2024 อ สลาม ทำไม อ ลลอต องให ป วยและท กใจ

บทท่ี 2 ประวัตศิ าสตรศ์ ิลปะอสิ ลาม

บลั ลังก์ยงู ทอง เปน็ บลั ลงั กท์ ่ีชาหจ์ าฮานโปรดให้ท�ำข้นึ สำ� หรับ (The Peacock เปน็ บลั ลงั กส์ ว่ นพระองค์ กลา่ วกนั วา่ ฐานของบลั ลงั กเ์ ปน็ Throne) ทองประดับพลอย บันไดท�ำจากเงิน พนักเป็นรูปนกยูง ร�ำแพงหาง เป็นงานทองประดับเพชรและทับทิม ภาย เดลฮี หลังเม่ือกองทัพของนาดีร์ชาห์แห่งอิหร่านเข้ายึดเดลฮี ประเทศอนิ เดยี ได้ บลั ลงั กย์ งู ทองจงึ ถกู นำ� ไปทอ่ี หิ รา่ นและภายหลงั หาย สาบสญู ไป แตเ่ ราอาจศกึ ษาลกั ษณะของบลั ลงั กไ์ ดจ้ าก (AD 1586 - 1589) ภาพวาดของชาห์จาฮาน

The Peacock Throne

Mughal, AD 1586-1589 Delhi, India

151

บทท่ี 3

ลวดลายประดับ ในศิลปะอิสลาม

บทท่ี 3 ลวดลายประดบั ในศิลปะอสิ ลาม

แนวคดิ ของศิลปะอิสลาม

มุสลิมเช่ือว่าการมีอยู่และความเป็นไปของ ทุกสรรพสิ่งในโลกเกิดจากพลานุภาพของพระเจ้า ซึ่ง ถือว่าเป็นความงามสูงสุด แนวคิดดังกล่าวท�ำให้มุสลิม ประดับลวดลายท่ีสื่อถึงพระเจ้าไว้ตามส่วนต่างๆ ของ มัสยิดเพื่อให้ผู้ท่ีเข้ามาในอาคารร�ำลึกถึงความยิ่งใหญ่ และค�ำสอนของพระองค์ อย่างไรก็ตามมุสลิมตระหนัก ดีว่าลวดลายในมัสยิดไม่ควรมีมากเกินไปจนรบกวน สมาธิของผู้ละหมาดและลวดลายที่ใช้ก็ต้องไม่ประกอบ ด้วยรูปคนหรือสัตว์ เนื่องจากในคติของมุสลิมการท�ำรูป สง่ิ มชี วี ติ ถอื เปน็ การยกตนเสมอกบั พระเจา้ เพราะอ�ำนาจใน การสรา้ งส่งิ ท้ังมวลเปน็ ของพระองค์ผเู้ ดยี วเท่านั้น

การห้ามท�ำรูปสิ่งมีชีวิตในคติของศาสนาอิสลาม ยังมีจุดประสงค์เพื่อมิให้เกิดการท�ำรูปเคารพซึ่งผิดต่อ หลักการของศาสนาอีกด้วย แต่ทั้งน้ีมิได้หมายความ ว่าศาสนาอิสลามไม่สนับสนุนการท�ำงานศิลปะ เพราะ ชาวมุสลิมสามารถสร้างสรรค์งานศิลป์ได้ตราบเท่าที่ไม่ ขัดกับหลักความเชื่อ และ ข้อห้ามดังกล่าวก็มิได้ปิดก้ัน จินตนาการของศิลปินมุสลิมแม้แต่น้อย กลับผลักดันให้ ชาวมสุ ลมิ แสวงหาแรงบนั ดาลใจจากธรรมชาติ จนสามารถ รงั สรรคล์ วดลายอนั งดงามทก่ี ลายเปน็ เอกลกั ษณข์ องศลิ ปะ มุสลมิ ได้แก่ อกั ษรประดษิ ฐ์ ลวดลายนามธรรมอย่างลาย พรรณพฤกษา และลายเรขาคณติ

153

บทท่ี 3 ลวดลายประดับในศลิ ปะอิสลาม

ตน้ กำ�เนิดของศาสตรล์ วดลาย เรขาคณิต

สืบเน่ืองจากการท�ำสัญญาสันติภาพและการ แลกเปล่ียนทางการทูตถึงสองคร้ังในราว ฮ.ศ. 196 (พ.ศ.

  1. และ ฮ.ศ. 286 (พ.ศ.1390) ภายใต้ การปกครองของ กาหลิบฮารูน อลั -รอชดี (Harun al-Rashid) กาหลิบผทู้ ่ีเปิด โลกมุสลิมสู่วิทยาการความรู้ในด้านต่างๆ ท่านหลงใหลใน ศาสตร์ความรู้ และต�ำราท้ังของชาวอิสลามและศาสนาอื่น ที่มีอยู่ทั่วทุกมุมโลก ท่านริเริ่มจัดตั้ง “ห้องสมุดแห่งวิทย- ปญั ญา (Library of Wisdom)” ขนานนามเปน็ ภาษาอาหรบั วา่ “คซี านตั อลั -ฮกิ มะฮ์ (Khizanat al-Hikmah)” เปน็ ที่ ชุมนุมของเหล่านักปราชญ์ และพหูสูตชาวอาหรับและชาว ตา่ งชาติทีเ่ ข้ามาค้นคว้าแลกเปลยี่ นแนวคิดทฤษฎีต่างๆ ไม่ ว่าจะเป็นชาวกรีก โรมัน-ไบเซนไทน์ (Roman-Byzantine) หรอื กระทง่ั นกั บวชจากศาสนาพระเวท เรมิ่ ขยายตวั เตบิ โต ข้ึนราว ฮ.ศ.234 (พ.ศ.1356) ในยุคของกาหลิบผู้เป็นบุตร ชายนามวา่ กาหลบิ อลั -มะอม์ นู (Al-Ma’mun) เปลย่ี นชอ่ื จาก หอ้ งสมดุ แหง่ วทิ ยปญั ญาเปน็ “บา้ นแหง่ มนั ตรา หรอื สภา แหง่ ภมู ปิ ญั ญา (House of Wisdom)” ไดร้ บั การขนานนาม ในภาษาอาหรบั วา่ “บยั ตลุ้ ฮกิ มะฮ์ (Bayt al-Hikmah)” รเิ รมิ่ การแปลตำ� ราต่างๆ จากภาษาอนื่ โดยมีนกั ปราชญ์จากทุก แขนงมาเป็นผู้รู้รวบรวมและร่วมสร้างแนวความคิดทฤษฎี ที่ต่อยอดจากความรู้เดิม เช่น ต�ำราจากภาษาฟาร์ซี, ฮิบรู, ซีรีแอค, กรีก, ลาติน, สันสกฤต รวมทั้งต�ำราคณิตศาสตร์ ของอินเดีย เป็นต้น ช่วงเวลาน้ีเองที่มีการจัดองค์ความรู้ เป็นแขนงสาขาและค้นพบทฤษฎีใหม่ๆ รวมไปถึงค้นพบ วทิ ยาการดา้ นศลิ ปกรรม เปน็ ยคุ ทถี่ กู กลา่ วขานวา่ เปน็ ความ เจรญิ ข้นั ขีดสดุ ของโลกในเวลาน้นั

