เว็บไซต์ เปรียบเทียบได้กับส่วนใดของหนังสือ

2. �ҡ���º��º���䫵���˹ѧ�������˹�� ���ྨ���ѡɳ�����͹�ѹ˹ѧ������ҧ��
�. ˹�һ������úѭ�ͧ˹ѧ���
�. ˹�һ���л���ѧ�ͧ˹ѧ���
�. ��úѭ���˹�Ңͧ˹ѧ���
�. �ӹ������úѭ�ͧ˹ѧ���

3. �����繻���ª��ͧ����觫���Ҿ����Ѻ���䫵�
�. ������§���ͧ���䫵�
�. ����������Ͷ�ͧ͢���䫵�
�. �������Ǣͧ��ô�ǹ���Ŵ
�. �������͡�ѡɳ�ͧ���䫵�

4. ����ͧ��������� Adobe Photoshop �����㹡���觫���Ҿ����Ѻ���䫵�
�.   


�.   

�.   

�.   

5. �ٻẺ㹢��㴷���繡�úѹ�֡�Ҿ����觫������Ѻ���䫵� �������Ѵ����㹡���ҧ�Ҿ�˹�����ྨ
�. HTML and Images
�. HTML
�. JEG
�. GIF

6. ������㴢ͧ���䫵����������ѧ�ҡ��úѹ�֡����Ҿ����觫������
�. test
�. boy
�. picture
�. images

7. �����§�ӴѺ�Ըա������Ҿ����觫������Ѻ˹�����ྨ
       1. ������ Ctrl �A
       2. �Դ䫵����١��ͧ
       3. �Դ����Ҿ���ѹ�֡�� HTML
       4. ������ Ctrl �S
       5. ������ Ctrl �C
       6. �Դ��� index.html
       7. ������ Ctrl �V
       8. ��ԡ������ҧ��������˹�� index.html
�. 2 6 3 1 7 8 6 5 4
�. 2 6 3 1 6 7 5 7 4
�. 2 6 3 1 5 6 8 7 4
�. 2 7 3 1 5 6 8 6 4

8. �����������Ҿ�ҡ�Ҿ����觫������Ѻ���䫵�֧����ͧ�á���ҧ�˹����纡�͹����Ҿ
�. �Ҿ����觫������Ѻ���䫵��բ�Ҵ�˭�
�. �Ҿ����觫���ա���觵��ҧ�������
�. ����á���ҧ��͹����Ҿ������ٻ�Ҿ�����§��
�. ����á���ҧ��͹���ҧ�з����Ѵ���˹觢ͧ�Ҿ�����

9. ���㴤�����˵ط������˹�����ྨ�������ö��û�Ѻ��ا��������ѧ�ҡ��úѹ�֡������ŵ����
�. �Դ site �����ѧ�ӧҹ���١��ͧ
�. �ա���ԧ�����������ŵ�Դ��Ҵ
�. �ա���Դ������ŵ��ҧ�����˹�Ҩ�
�. ���������Ҿẹ�����������ŵ

10. ����� History �ջ���ª�����ҧ��㹡�����ҧ���䫵�
�. �纻���ѵԤ���觷����������˹�����ྨ˹��˹��
�. ������Ѻ��û�Ѻ��ا�͡������ŵ
�. ¡��ԡ��÷�ҧҹ����ҹ����������Ѻ�׹
�. ������Ѻ���������§�����������ҧ���䫵�

���ྨ ���ྨ ���䫵� �������
                - ���ྨ (Web page) ��� �������͡��÷�����ҧ�������˹��(page) �ѧ��� ���䫵�˹�� � �л�Сͺ�������ྨ�����˹���á�֧˹���ش���� ���º���ྨ ��Ѻ˹��˹ѧ�������˹��
                -���ྨ (Home page) ��� �������͡���˹���á�ͧ���䫵��� � ������ Web page ˹���á ���º��Ѻ ��˹ѧ�����������
                -���䫵� (Website) ��� �������͡�����纷�駪ش������ҧ����������ԡ�� ���䫵� ���º��Ѻ˹ѧ��� 1 ���� ������������ҳ��л�������������Ҩ����ҡ���͹��� ��§�

��ҹ�� ˹���á

การเปรียบเทียบกับหนังสือ

         โฮมเพจ เปรียบได้กับ หน้าปกของหนังสือ มีการออกแบบสวยงามเพื่อดึงดูดความสนใจของผู้อ่านและ มีหัวข้อสำคัญที่อยู่ภายในหนังสือ เพื่อแจงให้ผู้อ่าน

ทราบหัวข้อสำคัญต่าง ๆ คล้ายกับจุดเชื่อมโยงในเว็บเพจนั้นเอง

 เว็บเพจ เปรียบได้กับ หน้าต่าง ๆ ของหนังสือภายในเล่ม แยกออกเป็นบท ๆ เพื่อนำเสนอข้อมูล หรือเนื้อหาสาระต่าง ๆ โดยประกอบไปด้วยข้อความ รูปภาพ ตารางข้อมูล เป็นต้น    

เว็บไซต์ เปรียบได้กับ หนังสือหนึ่งเล่มเป็นแหล่งข้อมูลความรู้เรื่องต่าง ๆ ของบุคคล องค์กร หรือ หน่วยงานต่าง ๆ

หากคุณต้องการทำธุรกิจบนโลกออนไลน์ให้ประสบความสำเร็จ เครื่องมือสำหรับการทำการตลาดที่คุณจำเป็นต้องมีก็คือเว็บไซต์นั้นเอง แต่การสร้างเว็บไซต์ ขายของออนไลน์ ก็ยังไม่ใช่เรื่องง่าย แม้ในยุคปัจจุบันจะมีเครื่องมือที่เป็นตัวช่วยในการเขียนเว็บอยู่มากมาย

นอกจากนี้หากคุณมีเป้าหมายที่ต้องการให้เว็บของคุณติดอันดับหน้าแรกบน Google แค่การทำเว็บได้อย่างเดียวมันยังไม่พอ เพราะมีแค่เว็บที่มีคุณภาพดีเท่านั้นถึงจะมีโอกาสติดหน้าแรก Google ได้ครับ การจะทำเว็บให้มีคุณภาพดีได้ หลักการพื้นฐานเป็นสิ่งสำคัญที่สุด

ดังนั้นบทความชุดนี้ ผมจึงได้รวบรวมทุกองค์ความรู้ที่เป็นพื้นฐานที่ถูกต้อง เพื่อช่วยให้คุณสามารถสร้างเว็บไซต์ WordPress ให้มีคุณภาพได้นั้นเอง

เมื่อคุณอ่านและทำตามบทความนี้จนจบ คุณจะสามารถสร้างเว็บไซต์ แบบตัวอย่างเหล่านี้ได้หมดเลยนั้นเอง !

