารอย่างน้อย ประกอบด้วย (1) หอ้ งติดตั้งเคร่ืองมือ อุปกรณ์ปรับคุณภาพน้าต้องมีพื้นลาดเอียง มีทาง ระบายนา้ ไมม่ ีน้าขงั (2) ห้องหรือบริเวณเก็บภาชนะก่อนล้าง ต้องมีพื้นท่ีแห้ง มีชั้น หรือยกพ้ืน มีมาตรการป้องกนั ฝุ่นละออง (3) ห้องหรือบริเวณล้างและฆ่าเชื้อภาชนะบรรจุภัณฑ์ ต้องมีพ้ืนท่ีลาดเอียง ไม่มีนา้ ขัง และมีทางระบายนา้ มรี ะบบจดั แยกภาชนะทีก่ าลงั รอลา้ ง (4) ห้องบรรจุ ต้องมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนอย่างมีประสิทธิภาพ ทางเข้าที่สามารถป้องกันสัตว์ แมลง ไม่เป็นทางเดินไปยังบริเวณอ่ืน ๆ มีพ้ืน ลาดเอียง ไม่มีน้าขงั และมีทางระบายน้า มโี ต๊ะและมีแทน่ บรรจุ ซึ่งทาความสะอาด ง่าย ห้องบรรจุดงั กล่าวตอ้ งมีการใช้และปฏบิ ัตงิ านจรงิ (5) ห้องเก็บผลิตภัณฑ์ ห้องน้ีต้องมีชั้น หรือยกพื้นรองรับ มีระบบการจัด กจิ กรรมเพอ่ื รอจาหนา่ ย สถานทตี่ ิดต่อ เทศบาล องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัด/ตาบล ในพ้นื ทีท่ ่ีดาเนินการ 25 3. การขออนญุ าตหากสถานประกอบการเขา้ ข่ายโรงงาน (หากเข้าขา่ ยโรงงาน) สถานที่ เข้าข่ายโรงงาน สามารถแยกได้เปน็ 3 ประเภท ดงั น้ี 1. โรงงานประเภท 1 มีเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ท่ีใช้ในการผลิต 5 – 20 แรงม้า หรือคนงานไม่เกิน 20 คน โรงงานประเภทน้ีไม่ต้องขออนุญาต แต่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในกฎกระทรวง และประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (โรงงานนา้ ดม่ื ชุมชนส่วนใหญอ่ ยปู่ ระเภท 1) 2. โรงงานประเภท 2 มีเคร่ืองจักรที่ใช้ในการผลิต 20 –50 แรงม้า หรือคนงานไม่เกิน 50 คน เม่ือจะเริ่มประกอบ กจิ การโรงงานตอ้ งแจ้งตอ่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือสานักงานอุตสาหกรรมจงั หวดั ท่ีโรงงานต้ังอยู่ 3. โรงงานประเภท 3 มีเครอื่ งจักรหรืออปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ นการผลิตเกิน 50 แรงม้า หรือคนงานเกิน 50 คน หรือ โรงงานประเภท 1 และ 2 ทีม่ ีการใช้ ฟนื ขี้เลื่อย หรอื แกลบเป็นเชือ้ เพลงิ ในการผลิต ผู้ประกอบการต้องยื่นขอ อนญุ าตกอ่ น จึงจะตั้งโรงงานได้ สถานท่ีติดต่อ อุตสาหกรรมจังหวัด (หากสถานประกอบการเข้าข่ายโรงงาน ทั้งน้ี ขึ้นอยู่กับแรงม้าของ เครือ่ งจกั ร และแรงงานคน) สามารถตดิ ต่ออตุ สาหกรรมจงั หวดั ในพน้ื ที่ท่ีดาเนนิ การ 4. การขออนญุ าตผลิตภัณฑ์ (ขอเครอ่ื งหมาย อย.) การขออนุญาตผลิตภัณฑ์ (ขอเคร่ืองหมาย อย.) ต้องส่งตัวอย่างน้าด่ืม และนาผลวิเคราะห์มาย่ืน ขออนุญาตผลิตต่อสานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา(อย.) / สานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) (ท้ังน้ี ต้องผ่านบันทึกการตรวจสอบสถานที่ผลิต น้าบริโภคในภาชนะทป่ี ดิ สนิท : ตส.3 (50)) สถานทอี่ อกใบอนุญาต (เครือ่ งหมาย อย.) สานักงาน สาธารณสขุ จงั หวดั 5. การเปดิ กิจกรรมโรงนา้ ด่ืมชุมชน โดยวิธีการใหก้ ลุ่มออมทรัพย์เพือ่ การผลิตลงหุ้น และให้สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตลงหุ้น 6. ผลิตภณั ฑน์ า้ ด่ืม (Product) ร่วมกัน และปันผลกาไรคนื แกส่ มาชกิ ทกุ ปี 6.1 น้าด่มื บรรจขุ วด กลมุ่ ลกู ค้าจะเปน็ กลุ่มบุคคล ทว่ั ไป หรือคนทต่ี ้องการนา้ ด่ืมปริมาณไม่มาก สะดวก แก่การพกพา เหมาะสมสาหรับการขายตามร้านค้า ในชมุ ชน 6.2 น้าดมื่ บรรจุถัง กลุ่มลูกค้าจะเป็นคนในชุมชน ที่ใ ช้ บ ริ โ ภ ค ใ น ค รั ว เ รือ น เ ป็ น ส่ ว น ใ ห ญ่ ห รื อ ผู้ประกอบการร้านอาหาร/ร้านค้า เน่ืองจากน้าด่ืม บรรจุถงั มรี าคาถกู และไดน้ า้ ปรมิ าณมาก 26 7. ลักษณะที่ดีของน้าดืม่ บรรจุขวด/ถงั 7.1 สภาพภายนอกและสภาพภายในของขวด/ถังต้องสะอาด บริเวณฝาปิดต้องไม่มีคราบปนเป้ือน ฝาต้องปดิ สนทิ มแี ผน่ พลาสติกห่อห้มุ ฝาอีกชั้นหนึ่ง 7.2 ลกั ษณะของนา้ ดม่ื ต้องใส ไมม่ ีตะกอน สี กลิน่ รสที่ผดิ ปกติ 7.3 ฉลากตอ้ งระบชุ อื่ ตรานา้ ดม่ื ท่ตี ้ังของผู้ผลติ ปรมิ าตรสทุ ธิ เลขทะเบยี น อย. อยา่ งชัดเจน 8. การกาหนดราคา การกาหนดราคาของน้าด่ืมน้ัน ต้องกาหนดจากต้นทุนการผลิต ซ่ึงประกอบด้วย ค่าแรงงาน ค่าน้า คา่ ไฟฟ้า คา่ บรรจุภัณฑ์ ประกอบกับสภาวะทางการตลาด ขอ้ พงึ ระวัง สว่ นใหญม่ ักจะกาหนดราคาให้ต่ากว่า ท้องตลาด เพื่อต้องการหาตลาดให้กับน้าด่ืมและต้องการขายปริมาณมาก บางครั้งอาจส่งผลให้ขาดทุน ตอ่ เนอื่ งและดาเนนิ การไดไ้ ม่นาน การระดมเงินทุน โดยวิธีให้กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตลงหุ้น และให้สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต ลงหุ้นร่วมกันและปนั ผลกาไรคนื แก่สมาชิกทกุ ปี ตัวอยา่ ง เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต ลงห้นุ จานวน 170,000 บาท ให้สมาชกิ กลุ่มออมทรัพยถ์ อื หุน้ ๆ ละ 100 บาท ปันผลคดิ เปน็ รอ้ ยละ 8 บาท/ปี หมายเหตุ : การจ่ายเงนิ ปนั ผลขน้ึ อยู่กับผลประกอบการ (ผลกาไรจากการดาเนนิ งาน) ขอ้ กฎหมาย/พ.ร.บ./ประกาศ ท่ีเก่ียวขอ้ ง 1. พ.ร.บ. นา้ บาดาล พ.ศ. 2520 และทแี่ ก้ไขเพมิ่ เตมิ หลกั เกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข (ถ้ามี) ในการยื่นคาขอ และ ในการพจิ ารณาอนุญาต 1.1 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมออกตามความในพระราชบัญญัติน้าบาดาล พ.ศ. 2520 เรือ่ ง กาหนดหลักเกณฑ์และมาตรการในทางวิชาการสาหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและ การปอ้ งกันในเรื่องสิง่ แวดล้อมเป็นพิษ พ.ศ. 2551 ตามข้อ 3 คณุ ภาพของนา้ บาดาลท่ีจะใชบ้ ริโภคได้ ดังน้ี (1) น้าบาดาลที่จะใช้บริโภคต้องเป็นน้าท่ีได้ผ่านการวิเคราะห์คุณลักษณะจากกรมทรัพยากรน้า บาดาลหรือส่วนราชการอ่ืน หรือองค์การของรัฐท่ีมีหน้าท่ีเก่ียวกับการวิเคราะห์คุณลักษณะของน้า หรือ สถาบนั ท่กี รมทรัพยากรนา้ บาดาลใหค้ วามเหน็ ชอบตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กรมทรัพยากรน้า บาดาลกาหนด 27 1.2 ประกาศกรมทรัพยากรธรณี ฉบบั ที่ 9 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิน้าบาดาล พ.