154

บทท่ี 3 ลวดลายประดับในศิลปะอสิ ลาม

House of Wisdom การค้นพบนี้ถูกยกย่องไปทั่วโลกว่าเป็นศาสตร์ (Bayt al-Hikmah) in ส�ำคัญที่สามารถต่อยอดและไขความลับไปสู่ศาสตร์ Baghdad ต่างๆ และถูกน�ำไปใช้จนถึงปัจจุบัน หนึ่งในนั้นคือวิชา ค�ำนวณระบบสมการโดย อัล-ควาริสม่ี (Al-Khwarizmi)6 ท่ีคิดค้นจากการแปลและเรียบเรียงจากต�ำราต่างๆ ท่าน พยายามแก้ไขโจทย์ของนักปราชญ์อิสลามอีกหลาย ท่าน อีกท้ังยังมีนักประดิษฐ์ท่ีคิดค้นการใช้เคร่ืองมือ ประกอบกับการค�ำนวณจากพ่ีน้องเผ่าบนูมูซา มูฮัมหมัด, อะฮ์หมัด และอัล-ฮาซัน ระบบการค�ำนวณ และเคร่ืองมือ เหล่าน้ีได้เข้ามามีอิทธิพลในงานศิลปะ7 นักปราชญ์ชาว อิสลามได้พัฒนาความรู้พ้ืนฐาน เร่ือง “Islamic geometry” ทว่ี า่ ดว้ ยเรอ่ื งจดุ และเสน้ กอ่ ใหเ้ กดิ กระบวนการ การแบ่งรูปหลายเหล่ียมท่ีเกิดจากจุดตัดของวงกลม

6 อาลี เสือสมิง. (2556). ชมุ นมุ นักปราชญ์ในสายธารอารยธรรมอสิ ลาม. หน้า 8. 7 อาลี เสือสมงิ . (2556). ชมุ นุมนกั ปราชญ์ในสายธาร1อ5า5รยธรรมอสิ ลาม. หนา้ 428.

บทที่ 3 ลวดลายประดบั ในศิลปะอิสลาม

พัฒนาสู่รากฐานของความสัมพันธ์ในระบบโครงสร้าง ลวดลายสองมิติและสามมิติ มีการคิดค้นทฤษฎีท่ีว่าด้วย สัจจะแห่งตัวเลข “ทฤษฎีพีชคณิต” ที่แยกออกจากวิชา คณิตศาสตร์ท่ัวไป ผลจากองค์ความรู้ดังกล่าว ก่อให้ เกิดการขยายองค์ความรู้วิชาเรขาคณิตจากต�ำราโบราณ

“A book of Spiritual Crafts and Natural Secrets in the Details of Geometrical figures” เป็นต�ำราท่ีว่าด้วยการสร้างรูปเรขาคณิตจาก

ความลี้ลับของรูปร่างที่มีอยู่ในธรรมชาติ ต�ำราดัง กลา่ วท�ำให้นักดาราศาสตรแ์ ละนกั คณติ ศาสตรท์ ช่ี อื่ วา่ อบลุ วะฟาอ์ อลั -บซู ะญานยี ์ (Abu al-Wafaa Al- Buzjani) ใชเ้ ป็นตน้ แบบและแนวคิด กอ่ ใหเ้ กดิ ทฤษฎีต่างๆ เก่ียวกับรูปร่างและรูปทรง การแบ่ง พ้ืนท่ีในวงกลม การสร้างรูปหลายเหล่ียมท่ีเกิดจาก จุดตัดในวงกลมอย่างแม่นย�ำ มีการค้นพบค่าไซน์ (sin), คอส (cos) และแทน (tan) ในการค�ำนวณ วิชาดาราศาสตร์และคณิตศาสตร์ท่ียังคงปรากฏมา จนถึงปจั จบุ ัน แรกเริ่มการค้นพบนี้ไม่ได้รับความสนใจ มากนัก เพราะงานของเขาใช้เพียงตอบโจทย์การ แบ่งเส้นตั้งฉากในวงกลมเพื่อสร้างรูปส่ีเหล่ียมและ รปู หลายเหลย่ี มดา้ นเทา่ (3,4,5,6,8,10 ดา้ น) เทา่ นน้ั

156

บทท่ี 3 ลวดลายประดบั ในศิลปะอิสลาม

ตำ� รา “วา่ ดว้ ยสิ่งจ�ำเปน็ สำ� หรับ อัล-บูซะญานีย์ ได้ ช่างในการท�ำงานเรขาคณติ ” แต่งต�ำราการค�ำนวณไว้ (A Book on Those Geometric มากมาย รวมถึงต�ำรา Constructions “Which Are Necessary for Craftsman) “A Book on Those โดย อบุลวะฟาอฺ อลั -บูซะญานีย์ Geometric Construc- tions Which Are Nec- essary for Craftsman” ซ่ึงกล่าวถึงทฤษฎีเชิงช่าง ในโครงสร้างและงาน เรขาคณิต8 ต�ำราเล่มนี้ ได้รับความสนใจและมี ความสำ� คญั เปน็ พเิ ศษตอ่ ศิลปินอิสลาม สถาปนิก และการประดิษฐ์อักษร วิจิตร ต�ำราและทฤษฎีดังกล่าวส่งผลให้เกิดการต่ืนตัว ทางการศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างสัดส่วนและการ วัดตลอดจนรูปร่างและรูปทรงในธรรมชาติกับสูตรทาง คณิตศาสตร์แสดงให้เห็นถึงความเช่ือมโยงกันอย่างมี เหตผุ ล นกั ปราชญไ์ ดพ้ ยายามถอดรหสั ความสมั พนั ธข์ อง ระบบท่ีมีอยู่ในธรรมชาติ ศึกษาหลักวิชาเรขาคณิตร่วม กับปรัชญาศาสนาซึ่งเป็นที่มาของการสร้างสรรค์ศิลปะ อสิ ลามท่ีมเี อกลักษณ์เฉพาะตน

อบุลวะฟาอ์ อัล-บูซะญานีย์ (Abu al-Wafaa Al- Buzjani)

8 Necipoglu, G. (2017). The Arts of Ornamental geometry. Boston: Brill.

157

บทท่ี 3 ลวดลายประดับในศิลปะอสิ ลาม

รูปแบบลวดลายของศิลปะอิสลามแต่ละ ลวดลายน้ันมักแฝงไปด้วยระบบโครงสร้างลวดลาย เรขาคณติ (IslamicGeometry)อยทู่ งั้ สนิ้ ดว้ ยระบบโครงสรา้ ง ลวดลายเรขาคณติ นถ้ี อื เปน็ จดุ กำ� เนดิ แบบแผนทฤษฎศี ลิ ปะ อิสลามอันเป็นเอกลักษณ์ท่ีชัดเจน หลักการโครงสร้างน้ี สามารถเชือ่ มโยงรปู ร่างต่างๆ ทีเ่ กิดขนึ้ ภายในพื้นทว่ี า่ ง ซ่ึง ก่อให้เกิดความสมมาตร การรวมตัวกันเป็นเอกภาพของ รูปร่าง รูปทรง จนกลายมาเป็นทฤษฎีการสร้างสรรค์ท่ีเป็น เอกลักษณ์ของศิลปะอิสลามและถูกน�ำไปใช้ในทุกยุค ทุกสมัยของอาณาจักรอิสลาม ท้ังน้ีการท�ำความเข้าใจถึง กระบวนการ วธิ คี ดิ ปรัชญา และท่ีมาของศาสตร์นจ้ี ะท�ำให้ เกิดความเข้าใจมากยิง่ ขึน้