bingobook.co

สำนักพิมพ์หนังสือ

fitmesport.com

ชุดออกกำลังกายผู้หญิง

miraclas.com

อาหารเพิ่มความสูง

healthplatz.co

อาหาร SuperFoods

ดูตัวอย่างเว็บไซต์ ทั้งหมด

สารบัญ: วิธีการสร้างเว็บ

  1. ต้นทุนสำหรับการสร้างเว็บไซต์
  2. เครื่องมือที่ต้องใช้มีอะไรบ้าง
  3. วิธีการจดโดเมน
  4. วิธีการเลือกโฮส
  5. ตั้งค่า namesaver และทำ https
  6. ติดตั้ง WordPress
  7. คู่มือการใช้งาน WordPress
  8. หลักการเลือกธีม
  9. วิธีออกแบบเว็บด้วย พรีเมี่ยมธีม
  10. วิธีการสร้างระบบตะกร้าสินค้า
  11. การดูแลเว็บไซต์ให้ปลอดภัย
  12. วัดผลลัพธ์ด้วย Google Analytics
  13. สรุป

บทความแนะนำสำหรับผู้เริ่มต้น WordPress

สอน SEO สอน WordPress สอน WooCommerce

1. ต้นทุนสำหรับ การสร้างเว็บด้วย WordPress มีเท่าไหร่

เว็บไซต์ ก็คือ ร้านค้าบนโลกออนไลน์ ที่ไว้คอยเรียกลูกค้าให้แวะมาชอปปิ้งที่ร้านของเรา นั้นหมายความว่า หากคุณต้องการทำเว็บแล้วให้มันขายของได้ คุณต้องลงทุนเงิน เวลา การออกแบบ การตกแต่ง ให้ร้านค้าคุณน่าสนใจพอที่จะดึงผู้คนให้แวะมาเยี่ยมชม

แต่ก่อนที่เว็บคุณจะมีคนแวะมาเยี่ยมชม เว็บของคุณต้องติดหน้าแรก Google ให้ได้ก่อน ซึ่งแก่นหลักของการทำเว็บให้ติดหน้าแรก หรือที่เราเรียกกันว่า การทำ SEO ก็คือ การทำเว็บของคุณให้ดีกว่าเว็บที่เป็นคู่แข่งของเรา (เว็บที่มีอันดับอยู่สูงกว่าเรา) แค่นั้น

การทำเว็บไซต์ให้มีคุณภาพดีมันจึงไม่มีคำว่าถูกๆ ถ้าคู่แข่งเราคือสตาบัค เขาลงทุนตกแต่งร้านขนาดไหน หากคุณอยากจะขายกาแฟชนะเขา คุณก็ต้องลงทุนตกแต่งร้านและทำการตลาดให้ดีกว่าเขา ซึ่งต้องใช้เงินจำนวนมากนั้นเอง

ที่มาของรูปภาพ forfur.com

สำหรับต้นทุน (เงิน/เวลา) ในการสร้างเว็บไซต์ ให้มีคุณภาพ มีดังนี้ครับ

  1. ค่าจดโดเมน 400 – 1000 บาท ราคาจะแตกต่างกันตามนามสกุลที่เราเลือกใช้ เช่น
    นามสกุล .com, .net, .in.th จะราคาประมาณ 400-500 บาท
    นามสกุล .co.th จะราคาประมาณ 1000 บาท
  2. ค่าเช่าโฮสติ้ง (ที่ตั้งเว็บไซต์) ราคา 1500 – 3000 บาท
  3. ค่าแพลตฟอร์ม (เครื่องมือสร้างเว็บ) เราจะใช้ WordPress ในการทำ ซึ่งตัว WordPress นั้น ฟรี!
  4. ค่าธีม (สำหรับในการออกแบบเว็บ) ราคา 2,000-2,500 บาท
  5. ค่าจ้างทำกราฟฟิค บางครั้งอยากให้เว็บออกมาสวย ดูเป็นมืออาชีพ เราต้องจ้างคนทำกราฟฟิครูปภาพประกอบเว็บให้เราครับ ราคาโดยเฉลี่ย 15,000 – 20,000 บาท (กรณีที่คุณไม่ได้ทำเองนะ)
  6. ต้นทุนด้านเวลาการทำเว็บหากเราจ้างคนอื่นทำให้เรา ใช้เวลาประมาณ 20-30 วัน
  7. ต้นทุนด้านเวลาหากคุณคิดจะทำเว็บไซต์เอง มีดังนี้
    – เวลาที่ใช้สำหรับการเรียนรู้ 2-3 เดือน
    – เวลาที่ใช้สำหรับการทำเว็บให้ใช้งานจริงๆ ได้ อีก 1-2 เดือน
  8. ค่าแรงของคนที่รับจ้างทำ แต่ละคนจะมีค่าตัวไม่เท่ากัน โดยเฉลี่ย 15,000 – 30,000 บาท (กรณีที่เราไม่ได้ทำเองนะ)

ดังนั้นโดยสรุป ต้นทุนของการสร้างเว็บไซต์ ให้มีคุณภาพดี

  • หากคุณจ้างคนอื่นทำราคาจะประมาณ 30,000 – 50,000 บาท (เป็นราคาขั้นต่ำนะ)
  • หากคุณเรียนรู้ที่จะทำเองต้นทุนที่ใช้จะประมาณ
    4,500 บาท (ไม่รวมค่ากราฟฟิค)
    20,000 บาท (ทำเว็บเอง แต่จ้างกราฟฟิคออกแบบรูป)
  • เวลาที่ใช้ 3-4 เดือน กรณีที่คุณสร้างเว็บด้วยตนเอง เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการเรียนรู้ จนถึงการลงมือทำเว็บให้สำเร็จ

 “หากคุณจ้างใครทำเว็บ แล้วราคาประเมิณถูกกว่าที่ผมแสดงข้างต้น คุณก็ต้องยอมรับความเสี่ยงด้านคุณภาพของเว็บไซต์ และความเสี่ยงด้านถูกทิ้งงาน หรือทำเว็บให้ใช้งานจริงไม่ได้นั้นเอง เพราะเป้าหมายของการเขียนบทความนี้ ผมต้องการพาคุณสร้างเว็บที่มีคุณภาพดีให้ได้เท่านั้น”

กลับสู่สารบัญ

2. เครื่องมือที่ต้องใช้สร้างเว็บมีอะไรบ้าง

สำหรับเครื่องมือที่เราจะใช้ใน การสร้างเว็บไซต์ ร้านค้าขายของออนไลน์ ของบทความชุดนี้ ตัวที่เป็นระบบ หรือแพลตฟอร์มหลัก เราจะใช้ WordPress ในการสร้างเว็บกันครับ

WordPress คืออะไร?

