เมื่อได้รับอีเมลฟิชชิ่งไม่ควรทำอย่างไร

 Line: @sysnet  

  • ไม่มีสินค้าในตะกร้าของคุณ
  • จัดส่ง ฟรี
  • รวมทั้งสิ้น ฿0.00

  1. หน้าหลัก
  2. Blog
  3. Network Tools / Software
  4. การป้องกันไม่ให้เป็นเหยื่อของการ Phishing /Email หลอกลวง

Blog navigation

ค้นหาข้อมูลภายใน Blog

หมวดหมู่ Blog

บทความล่าสุด

  • Review เก็บ Log เข้าใช้งาน Internet แบบ URL ด้วย Reyee EG Gateway

    135 views 0 Liked

    Review เก็บ Log เข้าใช้งาน Internet แบบ URL ด้วย Reyee EG Gateway

    อ่านเพิ่มเติม

  • ต้องการทำ Loadbalance โดย Internet รวมแล้วมากกว่า 1Gbps

    233 views 0 Liked

    ต้องการทำ Loadbalance โดย Internet รวมแล้วมากกว่า 1Gbps

    อ่านเพิ่มเติม

  • Review Reyee RG-EG310GH-E Cloud Router แบบ Full Test

    446 views 0 Liked

    Review Reyee RG-EG310GH-E Cloud Router ทดสอบแบบ Full Test ทำ Loadbalance, VPN, Cloud Authentication, Flow Control,...

    อ่านเพิ่มเติม

  • ทดสอบ Mikrotik GPeR อุปกรณ์เพิ่มระยะการเดินสาย Lan ให้ได้มากกว่า 100 เมตร

    336 views 0 Liked

    ทดสอบ Mikrotik GPeR อุปกรณ์เพิ่มระยะการเดินสาย Lan ให้ได้มากกว่า 100 เมตร สูงสุด 1,500 เมตร

    อ่านเพิ่มเติม

  • ทดสอบ Reyee RG-EW1200R ทำ Mesh-WIFI บ้าน 3 ชั้น

    343 views 0 Liked

    ทดสอบ Reyee RG-EW1200R ทำ Mesh-WIFI บ้าน 3 ชั้น

    อ่านเพิ่มเติม

บทความยอดนิยม

  • การใช้ Network Tool ใน Windows เพื่อตรวจสอบและแก้ไขปัญหาเครือข่ายเบื้องต้น

    18499 views 2 Liked

    การใช้ Network Tool ใน Windows เพื่อตรวจสอบ และ แก้ไขปัญหาระบบเครือข่ายเบื้องต้น

    อ่านเพิ่มเติม

  • ต้องการเชื่อมเครือข่าย Network ระหว่างสำนักงานด้วย VPN

    18213 views 17 Liked

    ต้องการเชื่อมเครือข่าย Network ระหว่างสำนักงาน หรือ Client ด้วย VPN

    อ่านเพิ่มเติม

  • การเลือกใช้ WIFI Repeater เพื่อขยายสัญญาณ WIFI ให้ไกลขึ้น

    17092 views 2 Liked

    การเลือกใช้ WIFI Repeater เพื่อขยายระยะสัญญาณ WIFI ให้ครอบคลุมภายในบ้าน

    อ่านเพิ่มเติม

  • การเลือกใช้ POE Switch (Power Over Ethernet Switch)

    13850 views 3 Liked

    การเลือกใช้ POE Switch/ POE Injector, การคำนวน POE Budget ในอุปกรณ์ POE Switch เพื่อใช้ร่วมกับอุปกรณ์ Network...

    อ่านเพิ่มเติม

  • คู่มือการทำ WIFI Roaming

    10340 views 4 Liked

    คู่มือการทำ WIFI-Roaming เพื่อให้สัญญาณ WIFI ครอบคลุมทั่วพื้นที่

    อ่านเพิ่มเติม

Blog tags

 Blog Rss

การป้องกันไม่ให้เป็นเหยื่อของการ Phishing /Email หลอกลวง

เบื้องต้นครับเบื้องต้น ขออนุญาติเขียนตามความเข้าใจนะครับ และ ผมจะเอาไปให้แม่ กะ ลูกชายได้อ่านด้วย


Phishing คืออะไร

ใน google มันบอกประมาณนี้ครับ "The activity of defrauding an online account holder of financial information by posing as a legitimate company."