158

บทท่ี 3 ลวดลายประดบั ในศิลปะอสิ ลาม

ลวดลายเรขาคณิต ในธรรมชาติ

ในธรรมชาตินั้นสิ่งต่างๆ มากมายล้วนแฝงไป ด้วยระบบเรขาคณิตท้ังส้ิน เช่น ดอกไม้ ท่ีเมื่อมองลึกลง ไปจะเห็นความสมดุลของกลีบดอกไม้ เกสร ท่ีมีความ สมมาตรจากจดุ ศูนยก์ ลางของวงกลม

159

บทที่ 3 ลวดลายประดบั ในศลิ ปะอิสลาม

ลายอักษรประดิษฐ์ Calligraphy

ลายอักษรประดิษฐ์ (Calligraphy) หรือท่ีเรียกว่า “คอ็ ต (Khat)” เปน็ ลวดลายทมี่ คี า่ ทสี่ ดุ ในบรรดาลายประดบั ทัง้ มวลของศิลปะอิสลาม เพราะเปน็ บทคัดลอกจากคัมภรี ์ อัลกุรอานอันเป็นสื่อของค�ำสอนจากพระผู้เป็นเจ้า มักพบ ตามลายประดับในศาสนสถาน สถาปัตยกรรม กระทั่ง เอกสารส�ำคญั ทางราชการ การประดิษฐ์อักษรเหล่าน้ีมีโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง ตามระบบเรขาคณิตร่วมอยู่ด้วย มีการพัฒนารูปแบบและ ระบบโครงสร้างเอกลกั ษณ์หลากหลายรูปแบบ

160

บทท่ี 3 ลวดลายประดบั ในศิลปะอสิ ลาม

161

บทท่ี 3 ลวดลายประดบั ในศิลปะอิสลาม

ลายพรรณพฤกษา Floral motif

ลายอาราเบสก์ หรือลายพรรณพฤกษา (Floral motif หรือ Arabesque) เป็นลายทนี่ ำ� แรงบันดาลใจมาจาก พืชพรรณในธรรมชาติ สื่อถงึ ความงามของส่งิ ที่พระเจา้ ทรง สร้างตลอดจนความอุดมในสวนสวรรค์ อาจอยู่ในรูปของ ดอกไม้ดอกเดียว ดอกไมใ้ นแจกนั ชอ่ ดอกไม้ หรอื อย่ใู นรปู ของก่ิง ก้าน และใบที่ร้อยเรียงต่อเนื่องกันอย่างไร้ท่ีสิ้นสุด เหตุผลที่ท�ำให้ลายพรรณพฤกษามีความโดดเด่นและ แตกต่าง ในความพิเศษนั้นคือการริเร่ิมใช้ระบบเรขาคณิต เขา้ มาเปน็ โครงสรา้ งของระบบลวดลายทำ� ใหเ้ กดิ แบบแผน ของความสมมาตรอันเป็นลักษณะเด่นท่ีเกิดขึ้น กลายเป็น ความงดงาม ความลงตัว เก่ียวพันในระบบลวดลายอย่าง เปน็ ระเบียบ ลายอาราเบสก์ เป็นลวดลายท่ีนิยมใช้ประดับ ตกแต่งในงานประดับต่างๆ ไม่มีข้อจ�ำกัดด้านบริบทการ ใชง้ าน เชน่ ประดบั บนคมั ภรี อ์ ลั กรุ อาน บนขา้ วของเครอ่ื งใช้ ช่องประตู ก�ำแพง ลวดลายบนพรม เป็นตน้

162

บทท่ี 3 ลวดลายประดบั ในศิลปะอสิ ลาม

163

บทที่ 3 ลวดลายประดับในศลิ ปะอิสลาม

ลายเรขาคณิต Islamic Geometry

ลายเรขาคณิตเป็นเสมือนโครงสร้างหลักของ ลวดลายประดับ พัฒนามาจากลายเรขาคณิตของศิลปะ ไบเซนไทน์ แต่ชาวมุสลิมพัฒนาลวดลายให้ซับซ้อนยิ่งขึ้น และนำ� หลกั การคำ� นวณทางคณติ ศาสตรม์ าชว่ ยคดิ คน้ และ พัฒนาฐานสูตรความรู้เดิมจากชาวอียิปต์ กรีก โรมัน และ ศาสตร์ทางตะวันออกอย่างจีนและชมพทูวีป เป็นต้น เพื่อ จดั วางโครงสรา้ งและสดั สว่ นของลวดลาย ซง่ึ ความตอ่ เนอ่ื ง ของลายเรขาคณิตท่ีแผ่ขยายออกไปทุกทิศทางอย่างไร้ท่ี ส้ินสุดน้ัน ส่ือถึงพลานุภาพของพระเจ้าท่ีแผ่ออกไปอย่าง ไร้ขอบเขตจนปกคลุมทุกแห่งหน ความมีระเบียบของลาย ส่ือถึงกฎเกณฑ์ในธรรมชาติและระเบียบแบบแผนในการ ดำ� เนินชีวิตท่ีพระองคป์ ระทานให้แกม่ นุษยน์ น่ั เอง ชาวมุสลิมได้พัฒนาเร่ืองพื้นฐานท่ีว่าด้วยเรื่องจุด และเส้นสู่กระบวนการแบ่งรูปหลายเหลี่ยมจากรูปวงกลม สูร่ ากฐานของความสมั พนั ธใ์ นระบบโครงสร้างลวดลาย วธิ ี คดิ ระบบโครงสรา้ งดงั กลา่ วยงั นำ� ไปสกู่ ารตอ่ ยอดในศาสตร์ แขนงต่างๆ เช่น ดาราศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ พีชคณติ รวมถงึ งานสถาปตั ยกรรมศาสตร์อีกดว้ ย

164

บทท่ี 3 ลวดลายประดบั ในศิลปะอสิ ลาม

165

บทท่ี 3 ลวดลายประดบั ในศลิ ปะอสิ ลาม

เทคนคิ ทฤษฎเี บื้องต้น ของศิลปะอิสลาม

การสรา้ งรปู เรขาคณติ หลายเหลย่ี มในการออกแบบ ลายประดับแบบอสิ ลามมักเรม่ิ ต้นจากวงกลม เพราะมกี าร เปรยี บวงกลมแทนจดุ เรม่ิ ตน้ แหง่ จกั รวาลหรอื ความวา่ งเปลา่ ทม่ี าจากจดุ ศูนยก์ ลางแห่งเอกภาพของทุกๆ เอกภพ