สำหรับคนที่ยังไม่รู้จัก ผมแนะนำให้คุณดูคลิปวีดีโอนี้ครับ

  • Facebook iconแชร์
  • LINE iconส่งไลน์

WordPress คือ เว็บแอพพลิเคชั่นที่ช่วยให้เรา สร้างเว็บไซต์ได้อย่างง่ายๆ โดยที่เราไม่จำเป็นต้องมีความรู้ ด้านโปรแกรมเมอร์ ไม่จำเป็นต้องรู้เรื่อง code ในการเขียนเว็บไซต์ ก็อาจจะดูคล้ายๆ กับ Window ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการ ที่ช่วยให้เราใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย และสะดวกนั้นเอง

ตอนเริ่มแรกนั้น WordPress เป็นเครื่องมือที่ไว้สำหรับสร้าง Blog แต่ได้รับการพัฒนามาเรื่อยๆ จนสามารถ เป็นเครื่องมือสำหรับสร้างเป็นเว็บไซต์ได้ ในปัจจุบัน 32% ของเว็บไซต์ทั่วโลกสร้างด้วย WordPress

ทำไมควรใช้ WordPress ในการสร้างเว็บไซต์ ร้านขายของออนไลน์? (คลิกอ่าน)

  • WordPress เป็นแอพพลิเคชั่น ที่สามารถดาวน์โหลดมาใช้ได้ฟรีๆ และติดตั้งได้ด้วยตนเอง
  • มีระบบจัดการบทความ ที่ใช้งานได้ง่าย เพียงแค่นำเอาเนื้อหา ไม่ว่าจะเป็นข้อความ รูปภาพ วิดีโอ สไลด์ หรือมีเดียอื่นๆ มาใส่ใน WordPress ก็จะได้เว็บไซต์สวยๆ ไว้ใช้งาน
  • มีธีมและปลั๊กอินที่ช่วยในการปรับแต่งหน้าตาเว็บไซต์ให้เลือกมากมาย มีทั้งแบบที่ฟรีและเสียเงินครับ
  • เว็บไซต์ที่สร้างด้วย WordPress สามารถแสดงผลได้ในทุกอุปกรณ์ (Mobile friendly) ซึ่งเป็น Trend ของการทำเว็บไซต์ในปัจจุบัน โดยเฉพาะการแสดงผลบนมือถือ

  • WordPress สามารถนำมาทำเป็นเว็บร้านขายของออนไลน์ (eCommerce) ได้เป็นอย่างดี
  • ช่วยประหยัดเวลาในการทำเว็บไซต์ เพราะเราไม่ต้องเสียเวลาเรียนรู้เรื่องการเขียนโค้ดต่างๆ
  • WordPress เป็นมิตรกับ SEO ทำให้เว็บของเรามีโครงสร้างที่สนับสนุนต่อการค้นหาของ Google
  • หากเราใช้งาน WordPress เป็น เราก็ไม่ต้องเสียเงินหลักหมื่นในการจ้างคนอื่นๆ ทำเว็บไซต์ให้

นอกจากเครื่องมือที่เรียกว่า WordPress เรายังต้องใช้เครื่องมืออีก 3 ตัว เพื่อมาทำงานร่วมกับ WordPress เพื่อช่วยให้คุณสามารถ สร้างเว็บไซต์ ร้านขายของออนไลน์ให้สามารถใช้งานจริงได้นั้นเอง เครื่องมือที่ว่ามีดังนี้

  1. Woocommerce คือ ปลั๊กอินที่ช่วยแปลงร่างเว็บ WordPress ธรรมดาๆ ของคุณให้กลายเป็นเว็บร้านค้าออนไลน์เต็มรูปแบบ เราสามารถโหลดตัวปลั๊กอินนี้มาใช้ฟรีๆ ได้อีกด้วย และในปัจจุบันจากสถิติเว็บร้านค้าออนไลน์ของทั้งโลก 47% คือเว็บที่สร้างมาจาก Woocommerce
  2. Theme คือ เครื่องมือที่ใช้สำหรับออกแบบ และจัดวาง layout หน้าตาเว็บไซต์ WordPress ของเราให้สวยงามในแบบที่เราต้องการ หากเราใช้งานธีมได้เก่งๆ เราจะสามารถออกแบบหน้าเว็บของเราอย่างไรก็ได้ ทุกไอเดีย หรือออกแบบเว็บเลียนแบบหน้าตาของเว็บที่เราชอบก็ได้
  3. Plugin คือ เครื่องมือเพิ่มฟังชั่นการใช้งานเว็บ WordPress ของคุณ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตอบโจทย์ธุรกิจ หรือในสิ่งที่เราต้องการ

เครื่องมือสำหรับ การสร้างเว็บไซต์ ร้านขายของออนไลน์

กลับสู่สารบัญ

3. วิธีการจดโดเมน

โดเมน ก็คือ ชื่อเว็บไซต์นั่นเอง ชื่อโดเมน ก็เปรียบเหมือนชื่อบริษัท หรือชื่อร้านค้าของเรา จะซ้ำกับคนอื่นไม่ได้

หลักการตั้งชื่อโดเมน (ชื่อเว็บไซต์) มีดังนี้

  • ควรตั้งชื่อโดเมนให้ สั้น กระชับ เพื่อให้คนจดจำง่าย
  • ควรตั้งชื่อโดเมนเป็นภาษาอังกฤษ
  • ควรตั้งชื่อที่ออกเสียงแล้วฟังง่ายๆ ด้วย
  • ตั้งชื่อให้สื่อความหมายถึงสิ่งที่เราทำ (ถ้าทำได้)
  • อย่าตั้งชื่อโดเมนที่สะกดคำยาก หรือพิมพ์ยาก
  • ไม่ควรมีเครื่องหมายขีด( – ) เช่อน my-domain.com เพราะอาจทำให้คนสับสน หรือพิมพ์ผิดได้
  • เลือกใช้นามสกุล .com เพราะคนส่วนใหญ่คุ้นเคย แต่ถ้าจดไม่ได้ก็ไม่เป็นไร (เพราะมีคนจดชื่อนี้ไปแล้ว) ไปหานามสกุลอื่น ๆ ได้ไม่มีปัญหา แต่อย่าใช้นามสกุลที่ดูแปลกตาจนเกินไป

การจดโดเมนนั้นมีค่าใช้จ่าย ราคาประมาณ 400-1000 บาท ราคาโดเมนจะถูกหรือแพงขึ้นอยู่กับ นามสกุล ของโดเมนที่เราเลือกใช้นั้นเอง

อัตราราคาโดเมน (คลิกอ่าน)

จดโดเมนที่ไหนดี?

มีบริษัทรับจดโดเมนอยู่มากมาย แต่บริษัทรับจดโดเมนที่ผมแนะนำมีดังนี้ครับ (อัตราค่าบริการการจดโดเมนของแต่ละบริษัทอาจไม่เท่ากันนะ)

แต่สำหรับบทความนี้ผมจะแนะนำวิธีการจดโดเมนที่ Hostatom เป็นหลักครับ เพราะโดเมนเว็บผมเองก็ใช้บริการจดกับเขานั้นเอง และเพื่อให้คุณสามารถทำตามขั้นตอนที่ผมอธิบายไว้ได้ ผมแนะนำให้มาจดบริการที่เดียวกับผมได้เลยครับ

ขั้นตอนการจดโดเมน (คลิกอ่าน)

1) ให้เราไปที่เว็บ hostatom.com 

2) ดูที่เมนู ให้คลิกตรงคำว่า จดโดเมนใหม่

3) คลิกตรงคำว่า คลิกที่นี่เพื่อจดทะเบียนโดเมนกับโฮสอะตอม (สำหรับใครที่จดโดเมนไว้ก่อนแล้ว ข้ามขั้นตอนนี้ไปได้เลยครับผม)