แปลโดย google translate "กิจกรรมการหลอกลวงผู้ถือบัญชีออนไลน์ของข้อมูลทางการเงินโดยการวางตัวเป็น บริษัท ที่ถูกกฎหมาย"

การออกเสียงมันจะคล้องกับคำว่า fishing คือการตกปลา โดยมีเหยื่อมาล่อให้เราไปงับ พอเรางับแล้ว ต่อให้ดิ้นหลุดได้ เหงือกก็ฉีก


การ Phishing มันมักจะส่งมาทาง email ซึ่งปัจจุบัน email เป็นสิ่งจำเป็นต้องใช้ในโลก Online ไม่ว่าจะสมัครสมาชิก พวก Socail ต่างๆ Facebook, Twitter, IG หรือ Website , มือถือ Smartphone, Tablet ก็ต้องมี email เพื่อลงทะเบียน, โอนเงิน ibanking ก็ต้องมี email เพื่อทำการสมัครเช่นกัน


เหยื่อที่มาล่อเรามีหลักๆ 2 อย่าง

  1. เหยื่อที่สร้างความตกใจ จะมี Email แจ้ง Slip บอกว่าเราไปใช้บัตรเครดิตซื้อของ ซึ่งไม่รู้ว่าเราไปซื้อเอาตอนไหน ยิ่งพวก Item ใน game นี้บอกตรงๆเลยครับ โดนทีแรกตกใจเหมือนกัน ลูกมันไปแอบซื้อ Game หรือเปล่า หรือ บัญชีอะไรซักอย่างของเราโดนระงับ ข้อนี้โดนกันง่ายสุด
  2. เหยื่อที่สร้างความอยากได้ จะมี Email แจ้งมาว่าเราได้รับส่วนลด และ ดันเป็นสินค้าที่เรายากได้ซะด้วย, ส่วน email ถูกรางวัล หลังๆนี้ไม่ค่อยเจอ

พวกที่ส่ง email พวกนี้มา มันต้องการอะไร


ใน Email ที่มีลักษณะ Phishing พวกนี้ มันจะมี Link ให้เราเอาเมาส์ไป Click ด้วย เช่น ถ้าไม่ได้สั่งซื้อให้ Click.. , ถ้าต้องการปลด Lock ให้ Click.. , ถ้าสนใจ Promotion นี้ ให้ Click.. หรืออะไรก็ตามที่หลอกให้เรา click ให้ได้

จากนั้นมันก็พาเราไปยังหน้า Web ที่สร้างขึ้นมาปลอมๆ ทำซะเหมือนของจริง

เราก็ทำการกรอก Username (ส่วนใหญ่ username ก็จะเป็น email นั้นล่ะ) และ Password ลงไป พอ click login ก็จะโผล่ที่หน้า ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว ให้เราคิดว่าปัญหาที่เกิดขึ้นได้ถูกจัดการเรียบร้อย

ทีนี้ล่ะครับ พวกนั้นก็จะเอา account ที่เรามีไปทำอะไรก็ได้ ซื้อของ หรือ เข้าไปดูใน email เรา เพราะคนส่วนใหญ่ มักจะใช้ password ซ้ำกันทุกบัญชี อาจจะเข้าไปดูว่าเราเคยเป็น member web ไหนบ้าง ทำแบบที่สบายใจเลย


Email ที่เขาส่งมาให้เรา มันได้ Email เรามาจากไหน

ผมเองมีหลาย email account เพราะเอาไว้ทดสอบพวก Mail Alert บนอุปกรณ์ network ต่างๆ ที่ผมสังเกตุ ถ้าเราไม่ได้เอาเมล์พวกนี้ไปสมัครตาม web ที่ไหน จะไม่เคยโดน Phishing เลย

แต่..จะมีพวก Email ที่ผมไปสมัครพวก Web ที่ download พวก software หรือ อะไรที่เป็นสายมืด

อันนี้จะได้เจอตลอด ก็น่าจะเป็นไปได้ว่าเขาก็เอาemail ที่เราสมัครไปนี้แหล่ะ ส่งเหยื่อมาล่อเราอีกที