รปู แบบแรกทคี่ วรทำ� ความเขา้ ใจ คอื รปู แบบของรปู สเี่ หลย่ี ม เพราะรปู สเ่ี หลย่ี ม เสมอื นการเรม่ิ ตน้ ในศาสตรแ์ หง่ วตั ถธุ าตุทั้งส่ี ได้แก่ ดิน นำ�้ ลม และไฟ ปรัชญานไี้ ด้วางอยู่ บนสัจธรรมของสิ่งท่ีด�ำรงอยู่เสมอมา สิ่งเหล่านี้ถูกอธิบาย ไว้ในความหมายต่างๆ ทั้งถูกเปิดเผยโดยคนจีนโบราณ, ในคัมภีร์พระเวท, จากชาวอินเดีย, ชาวเฮเลนิสต์, ชาวยิว, คริสเตยี น และปรชั ญาอิสลาม

166

บทท่ี 3 ลวดลายประดบั ในศิลปะอสิ ลาม

167

บทที่ 3 ลวดลายประดบั ในศลิ ปะอิสลาม

การสรา้ งรปู การสร้างพื้นท่ีส่ีเหลี่ยมจัตุรัสด้านเท่าโดยการ สีเ่ หล่ยี ม หาพื้นท่ีจากวงกลม เกิดจากวงลมท่ีซ้อนกันจนเป็นรูป ดอกไม้สีแ่ ฉกแล้วหาจุดตดั ของวงกลม (รปู แบบพืน้ ฐาน)

1.

2. 3.

4. 5.

168

บทที่ 3 ลวดลายประดบั ในศลิ ปะอสิ ลาม

6. 7.

8. 9.

10. 11.

12. 13.

169

บทที่ 3 ลวดลายประดับในศิลปะอสิ ลาม

การแบ่งพ้นื ที่ ในการแบ่งพ้ืนที่เราสามารถใช้ระบบดอกไม้ วงกลมเปน็ แหง่ ชวี ติ ทง้ั รปู แบบดอกไมส้ แ่ี ฉก หกแฉก สบิ สองแฉก 12 สว่ น วธิ ที ส่ี ามารถทำ� ใหก้ ารแบง่ เกดิ ขน้ึ โดยงา่ ยคอื เพื่อสรา้ งรปู หลาย การแบง่ จากดอกไมส้ แี่ ฉก เพราะจะทำ� ใหเ้ กดิ เสน้ นอ้ ย เหลย่ี มด้านเทา่ ไม่ท�ำให้เกิดความสับสน เมื่อมีความช�ำนาญมากพอ อาจเพม่ิ กลบี ดอกเปน็ หกแฉกหรอื สบิ สองแฉก เพอื่ การ (รปู แบบพื้นฐานปกติ) หาสดั สว่ นความงามอ่นื ๆ เพื่อการสร้างลวดลาย หรอื การย่อ ขยายของรูปรา่ งเรขาคณิตไดง้ า่ ยขึ้น

การแบ่งพ้ืนท่ี ดอกไม้สี่แฉกใช้วิธีการสร้างเหมือนกับวิธี วงกลม 12 สว่ น สร้างรปู สี่เหล่ียม จากนน้ั แบง่ พนื้ ทอ่ี อกเป็น 12 สว่ น จากดอกไมส้ ี่แฉก 1.

2. 3. 1 12 2

10 4 9 11 35

7 68

170

บทท่ี 3 ลวดลายประดับในศลิ ปะอสิ ลาม

การแบ่งพน้ื ที่ การสรา้ งดอกไมห้ กแฉกเพอื่ แบง่ พนื้ ท่ี 12 สว่ น วงกลม 12 สว่ น มวี ธิ กี ารทค่ี ลา้ ยกบั การสรา้ งดอกไมส้ แ่ี ฉก แตจ่ ะตา่ งกนั จากดอกไม้หกแฉก เพยี งเล็กนอ้ ย ดงั น้ี

1.

2. 3.

4. 5. 6.

7. 8. 9. 1 12 2

10 4 9 11 35

7 68

171

10 บทท่ี 3 4 9 11ลวดลายประดบั ในศลิ ปะอสิ ลาม 35

การแบ่งพน้ื ท่ี วงกลม 12 สว่ น จากดอกไม้ สบิ สองแฉก

1 12 2

172 7 68

บทที่ 3 ลวดลายประดบั ในศลิ ปะอสิ ลาม

สร้างรูปจากพน้ื ท่ี จากการแบ่งพ้ืนท่ีแบบน้ีสามารถน�ำไปใช้สร้าง 12 ส่วน รปู รา่ งต่างๆ ได้ หากเราจำ� เลขทใ่ี ช้เปน็ ตัวก�ำหนดพืน้ ทไี่ ด้ ก็จะย่งิ งา่ ยตอ่ การสร้างลวดลายมากยง่ิ ข้ึน

1 2 1 2 12 12

10 4 10 4 11 3 11 35

9 5 9

7 7 68 68

สเ่ี หลย่ี มจตั รุ สั สามเหลี่ยมด้านเท่า

1 1 12 2 12 2

10 4 10 4 11 35 9 11 35

9

7 6 7 8 68

สเ่ี หล่ยี มผนื ผา้ หกเหลี่ยมดา้ นเทา่

173

บทท่ี 310 4 x4 รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ลวดลายประดับในศิลปะอสิ ลาม11 35 ที่วางโดยเปล่ียนยอดมุม 19 ไปตามแกนทั้งสิบสองจะ 12 2 ได้สามเหลี่ยมท่ีทับซ้อน 7 กนั 4 รูป 168 12 2 รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่วาง 7 โ ด ย เ ป ลี่ ย น ย อ ด มุ ม ไ ป 10 68 4 x3 9 11 35 7 ตามแกนท้ังสิบสองจะได้ 68 สเี่ หลย่ี มทท่ี บั ซอ้ นกนั 3 รปู

1 x2 รูปหกเหล่ียมด้านเท่า 12 2 ท่ีวางโดยเปล่ียนมุมไป 10 4 ตามแกนท้ังสิบสองจะ 9 11 35 ไ ด ้ ห ก เ ห ล่ี ย ม ซ ้ อ น กั น 2 รูป

174

บทท่ี 3 ลวดลายประดับในศิลปะอิสลาม

การสร้างรปู รูปแบบน้ีเป็นรูปแบบที่แตกต่างและไม่ได้ใช้ ห้าเหลีย่ มและ ระบบการสร้างสรรค์เหมือนในรูปแบบอ่ืนๆ การค้นพบท่ี สบิ เหล่ียม นา่ อศั จรรยแ์ ละเหลอื เชอื่ ของ อบลุ วะฟาอฺ ผทู้ ชี่ ำ� นาญและ เข้าใจในรปู แบบการซ�้ำของรูปสมมาตรหา้ เหลี่ยม (รปู แบบพนื้ ฐานพเิ ศษ) 1. 2.

3. 4. 5. 6. 7.

8. 9. 10.

