การประเมินงานทัศนศิลป์คืออะไร มีเกณฑ์การประเมินอย่างไร หลักเกณฑ์การประเมินงานทัศนศิลป์มีกี่ข้อ หลักเกณฑ์การประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์มีอะไรบ้าง การพิจารณาเพื่อประเมินงานทัศนศิลป์ควรคํานึงถึงเรื่องใด ใบงาน การประเมินงานทัศนศิลป์ ข้อใดเป็นเกณฑ์การวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ ด้านความเป็นเอกภาพ การประเมินงานทัศนศิลป์ ประเมินเพื่ออะไร แบบประเมินผลงานศิลปะ การประเมินผลงานทัศนศิลป์ด้วยความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล หลักเกณฑ์การพิจารณาถึงงานศิลปะที่เกิดจากการสร้างสรรค์มีกี่หลักเกณฑ์ อะไรบ้าง การประเมินคุณค่าของงานศิลปะ การค้นหาความหมายของผลงานว่าศิลปินต้องการสื่อให้ผู้ชมได้รับรู้ คือข้อใด

หลักเกณฑ์การประเมินงานทัศนศิลป์มีอะไรบ้าง

การสร้างเกณฑ์การ
ประเมินและวิจารณ์งาน

ทัศนศิลป์

การสร้างเกณฑ์การประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์

เกณฑ์ คือ หลักการที่กำหนดไว้ เพื่อใช้ประกอบการวินิจฉัยในการ
ประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ให้มีความกระจ่างชัด และให้ผลงของการ
ประเมินและวิจารณ์เป็นที่ยอมรับ ทั้งนี้ เพราะโดยธรรมชาติ การสร้างสรรค์
ผลงานทัศนศิลป์ในแต่ละประเภทจะมีอิทธิผลทางด้านความคิด การ
แสดงออก ตลอดจนเทคนิคและวิธีการ ซึ่งถือได้ว่าเป็นรูปแบบเฉพาะตัวของ
ผู้สร้างสรรค์แต่ละคน ที่จะถ่ายทอดลงไปในผลงานทัศนศิลป์

ดังนั้น การจะสร้าวเกณฑ์การประเมินและวิจารณ์คุณค่าผลงานข้างต้น
ให้มีความสอดคล้อองกับลักษณะของผลงานแต่ละแบบ จึงเป็นเรื่องที่กระทำ
ได้ไม่ง่ายนัก เนื่องจากผู้ประเมินและผู้วิจารณ์จะใช้พื้นฐานความรู้ หรือ
ทัศนคติของตนเองมาเป็ นเกณฑ์การปะเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ ไม่ได้
ด้วยเหตุผลที่ว่าผลงานัศนศิลป์ประเภทต่างๆ มีรูปแบบ(Form)
เนื้อหา(Content) เทคนิควิธีการที่เป็นคุณลักษณะเฉพาะตัวทางด้านรูป
ธรรม(Realist) และนามธรรม(Abstract) ผสมผสานอยู่

ดังนั้น การที่จะประเมินและวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่าง
มีคุณภาพจำเป็ นต้องมีความรอบคอบและสร้างเกณฑ์ให้มีความเชื่ อม
โยงกัน ดังนี้

1. เกณฑ์การ 2.เกณฑ์
ประเมินผลงาน การวิจารณ์ผลงาน

ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์

1. เกณฑ์การประเมินผลงานทัศนศิลป์

เกณฑ์การประเมินผลงานทัศนศิลป์ ต้องมีการกำหนดหลักการและตัว
บ่งชี้ หรือดัชนีที่แสดงให้เห็นถึงจุดเด่น จุดด้อย ตลอดจนความมชีวิตชีวา
ของผลงาน ซึ่งเกณฑ์ที่อาจนำมาใช้พิจารณาคุณค่าของผลงานทัศนศิลป์จะ
ประกอบไปด้วย

1. มีการใช้เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงานอย่างเหมาะสม เช่น การ
ลงมือปฏิบัติด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง หรือการใช้วัสดุที่แตกต่างกัน เป็นต้น
(มาก/ ปางกลาง/ น้ อย)