ศ. 2520 เรือ่ ง กาหนดหลักเกณฑ์และวธิ กี ารเกบ็ ตัวอยา่ งนา้ บาดาล (1) ใหผ้ ้ปู ระกอบกิจการน้าบาดาล เป็นผูด้ าเนนิ การเก็บตวั อย่างน้า (2) การเก็บตัวอย่างน้าจากบ่อน้าบาดาลที่เจาะใหม่ ให้เก็บในขณะทาการทดสอบปริมาณน้า โดยเก็บกอ่ นทาการหยดุ สบู ประมาณ 15 นาที (3) การเก็บตัวอย่างน้าจากบ่อน้าบาดาลที่ได้รับใบอนุญาตใช้น้าบาดาลแล้ว ให้เก็บหลังจากการเริ่ม สูบน้าใช้ในวันท่ีจะเก็บตวั อยา่ งไมน่ ้อยกวา่ 15 นาที (4) ภาชนะทจี่ ะใส่ตวั อยา่ งนา้ ต้องเปน็ ขวดแกว้ หรอื ขวดพลาสติกที่สะอาด และจะตอ้ งลา้ งทัง้ ขวดและฝา ด้วยน้าที่จะบรรจุเสียก่อนประมาณ 2-3 คร้ัง แล้วจึงบรรจุตัวอย่างน้าให้เต็ม ปิดฝาให้แน่น แล้วรีบนาส่ง วิเคราะหท์ นั ที สถานที่ดงู านโรงนา้ ดม่ื ชุมชน : กลุ่มออมทรพั ย์เพอ่ื การผลติ บ้านยางกระเดา หมทู่ ี่ 10 ตาบลท่าเมือง อาเภอ ดอนมดแดง จังหวดั อบุ ลราชธานี เบอร์ติดต่อ 08 4616 4886 ป๊ัมน้ามนั ชมุ ชน ทมี่ าของการกอ่ ตั้ง คณะกรรมการกลุม่ ออมทรพั ย์เพอ่ื การผลติ และสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต มีความต้องการ ดาเนินกิจกรรมเครอื ขา่ ยของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตข้ึน โดยมุ่งเน้นประโยชน์ให้เกิดข้ึนกับคนในชุมชม และต้องการให้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตมีผลกาไรให้กับสมาชิกเพิ่มขึ้น จึงกาหนดประชุมสมาชิกขึ้นเพื่อสารวจ ความต้องการของคนในชุมชน จากมติที่ประชุมพบว่าพ้ืนที่ของชุมชน อยู่ไกลจากสถานที่ให้บริการน้ามัน หลายกิโลเมตร การขบั รถเพ่ือไปใช้บริการปั๊มน้ามันสาหรับรถเล็กน้ัน ถือว่าไม่คุ้มค่า และชุมชนเองมีรถเล็ก จานวนมากอกี ด้วย ทงั้ น้ี รวมไปถงึ รถไถ รถเกี่ยวขา้ ว หากในชุมชนมสี ถานทีใ่ ห้บริการน้ามันในชุมชน จะช่วย ประหยัดรายจ่ายของคนในชุมชนได้มาก เงินในชุมชนใช้จ่ายออกไปนอกชุมชน จะหมุนเวียนกลับมาภายใน หมู่บ้าน/ชุมชนดว้ ย เกดิ ความรูส้ ึกในการเปน็ เจ้าของกจิ การร่วมกนั จงึ เปน็ ท่มี าของการทาปั๊มน้ามันชุมชนขน้ึ 28 ขน้ั ตอน/วธิ ีการ 1. การยืน่ เอกสารขออนญุ าตเปดิ ป๊ัมขนาดเล็กในหมู่บา้ น/ชุมชน การขออนญุ าตเปิดปัม๊ น้ามนั ชุมชน ตอ้ งพิจารณาว่าเป็นการประกอบกิจการเก่ียวกับน้ามันเชื้อเพลิง ทกี่ ฎหมายไดก้ าหนด ใหอ้ ยูใ่ นการกากบั ดแู ลประเภทใด ซง่ึ มที ั้งหมด 3 ประเภท ไดแ้ ก่ (1) ประเภทที่ 1 ได้แก่ กจิ การท่สี ามารถประกอบการไดท้ ันที ตามความประสงคข์ องผู้ประกอบกิจการ (2) ประเภทที่ 2 ได้แก่ กจิ การทจ่ี ะประกอบการ ตอ้ งแจง้ ให้พนกั งานเจ้าหน้าท่ที ราบก่อน (3) ประเภทที่ 3 ได้แก่ กจิ การทต่ี อ้ งได้รบั ใบอนุญาตจากผ้อู นุญาตกอ่ นจงึ จะประกอบการได้ โดยจะต้องแจ้งการประกอบกิจการต่อสานักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินตามพ้ืนที่นั้น ๆ เช่น องคก์ ารบริหารส่วนตาบล (อบต.) เทศบาล เป็นตน้ เ นื่ อ ง จ า ก อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น มี ภ า ร กิ จ ท่ีไ ด้รับการถ่าย โ อนจากกรมธุ ร กิจพ ลัง ง านต า ม พระราชบัญญัติควบคุมน้ามันเช้ือเพลิงพ.ศ 2542 โดยมี อานาจหน้าที่ในการตรวจตราการรับแจ้งและการอนุญาต ประกอบกจิ การนา้ มนั เชื้อเพลิงสาหรับกจิ การควบคุมน้ามัน เช้ือเพลิงประเภทท่ี 1, 2 และ 3 ซ่ึงการเปิดป๊ัมน้ามันชุมชน จะอยู่ในกจิ การควบคมุ ประเภทท่ี 2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มหี นา้ ท่รี ับแจง้ การประกอบกิจการและการตรวจตราสถานที่ เก็บรักษาน้ามันเช้ือเพลิงของกิจการควบคุมประเภทที่ 2 ไ ด้ แ ก่ โ ร ง ง า น ข น า ด เ ล็ ก ห รื อ ส ถ า น ท่ี เ ก็ บ รั ก ษ า น้ า มั น เพ่ือการเกษตร ป๊ัมถัง ลอย ดีเซลริมทาง ขนาดเล็ก ป๊ัมหลอดแก้วมือหมุน และสถานท่ีบริการน้ามันขนาดเล็ก ซ่ึ ง เ ป็ น กิ จ ก า ร ท่ี ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ก า ร ไ ด้ โดยจะต้องแจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ (พนักงานเจ้าหน้าที่ หมายความว่า วิศวกรของกรมธุรกิจพลังงานหรือผู้ซึ่ง รั ฐ ม น ต รี แ ต่ ง ตั้ ง ใ ห้ มี อ า น า จ ห น้ า ท่ี ป ฏิ บั ติ ก า ร ตามพระราชบัญญัติ ฯ) ทราบก่อน และจะต้องปฏิบัติ ตามวธิ ีการและขั้นตอนในการรับแจ้งการประกอบกิจการ ดงั นี้ 1) ย่นื เอกสาร ธพ.น.1 ต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีท่ีสานักงาน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ 2) ตรวจสอบเอกสารและออกใบรับแจง้ ธพ.น.2 3) ตรวจสอบสถานท่ีประกอบกจิ การควบคุมประเภทท่ี 2 4) การแก้ไขเปลี่ยนแปลงการประกอบกิจการควบคุม ประเภทท่ี 2 ใหด้ าเนินการตามขัน้ ตอนในข้อ (1) – (3) 29 2. ลักษณะและความปลอดภัยของการเปิดป๊ัมน้ามันชุมชน รายละเอยี ดความปลอดภัยและการป้องกันอัคคีภัยกิจการควบคุมประเภทท่ี 2 ป๊ัมน้ามันชุมชนห้ามเก็บ น้ามันเช้ือเพลิงชนิดไวไฟมาก การเก็บน้ามันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟปานกลางหรือไวไฟน้อย มีบริเวณชัดเจน ไม่ติดกับอาคารพักอาศัย ทางเข้าออกสถานีบริการต้องเป็นไปตามท่ีได้รับอนุญาต ให้เช่ือมทาง จากเจ้าหน้าทผ่ี ดู้ แู ลเส้นทางสายนั้น บรเิ วณสถานีบรกิ ารน้ามันเชื้อเพลงิ จะตอ้ งจดั ให้มีท่อหรือรางระบายน้า พร้อมบอ่ พกั นา้ ใหถ้ ูกตอ้ งตามหลักสุขาภิบาลมคี วามสะอาดเรียบรอ้ ย การป้องกันและระงับอัคคีภัยบริเวณ ตู้จา่ ยนา้ มันเชอื้ เพลิง ให้ตดิ ต้ังเครอ่ื งดบั เพลงิ ชนิดผงเคมแี ห้งหรอื นา้ ยาดับเพลิงขนาดบรรจุ 6.80 กิโลกรัม จานวน 1 เคร่ือง บรเิ วณต้จู ่ายน้ามนั เชอ้ื เพลิง (ท้งั น้ี สามารถทราบรายละเอยี ดเพม่ิ เติมได้ท่ี องค์กรปกครอง สว่ นท้องถ่นิ ในพน้ื ทที่ ต่ี ัง้ ป้ัมน้ามนั ชมุ ชน) 3. การขออนญุ าตจดทะเบยี นเปน็ ผูค้ า้ นา้ มนั เชื้อเพลงิ ซง่ึ การยื่นขอจดทะเบยี นเปน็ ผู้คา้ น้ามันเช้ือเพลงิ ทม่ี คี วามปลอดภัยใหเ้ ป็นไปตามพระราชบัญญัติควบคุม นา้ มนั เช้ือเพลงิ พ.ศ. 2542 กล่าวคอื ตจู้ า่ ยน้ามนั เชื้อเพลิงต้องตง้ั หา่ งจากเตาไฟหรอื ทีท่ าการหงุ ต้มและแนว เขตสถานบี ริการอย่างนอ้ ย 3 เมตร โดยรอบต้องมีทรายในปริมาณไม่น้อยกว่า 200 ลิตร เก็บไว้ในบริเวณ ใกล้กับน้ามันเชิงเพลิง และสามารถนามาใชง้ านได้สะดวกตลอดเวลา และต้องมถี ังดบั เพลิงเคมีแห้ง หรือนา้ ยา ดับเพลงิ ขนาดบรรจุ 6.80 กโิ ลกรัม และเปน็ ชนิดทด่ี บั เพลิงอันเกิดจากน้ามันเชื้อเพลิงโดยเฉพาะ จานวนไม่ น้อยกว่า 1 ถัง เพ่ือเตรียมไว้สาหรับดับเพลิงและผู้ประกอบกิจการต้องเป็นผู้ที่มีสิทธ์ิในที่ดินท่ีต้ังสถานี บรกิ าร และต้องไมอ่ ยใู่ นเขตหา้ มประกอบกิจการ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการผังเมือง ชนิดนา้ มันเชือ้ เพลงิ น้ามันเชื้อเพลิงทใี่ ช้ในการประกอบกจิ การมี 3 ชนิด คอื 1) ชนดิ ไวไฟน้อย มจี ดุ วาบไฟตงั้ แต่ 60 องศาเซลเซยี สขึ้นไป ไดแ้ ก่ น้ามันดีเซล นา้ มนั เตา นา้ มันหล่อลนื่ ฯลฯ 2) ชนิดไวไฟปานกลาง มีจุดวาบไฟระหว่าง 37.8 - 60 องศาเซลเซียส ได้แก่ น้ามันก๊าด น้ามันเชื้อเพลิง สาหรับ เครอื่ งบนิ 3) ชนิดไวไฟมาก มีจดุ วาบไฟตา่ กวา่ 37.8 องศาเซลเซยี ส ได้แก่ นา้ มนั เบนซนิ นา้ มันปิโตรเลียมดบิ ฯลฯ ภาชนะทใ่ี ชบ้ รรจุนา้ มันเช้ือเพลิง มี 5 ประเภท คอื 1) ขวดน้ามันเชือ้ เพลิงทาดว้ ยแกว้ ความจุ 0.5 - 1.0 ลติ ร 2) กระปอ๋ งน้ามันเชือ้ เพลิงทาดว้ ยพลาสติกหรือเหล็กเคลอื บดบี ุก จานวนความจุไมเ่ กนิ 20 ลิตร 3) ถังนา้ มันเชอ้ื เพลงิ ทาด้วยพลาสติกหรือเหลก็ ความสงู ไม่เกิน 227 ลติ ร 4) ถงั น้ามนั เกบ็ เชอื้ เพลงิ ทาด้วยเหล็กความจุเกินกว่า 227 ลติ ร ขึ้นไป 5) ถงั ขนส่งน้ามนั เชื้อเพลงิ ทาดว้ ยเหล็ก อลมู ิเนยี ม อัลลอย ไมจ่ ากัดปริมาณ 30 สถานท่ีเก็บรักษาน้ามันเชอื้ เพลงิ สาหรบั ป๊มั น้ามนั ชุมชน สถานทเี่ ก็บนา้ มนั เช้อื เพลิงคอื การเก็บน้ามนั เช้ือเพลงิ ชนิดไวไฟมากมปี รมิ าณ 40 ลติ รแต่ไมเ่ กิน 454 ลิตร หรอื ชนดิ ไวไฟปานกลางมปี รมิ าณเกนิ 227 ลิตรแตไ่ มเ่ กิน 1,000 ลิตร หรือชนดิ ไวไฟน้อยมปี ริมาณเกนิ 454 ลิตร แต่ไมเ่ กนิ 15,000 ลิตร การระดมเงนิ ทนุ โดยวธิ ีการให้กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลิตลงหนุ้ และใหส้ มาชิกกลุ่มออมทรัพยเ์ พอ่ื การผลิต ลงหุน้ ร่วมกัน และปันผลกาไรคนื แกส่ มาชกิ ทุกปี ตัวอยา่ ง เชน่ กลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ลงหนุ้ จานวน 50,000 บาท ให้สมาชกิ กลมุ่ ออมทรัพย์ถอื ห้นุ ๆ ละ 100 บาท (ไมเ่ กนิ คนละ 10,000 บาท) ปันผลคิดเปน็ รอ้ ยละ 2 บาท/ปี (สาหรบั ผ้ใู ช้บริการทีเ่ ปน็ สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ฯ) คืนให้สมาชกิ ทล่ี งห้นุ 20% คิดเป็น 10 บาท/ปี (เฉลีย่ ปลี ะ 2 คร้งั ๆ ละ 5 บาท) (ใหห้ ลักการสร้างแรงจงู ใจ ใหค้ นในชมุ ชนรสู้ กึ เป็นเจา้ ของธรุ กจิ รว่ มกัน) หมายเหตุ : การจ่ายเงนิ ปันผลข้นึ อย่กู ับผลประกอบการ (ผลกาไรจากการดาเนนิ งาน) ขอ้ กฎหมาย/พ.