175

บทท่ี 3 ลวดลายประดบั ในศลิ ปะอิสลาม

รปู แบบตาราง การสรา้ งตาราง (grid) เปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั (grid) และรปู แบบ ในกระบวนการต่อลายให้มีความเชื่องโยงต่อเนื่องกัน การท�ำซ�ำ้ ให้เกิด เป็นระบบ ระบบตารางมีความจ�ำเป็นต่อการก�ำหนด ลวดลาย พนื้ ทที่ งั้ หมดเพอื่ นำ� ไปสกู่ ารสรา้ งลวดลายและโครงสรา้ ง วิธีการเหล่าน้ีจึงเป็นท่ีมาของลวดลายเรขาคณิตศิลปะ (รูปแบบพืน้ ฐานปกติ) อิสลาม (Islamic Geometry) และได้น�ำไปประยุกต์ ใช้เพื่อเป็นโครงสร้างให้กับลวดลายพรรณพฤกษา (Arabesque) และพัฒนาสู่การใช้ในการสร้างอักษร ประดษิ ฐ์ (Calligraphy) วิธีการสร้างตารางใช้วิธีเดียวกันกับการสร้าง รูปร่างน�ำมาวางชดิ ต่อกันจนกลายเปน็ ตาราง รปู แบบของตารางในศลิ ปะอสิ ลามมที งั้ รปู แบบ เชิงเด่ยี วและรปู แบบเชงิ ซอ้ น

ตารางเชงิ เด่ียว เช่น ตารางทเ่ี ปน็ สี่เหลี่ยมจตั ุรสั , ตารางสามเหลย่ี ม, ตารางหกเหล่ยี ม, ตารางแปดเหล่ยี ม

การสรา้ งระบบตาราง จากรปู วงกลมทับซอ้ นเรยี งกัน

176

ตารางเชิงซอ้ น บทที่ 3 ลวดลายประดบั ในศลิ ปะอิสลาม

เป็นการน�ำรูปร่างมาเรียงต่อกันจนเกิดเป็นระบบ ตารางเพื่อการใช้งานท่ีมีความวิจิตรพิสดารและซับซ้อน มากข้ึน ตวั อยา่ งเช่น

177

บทที่ 3 ลวดลายประดับในศิลปะอสิ ลาม

ตัวอยา่ งการสร้าง ลวดลายเรขาคณิต

1.

2.

178

บทท่ี 3 ลวดลายประดบั ในศลิ ปะอิสลาม

3.

179

บทท่ี 3 ลวดลายประดับในศลิ ปะอสิ ลาม

ตวั อย่างการสร้าง ลวดลายเรขาคณติ

1.

2.

180

บทท่ี 3 ลวดลายประดบั ในศิลปะอิสลาม

3.

181

บทที่ 4

ศิลปะอิสลาม ในประเทศไทย

ศลิ ปะอิสลามในประเทศไทย

วิทยาการอันทรงคุณค่า แก่นแท้ความงาม ความงดงามแห่งศรัทธา เลื่อนไหลผ่านวัฒธรรมที่ หลากหลายนับพันปี ยังปรากฏหลักฐานงานศิลป์ ถ่ายทอดจิตวิญญาณและความสามารถ แม้องค์ ความรู้จะขาดช่วงไปก็ตาม

/

“สถาบันศิลปะอิสลามประเทศไทย”

183

บทท่ี 4 ศลิ ปะอสิ ลามในประเทศไทย

ความสมั พันธ์ระหวา่ งศลิ ปะอสิ ลามและศิลปะไทย ในมิตทิ างประวตั ศิ าสตร์และวฒั นธรรม

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งศลิ ปะอสิ ลามและศลิ ปะไทย เกิดจากการติดต่อค้าขายของชาวเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้กับชาวอาหรับตั้งแต่สมัยการประกาศศาสนาของท่าน นบีมูฮัมมัด การติดต่อผ่านการค้าขายในประเทศไทย เชื่อมโยงศูนย์กลางอารยธรรมต่างๆ จากท่ัวโลก นอกจาก น้ีการตั้งชุมชน ถ่ินอาศัยของชาวมุสลิมในดินแดนไทย ก็เป็นเหตุผลหน่ึงท่ีท�ำให้เกิดการถ่ายเท ผสมผสานและ แลกเปลย่ี นมติ ทิ างวฒั นธรรมดา้ นตา่ งๆ เมอื่ สนั นษิ ฐานวา่ มี การผสมผสานทางดา้ นศลิ ปวฒั นธรรมระหวา่ งศลิ ปะอสิ ลาม และศิลปะไทย น�ำมาสู่การสังเกตและวเิ คราะหถ์ งึ หลักฐาน จากศิลปกรรมไทยสมัยก่อนบางชิ้นว่ามีลักษณะเหมือนได้ รบั องคค์ วามรู้ แนวคิดและเทคนิคของศิลปะอิสลามผสม ผสานอยู่ด้วย ลวดลายในศิลปะไทยบางรูปแบบมีความเป็น ไปได้ถึงความเชื่อมโยงกับลวดลายอันเป็นเอกลักษณ์ ของศิลปะอิสลามท้ังอักษรประดิษฐ์ (Calligraphy), ลาย พรรณพฤกษา (Floral motif หรือ Arabesque) และลาย เรขาคณิต (Islamic Geometry) แต่ทว่าลายประดับที่พบ ในมัสยิดในประเทศไทยมีความหลากหลายมากกว่านั้น เน่ืองจากลักษณะท้องถ่ินและปัจจัยต่างๆ ท่ีเข้ามาผสม ผสานกับแนวคิดในการสรา้ งงานของชา่ งมสุ ลมิ

184

บทท่ี 4 ศิลปะอสิ ลามในประเทศไทย

มัสยิดในประเทศไทยที่สร้างข้ึนในยุคแรกมักสร้าง ตามอัตภาพของชุมชน เป็นเพียงอาคารไม้ที่เรียบง่าย อาจ มีสัญลักษณ์หรือลวดลายบางอย่างที่บ่งบอกว่าเป็นสถานที่ ประกอบศาสนกิจของมุสลิม หลายครั้งที่ลวดลายดังกล่าว มีต้นเค้ามาจากลวดลายในงานศิลปะในท้องถ่ิน ต่อมาเมื่อ มุสลิมในประเทศไทยได้เรียนรู้วิทยาการและรูปแบบทาง ศิลปกรรมจากต่างประเทศจึงเริ่มประดับส่วนต่างๆ ของ มัสยิดมากข้ึน ลวดลายและการตกแต่งดังกล่าวสามารถ ใช้เป็นตัวประมาณอายุของอาคารและบ่งช้ีรสนิยมทาง ศิลปกรรมในยุคน้ันๆ ได้ เพราะรูปแบบของลายท่ีน�ำมาใช้ แปรเปลี่ยนไปตามความนิยมในแต่ละสมัย แต่เป็นท่ีน่า สงั เกตวา่ นบั ตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั มสั ยดิ ในแตล่ ะภมู ภิ าค ของประเทศมลี วดลายทพ่ี ฒั นาไปอยา่ งต่อเน่ือง ส่วนมัสยิด ของมสุ ลมิ เชอ้ื สายเอเชยี ใตแ้ ละมสั ยดิ ของมสุ ลมิ เชอื้ สายจนี ในภาคเหนือนั้นมีการตกแต่งน้อยมาก บางแห่งไม่ปรากฏ ลวดลายใดๆ เลย ซงึ่ มเี หตผุ ลมาจากการถอื หลกั สมถะอยา่ ง เครง่ ครดั ของมุสลมิ กลมุ่ นี้ ลวดลายและการตกแตง่ ของมสั ยดิ ในประเทศไทย จะแสดงถึงการน�ำลักษณะท้องถิ่นและรูปแบบทาง ศิลปกรรมท่ีเป็นที่นิยมในแต่ละยุคสมัยมาตีความใหม่ ภายใต้แนวคิดของศาสนาอิสลามเพ่ือใช้เป็นส่ิงพึงระลึก นึกถึงพระเจ้า ก่อให้เกิดลวดลายที่มีเอกลักษณ์ท่ีต่างจาก ศิลปะอิสลามในดนิ แดน อื่นๆ แบง่ ได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ ลวดลายและการตกแต่งแบบศิลปะท้องถิ่นในประเทศไทย, ลวดลายและการตกแตง่ แบบศลิ ปะตะวนั ตก, ลวดลายและ การตกแตง่ แบบศลิ ปะจนี และลวดลายและการตกแตง่ แบบ ศิลปะอิสลาม

