10 อันดับ ประเทศคู่ค้าของไทย 2565

โดยเฉพาะข้าวที่ขยายตัวในตลาดเบนิน โกตดิวัวร์ จีน อังโกลา และอิรัก    ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง  ขยายตัวในตลาดจีนจีน ญี่ปุ่น สหรัฐฯ มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ยางพารา ขยายตัวในตลาดจีน สหรัฐฯ ญี่ปุ่น อินเดีย และเกาหลีใต้ ส่วนน้ำตาลทราย ขยายตัวในตลาดอินโดนีเซีย กัมพูชา เกาหลีใต้ ไต้หวัน และลาว และกลุ่มอาหารสัตว์เลี้ยง และสิ่งปรุงรสอาหาร  นอกจากนี้ยังมีผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง แห้ง กระป๋องและแปรรูป ที่ขยายตัวในตลาดจีน สหรัฐฯ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และญี่ปุ่น

 

2. สินค้าที่เกี่ยวข้องกับทำงานที่บ้าน (Work from Home) เช่น คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องรับวิทยุ โทรทัศน์และส่วนประกอบ เตาอบไมโครเวฟ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ และเครื่องโทรศัพท์และอุปกรณ์

 

3. สินค้ากลุ่มเวชภัณฑ์ กลุ่มสินค้าเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อและลดการแพร่ระบาด เช่น เครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์ และผลิตภัณฑ์เภสัชภัณฑ์

 

4. วัตถุดิบที่ใช้เพื่อการผลิตสินค้า เช่น เหล็ก เม็ดพลาสติกเคมีภัณฑ์ ยางรถยนต์ที่จะนำไปใช้ในการผลิตรถยนต์ แผงวงจรไฟฟ้า และเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ ขยายตัวในตลาดญี่ปุ่น อินเดีย อินโดนีเซีย จีน และมาเลเซีย

 



ผู้ส่งออกไทยควรรู้ 8 ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการส่งออกในปีหน้า

 

1. เศรษฐกิจคู่ค้าสำคัญย้อนหลังไป 5 ปี

2. อัตราแลกเปลี่ยน

3. ราคาน้ำมันดิบดูไบ

4. ราคาสินค้าเกษตร

5. ราคาวัตถุดิบโลกเฉลี่ย

6. สถานการณ์โควิด 19

7. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับด้านการขนส่งโลจิสติกส์

8. การประเมินโดยทูตพาณิชย์ของกระทรวงพาณิชย์ทั่วโลก

 

ส่วนปัจจัยที่สนับสนุนการส่งออกในปีหน้าให้มีอัตราขยาย ได้แก่ การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกซึ่งมี OECD คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจโลกจะขยายตัวบวก 4.5% รวมไปถึงการนำเข้าของประเทศคู่ค้า ในปีหน้าคาดว่ายังขยายตัวดี ไม่ว่าจะเป็นสหรัฐฯ จีน ญี่ปุ่น หรือสภาพยุโรป ซึ่งก็จะช่วยเสริมในการส่งออก นำเข้ามากโอกาสเราส่งออกไปก็จะมากขึ้นด้วย




นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยค่าเงินบาท ซึ่งคาดว่าปีหน้าก็ยังจะเอื้อต่อการส่งออก อยู่ที่ประมาณ 32-33 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ และจะมีการผลิตตู้คอนเทนเนอร์ป้อนตลาดโลกที่มากขึ้น อีกทั้งการเติบโตของเศรษฐกิจดิจิทัล (e-Digital) จะช่วยเรื่องการส่งออกสินค้าด้าน IT ของไทย

ไม่เพียงเท่านี้ แผนจัดการแก้ปัญหาโควิดที่จะมีประสิทธิภาพมากขึ้นในภาพรวมของโลก และความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (

กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) รายงานสถานการณ์การค้าต่างประเทศของไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2565 มีมูลค่าทั้งสิ้น 148,146.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นมูลค่าการส่งออก 73,601.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 14.9 และมูลค่าการนําเข้า 74,545.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 18.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าไตรมาสที่ 4 ปี 2564 ขาดดุล 943.95 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

โดยมูลค่าการค้าต่างประเทศในไตรมาสที่ 1 ปี 2565 5 ทั้งการส่งออกและนำเข้าขยายตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยได้รับปัจจัยบวกจากอุปสงค์ประเทศคู่ค้าหลักของไทยที่ฟื้นตัวขึ้น โดยเฉพาะการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมหลักอย่างชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เม็ดพลาสติก และเคมีภัณฑ์อันเป็นผลจากหลายประเทศปรับตัวใช้มาตรการอยู่ร่วมกับโควิด ส่งผลให้กิจกรรมการดำเนินธุรกิจประเภทต่าง ๆ ขับเคลื่อนต่อไปได้ เช่นเดียวกับการนำเข้าที่ขยายตัวในทิศทางเดียวกันทั้งการนำเข้าเชื้อเพลิง สินค้าทุน สินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป สะท้อนได้ว่าการผลิตเพื่อรองรับตลาดส่งออกยังคงมีแนวโน้มเติบโตได้ในระยะข้างหน้า

Advertisement

โครงสร้างการส่งออกสินค้า

การส่งออกในไตรมาสที่ 1 ปี 2565 มีมูลค่า 73,601.4 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยหมวดสินค้าหลักมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้

  • สินค้าเกษตรกรรม มูลค่าการส่งออก 5,881.1 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 1.9 
  • สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร มูลค่าการส่งออก 5,720.5 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 28.0 
  • สินค้าอุตสาหกรรม มูลค่าการส่งออก 59,420.1 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 14.9
  • สินค้าแร่และเชื้อเพลิง มูลค่าการส่งออก 2,579.7 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 24.7

สินคัาที่มีการส่งออกขยายตัว ได้แก่ 

  • อัญมณีและเครื่องประดับ มูลค่าการส่งออก 5,504.6 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 204.7
  • เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ มูลค่าการส่งออก 5,431.6 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 8.6
  • เม็ดพลาสติก มูลค่าการส่งออก 3,037.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 19.5
  • เคมีภัณฑ์ มูลค่าการส่งออก 2,538.7 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 24.7 
  • แผงวงจรไฟฟ้า มูลค่าการส่งออก 2,305.0 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 17.7

 

ตลาดส่งออก ไตรมาสที่ 1 ปี 2565 การส่งออกสินค้าไปยังตลาดคู่ค้าหลักของไทยมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นเกือบทุกตลาด สหรัฐอเมริกาขยายตัวมากที่สุด ถัดมา คือ อาเซียน สหภาพยุโรป จีน และญี่ปุ่น ซึ่งสัดส่วนการส่งออกทั้ง 5 ตลาด ได้แก่อาเซียน (9 ประเทศ) สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป (27 ประเทศ) รวมร้อยละ 68.7 และการส่งออกไปยังตลาดอื่น ๆ ร้อยละ 31.3 ของการส่งออกทั้งหมด มีรายละเอียด ดังนี้

  • สัดส่วนการส่งออกของไทย ไปยังอาเชียน (9 ประเทศ)  สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป (27 ประเทศ) คิดเป็น ร้อยละ 24.3, 16.2, 11.3, 8.8 และ 8.0 ตามลําดับ
  • อัตราการขยายตัวของการส่งออก เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน พบว่า ประเทศคู่ค้าหลักของไทยขยายตัวเกือบทุกตลาด โดยสหรัฐอเมริกาขยายตัวมากที่สุดร้อยละ 24.1 รองลงมา คือ อาเซียน ขยายตัวร้อยละ 17.0 สหภาพยุโรป ขยายตัวร้อยละ 5.7 จีน ขยายตัวร้อยละ 4.2 และญี่ปุ่น ขยายตัวร้อยละ 1.2

ที่มา: กระทรวงพาณิชย์ 

โครงสร้างการนำเข้าสินค้า

การนำเข้าสินค้าของไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2565 มีมูลค่า 74,545.3 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 18.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยหมวดสินค้าหลักมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้

  • สินค้าเชื้อเพลิง มีมูลค่าการนำเข้า 74,545.3 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 86.3
  • สินค้าทุน มีมูลค่าการนำเข้า 17,319.7 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 12.0
  • สินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป มีมูลค่าการนำเข้า 30,347.8 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 7.3 
  • สินค้าอุปโภคบริโภค มีมูลค่าการนำเข้า 8,562.9 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 10.9
  • ยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง มีมูลค่าการนำเข้า 3,005.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หดตัวร้อยละ 20.2
  • สินค้าหมวดอาวุธ ยุทธปัจจัยและสินค้าอื่น ๆ มีมูลค่าการนำเข้า 1,042.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 1,965.4

ตลาดนำเข้าสินค้า สัดส่วนการนำเข้าแยกตามตลาดนำเข้าสำคัญ ไตรมาสที่ 1 ของปี 2565 ตลาดนําเข้าสําคัญของไทยขยายตัวเพิ่มขึ้นทุกตลาด โดยจีนขยายตัวมากที่สุด ลําดับถัดมา คือ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป (27 ประเทศ) และญี่ปุ่น
ทั้ง 5 ตลาดมีสัดส่วนการนำเข้ารวมร้อยละ 65.2 และการนำเข้าจากตลาดอื่น ๆ ร้อยละ 34.8 ของการนําเข้าทั้งหมด โดยมีรายละเอียด ดังนี้

  • สัดส่วนการนำเข้าของไทย จากจีน อาเซียน (9 ประเทศ) ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป  (27 ประเทศ) และสหรัฐอเมริกา คิดเป็นร้อยละ 23.6, 17.7, 12.1, 6.2 และ 5.5 ตามลําดับ
  • อัตราการขยายตัวของการนำเข้า เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลาดหลักขยายตัวทุกตลาด โดยจีนขยายตัวมากที่สุดร้อยละ 19.2 อาเซียนขยายตัวร้อยละ 17.4 สหรัฐอเมริกา ขยายตัวร้อยละ 16.7 สหภาพยุโรป (27 ประเทศ) ขยายตัวร้อยละ 10.8 และญี่ปุ่นขยายตัวร้อยละ 0.6

ที่มา: กระทรวงพาณิชย์

อ่านต่อ:

  • สถานการณ์การค้าต่างประเทศของไทย ไตรมาส 4/2564

 

บทความยอดนิยม 10 อันดับ

  • 10 ตัวอย่างที่นำ 5G มาใช้งานได้อย่างน่าสนใจและประสบผลสำเร็จ
  • เทคโนโลยีแห่ง G สู่ 5G เครือข่ายไร้สาย
  • แบตเตอรี่ลิเธียมไอออนคืออะไร ตลาดจะก้าวไปในทางไหนในปี 2030?
  • เทคโนโลยีสำหรับโลจิสติกส์ ทางเลือกสู่ทางรอด ปรับก่อนโดนเบียด
  • นิยามใหม่ SME ใช้ “รายได้” เป็นตัวกำหนด
  • ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 ปี 2564
  • กลยุทธ์การ PR และ Communication ในยุคดิจิทัล
  • ปัญหาตู้คอนเทนเนอร์ขาดแคลน เจาะลึกตู้สินค้าหายไปไหน?
  • เทรนด์การทำงานในอนาคต หลังไทยติดโควิด นานเกือบสองปี!
  • FTA ไทย มีกี่ประเทศ พอหรือไม่ ทำไมต้องคิดเรื่อง CPTPP

 

อัปเดตข่าวทุกวันที่นี่ www.mreport.co.th   

Line / Facebook / Twitter / YouTube @MreportTH


สินค้า

น้ำยาล้างคราบน้ำมัน Environ Industrial 02 จากบริษัท เซราไทย จำกัด เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับ ISO14000

ประเทศคู่ค้าอันดับ 1 ของไทยคือประเทศอะไร

JavaScript chart by amCharts 3.21.1 สหรัฐอเมริกา: 28.31% จีน: 18.31% ญี่ปุ่น: 12.85% เวียดนาม: 7.43% มาเลเซีย: 6.86% ออสเตรเลีย: 6.65% อินเดีย: 5.38% ฮ่องกง: 5.14% สิงคโปร์: 4.54% อินโดนีเซีย: 4.53% ตลาดส่งออกสำคัญ 10 อันดับแรก เดือน ธันวาคม 2022 (ล้านบาท)

ไทยส่งออกอะไรมากที่สุด 2565

รายงานการค้าไทย.

ไทยส่งออกสินค้าอะไรมากที่สุด

1. สินค้าอุตสาหกรรม มีมูลค่ารวม 3.198 ล้านล้านบาท คิดเป็น 79.6% ของมูลค่าส่งออก 2. สินค้าเกษตรกรรม (กสิกรรม ,ปศุสัตว์ , ประมงค) มีมูลค่ารวม 396,825.6 ล้านบาท คิดเป็น 9.9% 3.สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร มีมูลค่ารวม 284,668 ล้านบาท คิดเป็น 7.1% 4.สินค้าแร่และเชื้อเพลิง มีมูลค่ารวม 137,711.4 ล้านบาท คิดเป็น 3.4%

ประเทศคู่ค้ามีอะไรบ้าง

มูลค่าการค้ารวม 4,243,037 ล้านบาท จีน 465,492.7 11 % สหรัฐอเมริกา 434,547.7 10.2 % ญี่ปุ่น 420,205.7 9.9 % มาเลเซีย 240,614.1 5.7 % ฮ่องกง 234,414.0 5.5 % อินโดนีเซีย 184,450.1 4.3 % สิงค์โปร์ 181,845.0 4.3 % ออสเตรเลีย 160,485.9 3.8 % เวียดนาม 135,608.4 3.2 % อินเดีย 105,859.6 2.5 % ประเทศอื่น ๆ 1,679,514.7 39.6 %

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