4) พิมพ์ชื่อโดเมนที่เราต้องการจดลงไป และเพื่อเป็นการเช็คด้วยว่า ชื่อที่เราต้องการนั้นมีคนจดไว้แล้วหรือยัง

ถ้าระบบแจ้งว่า ชื่อนี้จดไม่ได้ แสดงว่าชื่อที่เราต้องการนั้นมีคนจดไว้อยู่แล้ว

ทางแก้ไขหากเราอยากได้ชื่อนี้จริง ๆ ให้เราเปลี่ยนนามสกุลดู แล้วลองค้นหาดูใหม่ หรือจะลองตั้งชื่อใหม่ลงไปก็ได้

หากระบบแจ้งว่าชื่อนี้สามมรถใช้ได้ เราก็คลิก ใส่ลงตะกร้า ได้เลยครับ พร้อมกับให้คลิกคำว่าชำระเงิน

เราก็จะมาเจอหน้านี้ เขาจะถามว่าซื้อโฮสด้วยเลยมั้ย เราอาจจะยังไม่ต้องซื้อตอนนี้ก็ได้ รอคำแนะนำเรื่องการเลือกซื้อโฮสก่อนก็ได้ครับ คลิกดำเนินการต่อ ได้เลย

จากนั้นให้ คลิกชำระเงิน ครับ

ระบบก็จะพามายังหน้ากรอกข้อมูลส่วนตัว

กรอกข้อมูลให้เรียบร้อย แต่ให้เรากรอกเป็นภาษาอังกฤษนะ แล้วให้คลิก ยืนยันคำสั่งซื้อไปได้เลยครับ หลักจากนั้นคุณจะได้รับใบแจ้งค่าบริการ เพื่อไว้ใช้สำหรับการชำระเงิน

เลือกบัญชีที่คุณสะดวกสำหรับการโอนเงิน ตามนี้ครับผม

หลักจากโอนเงินเรียบร้อยแล้ว เราต้องทำการแจ้งชำระเงินไปให้เขาครับ ให้เรากลับไปที่หน้าเว็บของ Hostatom ดูที่เมนู แจ้งยืนยันการชำระเงิน

กรอกข้อมูล พร้อมส่งหลักฐานการชำระเงินเข้าไปให้เรียบร้อยครับผม จากนั้นรอทางโฮสจดทะเบียนโดเมนให้เราอาจจะใช้เวลา 1 –  2 ชั่วโมงครับ

ตรวจเช็คว่าโดเมนเราพร้อมใช้งานเรียบร้อยหรือยัง ให้เราทำการ login เข้าสู่ระบบหลังบ้านของโฮส โดยการคลิกที่ Client Login

กรอก username (email) และ password ที่เราใช้ตอนสมัครจดโดเมน

ระบบก็จะพาเราสู่ระบบหลังบ้านของโฮสที่เราเลือกใช้บริการ ให้เราคลิกที่เมนู โดเมนของฉัน

ก็จะปรากฏรายชื่อโดเมนที่เราเคยจดไว้ทั้งหมด โดเมนที่พร้อมใช้งาน จะมีสถานะเป็นสีเขียว (บริการที่เปิดใช้งานอยู่)

เมื่อเรามีโดเมนเรียบร้อยแล้ว อันดับต่อไป เราต้องไปเช่าโฮสกันต่อครับผม

กลับสู่สารบัญ

บทความพิเศษ

50 เทคนิคทำ SEO ที่คุณอาจยังไม่เคยรู้มาก่อน ใครรู้ก่อนทำก่อนได้เปรียบ

อ่านบทความนี้

4. วิธีการเลือกและเช่าโฮส

โฮสติ้ง ก็คือพื้นที่ ที่ใช้เก็บรูป ข้อมูล ไฟล์ต่างๆ เพื่อใช้แสดงเว็บของเรา ก็จะเปรียบเหมือนที่ตั้งร้านค้า ที่เราต้องไปเช่าเขานั่นเองครับ

  • Facebook iconแชร์
  • LINE iconส่งไลน์

เว็บจะมีประสิทธิภาพดีหรือไม่ดี โฮสมีส่วนสำคัญอยู่ไม่น้อย ก่อนที่เราจะเลือกใช้บริการโฮสติ้งกับเจ้าไหนดี สิ่งที่เราต้องรู้ก่อน ก็คือ ตัวโฮสติ้งที่ WordPress แนะนำมีเสปคอย่างไรบ้าง แต่การอธิบายเรื่องโฮสส่วนใหญ่มีแต่คำศัพท์ทางเทคนิค โดยสรุปย่อ ผมมีคำแนะนำสำหรับการเลือกโฮสดังนี้ครับ

  • หากเป็นมือใหม่ควรใช้โฮสไทยครับ หากติดขัดอะไรจะได้คุยกับโฮสได้รู้เรื่อง
  • ระบบจัดการหลังบ้านโฮส (control panel) ควรเป็น DirectAdmin
  • เวอร์ชั่น PHP web server ควรใช้เวอร์ชั่น PHP 7.4
  • ในตัว DirectAdmin ควรมี Auto installer ช่วยติดตั้ง WordPress ด้วย ตัวที่โฮสควรมี ก็เช่น Softaculous คือ ถ้าโฮสที่เราใช้มีเจ้าตัวนี้อยู่ เราจะสามารถลง WordPress เองได้ง่ายมาก เราจะได้ไม่ต้องสร้าง database เอง ไม่ต้อง FTP ไฟล์ต่างๆ ด้วย
  • โฮสควรมีบริการ Let’s Encrypt – Free SSL/TLS Certificates เพื่อให้เราสามารถทำเว็บเป็น HTTPS ได้ฟรี
  • แพคเกจของโฮสไม่ควรจำกัดโดเมนและซับโดเมน (เพราะเราต้องทำกันหลายเว็บ)
  • ส่วนพื้นที่ของโฮสเราไม่ต้องกลัวเต็มครับ เลือกมาสักแพคเกจได้เลย โดยเฉลี่ยเว็บที่ทำด้วย WordPress ที่ขนาดเล็กถึงกลาง หากเราทำเว็บได้ถูกต้องเว็บเราจะใหญ่ไม่เกิน 500 MB ครับ
  • และอีกเรื่องคือเรื่อง bandwidth ส่งข้อมูลเน็ตออกไปต่างประเทศ ถ้าโฮสไหนเน็ตออกต่างประเทศไม่ค่อยดีจะเกิดปัญหาที่พบเจอบ่อยที่สุด คือการ แชร์ลิงค์เฟสบุ๊ค แล้วรูปไม่ขึ้นนั้นเอง ตรงจุดนี้บางครั้งเราก็ไม่รู้ว่าโฮสเจ้าไหนเน็ตนอกดีหรือไม่ดี จนกว่าจะได้เช่าโฮสมาลองใช้ดูครับ