ร.บ./ประกาศ ท่เี ก่ียวขอ้ ง 1. พระราชบัญญัตคิ วบคมุ นา้ มันเช้อื เพลงิ พ.ศ. 2542 2. มาตรา 11 แหง่ พระราชบัญญัติการค้าน้ามันเชอ้ื เพลิง พ.ศ. 2543 สถานทดี่ งู านปม้ั นา้ มนั ชมุ ชน : กลมุ่ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลติ บ้านยางกระเดา หมูท่ ่ี 10 ตาบลท่าเมอื ง อาเภอดอนมดแดง จงั หวดั อุบลราชธานี เบอรต์ ิดตอ่ 08 4616 4886 ธนาคารขยะ ทม่ี าของการก่อตงั้ “จะแกป้ ัญหาขยะ ต้องแก้ท่คี น” หมู่ท่ี 4 บ้านชากไทย ตาบลชากไทย อาเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี มคี รัวเรอื นทัง้ ส้นิ 199 ครัวเรือน ประชาชนสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพทาการเกษตร มีการต้ังบ้านเรือนท่ีอยู่ อาศยั ในพน้ื ที่ของตนเอง จากเดิมที่ขยะจะถูกท้ิงและถูกจัดการในพ้ืนที่ของแต่ละครัวเรือนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเผา การฝัง รวมถึงการทิ้งไว้เพ่ือรอรถมารับซื้อ จนกระท่ังมีการยกฐานะจากองค์การบริหาร สว่ นตาบลชากไทย เปน็ เทศบาลตาบลชากไทย และในปี 2554 มีการซอ้ื รถเก็บขยะเพอื่ ดาเนนิ การเก็บขยะใน ตาบล จงึ ทาให้วิถีการจดั การขยะในชุมชนเปล่ียนไป โดยเอาขยะท่ีเดิมเคยจัดการเองแต่ต้นทางของแต่ละครัวเรือน ถกู นามาทิ้งในถังขยะเพื่อใหท้ ้องถิน่ มาเกบ็ และนาไปจดั การต่อไป หมู่ท่ี 4 บ้านชากไทย มีการจัดต้ังกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เมื่อวันท่ี 9 กรกฎาคม 2541 มีกิจกรรมท่ีสมาชิกต้องมาส่งเงินออม และชาระเงินกู้ทุกวันที่ 9 ของเดือน ประกอบกับคณะกรรมการ ต้องการต่อยอดขยายผลการดาเนินงาน / กิจกรรมของกลุ่มฯ คณะกรรมการกลุ่มฯ มีแนวคิดบริหาร จดั การขยะในชมุ ชน โดยการบรู ณาการใหเ้ ขา้ กับกิจกรรมการส่งเงนิ ฝากสัจจะของสมาชิก จึงได้ดาเนินการ จัดตัง้ ธนาคารขยะบ้านชากไทย ในวันที่ 9 พฤษภาคม 2558 โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้ 31 1. เพอ่ื ส่งเสริมให้คนในชุมชนรูจ้ ักคดั แยกขยะกอ่ นท้ิง และสรา้ งเครือขา่ ยการจัดการขยะในชุมชน 2. เพ่อื พฒั นาคน โดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ เปน็ กลไกในการขบั เคลอ่ื น ใชธ้ นาคารขยะเปน็ เครื่องมือ 3. เพ่ือพฒั นาสงั คม สรา้ งการมสี ่วนร่วม การยอมรบั กฎ กตกิ า 4. เพื่อส่งเสรมิ การออม โดยสมาชกิ นาขยะมาขาย และสมาชิกสามารถนาเงนิ จากการขายขยะไปฝากเงินสจั จะ สะสมทรัพย์ หรือฝากไว้กับธนาคารขยะ (อัตราดอกเบย้ี รอ้ ยละ3) 5. เพื่อการดแู ลสง่ิ แวดลอ้ ม การทางานเพ่อื สังคม 6. เพื่อสรา้ งสุขอนามยั พัฒนาสงิ่ แวดลอ้ มใหเ้ อื้อตอ่ สขุ ภาพ •เกิดธนาคารขยะ เอกชน •สร้างรายได้ นักวชิ าการ •ลดรายจา่ ย •มแี หลง่ ทนุ ในชุมชน •พัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เออื้ ต่อสุขภาพ •ประชมุ กาหนดแนวทางปฏบิ ตั ิ •พัฒนาศกั ยภาพ / แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ •จดั ตงั้ ธนาคารขยะบ้านชากไทย •สง่ เสรมิ และสรา้ งการมสี ว่ นร่วมในชมุ ชน •พัฒนา “คน” โดยใช้ “ขบวนการกลุ่ม” เป็นกลไกในการขบั เคลือ่ น •กลุ่มออมทรัพยเ์ พอื่ การผลิตบา้ นชากไทยใช้กลไกกลุ่ม ดแู ลสงิ่ แวดล้อม , ขยายผลการดาเนินงาน •ผู้นาและบุคลากรมจี ติ อาสาและมีความเขม้ แขง็ •นโยบายภาครัฐ ประชาชน ราชการ 32 ขน้ั ตอน/วธิ กี ารดาเนินการ 1) ประชมุ คณะกรรมการกลมุ่ เพ่อื ตกผลึกทางความคิด การกาหนดเป้าหมายรว่ ม 2) แบ่งบทบาทหน้าท่ีคณะกรรมการธนาคารขยะ ดังน้ี - ผู้จัดการธนาคารขยะ –ฝ่ายบัญชี –ฝ่ายคัดแยก รับซือ้ – ฝ่ายขาย 3) ประสานงานแหล่งรบั ซ้ือขยะ (วงษพ์ านชิ ) เพ่อื นาขยะไปขาย และขอราคารับซ้อื ล่วงหนา้ 4) ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต/ ประชาชนในชุมชน ได้ทราบว่าจะมีการจัดต้ัง ธนาคารขยะ 5) นาคณะกรรมการศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการขยะ การคัดแยกขยะ กับพื้นท่ีท่ีมีการ ดาเนนิ งานจดั ต้งั ธนาคารขยะมากอ่ น 6) อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะให้กับสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (ครัวเรือน เปา้ หมาย) 7) รบั สมคั รสมาชกิ ธนาคารขยะ 8) รบั ซื้อขยะ ทุกวันที่ 9 ของทกุ เดือน โดยมีเงื่อนไขขยะทนี่ ามาขายต้องเป็นขยะท่ีคัดแยกแล้วเท่านั้น และขยะ อนั ตรายแลกไข่ 9) ทบทวนการทางาน และวางแผนการดาเนินงาน ทุกปี โดยการประชุม / การศึกษาดูงานร่วมกันของ คณะกรรมการและสมาชิกธนาคารขยะ 10) การสร้างแรงจงู ใจใหก้ บั สมาชิกธนาคารขยะ เช่น การแจกของรางวัลสมาชิกที่นาขยะมาขายในปีน้ัน ๆ การแจกเสื้อทีมเพ่ือสร้างความรสู้ ึกรว่ มเปน็ ทมี เดยี วกนั การดาเนินงานของธนาคารขยะบ้านชากไทยบริหารจัดการภายใต้แนวทางการบูรณาการ การทางานกบั กล่มุ /องคก์ รทอี่ ยู่ในชมุ ชนภายใต้แนวคิด การบริหารจดั การขยะแบบครบวงจร โดยมีกิจกรรม ที่หลากหลาย เช่น รณรงค์สร้างจิตสานึก อบรมการคัดแยกขยะ การทาปุ๋ยอินทรีย์น้าจากเศษอาหาร ในครวั เรือน ลดการใชถ้ งุ พลาสตกิ การรไี ซเคิล เปน็ ตน้ มีผลการดาเนนิ งานทปี่ ระสบความสาเร็จ ดังนี้ 1) การรับซื้อขยะ โดยผูท้ จ่ี ะนามาขายต้องสมัครเป็นสมาชิกและต้องคัดแยกขยะแต่ละประเภทมาให้ เรียบรอ้ ย จะมีการรบั ซ้อื ในราคาที่สงู กวา่ การรับซ้อื ท่ัวไป 2) ลดการใช้ถุงพลาสติก โดยทากิจกรรมร่วมกับร้านค้าชุมชนบ้านชากไทย โดยส่งเสริมและ รณรงค์ให้นาถุงผ้ามาใสส่ ินค้าเอง 3) การรีไซเคิล การนาวัสดุที่เหลือใช้มาปรับเปลี่ยนรูปแบบเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยการนา กระป๋องน้าอดั ลมมาทาเปน็ ตะกร้า กระเชา้ ของขวัญ กลอ่ งใส่กระดาษทชิ ชู 4) จัดการขยะจากเศษอาหารในครัวเรือน ดังน้ี การทาปุ๋ยอินทรีย์น้าจากขยะเปียก ซ่ึงปุ๋ยอินทรีย์น้า จะมกี ารรบั ซอื้ โดยกลุ่มเกษตรกรรมยัง่ ยนื กลุม่ เลี้ยงไสเ้ ดอื น (สัมมาชีพ ๖๑) 5) ลดการใช้กระดาษโดยการนากระดาษดา้ นทดี่ ีกลับมาใชอ้ ีกครัง้ โดยกลมุ่ ออมทรัพย์เพ่ือการผลิต