ตัวอย่าง Email Phishing ที่ผมเองเจอบ่อยๆนะครับ และ การสังเกตุว่าเป็น Email ที่ส่งมาถูกต้องหรือเปล่า

Email Confirm และก็ ขอบคุณ ที่เราไปซื้อ APP จาก Ap Store

รูปแบบ mail ประมาณนี้เลย ไปซื้อ App ตั้งแต่เมื่อไหร่ และ เข้า mail box ปกติด้วย ไม่ได้เข้า spam box


เปิดเข้าไปดู อ่อ PUBG ราคา 8.99USD ไปซื้อเอาตอนไหน


เมื่อเจอเมล์แบบนี้..

ใจเย็นๆครับ ใช้ความสังเกตุ อ่านใน email จะเห็นว่า email ผู้ส่งมันมาจากไหนไม่รู้ ชื่อประหลาดๆ และ พอเอา mouse ไปชี้ที่ "Link Report a Problem" ปรากฏว่า Link ที่โชว์ ไปที่ web ไหนก็ไม่รู้เช่นกัน ซึ่ง App Store เป็นของ Apple ดังนั้น Link ที่ถูกต้องก็น่าจะเป็นพวก apple.com หรืออะไรก็ตามที่ลงท้ายด้วย apple.com

เจอบ่อยๆ สังเกตุบ่อยๆ ก็จะกลายเป็นเรื่องปกติครับ ลบทิ้งแบบไม่อ่านเลย

เพราะฉะนั้น ลบเมล์นี้ทิ้งไปครับ ไม่ต้องไปลองของใดๆทั้งสิ้น ถ้าเรา click link ไป อาจจะไปเจอหน้า Web ที่เหมือนกับ Web apple.com เป๊ะๆ มีช่องให้ใส่ Username/Password ประมาณนั้น แต่ไม่จำเป็นต้องไปทำครับ

ตัวอย่าง email ของ apple จริงๆ จะมี domain apple.com ถ้าเอาเมาส์ไปชี้ที่ Learn more at the U.S. site จะเห็น link ด้านล่างจะชี้ไปที่ domain apple.com เช่นกันครับ แต่ก็ต้องระวังในการ Click นะครับ เพราะหลายๆ web จะมีการใส่ parameter ไว้ที่ link ไว้ด้วย

อีกตัวอย่างครับ ใช้ subject Account Lock สร้างความตื่นตระหนกได้อย่างดี และเพิ่มความเนียนขึ้นมาหน่อย มีการใส่ Mail Name ให้ใกล้เคียงกับ Domain ของจริง แต่ link มันไม่ใช้


ตัวอย่างนี้ ทำให้เห็นว่า web ที่เป็น ssl (https) ก็เอามาหลอกได้เช่นกัน เพราะฉะนั้น ในปัจจุบัน ถ้าเห็นเป็น web https ก็อย่าไปเชื่อ 100% ว่าปลอดภัย แปลผิดๆถูกๆอีกต่างหาก


กรณีถ้าเป็น email อ้างถึง สถาบันการเงินในประเทศไทย มีข้อสงสัยเรื่องเมล์ที่ส่งมา โทรหา call center เลยครับ อย่าเก็บความสงสัยไว้คนเดียว


ตัวอย่าง email ฉบับนี้ มีการส่ง parameter ที่เป็นชื่อ email ผมกลับไปด้วย อย่าได้ click เชียวครับ มันรู้เลยว่ายังมีการใช้งาน email นี้อยู่ คราวนี้มันจะมีเมล์ส่งมากันเป็นร้อย

ตัวอย่าง email นี้โหดมาก บอกว่ารู้ password เข้าเครื่องผม ฝังโปรแกรม แอบเปิด webcam เก็บภาพไว้ด้วย และจะเอาภาพที่บันทึกไว้ ไป post ตาม social ให้จ่ายเป็น bitcoin มาซะ 1,400USD

อุต๊ะ!! เป็น password ที่ผมเคยใช้เมื่อสิบกว่าปีที่แล้ว ถ้ามันไม่แจ้งมาลืมไปนานล่ะ มันไปเอามาจากไหน