แต่แน่นอนเพื่อความง่าย หากคุณยังตัดสินใจไม่ได้ว่าจะใช้โฮสเจ้าไหนดี ผมแนะนำให้คุณใช้โฮสเจ้านี้ครับ Hostatom ซึ่งเป็นโฮสที่ผมใช้งานอยู่ และจะได้ทำตามขั้นตอนการใช้งานจากบทความชุดนี้ได้นั้นเอง

ใช้บริการโฮสนี้ คู่มือการใช้งานโฮส

ขั้นตอนการเช่าโฮสติ้ง (คลิกอ่าน)

ให้ไปที่หน้าเว็บของ >> Hostatom << กดผ่านลิงค์ตรงนี้ได้เลย ดูที่เมนูตรงเว็บโฮสติ้ง ให้เราคลิกเลือก WordPress Hosting ครับ

จากนั้นให้เลือกแพคเกจของโฮสที่เราจะเลือกใช้ ผมแนะนำให้คุณเลือกแค่แพคเกจ WP-1 ก็พอครับ

สิ่งที่ได้รับเมื่อสั่งซื้อแพคเกจ WP-1 นี้

  • พื้นที่ในการเก็บข้อมูล 10 GB
  • ไม่จำกัดการรับส่งข้อมูล
  • ไม่จำกัดโดเมนที่ใช้งาน
  • รองรับผู้เข้าชมเว็บ 1 แสนคนต่อเดือน
  • มีระบบช่วยติดตั้ง WordPress
  • ฟรี SSL เพื่อทำเว็บให้เป็น HTTPS

จากนั้นให้คลิก สั่งซื้อ ระบบก็จะพามาที่หน้า เลือกโดเมน ซึ่งเราได้ซื้อโดเมนไว้แล้ว ดังนั้นให้คลิกที่ ใช้โดเมนที่มีอยู่แล้ว และอัพเดท nameserver พิมพ์ชื่อโดเมนที่เราจดไว้ลงไป แล้วคลิกที่ ใช้โดเมนนี้

จากนั้นคลิก ดำเนินการต่อ

คลิกชำระเงิน

ระบบก็จะพาเข้าสู่หน้ากรอกข้อมูลเพื่อทำการชำระเงิน สำหรับคนที่จดโดเมนกับ Hostatom อยู่แล้ว เราก็ไม่จำเป็นต้องกรอกข้อมูลใหม่ ให้เราคลิก สมัครใช้งานเรียบร้อยแล้ว ได้เลยครับ

จากนั้นให้เรากรอก username ที่เป็นอีเมล และ password ให้เรียบร้อย

เมื่อคุณ คลิกยืนยันคำสั่งซื้อ เรียบร้อย คุณก็จะได้ใบแจ้งค่าบริการ เพื่อไปใช้ในการชำระเงินครับ และเลือกบัญชีที่คุณสะดวกสำหรับการโอนเงิน ตามนี้ครับผม

หลักจากโอนเงินเรียบร้อยแล้ว เราต้องทำการแจ้งชำระเงินไปให้เขาครับ ให้เรากลับไปที่หน้าเว็บของ Hostatom ดูที่เมนู แจ้งยืนยันการชำระเงิน

กรอกข้อมูล พร้อมส่งหลักฐานการชำระเงินเข้าไปให้เรียบร้อยครับผม จากนั้นรอทางโฮสเซ็ทค่าโฮสติ้งให้เรา อาจจะใช้เวลา 2 – 4 ชั่วโมงครับ

เมื่อโดเมนพร้อม โฮสพร้อม ก็ถึงเวลา สร้างเว็บไซต์ ขายของออนไลน์ ของเราจริงๆ กันแล้วครับผม

กลับสู่สารบัญ

5. ตั้งค่า namesaver และทำ https

ก่อนที่จะถึงขั้นตอนการติดตั้ง WordPress ให้เราเช็คค่าต่างๆ ของโดเมน ว่าเรียบร้อยแล้วรึยัง การตั้งค่าในส่วนของโดเมนที่เราควรเช็คก่อนเริ่มต้น WordPress มีดังนี้

5.1 เช็คค่า nameserver (คลิกอ่าน)

5.1 เช็คค่า nameserver

nameserver ก็เหมือนบ้านเลขที่ ทุกโฮสติ้งจะมีเลขที่บ้าน อยากให้โดเมนที่เราจดไว้มาแสดงที่โฮสไหน ต้องตั้งค่า nameserver (บ้านเลขที่) ก่อน เพราะบางครั้งเราอาจจะจดโดเมนที่นึง แต่ใช้โฮสติ้ง อีกเจ้านึงนั้นเอง วิธีการเช็ค nameserver และตั้งค่า nameserver มีดังนี้ครับ

จดโดเมนไว้ที่ไหน เข้าระบบหลังบ้านของให้ผู้ให้บริการนั้นได้เลย สำหรับคนที่ใช้ Hostatom ทำตามนี้ได้เลยครับ

ให้เราเข้าระบบหลังบ้านของ Hostatom จากนั้นให้เลือกเมนู บริการของฉัน

เราจะเห็นรายชื่อโฮสที่เราได้ซื้อไว้ จากนั้นให้ดูตรงที่เป็นสีเขียวๆ คลิกที่ สินค้า/บริการที่ใช้งานอยู่

ระบบก็จะพาเข้ามาหน้า การจัดการสินค้า ให้เรามองดูล่างๆ จะเห็นชื่อของ nameserver ของโฮสที่เราใช้งานอยู่ ให้ copy ชื่อ nameserver เก็บไว้ก่อน เพื่อเตรียมจะเอาไปใส่ที่โดเมน

จากนั้นให้เลือกเมนู โดเมนของฉัน

จากนั้นไปที่ชื่อโดเมนของเรา ให้คลิกที่เป็น dropdown และให้คลิก จัดการ Nameservers

ต่อมาให้เลือกที่ ใช้ nameservers ที่กำหนดเอง ให้เอาชื่อ nameserver ของโฮสเรา วางลงไปครับ คลิกเปลี่ยน nameservers ให้เรียบร้อย

5.2 ตั้งค่าโดเมน (domain setup) (คลิกอ่าน)

ให้เราเข้าระบบหลังบ้านของ Hostatom จากนั้นให้เลือกเมนู บริการของฉัน

เราจะเห็นรายชื่อโฮสที่เราได้ซื้อไว้ จากนั้นให้ดูตรงที่เป็นสีเขียวๆ คลิกที่ สินค้า/บริการที่ใช้งานอยู่

ให้คลิกที่ เข้าสู่ DirectAdmin เราก็จะเห็นระบบหลังบ้านของโฮส (control panel) ซึ่งโฮสแต่ละที่จะเลือกใช้ระบบหลังบ้านคนละยี้ห้อกัน ซึ่ง Hostatom ใชระบบหลังบ้านที่เป็น DirectAdmin

จากนั้นให้เราคลิก ตรงคำว่า domain setup

จากนั้นให้คลิกที่ชื่อโดเมนของเรา

ระบบก็จะพาเราเข้าสู่หน้าการตั้งค่าโดเมน

ให้เราตั้งค่าตามที่ผมทำเป็นตัวอย่างด้านบนได้เลยครับ

  • Secure SSL: รองรับสำหรับการทำเว็บเป็น HTTPS ให้ติ๊กเปิดใช้งาน
  • First PHP: คือการเลือกเวอร์ชั่นของ web server ให้เราเลือกเป็น PHP 7.2

เมื่อตั้งค่าเสร็จ อย่าลืมกด save ให้เรียบร้อยครับ

5.3 เปิดใช้งาน Let’s Encrypt เพื่อทำเว็บให้เป็น HTTPS (คลิกอ่าน)

ทำเว็บให้เป็น HTTPS คือ การเข้ารหัสข้อมูลบนเว็บไซต์ของเรา เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการสื่อสารหรือส่งข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตครับ เราจะสังเกตเห็นว่าเว็บไหนที่เขาเข้ารหัสไว้ มันจะมีการแสดงรูปแม่กุญแจเอาไว้บน browser ลองดูจากรูปตัวอย่างนะครับ

ทำเว็บให้เป็น HTTPS แล้วมันดียังไง?