185

บทที่ 4 ศลิ ปะอิสลามในประเทศไทย

ตัวอยา่ งศลิ ปะ อิสลามใน ประเทศไทย

(1) ลวดลายและการตกแต่งแบบศิลปะท้องถิ่น

ลวดลายและ ในประเทศไทยโดยมากพบในมัสยิดท่ีสร้างข้ึนใน การตกแต่งแบบ พัฒนาการชว่ งที่ 1 (ก่อนปลายพุทธศตวรรษท่ี 23-กลาง ศลิ ปะท้องถน่ิ ใน พุทธศตวรรษท่ี 24) และพบในมัสยิดบางแห่งท่ีสร้าง ประเทศไทย ในช่วงหลังท่ีน�ำศิลปะไทยเข้ามาประยุกต์ใช้ แบ่งได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ลวดลายและการตกแตง่ แบบศลิ ปะมลายู และลวดลายและการตกแตง่ แบบศลิ ปะไทย

(1.1) ลายประดับแบบศิลปะมลายูเป็นเอกลักษณ์ ของมัสยิดไม้เก่าแก่และมัสยิดแบบมลายูร่วมสมัยใน ลวดลายและการ ภาคใตโ้ ดยเฉพาะในเขตสามจงั หวดั ชายแดน และมสั ยดิ ตกแตง่ แบบศลิ ปะ ของชุมชนมลายใู นภาคกลาง ใชต้ กแต่งหน้าจั่ว, ลูกกรง มลายู บนั ได, ประตทู างเขา้ สู่โถงละหมาด, ชอ่ งลม และมมิ บรั สว่ นใหญเ่ ปน็ งานไมแ้ กะสลกั หรอื งานเขยี นสบี นแผน่ ไม้ ไม้เป็นวัสดุท้องถ่ินท่ีหาได้ง่าย ภายหลังเมื่อมีวัสดุและ อุปกรณ์จากต่างประเทศเข้ามาจึงเริ่มเกิดลวดลายที่ท�ำ จากเทคนิคใหม่ๆ เช่น ปูนปั้นหรือเขียนสีใต้กระจกเข้า มาผสมผสาน

186

บทที่ 4 ศิลปะอิสลามในประเทศไทย

ลวดลายแบบศิลปะมลายูเป็นลายขดม้วนท่ี ลดทอนมาจากรูปของสัตว์หรือพืชพรรณต่างๆ บางต�ำรา เรียกลายลักษณะนี้ว่า “ลายลังกาสุกะ” เป็นลายท่ีปรากฏ ใช้มาตั้งแต่สมัยอาณาจักรมัชปาหิตในชวา หรือท�ำเป็นรูป

ดอกไมข้ นาดใหญท่ แ่ี ผก่ งิ่ กา้ นออกไปประดบั เตม็ พนื้ หลงั ลายพรรณพฤกษาเหล่านี้ ส่ือถึงพลังอ�ำนาจในการ สร้างสรรคข์ องพระเจ้า บางครัง้ ลายขดมว้ นและ ลายดอกไม้ถูกจัดวางเป็นทรงสามเหลี่ยม ซึ่งนักวิชาการหลายท่านให้ความเห็น วา่ เป็นรูปทรงท่มี ีการลดทอนมาจาก รปู หนา้ กาล หรอื ไมก่ เ็ ปน็ รปู ทรงของ “กนุ งุ ” (gunung : ภาษามลายแู ปล วา่ ภเู ขา) ซึ่งเป็นสญั ลักษณข์ อง เขาพระสุเมรุ

ช่องลมแกะเป็นลายขดม้วนแบบ ศิลปะมลายูเหนอื ชอ่ งประตูของ

สุเหร่าอาโห ปัตตานี

ชอ่ งลมแกะเป็นลายพรรณ พฤกษาแบบศลิ ปะมลายูเหนือ ชอ่ งประตูทางเข้าโถงละหมาด

มสั ยดิ รายอปัตตานี ปัตตานี

187

บทที่ 4 ศิลปะอิสลามในประเทศไทย

ช่องลมแกะเปน็ ลายพรรณ พฤกษาแบบศลิ ปะมลายู

188

บทท่ี 4 ศิลปะอสิ ลามในประเทศไทย

นอกจากนย้ี งั มี “ลายตะวนั ฉาย” ซงึ่ เปน็ สญั ลกั ษณ์ ของการเรมิ่ ตน้ วนั ใหม่ ปรากฏอยทู่ เี่ หนอื ประตทู างเขา้ มสั ยดิ หรือเหนือประตูสู่โถงละหมาด ตัวลายท�ำจากระแนงไม้น�ำ มาเรยี งเปน็ รัศมขี องดวงอาทติ ย์ อาจทาสีทับเพ่อื เพม่ิ ความ สวยงาม ลายประดับแบบศิลปะมลายูที่พบในมัสยิดของ ชาวมลายูในประเทศไทยมีลักษณะเช่นเดียวกับลายที่พบ

ในมัสยิดและอาคารต่างๆ ทางตอนเหนอื ของมาเลเซีย เพราะกลุ่มชาติพันธุ์มลายู ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี ศิ ล ป - วัฒนธรรมร่วมกับผู้คนใน มาเลเซยี มาช้านานแลว้

ลายตะวันฉายเหนือประตูทาง เข้าโถงละหมาดของมสั ยดิ ดารุล้

ยาดีดี

189

บทที่ 4 ลวดลายและการตกแต่งแบบศิลปะไทยท่ีพบ ศลิ ปะอสิ ลามในประเทศไทย ในมัสยิดในประเทศไทย ได้แก่ ลายแบบศิลปะไทย, รูปครุฑพ่าห์ และการประดับอาคารด้วยกรอบรูปและ (1.2) จานกระเบ้ือง

ลวดลายและการ ตกแต่งแบบศลิ ปะ ไทย

ลายแบบศิลปะไทย สว่ นใหญพ่ บในมสั ยดิ ทสี่ รา้ งขนึ้ ภายใตอ้ ทิ ธพิ ล ของสถาปัตยกรรมไทยในกรุงเทพฯ เช่น หน้าจั่วและ เมย๊ี ะหรอ็ บของมสั ยดิ บางหลวง, เมยี๊ ะหรอ็ บหลงั เดมิ ของ มสั ยดิ ตน้ สน, ลวดลายภายในอาคารกฎุ เี จรญิ พาศนห์ ลงั แรก รวมถึงมัสยิดบางแห่งในจังหวัดสงขลา ตามผนัง และเสาของมัสยดิ เหลา่ นีต้ กแตง่ ด้วยลายบวั ลายเฟื่อง และลายกาบ เหนอื ชอ่ งประตแู ละหน้าตา่ ง หน้าจั่วของ อาคารหรือหน้าจ่ัวของเมี๊ยะหร็อบและมิมบัรยังปรากฏ ลวดลายกา้ นขดหางโต หรอื ลายดอกพดุ ตาน ตามกรอบ ของหนา้ จว่ั ยงั มชี อ่ ฟา้ ใบระกาและหางหงสอ์ กี ดว้ ย หาก แต่หางหงส์ไม่ได้ท�ำเป็นรูปหัวนาค ลายประดับแบบ ศลิ ปะไทยนีพ้ บในรูปงานไมแ้ กะสลกั ลงรกั ปิดทอง, งาน ปนู ปนั้ และงานเขยี นสี

เมี๊ยะหร็อบของมสั ยิด บางหลวง กรงุ เทพฯ

รายละเอยี ดบนหน้าจัว่ กรงุ เทพฯ

190

บทท่ี 4 ศลิ ปะอิสลามในประเทศไทย

ภาพถ่ายพระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร และสมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง เสด็จพระราชด�ำเนินกฎุ เี จรญิ พาศน์ ด้านหลงั เห็นลายไทยทปี่ ระดับภายในอาคาร

กรงุ เทพฯ 16 กนั ยายน พ.ศ. 2496

กรอบเหนือประตทู างเขา้ เมีย๊ ะหรอ็ บหลังเดมิ ของมสั ยิดนรู ุลอสิ ลาม ของมสั ยิดตน้ สน และ สงขลา รายละเอียดบนหนา้ จว่ั

กรงุ เทพฯ

191

บทที่ 4 ศิลปะอสิ ลามในประเทศไทย

รูปครุฑพ่าห์ ครุฑพ่าห์ คือรูปครุฑที่เห็นจากด้านหน้าตรง ปรากฏในภาพเขียนสีดังเช่นที่หน้าจั่วฝั่งทิศตะวัน ออกของมัสยิดยามาอาติสซอลาตินเอาวะลู จังหวัด สุราษฎร์ธานี ในคติของศาสนาพราหมณ์ ครุฑเป็น พญานกและเป็นพาหนะของพระนารายณ์ตามคติ ความเชื่อท่ีว่าพระมหากษัตริย์คือองค์อวตารของพระ นารายณ์จึงน�ำครุฑมาใช้เป็นสัญลักษณ์ของชนช้ัน กษัตริย์ และน�ำรูปครุฑมาประดับไว้ตามยอดปราสาท ราชมนเฑียร หน้าบันของโบสถ์วิหาร หรือท�ำเป็นฐาน โบสถ์ รวมถงึ ใชเ้ ปน็ เคร่ืองหมายราชการ การท่ชี าวไทย ใช้รูปครุฑตกแต่งวัดและพระราชวังอาจจะเป็นต้นแบบ ให้มุสลิมน�ำรูปครุฑพ่าห์มาประดับมัสยิดเพื่อแสดงว่า อาคารหลงั นี้มีสถานะเหนือกว่าอาคารทว่ั ไป

รปู ครฑุ พา่ หท์ ีห่ น้าจวั่ ฝง่ั ทศิ ตะวันออกของมสั ยดิ ยามาอาตสิ ซอลาตินเอาวะลู จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

192

บทที่ 4 ศิลปะอิสลามในประเทศไทย

กรอบรูปและ การตกแต่งอาคารด้วยกรอบรูปและจานกระเบ้ือง จานกระเบอื้ ง น่าจะปรากฏในมัสยิดในกรุงเทพฯ ในสมัยก่อนหลาย แห่ง แต่ปัจจุบันเหลือให้เห็นเพียงแห่งเดียว คือที่มัสยิด กรอบรูปเขียนอกั ษรอาหรับ บางหลวง เหนือหน้าต่างภายในอาคารมัสยิดบางหลวงมี ทเี่ หนือช่องหนา้ ต่างของ กรอบรูปที่ลายกรอบเป็นลายดอกพุดตานผสมกับลายเครือ มัสยดิ บางหลวง เถาใบเทศ ในกรอบมขี อ้ ความภาษาอาหรบั สว่ นใหญค่ ดั มา กรุงเทพฯ จากคัมภีรอ์ ัลกุรอาน ข้อความเหลา่ นีบ้ างช้ินเปน็ งานโมเสก ที่ท�ำจากกระจกสี บางช้นิ เป็นงานเขยี นสีใต้กระจก ระหวา่ ง

ช่องหน้าต่างของมัสยิดยังตกแต่ง ด้วยจานกระเบ้ืองท่ีฝังเข้าไปใน ผนัง บนจานปรากฏข้อความภาษา อาหรับที่แปลเป็นภาษาไทยได้ว่า “อัลลอฮ์คือผู้ทรงเอกะ จงอย่า ต้ังภาคีต่อพระองค์ มุฮัมมัดคือ ศาสนทตู ของอลั ลอฮ์ แท้จรงิ เขา ได้รับความคุ้มครองจากอัลลอฮ์” ล้อมรอบด้วยนามของเคาะลิฟะฮ์ผู้ เท่ียงธรรมส่ีท่านคืออะบูบักร, อุมัร, อษุ มาน และอะลี จานกระเบื้องของ มัสยิดบางหลวงมีลักษณะเดียวกับ งานเซรามกิ ชุด “Copeland Spode” ของอังกฤษท่ีผลิตให้ลูกค้ามุสลิม ในอาหรับและอาเจะห์ในช่วงต้น พุทธศตวรรษที่ 24 สันนิษฐานว่า ผ่านเข้ามาตามเส้นทางการค้าทาง ทะเล เพราะพบจานแบบเดียวกันนี้ ทจี่ งั หวัดสงขลาและปัตตานี

193

บทท่ี 4 การประดับอาคารด้วยกรอบรูปและจาน ศิลปะอิสลามในประเทศไทย กระเบ้ืองท่ีพบในมัสยิดเก่าแก่ในกรุงเทพฯ น่าจะน�ำ แบบอย่างมาจากการตกแต่งศาสนสถานด้วยกรอบ จานกระเบ้ืองเขยี นอกั ษรอาหรับ กระจกและเครอื่ งถว้ ยซงึ่ เปน็ เทคนคิ ทแ่ี พรห่ ลายในสมยั ทป่ี ระดับผนังของมสั ยิดบาง พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 เป็น หลวง เทียบกบั เคร่อื งถว้ ยท่ี กระจกชุดเรียงกันสามช้ินแขวนเรียงเหนือช่องหน้าต่าง ตกแตง่ พระปรางคว์ ัดอรุณ พระอโุ บสถ ตวั กรอบเปน็ ลายกระจงั ใบเทศหรอื ลายดอก ราชวราราม พดุ ตาน ภาพในกรอบมกั เปน็ ภาพสหี รอื รปู เครอื่ งตง้ั สว่ น กรงุ เทพฯ กระเบ้ืองถ้วยก็เป็นวิธีการตกแต่งปรางค์และเจดีย์แบบ หนึ่ง โดยน�ำกระเบื้อง เคร่ืองถ้วยที่มีสีสันและลวดลาย ตา่ งๆ มาประดับหน้าบนั พระอโุ บสถ ปรางค์ และเจดยี ์ ภายหลงั สถาปตั ยกรรมแบบอาหรบั เปน็ ทนี่ ยิ ม ในหมู่ชาวไทยมุสลิม การประดับมัสยิดตามแบบแผน ของศิลปะไทยจึงลดน้อยลงจนปัจจุบันและหมดความ นิยมไปในที่สุด ขณะที่ลวดลายแบบศิลปะมลายูยังได้ รับการสืบสานต่อไปในการประดับตกแต่งมัสยิดแบบ สถาปัตยกรรมมลายูร่วมสมัยในสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้