2. มีความคิดในการสร้างสรรค์ผลงานอย่างเหมาะสม เช่น การใช้สื่อ
วัสดุ หรือวิธีการใหม่ๆ ที่ได้มีการทดลอง หรือศึกษามาก่อน เป็นต้น
(มาก/ ปางกลาง/ น้ อย)

3. มีการจัดภาพตามหลักการทางศิลปะอย่างเหมาะสม เช่น การใช้เส้น
สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว พื้นที่ว่าง น้ำหนักอ่อน-แก่ จังหวะและจุดสนใจ
สัดส่วน เอกภาพ เป็นต้น (มาก/ ปางกลาง/ น้ อย)

4. มีการพัฒนาผลงานเพื่อสร้างสรรค์ผลงานให้ดียิ่งขึ้น หมายถึง
การปรับปรุงผลงานและความก้าวหน้ าในการทำงาน (มาก/ ปางกลาง/ น้ อย)

5. มีการนำหลักการทางศิลปะมาใช้ เพื่อถ่ายทอดอารมณืและความ
รู้สึกได้อย่างเหมาะสม เช่น การใช้เส่น สี แสง เรื่องราว การจัดองค์ประกอบ
การเน้ นให้เกิดความเด่น เป็นต้น (มาก/ ปางกลาง/ น้ อย)

6. มีความประณีตของผลงานที่กระทำอย่างเหมาะสม เช่น ความ
เรียบร้อยของผลงาน ภาพรวมของการนำเสนอผลงาน การใช้เทคนิคใน
การนำเสนอ เป็นต้น (มาก/ ปางกลาง/ น้ อย)

7. มีแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานอย่างเหมาะสม คือ เรื่องราวที่นำ
เสนอในผลงานตรงกับจุดประสงค์ที่ต้องการถ่ายทอด (มาก/ ปางกลาง/
น้ อย)

การเรียนรู้หลักการประเมินงานทัศนศิลป์ จะช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อ
ผลงานศิลปะ ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการวิเคราะห์ วิจารณืผลงาน สามารถที่จะ
พูด อธิบาย โดยใช้ความรู้ ความเข้าใจ และตัดสินประเมินงานศิลปะได้อย่าง
ถูกต้องตามหลักการ

ในการถ่ายทอดทัศนะของผู้ประเมินงานทัศนศิลป์ ที่มีคุณภาพและจะ
ได้ัรับการยอมรับนั้น ผู้ประเมินจะต้องสามารถอธิบายได้ว่า ศิลปินประสงค์
จะสื่ออะไรออกมา เช่น

- การนำเสนอตามลัทธิเหมือนจริง (Imitationalism) ศิลปินจะมุ่งเน้ น
การนำเสนอความเป็นจริงให้ปรากฏในผลงานของตน ดังนั้น ลักษณะการ
ถ่ายทอดเนื้อหาส่วนใหญ่จึงใช้วิธีวาดภาพที่เน้ นความเหมือนจริง ทั้งสี แสง
เงา และรยะ

- การนำเสนอตามหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ (Composition)
ศิลปินจะมุ่งเน้ นการนำเสนอภาพตามหลักการทางศิลปะในผลงานของเขา
เช่น การัดว่างส่วนต่างๆ ในภาพให้มีความขัดแย้งกัน ทั้งเรื่องของสี แสง
การจัดวางแบบสลับตำแหน่ง โดยเน้ นถึงความเป็นเอกภาะ เป็นต้น

- การนำเสนอเกี่ยวกับอามรณ์และความรู้สึก (Emotional & Feeling)
ศิลปินจะมุ่งเน้ นการนำเสนอภาพ เพื่อกระตุ้นให้ผู้ชมเกิดอารมณ์และความ
รู้สึกร่วมไปตามจุดประสงค์ของตน เช่น ความอ้าวว้าง ความลึกลับ ความน่า
สะพรึงกลัว

ทั้งนี้ กาประเมินถึงความเหมาสมที่กำหนดเกณฑ์ไว้ว่า มาก ปาง
กลาง หรือน้ อยน้ น การประเมินจะต้องมีการกำหนดตัวชี้วัด (Indicator) ที่
จะต้องอธิบายคุณค่าของผลงาน รูปแบบ เนื้อหา แลละเทคนิควิธีการ ให้ชี้
เฉพาะเจาะจงลงไป กล่าวคือ มาก ควรมีระดับความสมบูรณ์ ครบถ้วนใน
แต่ละด้านมากที่สุด ปางกลาง ควรมีระดับที่รองลงมา และ น้อย ควรมี
ระดับที่น้ อยที่สุด ซึ่งหลักเกณฑ์ดังกล่าว อาจกำหนดขึ้นโดยครูผู้สอนก็ได้