ข้อสำคัญ เมื่อได้รับเมล์พวกนี้ ถ้า password ที่มันแจ้งมาถูกต้อง ก็ให้ตรวจสอบว่าใช้กับที่ไหนและให้ทำการเปลี่ยนซะครับ และ ไม่ต้องส่ง reply กลับไปโต้ตอบอะไรมันทั้งสิ้น

Anti virus หลายๆค่ายจะมีการตรวจสอบ Phishing page ให้ด้วยครับ ช่วยให้เราปลอดภัยขึ้นเยอะเลย


การป้องกันตัวเองไม่ให้งับเหยื่อ

1. ถ้าได้รับ Email Phishing ใจเย็นๆ อย่าเพิ่ง click link ในเนื้อหา email, สังเกตุ Email ผู้ส่ง, Link ปลายทาง ต้องให้ชื่อ Domain ตรงกับบริษัทนั้นๆจริงๆ
2. ถ้าเป็นสถาบันการเงิน หรือ บริษัท ในไทย มีข้อสงสัยโทรหา call center ครับ
3. ถ้าเรามีแวะไปเส้นทางสายมืดบ้าง

สร้าง Email Account ไว้เฉพาะทางเลย ตั้ง Password อะไรก็ได้ จำง่ายๆ ส่วนเส้นทางสายขาว สร้าง password ให้มันยากๆเข้าไว้ จำไม่ได้ไม่เป็นไร มันมีปุ่ม Forgot Password เดี๋ยวนี้ email มันส่ง code เข้าเบอร์มือถือได้
4. Password ที่ใช้ตาม Social ต่างๆ อย่าให้เหมือนกัน โอเค.มันจะจำยาก ผมใช้หลักการคือ หยิบอักษร ของชื่อ social มาใส่ใน password ด้วย
5. ลงพวก anti virus ใช้แบบเสียตังค์รายปี พวกนี้เขาจะมีการ ตรวจสอบ Link ให้เราครับ ได้ update ตลอด ป้องกันได้อีกระดับนึง คิดซะว่าเป็นการซื้อวัคซีนให้เครื่องละกัน

ทุกวันนี้ เวลาเราเข้าไปในโลก Online มันก็เหมือนขับรถออกถนนใหญ่ละครับ เจอทั้งคนขับรถดีและขับรถไม่ดี เราก็ต้องระวังให้มากเข้าไว้ จะบอกว่าไม่ให้ขับรถเลย หรือ ห้ามไม่ให้ใช้ internet ก็ไม่ได้

สรุป.. ระวังมันทุกอย่างนั้นล่ะครับ ซื้อผักมายังต้องล้างให้เกลี้ยงเลย


Facebook comment

Related posts

  • โปรแกรม iBSG-GenUser-Lite สำหรับ Generate User

    1180 views 1 Liked

    โปรแกรม iBSG-GenUser-Lite สำหรับ Generate User ลงในโปรแกรม iBSG 3.5

    อ่านเพิ่มเติม
  • การใช้ DHCP Snooping เพื่อป้องกัน DHCP Server จาก Router ที่ไม่เกี่ยวข้อง

    7941 views 0 Liked

    การใช้ DHCP Snooping เพื่อป้องกัน DHCP Server จาก Router ที่ไม่เกี่ยวข้อง

    อ่านเพิ่มเติม
  • การใช้ Network Tool ใน Windows เพื่อตรวจสอบและแก้ไขปัญหาเครือข่ายเบื้องต้น

    18499 views 2 Liked

    การใช้ Network Tool ใน Windows เพื่อตรวจสอบ และ แก้ไขปัญหาระบบเครือข่ายเบื้องต้น

    อ่านเพิ่มเติม
  • โปรแกรม Generate User/ Import/ Export ใน User Manager ระบบ Mikrotik Hotspot

    2690 views 0 Liked

    โปรแกรม Generate User/ Import/ Export ใน User Manager ระบบ Mikrotik Hotspot

    อ่านเพิ่มเติม
  • WIFI ช้า สัญญาณไม่ครอบคลุม ต้องทำยังไง

    1119 views 0 Liked

    WIFI ช้า สัญญาณไม่ครอบคลุม ต้องทำยังไง

    อ่านเพิ่มเติม

Follow us on Facebook

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