กองทุนหมู่บ้าน ศูนย์จัดการกองทนุ ชุมชน กองทนุ สวัสดกิ ารออมวันละบาทบ้านชากไทย เปน็ ตน้ 33 6) สร้างนิสัยการออม ซ่ึงถ้าสมาชิกนาขยะมาขายและมีความประสงค์จะฝากเงินไว้ จะได้รับ ดอกเบี้ยร้อยละ 3 บาทตอ่ ปี โดยกลุม่ ออมทรพั ย์เพ่อื การผลิตบ้านชากไทย 7) จดั การขยะอนั ตราย เชน่ หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องสเปย์ ภายใต้กิจกรรมขยะแลกไข่ เชน่ หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์แบบยาว 1 หลอดแลกไข่ 1 ฟอง เป็นตน้ วิธกี ารระดมเงินทุน 1. ใช้เงินทุนจากกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตบ้านชากไทยเป็นทุนตั้งต้นในการรับซ้ือขยะแต่ หลังจากท่ีนาขยะไปขายและมสี ่วนต่างจากการขายขยะ ก็ใชเ้ งินทนุ ของธนาคารขยะในการรับซื้อ 2. เงินทข่ี ายขยะไดข้ องสมาชิกที่ฝากไวก้ ับกล่มุ ใช้เป็นเงนิ ทนุ หมุนเวยี น ท้ังน้ี ธนาคารขยะบา้ นชากไทยเปน็ การบริหารจดั การทไี่ มไ่ ด้มงุ่ ผลกาไรเป็นเรือ่ งสาคญั แต่มุ่งเน้น การสรา้ งจิตสานึกให้สมาชิกและคนในชุมชนเร่ืองการจัดการขยะต้ังแต่ต้นทาง ดั้งนั้น ส่วนต่างท่ีเกิดจาก การขายจึงไมม่ ากแต่จะใหร้ าคาการรบั ซอ้ื ขยะจากสมาชกิ ในราคาทส่ี งู สถานท่ดี ูงานธนาคารขยะ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านชากไทย (กิจกรรมธนาคารขยะ) เลขท่ี 8/3 หมู่ท่ี 4 ตาบลชากไทย อาเภอเขาคชิ ฌกฏู จังหวดั จนั ทบรุ ี 22210 โทร 08 9244 1783 E: [email protected] 34 ศนู ย์สาธติ การตลาด ทม่ี าของการก่อตงั้ ศนู ยส์ าธติ การตลาด เป็นกจิ กรรมเครือข่ายของกลุม่ ออมทรพั ย์เพ่อื การผลิตรูปแบบหนงึ่ ทีด่ าเนนิ การ จดั ตั้งขึ้นเพ่ือมุง่ ให้ประชาชนในชนบทรวมตัวกนั แสวงหาสนิ คา้ อุปโภค - บรโิ ภค ปัจจัยการผลิตมาจาหน่าย และเปน็ อกี กิจกรรมท่ีปอ้ งกันการถกู เอารดั เอาเปรยี บจากพ่อคา้ คนกลางทีส่ ่งผลให้คนในชมุ ชนซื้อสินคา้ แพง หรือขายผลผลิตไดร้ าคาต่ากวา่ ราคาตลาด ศูนย์สาธิตการตลาดดาเนินการในลักษณะ รวมกันซ้ือ - รวมกันขาย สาเหตุที่ให้ชื่อว่า “ศูนย์สาธิตการตลาด” เน่ืองจากถือว่าเป็นการทดลองปฏิบัติ เรียนรู้ และรับผิดชอบ รว่ มกัน ของสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตในการดาเนินการซ้ือขายสินค้า ปัจจัยการผลิตในราคา ยุตธิ รรม และชว่ ยแก้ไขปญั หาของชมุ ชน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อฝึกหัดให้สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต มีความรู้ เกิดความเข้าใจและสามารถนาไป ดาเนนิ งานศนู ย์สาธติ การตลาด ด้านการคา้ ขายได้ 2. เปน็ การฝึกหดั การนาเงินทุนท่ีมผี ูไ้ ปลงทนุ เพ่อื ให้เกดิ ดอกผลเพมิ่ พนู มากย่งิ ข้ึน 3. เพ่ือช่วยเหลือสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและประชาชนในหมู่บ้านให้สามารถหาซื้อของใช้ ในครอบครวั และอปุ กรณก์ ารประกอบอาชีพได้สะดวกรวดเร็ว และประหยัด 4. ป้องกันการถูกเอารัดเอาเปรียบท่ีต้องซื้อของแพง และขายผลผลิตได้ราคาต่าของ สมาชิก กลุม่ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลติ และประชาชนทว่ั ไป 5. ต้องการให้สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีฐานะยากจน มีบทบาทด้านการค้าในระดับ หมูบ่ า้ น ตาบล และอาจขยายผลไปสู่ระดบั อาเภอ จังหวัดได้ รปู แบบ/ลักษณะการดาเนนิ การ รวมกันซือ้ - รวมกนั ขาย คือแนวคดิ (Concept) สาคญั ของศนู ยส์ าธิตการตลาด - เปน็ ร้านค้าท่ีสมาชิกเป็นเจ้าของ - จดั หาสนิ ค้าอปุ โภค - บริโภค ปจั จยั การผลิต และปอ้ งกันการเอาเปรียบจากพอ่ คา้ คนกลาง - รวมกันซอื้ - รวมกันขาย - ผลกาไรปันคนื ส่ชู ุมชน - ช่อื “ศนู ยส์ าธติ การตลาด” เปน็ การทดลองปฏบิ ตั ิ เรยี นรู้และรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั รวมกันซื้อ เป็นการจดั หาสนิ ค้าหรือ ความตอ้ งการซื้อของคนในชมุ ชน ศนู ยส์ าธิตการตลาดไปซือ้ สินค้ามา ในราคาส่ง แล้วขายสชู่ ุมชนในราคายตุ ิธรรม รวมกันขาย ช่วยกระจายสินค้าชุมชน โดยอาจเป็น สินค้าเกษตรกรรม หรือสินค้าชุมชน จากฝีมือ คนในชุมชน มาขายในศูนยส์ าธิตการตลาด หรือขายออกสูต่ ลาดภายนอก 35 ข้นั ตอน/วธิ กี ารดาเนนิ การ ข้นั ท่ี 1 ศกึ ษาถงึ ความตอ้ งการซ้อื และขายสินคา้ /ผลผลิตตามความตอ้ งการของผ้บู ริโภค /ลูกคา้ ข้ันท่ี 2 นาขอ้ มูลท่ีได้รับจากขั้นท่ี 1 เสนอทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริหารกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต เพอื่ พจิ ารณาสถานที่จดั ต้งั ศูนย์สาธติ การตลาด และเลอื กประเภทสินค้า จานวนสินคา้ และร้านค้าที่จะเลือก ซื้อสินคา้ ขัน้ ที่ 3 ศกึ ษาต้นทนุ สนิ ค้าแต่ละชนิดทจี่ ะจัดจาหน่ายในศนู ย์สาธิตการตลาด ข้ันท่ี 4 แจ้งให้สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตและประชาชนทั่วไปทราบ โดยการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ขัน้ ท่ี 5 แต่งต้งั คณะกรรมการจัดการศูนย์สาธิตการตลาดและดาเนินงาน/กิจกรรมศูนย์สาธิต การตลาด ข้ัน ท่ี 6 คณะกรรมการจัดการศูนย์สาธิตการตลาด ต้องจัดทาบัญชีการเงินของ ศนู ย์สาธติ การตลาด และรายงานผลการดาเนินงาน ยอดจาหน่ายสินค้า จานวนสินค้า และประเภทสินค้า ที่คงเหลือใ นศูนย์สาธิต การต ลาดใ ห้คณะกรรมการบริห ารกลุ่มออมทรัพย์เพ่ื อการผลิต ทราบความเคล่อื นไหวอยู่เสมอ ตัวอยา่ ง “ปา้ ยศูนยส์ าธิตการตลาด” 36 การควบคุมเงนิ เหรญั ญกิ ของกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต เป็นผู้รับผิดชอบควบคุมการเงินของศูนย์สาธิตการตลาด ทาหน้าท่ีเบิกจ่ายเงินให้คณะกรรมการจัดการศูนย์สาธิตการตลาด และตรวจสอบบัญชีท้ังหมด ของศนู ยส์ าธติ การตลาด เงนิ ทนุ ดาเนนิ งานรายวนั ใหผ้ ู้จดั การศนู ยส์ าธติ การตลาดทาเรื่องขออนมุ ัติจากคณะกรรมการ จดั การศนู ยส์ าธติ การตลาด เมอื่ ไดร้ บั อนมุ ตั แิ ล้วให้ไปขอเบิกจา่ ยเงินจาก เหรัญญิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต มาเกบ็ ไว้เพือ่ ใช้จา่ ยได้ จานวนเงินที่ผู้จัด การศูนย์ส าธิตการตล าดเก็บไว้ จะมีจานวนเท่าไรให้เป็นหน้าท่ี ของคณะกรรมการบริหารกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต ส่วนการเก็บรักษาเงินของผู้จัดการศูนย์สาธิต การตลาดน้ัน ควรมีระยะเวลาคราวละ 1 สัปดาห์ คือ ทุกวันสุดสัปดาห์ ผู้จัดการศูนย์สาธิตการตลาด จะตอ้ งนาเงินส่งคืนเหรัญญิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต และขอเบิกเงินจากเหรัญญิกกลุ่มออมทรัพย์ เพอื่ การผลติ ใหม่ทุกวันจันทร์ หากเหน็ ว่าไมส่ ะดวกอาจจะกาหนดระยะเวลา 1 เดอื น สาหรับส่งคืนเงิน และขอ เบิกเงินจากเหรญั ญกิ กลุม่ ออมทรัพยเ์ พือ่ การผลิตกไ็ ด้ แตค่ ณะกรรมการศูนย์สาธิตการตลาดจะต้องคอย ควบคมุ ดแู ลอยา่ งใกล้ชดิ ผลกาไร ในรอบเดอื นของศนู ยส์ าธติ การตลาด ให้นาฝากไว้ในบญั ชีฝากประจาสจั จะสะสมทรัพย์ ของกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต ส่วนเงินทุนดาเนินการให้นาเข้าฝากในบัญชีสะสมทรัพย์ของ กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลิต เพอ่ื ให้สามารถถอนมาใชไ้ ด้ตลอดเวลา ทุกวนั กอ่ นปดิ บรกิ ารศูนยส์ าธติ การตลาด ผู้จัดการศูนยส์ าธิตการตลาดจะตอ้ งตรวจสอบยอด สินคา้ ที่จาหน่ายประจาวัน และสินค้าคงเหลือทุกประเภท แลว้ ลงบัญชไี ว้ เป็นหลักฐาน การจัดสรรผลกาไร สามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 2 ลักษณะ คอื 1. เฉลี่ยคืนแก่ผู้ซ้ือสินค้าที่เป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นรายเดือน โดย คณะกรรมการบริหารกลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่อื การผลิต ประชุมพิจารณารว่ มกนั วา่ จะเฉล่ยี คืน กีเ่ ปอร์เซ็นต์ของ กาไรที่ได้ เช่นคนื ร้อยละ 4 บาทสมาชิกซื้อสนิ คา้ ไปในรอบเดอื นเป็นเงิน 500 บาท ก็เฉลย่ี คนื ตามวงเงินที่ซ้อื ตามท่ี คณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลติ กาหนด 2. นากาไรส่วนทเ่ี หลือจากเฉล่ียคืนให้สมาชิกไปรวมกับกาไรของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เพื่อจัดสรรเปน็ เงนิ ปนั ผลให้สมาชิกกลุ่มออมทรัพยเ์ พ่ือการผลิต ตามจานวนหุ้นที่สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ เพอื่ การผลิตแต่ละคนมีอยใู่ นสมดุ สจั จะสะสมทรพั ย์ หกั เปน็ ทุน ขยายงาน ทุนสารอง และทนุ สาธารณะ เป็นต้น 37 ภาษีศูนยส์ าธิตการตลาด ศนู ยส์ าธิตการตลาด คอื ร้านคา้ ของกล่มุ ออมทรัพย์เพอื่ การผลิต เปน็ กจิ กรรม รวมกันซื้อเพ่ือ แกป้ ญั หาซอื้ ของแพงของสมาชิก และถือเป็นการทดลองทาธุรกจิ ซ้ือขาย จงึ ใหช้ ื่อว่า“ศูนย์สาธติ การตลาด” ในระยะแรกของการทดลองจงึ ไดร้ บั การยกเวน้ การ เกบ็ ภาษี ลักษณะการดาเนินงานเปน็ การซ้ือสนิ ค้ามาขาย เงนิ ท่ีได้จากการขายจึงเปน็ เงินได้พงึ ประเมนิ ตามมาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากร และเนื่องจากผู้มีเงินได้ เป็นคณะบคุ คล มีหนา้ ที่ตอ้ งเสยี ภาษเี งินได้ตามมาตรา56แห่งประมวลรัษฎากร กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตท่ีมี กจิ กรรมศนู ย์สาธิตการตลาดจงึ มหี นา้ ที่ตอ้ งเสยี ภาษีเงนิ ไดห้ ากมรี ายได้ตามทกี่ ฎหมายกาหนด วิธีการระดมเงนิ ทุน แบบท่ี 1 ใชเ้ งนิ ทุนจากการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต มาลงทุนจัดต้ังศูนย์สาธิต การตลาด 100% แบบที่ 2 ระดมทนุ ใหม่ โดยใช้วิธลี งหนุ้ จากผู้ท่สี นใจ โดยอาจเป็น แบบปดิ คอื รับสมคั รจากผู้ที่เป็น สมาชิกกลมุ่ ออมทรัพยเ์ พอื่ การผลิตเท่านัน้ หรือแบบเปิด คือ รับสมัครบคุ คลทัว่ ไป จากหลายภาคส่วน เช่น สมาชกิ กล่มุ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ สว่ นหน่ึง กลมุ่ อาชีพในชุมชน หรือคนในหมู่บ้านอีกส่วนหนึ่ง โดยอาจ กาหนดราคาค่าห้นุ เช่น 100 บาท = 1 หุ้น สมาชกิ แตล่ ะคนถอื หุน้ ได้ ไมเ่ กนิ คนละ 20 ห้นุ เป็นตน้ แบบท่ี 3 เป็นแบบผสมระหว่างแบบที่ 1 และ 2 เป็นกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตนาเงินมาลงทุน และเปิดรบั สมาชิกเพ่ิม แบบท่ี 4 กเู้ งนิ จากธนาคาร โดยใชส้ มดุ สัจจะสะสมของ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตค้าประกัน เงนิ กู้ แนวทางการดาเนินงานศนู ยส์ าธิตการตลาด  ดา้ นคณะกรรมการ/คณะทางานศูนยส์ าธติ การตลาด เนอ่ื งจากศูนย์สาธิตการตลาดเป็นกิจกรรมหนง่ึ ของกลุ่มออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิต จึงไม่มสี มาชิก เฉพาะของศนู ยส์ าธิตการตลาด แต่มีสมาชิกกลุ่มออมทรัพยเ์ พือ่ การผลิตทกุ คน เปน็ เจา้ ของการดาเนินงาน จึงตอ้ งมีคณะกรรมการดาเนินงาน ประกอบด้วย 1. คณะกรรมการบริหารกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ทาหน้าที่ กาหนดนโยบาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วกับศูนยส์ าธติ การตลาด 2. คณะกรรมการฝ่ายอานวยการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ทาหน้าท่ีการบริหารงาน ศูนย์สาธิตการตลาด 3. จัดต้งั คณะกรรมการจัดการศนู ยส์ าธิตการตลาด ดังนี้ 38 ฝ่ายจดั ซอื้ และดแู ลสต๊อกสินค้า ดาเนนิ การจัดซือ้ ตามความจาเป็น การตรวจสอบการจดั ซื้อ ดูแลตดิ ตามความเคลื่อนไหวของ สินค้าคงคลัง ตรวจสอบสต็อกสินค้า ทารายงานและรายการราคาสินค้าแต่ละชนิด รวมไปถึงการรับฟัง ขอ้ สงั เกตจากฝ่ายขาย ฝา่ ยบัญชี ว่าสินค้าใดขายดี เพ่ือวางแผนซ้ือสินคา้ นั้นมากขน้ึ ฝา่ ยขาย รจู้ ักสนิ ค้า รูร้ าคา ร้ใู จลูกคา้ ท้ังน้ี เพ่ือให้ลูกค้าได้รับข้อมูลท่ีถูกต้องและเพียงพอ ที่จะนาไปใช้ ในการตัดสินใจเลือกซ้ือ พนักงานขายท่ีเก่ง ต้องมีเทคนิคการขายท่ีหลากหลาย ให้ข้อมูลท่ีทันสมัย มใี จบรกิ าร และมมี นษุ ยสัมพันธ์ทีด่ ี ฝา่ ยประชาสมั พันธ์ การสื่อสารกับลูกค้าอย่างเอาใจใส่เป็นเสน่ห์ ที่ทาให้ลูกค้าเดินเข้าร้าน ดังน้ันควรมี ฝา่ ย ประชาสัมพนั ธ์ท่ีหาวิธดี งึ ลกู คา้ ใหภ้ ักดีกบั ศูนยส์ าธติ การตลาด กระจายขา่ วในช่วงที่มีการจัดโปรโมช่ัน และหาลกู ค้ากลุ่มใหม่ ๆ อยู่เสมอ ฝา่ ยบัญชี ศนู ย์สาธติ การตลาดมิติใหม่ต้องจัดทาบัญชี ฝ่ายบัญชีมีหน้าท่ีบันทึกรายการสินค้าเข้าออก และยอดขาย ในแตล่ ะวนั การทาบญั ชนี นั้ สาคัญและจาเป็น เพื่อให้รู้ว่ามีกาไรหรือขาดทุนในแต่ละวัน / เดือน เท่าไร และสินค้าชนิดไหนท่ีขายดี ขายไม่ดี ข้อมูลท่ีได้ จะสามารถนามาใช้ในการตัดสินใจเพ่ือการลงทุน ในอนาคต 4. ให้มีการแต่งตั้งผู้จัดการศูนย์สาธิตการตลาด ทาหน้าที่ ควบคุมดูแลและดาเนินงาน โดยให้แต่งตั้ง พนักงานขายสินค้าและพนกั งานบัญชีจานวนเทา่ ทจ่ี าเป็น  ดา้ นการบรหิ ารจดั การเชงิ ธุรกิจ การปรบั ปรุงและพัฒนาศนู ยส์ าธิตการตลาดให้ทันสมยั ตอ้ งเริ่มตน้ จากการบริหารจัดการเชิงธุรกิจท่ีดี โดยนาเอาการบริหารจดั การรา้ นคา้ ปลีก และการตลาด มาใช้ร่วมกัน ศูนย์สาธิตการตลาดจาเป็นท่ีจะต้อง เรียนรู้ และตามใหท้ นั วิวฒั นาการของการค้าสมัยใหม่ และไม่หยุดน่ิงท่ีจะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับ การพัฒนาศูนย์สาธิตการตลาด ให้มีมาตรฐานการบริหารจัดการเชิงธุรกิจในที่นี้ หมายรวมถึง ประเด็นต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การวิเคราะห์กล่มุ ลกู ค้า 2. การเลอื กสนิ คา้ และบรกิ าร 3. การตง้ั ราคา 4. การสง่ เสริมการขาย (Promotion) 39  ดา้ นการวเิ คราะห์ลูกคา้ ก่อนการเริ่มต้นธุรกิจ การวางแผนให้ดีเป็นส่ิงจาเป็น คณะกรรมการจัดการศูนย์สาธิตการตลาด อาจเรมิ่ ตน้ ทาความรจู้ ักและทาความเข้าใจกบั ลกู คา้ เพ่อื วางแผนการขายสนิ ค้าให้ได้ประสิทธิภาพ วิเคราะห์ หาโอกาสเพิม่ ยอดขาย และตอบสนองความตอ้ งการของลกู ค้าในชุมชนไดม้ ากทสี่ ุดดว้ ย 5 คาถาม ดงั นี้ 1. ใครคอื ลูกค้าของเรา? เราขายสนิ ค้าให้ใคร ข้อมลู อาชพี อายุ เพศ รสนิยม เป็นแบบไหน เช่น เดก็ นกั ศึกษา เกษตรกร แม่บ้าน ผสู้ งู อายุ เยาวชน นักทอ่ งเท่ยี ว เปน็ ตน้ 2. ลกู คา้ ต้องการอะไร? ใชว้ ธิ สี ังเกต สารวจ และสอบถามจากลูกค้าของเรา คน้ หาว่าสินคา้ หรือการบรกิ ารแบบไหนทเ่ี ขาต้องการ 3. ลกู ค้าอยูท่ ไ่ี หน? บา้ น ทีท่ างาน หรอื สถานทที่ ี่ลกู ค้าชอบไปคอื ท่ีใด เพื่อเปน็ ประโยชนใ์ นการประชาสัมพันธ์ 4. ลกู ค้าซื้อช่วงเวลาไหน? ลูกค้ามาซ้ือมากท่ีสุดในช่วงเวลาไหน ความถ่ีในการใช้สินค้าเช่น กี่ครั้งต่อเดือน/สัปดาห์/วัน หรือ ลกู ค้ามาช่วงกลางวัน/ตอนเยน็ หลังเลกิ งาน เพือ่ วางแผนเข้าถึงลูกคา้ ในจังหวะเวลาท่ีเหมาะสม 5. จะทาอยา่ งไรให้ลกู ค้าเก่า/ลกู คา้ ใหม่ มาซอ้ื สินค้าเพ่ิม? สินค้า และบรกิ ารแบบใดทีต่ อบโจทยล์ ูกคา้ จะส่งเสริมการขายด้วยวิธีไหน ประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือใด ท่จี ะทาใหเ้ ข้าถึงลูกค้าไดม้ ากทสี่ ุด เช่น วิทยุ Line Facebook  ดา้ นการเลอื กสนิ คา้ และบรกิ ารเขา้ ร้าน เม่ือเราทาความเข้าใจลักษณะกลุ่มลูกค้าของเราอย่างดีแล้ว อีกองค์ประกอบสาคัญที่จะทาให้ ศูนย์สาธิตการตลาดมีลูกค้าเพ่ิมขึ้น ยอดขายสูงข้ึน ก็คือ การเลือกสินค้าและบริการ ท่ีเหมาะกับลักษณะ แวดล้อมที่ศูนย์สาธิตการตลาดต้ังอยู่และลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ซึ่งเรามีหลักการเลือกสินค้าแบบง่าย ๆ สาหรับศูนย์สาธิตการตลาดมาฝากกัน ดงั นี้ 1. กลมุ่ สนิ คา้ หลกั หรือสนิ คา้ พน้ื ฐาน จาเปน็ ต้องมขี ายตลอดเวลา เพราะเปน็ สินคา้ ทีเ่ ป็นความตอ้ งการของลูกค้า เป็นตัวดงึ ให้ลกู คา้ เขา้ ร้าน 1.1 สนิ ค้าบริโภคทจี่ าเป็นในชวี ิตประจาวัน ได้แก่ - สินค้าสาหรับกลมุ่ ลูกค้าทว่ั ไป เช่น ข้าว ซีอิ๊ว น้าปลา นา้ ตาลทราย - สนิ ค้าอปุ โภคภายในบา้ น เชน่ ผงซกั ฟอก นา้ ยาล้างจาน กระดาษชาระ - สินคา้ อุปโภคส่วนบุคคล เช่น สบู่ ยาสระผม ยาสีฟัน แปรงสฟี นั - สนิ ค้าอปุ โภคอน่ื ๆ เช่น เครอื่ งเขียน ภาชนะในครัวเรอื น 1.2 สนิ ค้าบริโภค/อุปโภค ทไี่ มใ่ ชส่ นิ ค้าจาเป็น แตซ่ ้ือเพ่ือความพึงพอใจ ได้แก่ - สินค้าบริโภค เชน่ บหุ ร่ี เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ ขนมขบเค้ียว ลกู อม ไอศกรมี - สินค้าอปุ โภค เช่น โลช่ันบารุงผิว ครีมเปลี่ยนสีผม ของเลน่ เด็ก 40 2. กล่มุ สนิ คา้ ใหม่ การหาสินค้าใหม่ๆ มาเติมอยู่เสมอ จะช่วยให้ศูนย์สาธิตการตลาดดูทันสมัย และมีความ เคลอื่ นไหวทีส่ มา่ เสมอ ซ่ึงจะช่วยสร้างความประทับใจได้ดี สินค้าใหม่มักหมายถึงท่ีมีการทาโฆษณาผ่านส่ือ โทรทัศน์ และส่อื อืน่ ๆ ทาใหม้ ีลกู ค้าถามถึง ซึ่งควรพิจารณานามาจาหน่ายที่ร้านในปริมาณที่พอเหมาะก่อน โดยการทาประชาสมั พันธ์ เชน่ การตดิ ตัง้ ปา้ ยแนะนาสนิ คา้ ใหม่ พร้อมทง้ั ติดตามยอดขายและผลตอบรับจากลูกค้า 3. กลมุ่ สินคา้ เทศกาล โดยสว่ นใหญ่จะเป็นสินคา้ ทค่ี วรนามาจาหน่ายในแต่ละช่วงเทศกาล เช่น กระดาษห่อของขวัญ การ์ดอวยพรในช่วงเทศกาลปีใหม่ ธูปเทียน เครื่องสังฆทาน ในช่วงวันสาคัญทางศาสนา น้าอบ และดินสอพอง ในชว่ งวันสงกรานต์ ตกุ๊ ตาและดอกไม้ในวันวาเลนไทน์ เป็นต้น 4. กล่มุ สินคา้ หรือบริการพเิ ศษ เฉพาะของศนู ย์สาธิตการตลาด เป็นการสร้างความแตกต่างจากคู่แข่ง และเพ่ิมความได้เปรียบให้กับศูนย์สาธิตการตลาด โดยนาสินค้าบางอย่างมาจาหน่ายเพ่ือดึงดูดความสนใจของลูกค้า เพื่อเพ่ิมจานวนคนเข้าร้าน หรือ เพิ่มกลุ่มลูกค้า ใหม่ เช่น สินค้าสมุนไพร ผ้าอ้อมอนามัยสาหรับผู้ใหญ่ เป็นต้น หรืออาจเป็นการให้บริการ รับชาระค่าน้า - ค่าไฟ โทรศัพท์ บัตรเครดิต รับถ่ายเอกสาร ส่งพัสดุ ส่งแฟกซ์ บริการตู้ซักผ้า หรือตนู้ า้ ด่มื หยอดเหรียญ บริการเตมิ เงนิ โทรศัพท์มอื ถอื และอื่น ๆ 5. สนิ คา้ ทเ่ี ปน็ ปจั จัยการผลติ (เฉพาะศนู ยส์ าธติ การตลาดบางแหง่ ที่มสี ินคา้ ประเภทนอี้ ยูแ่ ลว้ ) แสวงหาปัจจัยการผลติ ทต่ี อบโจทยอ์ าชีพคนในชุมชน โดยเฉพาะเทคโนโลยหี รอื เครอื่ งมอื ใหม่ ๆ มานาเสนอลูกค้าอยู่เสมอ โดยปัจจัยการผลิตในท่ีนี้ อาจหมายถึง ปัจจัยการผลิตสินค้าเกษตร เช่น เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง เคร่ืองมือทางการเกษตร หรือส่วนประกอบ /ส่วนผสมของสินค้าอ่ืน ๆ นอกเหนือจากสินค้าการเกษตร โดยพิจารณาเลือกปัจจัยการผลิตจากราคา ความต้องการลูกค้า ประสทิ ธภิ าพของสินคา้ 6. สินคา้ ชมุ ชน หรอื สนิ คา้ ฝากขายจากคนในพ้นื ที่ ศนู ย์สาธิตการตลาด สามารถมีส่วนช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนได้ ด้วยการรับสินค้าชุมชน มาขาย หรอื เปดิ พ้นื ท่ใี หผ้ ูป้ ระกอบการ คนในพนื้ ทน่ี าสนิ ค้าของตนมาฝากขาย โดยส่วนมากจะไม่ซ้ากับสินค้า อุปโภคบริโภคที่มีอยู่ในศูนย์สาธิตการตลาด ไม่ว่าจะเป็นสินค้า OTOP ท่ีมีคุณภาพ ท้ังของกิน ของใช้ เคร่ืองนุ่งห่ม เป็นต้น หรือสินค้าจากหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มอาชีพสตรี กลุ่มอาชีพอื่น และ วสิ าหกจิ ชุมชนตา่ ง ๆ ในพื้นท่ีโดยรอบ นอกจากชว่ ยเพ่มิ สสี นั ใหศ้ ูนย์สาธติ การตลาดด้วยตัวสินค้าที่มีความ นา่ สนใจแลว้ ยงั เปน็ การสง่ เสริมรายได้ของชมุ ชนอกี ด้วย  ด้านกลยทุ ธก์ ารกาหนดราคาอยา่ งมอื อาชพี ราคา คือปัจจัยแรก ๆ ท่ีทาให้ลูกค้าตัดสินใจซื้อสินค้า หากราคาไม่น่าจูงใจ โอกาสท่ีจะขายสินค้าออก กย็ ากขึน้ การตง้ั ราคาจึงเปน็ อีกกลยทุ ธใ์ นการเรยี กลกู ค้า เรามาดเู ทคนคิ การตัง้ ราคาเล็ก ๆ น้อย ๆ ให้เหมาะ กบั สนิ คา้ แตล่ ะชนิด และสามารถนาไปสู่การทากาไรไดส้ งู สดุ (Margin Mixed) กลยุทธ์การตั้งราคาขายให้ดีต่อใจ ลกู ค้าและไดก้ าไร ทาได้ดว้ ยวธิ ี งา่ ยๆ ดังต่อไปนี้ 41 1. กลยุทธร์ าคาลอ่ ใจ เลอื กสินค้าหลักบางอย่าง มาต้ังราคาให้ถกู กว่าคู่แข่งเล็กน้อย เพ่ือดึงดูดลูกค้า และสร้างภาพลักษณ์ให้ ลกู คา้ วา่ ศนู ยส์ าธติ การตลาดของเราขายสินคา้ แบบเดียวกันในราคาย่อมเยากว่า เช่น น้ามันพืช ท่ัวไปขาย ราคา 30 เราอาจต้ังขาย 28 บาท เปน็ ต้น กลยุทธ์ราคาล่อใจอาจทาให้ได้กาไรน้อยลงจากที่ควรจะได้ก็จริง แตส่ นิ ค้า ท่ตี ้งั ราคาเช่นน้ี ส่วนมากลูกค้าซ้ือในปริมาณท่ีมาก และส่วนใหญ่เวลาที่ผู้บริโภคมา จับจ่ายก็มัก ไมเ่ จาะจงซื้อสินคา้ เพยี งอย่างเดยี ว แตอ่ าจจะหยิบสินค้าอื่นติดไม้ติดมือ ไปด้วยเราจึงสามารถทากาไรจาก สินคา้ ตัวอน่ื ๆ ไคอ้ กี ด้วย 2. ต้ังราคาขายเปน็ เซต (เปน็ ชดุ ) การขายเปน็ เซตท่แี ม้จะมรี าคารวมมากกว่า แต่ราคาต่อชิ้นถูกกว่า แถมลูกค้ายังได้ของมากกว่าอีกด้วย การตั้งราคาเพ่อื ขายของเปน็ เซตแบบนี้ บางทอี าจได้กาไรน้อยกวา่ ขายแยกชน้ิ สักหนอ่ ยแตส่ ามารถกระตนุ้ ยอดขายได้ แน่นอนเพราะลูกคา้ ของคุณจะรูส้ กึ ว่า “คมุ้ ” แม้ตอนแรกจะไมไ่ ดต้ ้องการสินคา้ หลายชิ้นเลยก็ตาม 3. ตงั้ ราคาสินคา้ ลงท้ายดว้ ยเลข 9 ไม่ว่าจะเปน็ ลงทา้ ยด้วย 09 หรือ 99 ว่ากันว่าราคานี้มีผลให้ลูกค้ารู้สึกว่าราคาน้ัน “ถูก” ลง ย่ิงถ้าเป็น 99 บาท แทนท่ีจะเป็น 100 บาท ลูกค้าจะย่ิงรู้สึกถึงความแตกต่าง เพราะหลักสิบกับหลักหน่วยดูห่างกันมาก ทง้ั ๆ ทใ่ี นความเป็นจริงแล้ว ราคาต่างกันเพียง 1 บาทเท่าน้ัน นอกจากน้ี ยังมีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ว่า เลข 9 น้ัน มีผลทางจิตวิทยาของลูกค้าโดยตรง