2. เกณฑ์การวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์

เกณฑ์ หรือหลักที่กำหนดไว้เพื่อใช้ประกอบการวิจารณ์และแสดงความ
คิดเห็นด้วยการพูดและการเขียนเกี่ยวกับผลงานทัศนศิลป์ ได้เข้ามาพร้อม
กับวิทยาการแผนใหม่จากตะวันตกเมื่อประมาณ 70 ปีที่ผ่านมา จนถึง
ปัจจุบันนี้ก็ยังถือเป็นเรื่องใหม่สำหรับสังคมไทย เนื่องจากยังไม่เป็นที่แพร่
หลายมากนัก โดยเฉพาะเกี่ยวกับหลักการและเกณฑ์ของการวิจารณ์ที่จะ
ต้องให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ในระดับนี้อาจใช้เกณฑ์การวิจารณ์ที่ไม่ยุ่ง
ยากมากนัก เช่น ใช้เกณฑ์การวิเคราะห์ยังมีจุดมุ่งหมาย (Objective
Critical Reason ) นำมาปรับใช้กับการวิจารณ์งานทัศนศิลป์โดยทั่วไป

โดยจะพิจารณาถึงประเด็นที่จะนำมาใช้ในการพิจารณาดังนี้
1. หลักของเอกภาพ ได้แก่ การบรรยายและตีความงานทัศนศิลป์

ในแง่มุมของผลงานว่าสร้างขึ้นอย่างเป็นระบบหรือไม่ สอดคล้องกับรูปแบบ
หรือโครงสร้างของตัวผลงานเองหรือไม่ ในเกณฑ์นี้ สิ่งที่ต้องพิจารณา ได้แก่
ความสัมพันธ์และความครบถ้วนในผลงาน

2. รักของความลึกล้ำ ได้แก่ การบรรยาย และตีความผลงานทัศน

ศิลป์ทั้งในแง่ที่ว่า ผลงานนั้นสร้างขึ้นด้วยความมานะพยายามหรือไม่ ไม่ว่า

จะเป็นในแง่ความคิด เสื้อแยกการปฏิบัติ รวมทั้งประกอบขึ้นด้วย

จินตนาการหรือไม่ หรือมีในอะไรซ่อนอยู่ให้ผู้ชมได้ค้นหาบ้าง
3. หลักของความเข้มข้น ได้แก่ การบรรยายและตีความผลงาน

ทัศนศิลป์ในแง่ที่ว่า ผลงานนั้นเต็มไปด้วยพลัง มีความอ่อนหวาน อ่อนโยน
แข็งกร้าว เศร้าสะเทือนใจ มีชีวิตชีวา หรือสง่างามหรือไม่ รวมทั้งสามารถให้
เหตุผลได้ว่า เพราะเหตุใดจึงมีความคิดเห็นเช่นนั้น

ตัวอย่าง

ชื่อภาพ The Last Supper (ค.ศ. 1495 )
ศิลปิ น เลโอนาโด ดา วินชี (Leonado Da Vinci)

หลักการวิจารณื ผลงานทัศนศิลป์

1. หลักของเอกภาพ ภาพผลงาน The Last Supper มีการ
สร้างสรรค์ผลงานโดยกำหนดให้องค์ประกอบของภาพประธาน (พระเยซู)
อยู่ตรงกลางและบรรดาเหล่าพระสาวกขนาบทั้ง 2 ข้างได้อย่างเหมาะสม
ซึ่งช่วยให้ภาพประธานมีควาใดด่ดเด่น ทั้งตำแหน่งที่นั้นอยู่ตรงกลางภาพ
และส่วนของกรอบภาพสี่เหลี่ยมด้านหลัง เป็นการช่วยเน้ นภาพของพระเยซู
ให้ดูมีความสง่าและมีความหมายมากขึ้น