การทำเว็บเราให้เป็น // อาจช่วยให้ google มองว่าเว็บเรามีคุณภาพ ใส่ใจเรื่องความปลอดภัยของข้อมูลลูกค้า การจัดอันดับเว็บเราก็จะดีขึ้นได้ครับ หากเปรียบเทียบกับเว็บที่คล้ายกัน แต่เขาไม่ได้เข้ารหัสเว็บเอาไว้ โดยแนวโน้มผมเชื่อว่า google จะให้น้ำหนักเกี่ยวกับการทำเว็บให้ปลอดภัยเพิ่มมากขึ้นด้วย

วิธีการทำมีดังนี้

กลับไปที่หน้า Home ของ DirectAdmin ในส่วนของเมนู Advanced Features คลิกเลือก SSL Certificates

ติ๊กเลือกเมนู Use the server’s shared signed certificate. จากนั้นเลือก Free & automatic certificate from Let’s Encrypt

และระบุข้อมูลส่วนตัวตามช่องรายละเอียดดังภาพ จากนั้นคลิก Save ด้านล่างสุด

ระบบได้ยื่นคำขอไปยัง Let’s Encrypt และบันทึก Certificate and Key ไว้บน Server เรียบร้อยแล้วครับ

เมื่อเราติดตั้ง Let’s Encrypt SSL Certificate ลงในโดเมนของเราเรียบร้อยแล้ว ซึ่งขั้นตอนต่อไป ผมจะทุกคนติดตั้ง WordPress แบบที่เป็น HTTPS กันครับ

กลับสู่สารบัญ

6. วิธีติดตั้ง WordPress

การติดตั้ง WordPress แต่ละโฮสติ้ง จะมีเครื่องมือที่เป็นตัวช่วยไม่เหมือนกัน แต่หลักการก็จะคล้ายๆ สามารถเอาไปปรับใช้กับโฮสเจ้าอื่นก็ได้นั้นเอง สำหรับใครที่ใช้ Hostatom อยู่ ทำตามบทความนี้ได้เลยครับ

อัพเดทเนื้อหา การทำเว็บไซต์ด้วยตนเอง [04/2019]

เนื่องจากปัจจุบันระบบ Control panel ที่ใช้สำหรับจัดการโฮสติ้งในปัจจุบันที่นิยมใช้กัน มี 2 แบบคือ Direct Admin กับ Plesk

Direct admin

สำหรับท่านใดที่เช่าโฮสแล้วระบบจัดการโฮสติ้งหน้าตาเป็นแบบนี้ แสดงว่า Control panel ที่ท่านได้รับคือ Direct admin ให้อ่านวิธีการใช้งานตามที่ปรากฎในบทความนี้ต่อได้เลยครับ

Plesk Control panel

สำหรับท่านใดที่เช่าโฮสแล้วระบบจัดการโฮสติ้งหน้าตาเป็นแบบนี้ แสดงว่า Control panel ที่ท่านได้รับคือ Plesk ให้คลิกอ่านตามปุ่มที่ปรากฎด้านล่างนี้ได้เลยครับ (ปล. สำหรับคนทีใช้บริการกับโฮสอะตอม ถ้าเป็นลูกค้าใหม่ ส่วนใหญ่ได้ระบบ Plesk มาใช้งานครับผม)

คู่มือการใช้งาน Plesk

ขั้นตอนติดตั้ง WordPress (คลิกอ่าน)

6.1 เข้าสู่ระบบหลังบ้านของโฮส

6.2 จากนั้นให้เลือกเมนู บริการของฉัน

เราจะเห็นรายชื่อโฮสที่เราได้ซื้อไว้ จากนั้นให้ดูตรงที่เป็นสีเขียวๆ คลิกที่ สินค้า/บริการที่ใช้งานอยู่

6.3 คลิก เข้าสู่ direct admin

6.4 ที่หน้า home ของ direct admin มองด้านล่าง จะมีส่วนของตัวช่วยการติดตั้ง CMS ต่างๆ (App installer) โฮส ของเจ้านี้ใช้ Softaculous Auto Installer เป็นตัวช่วยติดตั้งครับ ให้เราคลิกไปที่สัญลักษณ์ WordPress

6.5 คลิก install now เพื่อเริ่มต้นเข้าสู่หน้า ติดตั้ง WordPress

6.6 ใส่ข้อมูลเริ่มต้นในการ ติดตั้ง WordPress บนโดเมนที่ต้องการ จากนั้นก็คลิก install กันได้เลย

*ช่อง in directory ให้ปล่อยว่างไว้

*username กับ password ควรตั้งให้ยากๆ ไม่ควรใช้คำว่า admin ในการตั้งชื่อเด็ดขาดครับ

6.7 การติดตั้ง WordPress บน Direct admin เป็นอันเสร็จเรียบร้อยครับ

ลองพิมพ์ชื่อเว็บเราลงไปที่ browser ดูครับ เราจะได้เว็บ WordPress มาแสดงบนโลกออนไลน์ แล้วครับผม

หน้าตาเว็บก็จะเป็นประมาณนี้นะ

กลับสู่สารบัญ

7. คู่มือการใช้งาน WordPress

ตอนนี้ทุกคนก็ได้เว็บมากันเป็นที่เรียบร้อย อันดับต่อมา เราก็ต้องมาเรียนรู้วิธีการใช้งาน WordPress ว่าเขาจะใช้งานยังไงได้บ้าง ยาก หรือง่าย ซึ่งวิธีการใช้งานเนื้อหาค่อนข้างเยอะพอสมควร ผมขอแยกออกมาเป็นอีก 1 บทความแยกต่างหากจากบทความหลักชุดนี้ครับ คลิกเข้าไปเรียนรู้การใช้งาน WordPress ที่ปุ่มด้านล่างได้เลยครับผม

สอน WordPress (คู่มือ)

