ศาสนาพราหมณ์ฮินดูแบ่งออกเป็นกี่วรรณะ



๑.พัฒนาการของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู แบ่งออกเป็น ๔ ยุค คือ ยุคอารยัน ยุคพระเวท ยุคพราหมณะ และยุคฮินดู
๒.ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่มีศาสดาผู้ก่อตั้งเหมือนศาสนาอื่นๆ เพราะคำสอนต่างๆ พวกพราหมณ์หรือฤๅษีผู้ศักดิ์สิทธิ์ได้ยินหรือฟังมาจากพระเจ้าด้วยตนเอง แล้วมีกานจดจำไว้และถ่ายทอดต่อกันทางความทรงจำ
๓.คัมภีร์สำคัญในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ๑) ส่วนที่เป็นศรุติ ได้แก่ คัมภีร์พระเวททั้ง ๔ คือ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และอาถรรพเวท ๒) ส่วนที่เป็นสมฤติ ได้แก่ คัมภีร์ที่ปราชญ์ทางศาสนาได้แต่งขึ้นเพื่ออธิบายเนื้อหาและสนับสนุนให้การศึกษาคัมภีร์พระเวทเป็นไปโดยถูกต้อง เช่น คัมภีร์อุปนิษัท คัมภีร์มนูศาสตร์ คัมภีร์ปุราณะ คัมภีร์ภควัทคีตา มหากาพย์มหาภารตะและมหากาพย์รามายณะ เป็นต้น
๔.หลักคำสอนสำคัญของพราหมณ์-ฮินดู คือ หลักคำสอนเรื่องอาศรมหรือวิธีปฏิบัติของพราหมณ์ ๔ ประการ หลักคำสอนเรื่องตรีมูรติ หลักคำสอนเรื่องปรมาตมันหรือพรหมันและชีวาตมัน หลักคำสอนเรื่องการหลุดพ้นหรือโมกษะ
๕.นิกายสำคัญของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มี ๔ นิกาย คือ นิกายไวษณสะหรือไวษณพ นิกายไศวะ นิกายศักติ และนิกายตันตระ
๖.พิธีกรรมสำคัญของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ประกอบด้วย กฎสำหรับวรรณะ พิธีประจำบ้าน พิธีศราทธ์ และพีธีบูชาเทวดา
๘.ขบวนการปฏิรูปศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คือ สมาคมพรหมสมาช สมาคมอารยสมาช สมาคมกฤษณะมิชชั่น ขบวนการสรโวทัย