2. หลักของความลึกล้ำ ผลงานชิ้นนี้ เป็นผลงานที่มีเนื้อหาและ
ความหมายบางอย่างที่แฝงอยู่กับเรื่องราวและเนื้อหาภายในภาพ เช่น มี
สาวกคนหนึ่งในภาพนี้คิดจะลอบปลงพระชนม์พระเยซู (แต่ไม่ทราบว่าเป็น
ใคร) ซึ่งเขาได้เขียนภาพถ่ายทอดบุคลิกของสาวกที่ถูกซ่อนไว้ด้วยสีหน้ า
และกิริยาท่าทางอันชวนให้ผู้คิดค้นหา อีกทั้งภาพนี้มีการจัดเรื่องราวเป็น
แบบภาพขนาดใหญ่ ที่แฝงไปด้วยความหมายต่างๆ ผ่านวิธีการและเทคนิค
การเขียนภาพได้อย่างสมบูรณืแบบ สอดคล้องกับหลักการทางศิลปะ

3. หลักของความเข้มข้น ผลงานชิ้นนี้มีลกษณะของการจัดองค์
ประกอบศิลป์ที่มีความโดดเด่นมาก คือความสมดุล (Balance) ที่ช่วยให้
ภาพนี้ดูมีความสงบ ความน่าศรัทธาเลื่อมใส และสง่างาม ขณะเดียวกันก็มี
ความขัดแย้ง คือ มีความเคลื่อนไหวของเหล่าพระสาวก ส่งผลทำให้ภาพนี้มี
ชีวิตชีวา ความรู้สึกดังกล่าวเกิดขึ้นจาก วิธีการจีชัดวางภาพและการจัดกลุ่ม
ภาพรอบๆ ภาพประธาน(พระเยซู) เป็นการใช้รูปทรงที่ดูสงบนิ่ง และรูปทรง
ที่เคลื่อนไหวมาจัดอยู่กันในภาพได้อย่างลงตัว


การประเมินงานทัศนศิลป์คืออะไร มีเกณฑ์การประเมินอย่างไร

เป็นการประเมินคุณค่าของผลงานศิลปะชิ้นนั้นจากการพิจารณาทุกข้อใน เบื้องต้น สรุปให้เห็นข้อดีและข้อด้อยในด้านเนื้อหาและเรื่องราว หลัก ทัศนธาตุและหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ทักษะ ฝีมือ และการถ่ายทอด ความงาม เพื่อการพัฒนาหรือตัดสินผลงานชิ้นนั้น

หลักเกณฑ์การประเมินงานทัศนศิลป์มีกี่ข้อ

การประเมินคุณค่างานทัศศิลป์.
การประเมินคุณค่างานทัศนศิลป์จะพิจารณาจาก 3 ด้าน ได้แก่.
ด้านความงาม ... .
ด้านเนื้อหาสาระ เป็นการประเมินคุณค่าของผลงานสิลปะแต่ละชิ้นว่ามีลักษณะ ... .
ด้านอารมณ์ความรู้สึก ... .
การประเมินคุณค่า ... .
ด้านอารมณ์ความรู้สึก เป็นการประเมินคุณค่ที่สามารถกระตุ้นอารมณ์ ความรู้สึกของผู้ดูโดยการใช้เทคนิควิธีการและสื่อความหมาย.

หลักเกณฑ์การประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์มีอะไรบ้าง

1) ดูการ์ดที่ติดงานใกล้ผลงาน (ถ้ามี).
2) ดูว่าเป็นศิลปะสาขาอะไร ทัศนศิลป์แขนงใด ลักษณะใด และประเภทอะไร.
3) ดูสิ่งที่ทำให้เกิดมิติในผลงานทัศนศิลป์.
4) ดูส่วนประกอบของความงาม จุด (ถ้ามี).
5) ดูเกี่ยวกับการจัดภาพมี 2 แบบ คือ.
5.1 แบบประจำชาติ 2 แบบ.
5.2 แบบสากล 2 แบบ.

การพิจารณาเพื่อประเมินงานทัศนศิลป์ควรคํานึงถึงเรื่องใด

1. ควรมีความรู้เกี่ยวกับศิลปะทั้งศิลปะประจำชาติและศิลปะสากล 2. ควรมีความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะ 3. ควรมีความรู้เกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ ช่วยให้รู้แง่มุมของความงาม 4. ต้องมีวิสัยทัศน์กว้างขวาง และไม่คล้อยตามคนอื่น

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