ถึงแม้ว่าถ้ามีของสองช้ิน ราคา 74 และ 79 ในเวลาเร่งรีบ ลกู ค้ายังหยิบสนิ ค้า ราคา 79 อาจจะหยิบไปเพราะความเคยชิน 4. เปรียบเทยี บราคาให้ดู เปรียบเทียบราคาของศูนย์สาธิตการตลาดของเรากับร้านคู่แข่ง ในสินค้าที่เราม่ันใจว่าถูกกว่าจริง ให้ลูกค้าตัดสินใจได้ไวและง่ายขึ้น หรือใช้ร่วมกับการจัดชุด/เซตสินค้า ถ้าหาป้ายมาติดเปรียบเทียบราคา แยกชน้ิ กับราคาเซตให้ดูก็จะย่ิงช่วย “ซือ้ เป็นชุด ถูกกว่า” ก็เป็นการเปรียบเทียบราคาอีกชนิดหนึ่ง ผู้บริโภค ปัจจุบันชอบค้นหาข้อมูล ชอบคานวณผลต่างกาไร ชอบหาดีลที่ถูกท่ีสุด เราก็ควร “บริการข้อมูล” เปรียบเทียบราคาจัดใหล้ กู ค้าเพอื่ อานวยความสะดวก ด้านการส่งเสรมิ การขาย การสง่ เสรมิ การขาย(Sales Promotion) หรอื ทีเ่ รารจู้ ักกนั ในชื่อเรียกสนั้ ๆว่า “โปรโมช่ัน”เป็นเทคนิคหน่ึงที่จะช่วย เพิม่ ยอดขายใหศ้ ูนยส์ าธิตการตลาดได้ การจัดรายการส่งเสริมการขายถือเป็นอีกกลยุทธท์ ี่สาคัญสาหรบั ศูนย์สาธิตการตลาด เพ่ือหาวิธีจูงใจ ลูกค้ามาซ้ือสินค้าให้มากท่ีสุด รายการส่งเสริมการขายน้ันสามารถจัดทาได้ ในหลายรูปแบบ และหลาย ช่วงเวลาแตท่ ีส่ าคัญ คือ ควรเลือกให้ตรงกับความตอ้ งการของลกู คา้ ใหม้ ากที่สุด โดยมวี ัตถุประสงค์ ดังตอ่ ไปนี้ 1. เพอ่ื รักษาลูกคา้ เก่าท่ีมีอยู่ 2. เพอื่ ดงึ ดดู ลกู ค้าใหม่ๆ ใหเ้ ข้ารา้ น 42 3. เพ่อื สร้างยอดขาย โดยกระตนุ้ ให้ยอดการซอ้ื ต่อคร้ังเพ่ิมขนึ้ หรือจากสนิ คา้ พิเศษช่วงเทศกาล 4. เพอื่ ทาการประซาสมั พนั ธส์ ินค้าใหมท่ ีร่ ้าน การสง่ เสรมิ การขาย มดี ังน้ี 1. “ส่ือโฆษณา” เป็นการส่งเสริมการขายที่จะช่วยทาให้ลูกค้ารับรู้ถึงสินค้าน้ัน ๆ เช่นรับรู้ว่าสินค้าน้ัน เป็นสินค้าที่ออกใหม่ สินค้าราคาพิเศษ หรือมีกิจกรรมส่งเสริมการขายร่วมกับศูนย์สาธิตการตลาด โดยแนวทางในการทาสอ่ื โฆษณาสง่ เสริมการขายก็จะแบง่ ออกเป็น 2 แนวทาง ดังนี้ 1.1 การทาสื่อโฆษณาส่งเสรมิ การขาย “ภายนอกร้าน” รูปแบบนี้ตัวสื่อต้องมีขนาดใหญ่ติดอยู่หน้าร้าน ให้เห็นชดั เจนสะดดุ ตาผทู้ ีเ่ ดินผ่านไปมาหน้าร้าน สามารถยืนอ่านไดส้ ะดวก และคอยนาทางไปยงั จุดขายสินค้านั้น ๆ 1.2 การทาสือ่ โฆษณาสง่ เสรมิ การขาย “ภายในร้าน” รูปแบบส่ือโฆษณาภายในร้าน เป็นจุดดึงดูดสายตา ทาให้เกิดการตัดสินใจซ้ือสินค้าน้ัน ๆ ท่ีจุดขายทันที การใช้ส่ือติดภายในร้านสามารถติดได้หลายจุด ภายในรา้ น เช่น หน้าเคาน์เตอร์คิดเงิน หรือหน้าช้ันวางสินค้าที่ เราต้องการโปรโมท เป็นต้น ทั้งสองรูปแบบ ถือเป็นแนวทางการจัดทาสื่อโฆษณาส่งเสริมการขายที่นิยมทากัน และช่วยเพิ่มโอกาสท่ีลูกค้าจะสนใจ ตัดสนิ ใจซ้อื สนิ คา้ นัน้ จากร้านค้าได้ เป็นตัวชว่ ยท่จี ะเพม่ิ ยอดขายให้ร้านไดด้ ี 2. การปนั ผลเฉลีย่ คนื อาจกาหนดเปน็ ห้วงเวลา เช่น 6 เดอื นครง้ั หรอื ปลี ะ 1 ครั้ง 3. การจบั คูปองรางวลั เปน็ การส่งเสรมิ การขายท่ีสามารถจัดขน้ึ ตามเทศกาลตา่ ง ๆ เพ่ือเป็นการสร้างแรงจูงใจ ในการซื้อด้านการกาหนดกลยุทธท์ างการขาย กลยทุ ธส์ รา้ งความแตกตา่ ง(Differentiationstrategy)คอื กลยทุ ธ์ท่ที าให้ศนู ยส์ าธติ การตลาดของเราไม่เหมือนใคร มีความพิเศษ มีคุณค่า และมูลค่าเพิ่มในตัวศูนย์สาธิตการตลาด โดยต้องผ่านการทาวิจัย และศึกษาพฤติกรรม ลกู ค้าว่าส่ิงท่ลี กู ค้าชอบคืออะไร เพือ่ พฒั นาสมรรถนะของศนู ย์สาธิตการตลาด ตอบสนองสิ่งทล่ี กู คา้ ตอ้ งการใหไ้ ด้ ขอ้ ดขี องการมจี ดุ ขายทแ่ี ตกตา่ ง 1. เม่อื เรามจี ดุ ขายท่แี ตกต่างจากท่ีอืน่ จะทาใหล้ กู คา้ จงรกั ภกั ดตี อ่ ศูนย์สาธิตการตลาดและตดั สนิ ใจซ้ือสนิ คา้ นน้ั ตลอดไปเร่อื ย ๆ 2. ไม่หวน่ั แมว้ ันทม่ี คี แู่ ขง่ มาก เพราะเราพัฒนาสินค้าและการบริการทต่ี อบโจทย์ลกู ค้ามากกวา่ และทาให้ ศนู ยส์ าธิตการตลาดของเราติดตลาดเปน็ ที่นยิ มก่อนค่แู ขง่ อน่ื 3. เปน็ แหล่งรวบรวมและกระจายสินคา้ สู่รา้ นคา้ ในชุมชน เทคนคิ การสรา้ งความแตกตา่ ง เราสามารถสรา้ งความแตกต่าง หรอื สรรคส์ ร้างจดุ ขายทไ่ี มเ่ หมือนใคร และไม่มใี ครเหมอื นไดด้ ้วย 3 วิธงี า่ ย ๆ โดยควรพจิ ารณาจากความต้องการของลกู คา้ ที่แตกต่างกนั ปจั จัยแวดลอ้ มอนื่ ๆ และบรบิ ทของพน้ื ท่ี ศูนย์สาธติ การตลาด 1. แตกต่างดว้ ย “สนิ คา้ และบรกิ าร” เพิม่ สินค้าและบรกิ ารทีแ่ ตกตา่ งจากทอี่ ่ืน โดยเลือกสินคา้ ทใี่ หม่ มีคุณภาพได้มาตรฐาน และราคายตุ ิธรรม รวมไปถึงการมสี นิ คา้ ชมุ ชนทีร่ ้านค้าปลกี อื่น ๆ ไม่มี 43 2. แตกตา่ งดว้ ย “การตกแต่ง” การตกแตง่ ภายใน เนน้ ความสะดวกสบายในการเลอื กซอ้ื สนิ คา้ ใช้ช้นั วางสีสันสดใส เพิ่มบรรยากาศด้วย เสียงเพลงและกล่ินหอม ส่วนการตกแตง่ ภายนอกร้านเนน้ สสี นั สดใส แปลกตา หรอื ใช้วสั ดุท้องถนิ่ มาตกแต่งรา้ น 3. แตกตา่ งดว้ ย “ความสัมพันธ์กบั ชมุ ชน” คอื จุดแข็งทส่ี าคัญของศนู ย์สาธิตการตลาด ดาเนินการโดยกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ความสัมพันธ์นั้น อาจหมายถึง รใู้ จคนในชุมชน รู้จักชื่อลูกค้าทุกคน พูดภาษาถ่ินทาให้ส่ือสาร กันง่าย ความเป็นกันเองของ คนขายกบั ลูกคา้ การเปน็ ศนู ย์กลางในการกระจายขา่ วสาร การจดั กจิ กรรมคืนกาไรให้ชุมชน และการทาบุญ บรจิ าคในโอกาสต่าง ๆ ศนู ย์สาธติ การตลาดทม่ี ีการบริการที่ดี จะต้องหม่ันสร้างความผูกพันและ ความสัมพันธ์ท่ีดีกับ ลกู ค้า จนเกิดเป็นความจงรักภักดขี องลกู ค้าต่อศูนย์สาธิตการตลาด และ ทาให้เกิดความสัมพันธ์ระยะยาว จริงอยู่ในแง่ของสินค้าหลักในศูนย์สาธิตการตลาดจะเน้นเร่ืองการขายผลิตภัณฑ์ แต่ การบริการท่ีดี และ เข้าถึงลูกค้า จะช่วยเพิ่มมูลค่าของศูนย์สาธิตการตลาดของเราให้มีคุณค่า ในสายตาผู้บริโภคเราอาจทา ความเข้าใจความตา่ งของการเป็นศูนยส์ าธิตการตลาดท่เี น้นแค่ “ขาย ผลิตภัณฑ์” กับศูนย์สาธิตการตลาด มี “ใจบรกิ าร” ได้ดังต่อไปน้ี  ด้านภาพลกั ษณ์ การวางแผนผงั และการจดั เรยี งสนิ คา้ การวางแผนผังรา้ นท่ดี จี ะช่วยให้เราใชพ้ ้ืนทศ่ี นู ย์สาธติ การตลาด ทุกตารางน้ิวอย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดประโยชน์สูงสุด และยังส่งผลให้ลูกค้าเกิดความประทับใจ จดจาผังร้านได้ง่าย และยืดเวลาให้ลูกค้า อยู่ในร้าน นานท่ีสุด อกี ท้ัง ยังเป็นการเพิ่มโอกาสในการขายให้กับสินค้าทุกตัวในศูนย์สาธิตการตลาด ด้วย การวาง แผนผังร้านค้าท่ีดี ถือเป็นองค์ประกอบสาคัญอีกส่วนหน่ึงในการใช้พ้ืนที่ศูนย์สาธิตการตลาดให้มี ประสทิ ธิภาพ เพราะการบรหิ ารพน้ื ทีภ่ ายในรา้ นที่ เหมาะสมนั้น สามารถสรา้ งความพงึ พอใจและดงึ ดูดลูกค้า ให้เข้ามาที่ร้าน อีกทั้งยังเป็นปัจจัย ในการพิจารณาปริมาณความหลากหลายของสินค้าและบริการ ที่ศนู ย์สาธิตการตลาดควรนาเสนอซง่ึ ต้องสัมพนั ธ์กับพ้นื ท่ีขายภายใน โดยแบ่งออกเปน็ 3 ส่วนหลัก ๆ คอื 1. หน้าร้านและทางเข้าร้าน เป็นจดุ สาคัญท่ตี อ้ งคานงึ ถงึ เป็นอยา่ งแรก เน่ืองจากเป็นจุดแรกท่ีสามารถดึงดูด ลูกค้าให้เข้ามาใช้บริการในร้าน ดังนั้น การจัดเรียงสินค้าหน้าร้านค้า ทางเข้าร้านค้าล้วนมีความสาคัญ อย่างยิง่ ตอ่ การตัดสนิ ใจของลูกคา้ ว่าจะเขา้ มาภายในร้านค้าหรอื ไม่ 2. พนื้ ที่ภายในรา้ นซ่งึ กลา่ วรวมถงึ แผนผังการจัดเรียงสินค้าบนชั้นวาง ซึ่งควรอยู่ในตาแหน่งโอบล้อมภายในร้าน และมชี ่องทางเดินท่ีพอสมควรให้กับลูกค้า ความสูงของช้ันวางสินค้าที่ชิดติดผนัง หรือท่ีวางอยู่กลางห้อง ตาแหน่งตู้แช่ และตาแหนง่ ของเคาน์เตอรแ์ คชเชียร์/จดุ ชาระเงิน 3. พ้ืนท่ีหลังร้าน ซึ่งมักใช้เป็นที่เก็บสินค้าคงคลัง โดยควรแยกระหว่าง สินค้าบริโภค อุปโภค และสินค้า วัตถุมีพิษ สาหรับร้านค้าท่ีมีขนาดเล็กและไม่มีพื้นที่เพียงพอก็สามารถใช้ชั้นวางสินค้าหน้าร้านเป็นพ้ืนที่ เก็บสินคา้ คงคลังได้ แตต่ อ้ งแกะสนิ ค้าออกจากหีบหอ่ ท่ีบรรจุ และจัดเรยี งใหส้ วยงาม 44 การจดั เรียงสนิ คา้ บนชัน้ วาง การจัดเรียงสินคา้ ที่ดี ต้องคานึงถงึ ความสะดวกสบายของลูกค้าในการเลือกซ้ือสินค้าแต่ละกลุ่ม / ประเภท ใหต้ ่อเนื่องกัน เปน็ การใชพ้ ืน้ ที่แตล่ ะช้นั วางสินคา้ ให้เป็นประโยชน์ และสรา้ งยอดขายสงู สุดให้รา้ นค้า ประโยชนข์ องการจดั เรยี งสนิ คา้ ทดี่ ี 1. เกิดความตอ่ เนอื่ งในการเลือกซ้ือสินค้า เพ่ิมโอกาสในการขาย โดยเรียงสินค้าท่ีเก่ียวเนื่องกัน ทาให้เกิด การซ้ือพว่ ง เช่น ผงซกั ฟอก และน้ายาปรับผ้านุ่ม หรือการเรียงสินค้าในจุดท่ีลูกค้า สามารถซื้อสินค้าโดย ไม่ได้ตงั้ ใจ เชน่ สินคา้ บนเคานเ์ ตอรแ์ คชเชียร์ 2. ชว่ ยเพมิ่ พ้ืนท่ีในการจดั เรยี ง ทาให้สามารถเพมิ่ สินค้าใหมๆ่ เขา้ มาขายในรา้ น 3. ทาใหท้ ราบอตั ราการขายสนิ คา้ เพ่ือเพ่มิ - ลดจานวนขาของชั้นวางสินค้าในการจัดเรียงให้เกิดประโยชน์ และสรา้ งยอดขายสูงสุด 4.ตรวจสอบปรมิ าณสนิ คา้ คงเหลือไดง้ ่าย เทคนคิ 5 ประการ ในการจดั เรยี งสนิ ค้าทดี่ ี 1. แบ่งสินคา้ ให้เปน็ หมวดหมเู่ ดียวกัน โดยจดั เรียงลงมาในแนวด่ิง 2. จดั เรยี งสินคา้ สัมพนั ธแ์ ละตอ่ เน่ืองกัน 3. สนิ คา้ ขายดวี างระดับสายตา และสินค้าราคาแพงควรวางใกล้แคชเชียร์ 4. สนิ ค้าช้ินเลก็ น้าหนักเบาควรจดั เรยี งด้านบน สนิ ค้านา้ หนกั มาก ขนาดใหญ่ควรจัดเรยี งด้านลา่ ง 5. ไม่ควรเรียงสินค้าประเภทของใช้และสารเคมีปนกับสินค้าประเภทอาหาร/ของว่าง ควรจัดเรียงของกิน แยกจากของใช้ ซึง่ จะชว่ ยลดการปนเปื้อนสารเคมีจากสินค้า ประเภทของใช้ แล้วยังทาให้เกิดความต่อเน่ือง ในการเลือกซ้อื สนิ คา้ อกี ดว้ ย 6. สินคา้ ท่กี ฎหมายหา้ มวางโชว์ ณ จดุ จาหน่าย เชน่ บหุ รี่ ให้เก็บไวใ้ กล้แคชเชยี ร์ทาให้น่าสนใจ การตกแต่งศนู ยส์ าธิตการตลาด มหี ลักการ 5 ขอ้ ง่ายๆ ในการตกแต่งภายในศูนย์สาธิตการตลาดให้น่าดึงดูด น่าสนใจต่อลูกค้ามาฝาก ลองตกแต่งรา้ นตามหลกั 5 ข้อน้ีรบั รองว่าประทบั ใจลูกค้า กลายเปน็ ลกู คา้ ประจาแนน่ อน 1. แสง : แสงสว่างที่พอเพียง ทาให้ลกู ค้ามองเห็นสนิ คา้ ได้งา่ ยขนึ้ 2. เสียง : เสียงในการเชญิ ชวนพดู คุยกับลกู คา้ การกลา่ วทกั ทายช่วยสร้างความประทับใจ 3. สะอาด : จัดรา้ นสวย สะอาด ทั้งตวั สินคา้ ชน้ั วาง และตู้แช่ 4. สะดวก : สามารถเลือกซื้อสินคา้ ไดอ้ ย่างสะดวกตอ่ เนอื่ ง 5. สบาย : ทาใหล้ ูกค้ารสู้ ึกเปน็ กันเอง รสู้ กึ สบายใจเมอ่ื ซ้ือสนิ ค้าจากร้านของเรา  ดา้ นระบบคลงั สินค้า จานวนสต็อกสินค้าที่เหมาะสมคือกาไรสูงสุดของร้านค้า การบริหารสินค้าคงคลังที่ดี จะส่งผลให้ ปรมิ าณสินค้ามีเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการของลูกคา้ และควบคมุ เงินทุนหมุนเวียนทีม่ ีอย่ไู ม่ให้จมไปกับสินค้า ท่ีซ้ือมากักตนุ จนมากเกนิ ไป โดยปจั จยั ในการควบคุมระดับสินคา้ คงคลังประกอบดว้ ย 45 1.ความถขี่ องการเลือกซอื้ สนิ คา้ เข้ารา้ น 2.ความพรอ้ มของเงนิ ทนุ หมุนเวยี น ที่นามาใชใ้ นการลงทนุ ซ้อื สินคา้ 3.ปริมาณขายออกของสนิ คา้ แตล่ ะตวั ซงึ่ ชว่ ยระบุปรมิ าณสินคา้ ทีต่ ้องการ , 4.ความผนั ผวนของราคาสินค้า ซึ่งอาจเกดิ ขึน้ และทาให้เจา้ ของร้าน จาเป็นต้องซ้อื เพ่ิมหรือลดลงกว่าปกติ เคล็ดลับในการจัดสต็อกสนิ ค้า 1. ไมเ่ กบ็ สตอ็ กสนิ คา้ มากเกนิ ไป จะทาให้รา้ นมีเงนิ หมุนเวียน และลดตน้ ทุน เพ่มิ ผลกาไรอีกทางหนึ่ง 2. หมั่นสารวจความต้องการของลูกค้าอย่างสม่าเสมอ นาเสนอสินค้าท่ี หลากหลายและเพียงพอ เพื่อให้มั่นใจว่า ลูกค้าท่แี วะมาจะได้สนิ คา้ ที่ ตอ้ งการเสมอ 3. ระบายสนิ คา้ ที่ขายชา้ และนาสินค้าใหมเ่ ขา้ มาทดแทน 4. หาแหล่งสนิ คา้ ท่มี สี ินคา้ ครบ เพื่อความสะดวกและประหยดั ค่าเดินทาง สาหรบั ศูนย์สาธติ การตลาดแล้ว ถา้ ย่งิ ขายดี กเ็ ท่ากบั ว่าย่งิ มกี าไรเพิม่ ขน้ึ บางคนจึงลงทุนไปกับการโฆษณา โปรโมตสนิ ค้าไปเปน็ จานวนมาก รวมท้งั สร้างโปรโมชน่ั ลด แลก แจก แถม เพื่อสร้างยอดขายและฐานลูกค้า แต่รหู้ รอื ไมว่ า่ การบริหารสตอ๊ กสินคา้ ให้ดกี เ็ ปน็ อีกช่องทางหนึ่งท่ีช่วยเพ่ิมกาไรได้อย่างไม่น่าเชื่อ การจัดทา สต็อกสนิ ค้าดี ๆ สามารถช่วยเพ่มิ กาไรได้ ดังน้ี 1. ช่วยปอ้ งกันสนิ ค้าในคลงั หาย ความเปน็ ระบบจะทาใหร้ า้ นคา้ รู้ว่าสินคา้ มกี ชี่ ิ้น ตรวจสอบได้ว่าใครเป็นคน นาเขา้ หรอื ขายออกไปในจานวนกี่ชิ้น ช่วยป้องกันการรับสินค้าไม่ครบ รวมท้ังป้องกันไม่ให้ลูกน้องหยิบของ ผดิ พลาด หรือหยบิ ไปใช้ ไปขายเอง ซึง่ จะทาให้รา้ นคา้ ขาดทนุ 2. ลดโอกาสการขาดทุนจากสินค้าท่ีไม่ได้ขาย การจัดสต๊อกอย่างเป็นระเบียบทาให้ร้านค้าได้รู้ว่าสินค้า แต่ละประเภทจดั วางท่ีไหน แกป้ ญั หาการหาสินค้าไมเ่ จอ สนิ ค้าถกู วางลืม ไม่ไดน้ าไปขาย และสาหรับสินค้าท่ีมี อายุจากัด ทาให้ร้านค้าได้รู้ข้อมูลว่า สต๊อกล็อตไหนเข้ามาก่อน หลัง ควรระบายสินค้าไหนก่อน หรือทา โปรโมช่ันกับสินค้าประเภทไหน เพ่อื ลดโอกาสสินคา้ เหลือและหมดอายโุ ดยไมไ่ ดข้ าย 3. ลดความเสย่ี งสินค้าขาดหรอื ล้นสต๊อกไม่ทนั ตง้ั ตวั เพราะความเป็นระบบจะช่วยใหร้ ู้ ว่าสินค้าแต่ละชนิด มีความเร็วในการขายอย่างไร หมดเร็วแค่ไหน ควรสั่งเพ่ิมเมื่อสินค้าเหลือเท่าใด เพราะการขาดสินค้า เมื่อลกู คา้ ต้องการทาให้เสียโอกาสในการขาย และ อาจทาใหเ้ สยี ลกู คา้ ประจาไปใหร้ ้านอ่ืน ๆ 4. เหน็ ภาพรวมคลังสินค้าว่ามีการเข้าออกอย่างไร สินค้าชนิดใดขายดีในช่วงไหน หรือ กับคนกลุ่มไหน ใช้เปน็ กลยทุ ธ์ในการทาความเข้าใจพฤตกิ รรมลูกค้า ทาให้เลือกสต๊อกสนิ ค้าและจดั โปรโมชั่นเพิ่มยอดขายได้ ดีข้นึ กาไรก็เพม่ิ ขึ้นอยา่ งแนน่ อน 5. ชว่ ยใหค้ ุมงบของรา้ นได้ดขี ึน้ เพราะได้คานวณตั้งแตก่ ารสั่งของว่าคดิ เปน็ ตน้ ทุน เท่าไหร่ ถ้าขายในราคา ท่ีต้งั จะไดก้ าไรเทา่ ไหร่ ทาให้ต้ังราคาไดอ้ ย่างเหมาะสม รวู้ ่าควรขายอะไรจงึ จะไดก้ าไรที่คุ้มค่าทีส่ ดุ สรปุ ไดว้ ่าระบบสต๊อกหลังร้าน ทจี่ ริงแลว้ ก็มีความสาคญั ไมแ่ พ้การโฆษณาเลย การจัดการสต๊อกสินค้า ให้ดีช่วยให้ลดต้นทุน ประหยัด ตรวจสอบง่าย กาไรเพ่ิมโดยไม่ต้องเสียเงินโฆษณา แถมยังทางานได้ง่ายข้ึนด้วย ถา้ ใส่ใจบริหารธุรกิจให้ดีไปพรอ้ มกนั ทงั้ หน้ารา้ นและหลงั รา้ น กาไรก็ต้องงอกเงยออกมาอยา่ งไมต่ อ้ งแปลกใจ 46


Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