เนื้อหาหลักๆ ที่คุณจำเป็นต้องรู้สำหรับการใช้งาน WordPress สร้างเว็บไซต์

  1. WordPress คืออะไร?
  2. วิธีเข้าสู่ระบบหลังบ้าน (Dashboard)
  3. ติดตั้งปลั๊กอิน Classic editor
  4. ตั้งค่าเริ่มต้นก่อนการใช้งาน
  5. วิธีการเพิ่มเนื้อหาหน้าเว็บ (ใช้งาน Page/Post)
  6. วิธีกำหนดหน้า home
  7. การสร้างเมนู
  8. ทำความรู้จัก Sidebar
  9. การใช้งาน widget
  10. ทำความรู้จัก footer
  11. การเพิ่ม plugin (ปลั๊กอิน)
  12. การเปลี่ยน Theme

อ่านเพิ่มเติม: วิธีการใช้งาน WordPress แบบละเอียดสำหรับผู้เริ่มต้น

กลับสู่สารบัญ

8. หลักการเลือกธีม

จากรูปภาพอธิบายได้ว่า WordPress คือ Platform หลัก แต่ฟังชั่นต่างๆ หรือการปรับหน้าตาเว็บเราจะปรับแต่งผ่านธีมและปลั๊กอิน

90 % ของเว็บ WordPress ที่ทำระบบตระกร้านสินค้าใช้ปลั๊กอิน Woocommerce ในการทำทั้งสิ้น นั้นหมายความว่า หากตัว Woocommerce ออกเวอร์ชั่นใหม่ ระบบต่างอาจมีเปลี่ยนแปลงมากบ้างน้อยมาก ธีมที่ดีต้องมีการอัพเดทให้ใช้งานร่วมกับ Woocommerce ด้วย

คำแนะนำหลักการเลือกธีม สำหรับการสร้างเว็บ ร้านค้าออนไลน์ มีดังนี้

  •  ควรใช้พรีเมี่ยมธีม (ธีมตัวเสียเงิน) ธีมฟรีจะมีข้อจำกัดค่อนข้างเยอะ และไม่มีความยืดหยุ่น จะออกแนวเว็บสำเร็จรูป เราไม่สามารถปรับแต่งตามใจ หรือตามไอเดียที่เรามีได้แต่หากเราเลือกใช้ธีมตัวเสียเงิน อารมณ์การใช้งาน จะเปรียบเหมือนเราซื้อตัวต่อเลโก้ เราซื้อ 1 ธีม เราก็จะได้ชิ้นส่วนมา 1 ถุง หน้าที่ของเราคือเอาชิ้นส่วนเหล่านั้นมาประกอบเป็นเว็บให้มีหน้าตาแบบใดก็ได้ ตามไอเดียของเราได้หมด เหมือนกับเราต่อตัวต่อเลโก้ให้มีรูปร่างอะไรก็ได้นั้นเอง
  • มีการอัพเดทอยู่เสมอ ธีมที่ดีควรมีการอัพเดทล่าสุดให้สามารถใช้งานบน WordPress เวอร์ชั่นล่าสุดอยู่เสมอ
  • อัพเดทตาม Woo เวอร์ชั่นล่าสุด (ver.3+)
  • มียอดขายพอสมควร ทุกคนสามารถทำธีมแล้วเอาไปลงขายที่ ThemeForest ได้หมด แต่ไม่ใช่ทุกธีมที่วางขายบน ThemeForest แล้วจะขายดี ในหลายๆ ธีมหากไม่ค่อยมียอดขาย ผู้สร้างธีมมักหยุดพัฒนาธีม หรืออัพเดทธีมในรองรับ WordPress และ Woocommerce เวอร์ชั่นใหม่ๆ หากเราใช้ธีมนั้นๆ ต่อไป ก็มีความเสี่ยงสูงว่าเว็บเราจะใช้งานไม่ได้เมื่อมีการอัพเดทนั้นเอง
  • มีคลิปสอนการ setup ธีม บน YouTube การทำเว็บ WordPress นั้นไม่ยาก เราไม่ต้องเขียนโค้ด แต่มันก็ไม่ง่าย เพราะมันมีรายละเอียดที่เยอะมาก และแต่ละธีมมีการ Setup ที่ไม่เหมือนกันเลย หากเราจะซื้อธีมไหน ลองเอาชื่อธีมนั้นไปเสริจหาบน Youtube ดู ถ้าธีมนั้นมีคลิปสอน ก็จะช่วยให้เราเรียนรู้การทำเว็บได้เร็วขึ้นนั้นเอง
  • มี Facebook Group ช่วย ถาม-ตอบ ในบางธีม เขาจะสร้าง Facebook Group เพื่อคอย Support คนที่ใช้ธีมเดียวกัน ติดขัดตรงไหนเราก็สามารถไปตั้งกระทู้ถามได้เลย แต่มีแค่บางธีมนะที่มี
  • แหล่งซื้อธีมคุณภาพ themeforest.net

กลับสู่สารบัญ

9. วิธีการออกแบบเว็บด้วย พรีเมี่ยมธีม

คู่มือใช้งานธีม Flatsome ซื้อธีมนี้

Flatsome The #1 Best selling WooCommerce & Business theme

Flatsome คือ ธีมที่มีฟังชั่นสมบูรณ์แบบเหมาะสำหรับการทำเว็บไซต์ร้านค้าออนไลน์ หรือนำไปสร้างเว็บไซต์บริษัทของคุณ หรือหากคุณเป็นฟรีแลนซ์ หรือเป็น Agency ธีมนี้ก็เหมาะมากที่จะนำไปสร้างเว็บให้ลูกค้าของคุณด้วยเช่นกัน ธีม Flatsome มีเครื่องมือที่จำเป็นสำหรับการสร้างเว็บที่หลากหลายไอเดีย ใช้งานง่าย เป็นธีมที่เบา ช่วยให้เว็บของคุณเปิดได้เร็วขึ้นอีกด้วย คุณสามารถนำธีมนี้ไปออกแบบสร้าเว็บไซต์อะไรก็ได้ โดยที่คุณไม่ต้องมีความรู้เรื่องการเขียนโค้ด ไม่ต้องเป็นโปรแกรมเมอร์ คุณก็สามารถสร้างเว็บด้วยตนเองได้ง่ายๆ

ทำไมควรใช้ธีม Flatsome ในการสร้างเว็บไซต์

Revolutionary
Drag & Drop Page Builder

มี Page Builder เป็นของตัวเอง และแสดงผลแบบ Live Preview ทำให้เบาและเสถียรกว่าธีมที่ต้องนำ Page Builder ข้างนอกมาใช้งาน คุณสามารถสร้าง Slider, สร้าง Grid และ Effect ต่างๆได้โดยไม่ต้องใช้ปลั๊กอินเพิ่มเติมเลย

Customize anything with Live Theme Options.

Flatsome มีเครื่องมือช่วยปรับแต่งเว็บไซต์มากมาย แสดงผลแบบ Live Preview ทำให้ใช้งานง่าย และที่ Theme Option เราสามารถปรับแต่งได้อย่างไม่มีข้อจำกัด ทำให้เราออกแบบเว็บได้อย่างสวยงาม และไม่ซ้ำใคร

New features regularly and always up to date.