ที่มาภาพ : //www.siamganesh.com/

ความเป็นมา
ศาสนาพราหมณ์มีวิธีวัฒนาการทางประวัติศาสตร์อันยาวนาน นับตั้งแต้การเริ่มตั้งถิ่นฐานของชาวอารยันเริ่มตั้งถิ่นฐานในชมพูทวีป ต่อมาในสมัยหลังพุทธกาลศาสนาพราหมณ์ได้วิวัฒนาการมาเป็นศาสนาฮินดูหรือพราหมณ์ใหม่ ซึ่งมีหลักคำสอนที่ผิดแผกแตกต่างจากต้นกำเนิดเดิมของศาสนานี้ จึงนับว่าศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาที่มีอายุยาวนานที่สุดของโลกศาสนาหนึ่ง
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเป็นศาสนาที่แตกต่างจากศาสนาอื้นในโลกเพราะเป็นศาสนาที่ไม่มีศาสดาผู้ก่อตั้ง เพราะมีจุดเริ่มต้นมาจากความเชื่อว่ามีเทพเจ้าผู้มีอำนาจเหนือธรรมชาติ เป็นผู้สร้างสรรพสิ่ง ต่อมาชาวอารยันผู้ทำหน้าที่ติดต่อกับเทพเจ้า ได้สอนหลักการเรื่องกำเนิดของสรรพสิ่งว่า เทพเจ้าหรือพระพรหม เป็นผู้สร้างสรรพสิ่งในลักษณะต่างๆ ต่อมาสรรพสิ่งที่พระพรหมสร้างก็ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของเทพเจ้าองค์อื่นๆ ด้วย ทำให้มีเทพเจ้ามากมายและทำหน้าที่ต่างๆกันในที่สุด ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดูจึงกลายมาเป็นศาสนาประเภทพหุเทวนิยมในปัจจุบัน
เนื่องจาก ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มีวิวัฒนาการมาเป็นเวลาอันยาวนาน ทำให้แนวความคิดทางศาสนาแตกต่างกันออกไปมาก ดังนั้น การศึกษาประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โดยแบงออกเป็นยุคต่างๆ
สรุปได้ว่า ศาสนาพราหมณ์เริ่มต้นจากลัทธิประจำเผ่าพัฒนามาเป็นศาสนาประจำเผ่าอารยัน ซึ่งอพยพมารบชนะชาวเผ่าพื้นเมืองที่เรียกว่า ทราวิฑ หรือทัสยุได้ขับไล่พวกชนเผ่าเจ้าของดินแดนเดิมออกไปแล้วตั้งถิ่นฐานที่อยู่ครอบครองลุ่มน้ำสินธุและคงคา ได้ผสมผสานความเชื่อของท้องถิ่นให้เข้ากับความเชื่อของตน ทำให้เกิดแนวความคิดเรื่องวรรณะ ต่อมาในยุคพระเวทเป็นยุคที่มีพัฒนาการการนับถือพระเจ้าให้มีระเบียบแบบแผนมากยิ่งขึ้น จนกระทั่งเกิดการรวบรวมบทสวดอ้อนวอนพระเจ้าต่างๆ เรียกว่าคัมภีร์พระเวท ในยุคพราหมณะเป็นยุคที่วรรณะพราหมณ์มีอำนาจสูงสุด เพราะปูนผู้ผูกขาดการทำพิธีกรรมต่างๆมีการแต่งคัมภีร์พระเวทขึ้นอีกหนึ่งคัมภีร์คือ อาถรรพเวท และคัมภีร์อุปนิษัทซึ้งเป็นรากฐานของแนวคิดทางปรัชญามีความสุขุมลุ่มลึกยิ่งขึ้นมากกว่าเดิม เป็นยุคที่มีการแข่งขันกันระหว่างศาสนา คือเกิดศาสนาใหม่ คือ ศาสนาเซนและพุทธศาสนา จนทำให้ศาสนาพราหมณ์ต้องปรับกระบวนการในการสอนศาสนาใหม่จนต้องเรียกตนเองใหม่ว่า ศาสนาฮินดู

//sites.google.com/site/phechmvk/sasna-phrahmn-hindu

วรรณะของพราหมณ์มีอะไรบ้าง

ชาวอินเดียวจะมีการแบ่งผู้คนออกเป็นพวกๆหรือวรรณะตามความเชื่อจากศาสนาฮินดูคือ ๑. วรรณะพราหมณ์เป็นวรรณะสูงสุด ได้แก่พวกผู้ประกอบพิธีกรรมต่างๆ ๒. วรรณะกษัตริย์ได้แก่พวกกษัตริย์ผู้ปกครองบ้านเมือง ๓. วรรณะแพศย์ได้แก่พวกพ่อค้า ช่างฝีมือ ๔. วรรณะศูทร ได้แก่พวกคนใช้ ชาวอินเดียจะยึดถือเรื่องวรรณะกันมาก ถ้าใครแต่งงานกันต่างวรรณะ ...

วรรณะใดที่ไม่ได้จัดอยู่ใน 4 วรรณะของศาสนาพราหมณ์

ชุมชนที่เป็นหนึ่งในสี่วรรณะนี้จะเรียกว่าเป็น สวรรณะ (savarna) หรือ "วรรณะฮินดู" ส่วนชาวทลิตและ ชนเผ่าต่าง ๆ ที่ไม่ได้เป็นหนึ่งในสี่วรรณะนี้จะเรียกว่าเป็นพวก อวรรณะ

วรรณะ 4 คืออะไร

ผู้ศึกษาสังเกตได้ว่าระบบวรรณะของอินเดียจัดเป็นวรรณะใหญ่ 4 วรรณะ คือ วรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร ตามลำดับ และมีหน้าที่ต่างกัน

สีเหลืองสีประจำวรรณะใด

2. วรรณะกษัตริย์ ได้แก่พวกนักรบ นักปกครอง สีประจำวรรณะคือ สีแดง 3. วรรณะแพศย์หรือไวศยะ ได้แก่ประชาชนนอกเหนือจากสองวรรณะข้างต้น ซึ่งเป็นชนส่วนใหญ่ในสังคมที่ประกอบอาชีพต่างๆ กัน เช่น พาณิชยกรรม เกษตรกรรม ศิลปหัตถกรรม เป็นต้น ต่อมาในระยะหลังมักตีความว่าหมายถึงเพียง “พ่อค้า” อย่างเดียว สีประจำวรรณะคือ สีเหลือง

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