ธีม Flatsome มีการพัฒนาและเพิ่มฟังชั่นใหม่ๆ อยู่ตลอดใน 4 ปีที่ผ่านมาด้วยนักพัฒนาธีมระดับโลก คุณมั่นใจได้ว่าธีมนี้จะถูกอัพเดทให้ทันสมัย และรองรับการทำงานบน WordPress และ Woocommerce เวอร์ชั่นล่าสุดอยู่เสมอ

คลิปสอนใช้งานธีม Flatsome

  • Facebook iconแชร์
  • LINE iconส่งไลน์

กลับสู่สารบัญ

10. วิธีการสร้างระบบตระกร้าสินค้า (Woocommerce)

Woocommerce คือ ปลั๊กอินสร้างระบบร้านค้าออนไลน์ ที่ช่วยให้คนธรรมดา เริ่มต้นสร้างเว็บขายของด้วยตนเองได้ และเป็นที่นิยมมากที่สุดในโลก ถึงแม้ว่าเขาจะใช้งานง่าย แต่ในความง่ายก็ยังมีรายละเอียดอีกพอสมควร หากเราพื้นฐานไม่ดี จากเรื่องง่ายๆ อาจกลายเป็นเรื่องยากได้นั้นเอง

สิ่งที่คุณจำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับการสร้างระบบตระกร้าสินค้า Woocommerce ดังนี้

  1. การติดตั้งและตั้งค่าพื้นฐาน
  2. การลงสินค้าประเภทต่างๆ
  3. การตั้งค่าจัดส่ง
  4. การสร้างฟอร์มแจ้งชำระเงิน
  5. การจัดการ order สินค้า
  6. จัดการเรื่องสต๊อคสินค้า

คู่มือใช้งาน Woocommerce

11. การดูแลเว็บไซต์ให้ปลอดภัย

ในแต่ละสัปดาห์ Google จะตรวจสอบพบเว็บไซต์ที่ติดมัลแวร์ประมาณ 20,000 เว็บ (Website Hacked Trend Report) หากคุณไม่อยากให้เว็บคุณเป็นหนึ่งในนั้น การดูแลเว็บไซต์ WordPress ของคุณให้ปลอดภัยเป็นสิ่งที่จำเป็นมาก

สิ่งที่คุณจำเป็นต้องทำเกี่ยวกับการดูแลเว็บไซต์ให้ปลอดภัยมีดังนี้

  • อัพเดท WordPress, Theme, Plugin สม่ำเสมอ
  • อย่าตั้ง username และ password ให้ง่ายเงินไป
  • ติดตั้งปลั๊กอินรักษาความปลอดภัยที่จำเป็น
  • เลือกโฮสที่น่าเชื่อถือ
  • Backup Backup และ Backup
  • เว็บที่โดนแฮค หรือติดมัลแวร์จะเป็นยังไง
  • วิธีการแก้ไขเมื่อเว็บโดนแฮค

บทความการดูแลเว็บไซต์ฉบับเต็ม

12. วัดผลลัพธ์ด้วย Google Analytics

สิ่งที่คุณต้องทำต่อ หลังจากที่สร้างเว็บเสร็จแล้ว คือ “การวัดผลลัพธ์” เว็บที่คุณลงทุน ลงแรง ลงเงิน มานั้น สามารถพาคน (traffic) เข้ามาได้มากน้อยแค่ไหน สำหรับเครื่องมือที่ใช้สำหรับวัดพลลัพธ์ต่างๆ จะมีอยู่ 2 ชนิด คือ Google Analytics กับ Google Search Console ซึ่งเครื่องมือทั้งสองอย่าง มีลักษณะการวัดผลที่แตกต่างกัน

คู่มือใช้งาน Google Analytics

สรุป: วิธีการสร้างเว็บไซต์ [ฉบับอัพเดท 2021]

ถ้าคุณอ่านบทความนี้มาจนจบ คุณน่าจะพอมองเห็นแล้วว่าการสร้างเว็บไซต์ขายของออนไลน์ นั้นไม่ยาก ไม่ต้องเป็นโปรแกรมเมอร์ก็สามารสร้างเว็บไซต์ด้วยตนเองได้ แต่ปัญหาน่าจะมีอยู่จุดที่ทำให้หลายๆคน ไม่ประสบความสำเร็จในการสร้างเว็บ ก็คือ มันมีรายละเอียดเยอะมาก ทำให้หลายๆ คนยอมแพ้ไปก่อนนั้นเอง การทำเว็บไซต์มันจะยากแค่ช่วงแรกเท่านั้น หากคุณอดทนฝึกทำไปเรื่อยๆ ในไม่ช้าคุณก็จะได้เว็บที่สามารถใช้งานจริงได้อย่างแน่นอนครับผม

เว็บไซต์เปรียบได้กับสิ่งใด

การมีเว็บไซต์เปรียบเสมือนการมีหน้าร้านค้า ที่คนทั้งโลกมีโอกาสเข้าถึงได้ผ่านช่องทางออนไลน์ ดังนั้นเว็บไซต์จึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับธุรกิจออนไลน์ หากเว็บไซต์สามารถออกแบบและจัดองค์ประกอบได้ดี จะสามารถดึงดูดความสนใจจากผู้เข้าชม รวมไปถึงการกระตุ้นความสนใจให้เกิดการสั่งซื้อในที่สุด

โฮมเพจคือส่วนใดของเว็บไซต์

โฮมเพจ (Home Page) ก็คือหน้าแรกของเว็บไซต์เมื่อเปิดเข้าไปยังเว็บไซต์ใดเว็บไซต์หนึ่ง โดยหน้าแรกนี้จะรวมเมนูและเรื่องราวต่างๆ ไว้มากมาย ซึ่งก็มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะหากหน้าแรกมีการออกแบบได้อย่างสวยงามและจัดหน้าอย่างเป็นระเบียบก็จะทำให้ผู้ชมเกิดความสนใจและอยากเข้าชมเว็บมากขึ้น

ข้อใดคือส่วนหัวเว็บเพจ

1. ส่วนหัวของหน้า (Page Header) เป็นส่วนที่อยู่ตอนบนสุดของหน้า และเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของหน้า เพราะเป็นส่วนที่ดึงดูดผู้ชมให้ติดตามเนื้อหาภายในเว็บไซต์ มักใส่ภาพกราฟฟิกเพื่อสร้างความประทับใจ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย -โลโก้ (Logo) เป็นสิ่งที่เว็บไซต์ควรมี เป็นตัวแทนของเว็บไซต์ได้เป็นอย่างดี และยัง ทำให้เว็บน่าเชื่อถือ

Web page คืออะไร จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ

เว็บเพจ ( Web Page ) คืออะไร? เว็บเพจ คือ คำที่ใช้เรียกหน้าเอกสารต่างๆ ที่อยู่ในรูปแบบไฟล์ HTML ( Hyper Text Markup Language ) เปรียบเสมือนหน้ากระดาษแต่ละหน้าที่มีเรื่องราวต่างๆ มากมายบรรจุอยู่ในนิตยสาร แต่แตกต่างกันตรงที่มีการเชื่อมโยง ( Link ) ซึ่งเราสามารถคลิกไปที่หน้าใดของโฮมเพจก็ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