จานชุด Copeland Spodish

194

(2) บทที่ 4 ศลิ ปะอิสลามในประเทศไทย ลวดลายและการ ตกแต่งแบบ ชาวจีนเข้ามาท�ำงานและต้ังถิ่นฐานใน ศลิ ปะจนี ประเทศไทยมาช้านานแล้ว แต่การอพยพเข้ามาของ แรงงานจีนเป็นจ�ำนวนมากในประเทศไทย เกิดขึ้น ระหวา่ ง พ.ศ.2423-2432 ชนกลมุ่ นมี้ บี ทบาทในการสรา้ ง มสั ยดิ หลายแหง่ ในประเทศไทย และไดฝ้ ากรอ่ งรอยทาง ศิลปกรรมของตนไว้ในลวดลายท่ีประดบั ตามส่วนตา่ งๆ ของอาคาร การตกแตง่ แบบศลิ ปะจนี พบมากในมสั ยดิ ที่ สรา้ งขนึ้ ในพฒั นาการชว่ งที่ 2-3 (กอ่ นปลายพทุ ธศตวรรษ ท่ี 23-กลางพุทธศตวรรษท่ี 24) ลวดลายที่พบได้แก่ ลายสวัสดิกะ, ลายดอกบัว, ลายรูปแจกันดอกไม้ และ ลายอายุวฒั นะ

(2.1) ลายสวัสดิกะพบตกแต่งอยู่ตามเหนือช่อง หน้าต่างและประตูทางเข้าสู่โถงละหมาดของมัสยิดไม้ ลายสวัสดกิ ะ เก่าแก่ในภาคใต้ เป็นลายไม้แกะสลักที่ถูกจัดวางเป็น ลวดลายท่ีต่อเนื่อง ดูไม่มีท่ีส้ินสุด ยังไม่ทราบแน่ชัดว่า ลายสวัสดิกะภายในมัสยิดเหล่าน้ีมีความหมายอย่างไร แตใ่ นวฒั นธรรมศาสนาพทุ ธนกิ ายมหายานทแี่ พรห่ ลาย ในประเทศจนี นน้ั สวัสดกิ ะเป็นสัญลกั ษณข์ องความเปน็ นิรนั ดร์

ลายสวัสดกิ ะเหนอื ช่องประตู ของมัสยิดอัตตะอาวุน ลายสวัสดกิ ะบนประตู ทางเขา้ โถงละหมาดของ มัสยดิ ตะโละมาเนาะ นราธิวาส

บทที่ 4 พบที่ด้านข้างของมิมบัรของมัสยิดมหานาค ศิลปะอสิ ลามในประเทศไทย กรงุ เทพฯ เปน็ รูปแจกันผอมสูงต้ังอยูบ่ นฐานสองขา ใน แจกันมีดอกไม้ปักอยู่ แจกันสองรูปสุดท้ายตรงส่วนที่ (2.2) ปอ่ งตรงกลางปรากฏลายอายวุ ฒั นะ รปู แจกนั บนมมิ บรั ของมัสยิดมหานาคมีความคล้ายคลึงกับลายเครื่องต้ัง ลายรูปแจกนั ซึ่งเป็นจิตรกรรมไทยประเภทหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลจาก ดอกไม้ จีน เป็นภาพส่ิงของที่ตั้งบนโต๊ะส�ำหรับการบูชา เช่น แจกัน เชิงเทียน กระถางธูป พานดอกไม้ และส่ิงของ ท่ีส่ือถึงความเป็นสิริมงคล ลายเคร่ืองตั้งนิยมใช้เขียน ประดบั ฝาผนงั หรอื บานหนา้ ตา่ งในวดั หรอื พระราชวงั ใน สมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 คาดว่าเพราะภาพเคร่ืองตั้งเป็นท่ีนิยมใช้ตกแต่งวัดวา อารามในสมัยนั้น ช่างจึงน�ำลวดลายลักษณะเดียวกัน มาประดบั มสั ยิด

ภาพเครอื่ งต้ังภายในวัดภคินีนาถวรวหิ าร กรุงเทพฯ

รูปแจกันดอกไม้ ดา้ นขา้ งมมิ บรั ของ มัสยิดมหานาค กรุงเทพฯ

196

(2.3) บทที่ 4 ศลิ ปะอสิ ลามในประเทศไทย ลายดอกบวั พบเป็นลายประดับบนพนักพิงของมิมบัร ของมัสยิดมหานาค ดอกบัวเป็นสัญลักษณ์ของ พระพทุ ธองคแ์ ละเปน็ หนงึ่ ในลายมงคลแปดประการใน ความเชื่อของชาวจีน บัวท่ีอยู่เหนือน�้ำ (บัวพ้นน้�ำ) ยัง เปรยี บเสมอื นปญั ญาของผทู้ ม่ี สี มั มาทฎิ ฐิ สามารถบรรลุ ธรรมไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ดว้ ยเหตทุ ดี่ อกบวั มคี วามเกย่ี วขอ้ ง กับศาสนา มุสลิมในชุมชนนี้จึงอาจน�ำรูปดอกบัวมาใช้ เปน็ ลายมงคลในมสั ยดิ โดยไมเ่ หน็ วา่ ขดั กบั หลกั การของ อสิ ลามแต่อยา่ งใด

ลายดอกบัวบนพนักพิงของ มิมบัรของมสั ยิดมหานาค กรงุ เทพฯ

197

บทท่ี 4 ลวดลายที่เป็นสัญลักษณ์ของความอายุม่ัน ศิลปะอิสลามในประเทศไทย ขวญั ยืนนี้พบเป็นสว่ นประกอบตามชอ่ งประตู หน้าต่าง และราวระเบียงของอาคารละหมาดส�ำหรับสตรีของ (2.4) มัสยดิ อรั เราะฮ์มะฮ์ (ท่าตอน) จงั หวัดเชยี งใหม่ และรปู แจกันท่ีประดับด้านข้างของมินบัรของมัสยิดมหานาค ลายอายวุ ฒั นะ กรุงเทพฯ ลายอายุวัฒนะคือตัวอักษร “ซิ่ว” ในส�ำเนียง ลายอายุวัฒนะตามส่วนตา่ งๆ แต้จิ๋ว หรือ “โซ่ว” ในส�ำเนียงจีนกลาง เป็นสัญลักษณ์ ของอาคารละหมาดส�ำหรับสตรี ของเทพเจ้าแห่งความอายยุ ืน ลายอายวุ ฒั นะทีพ่ บบน ของมสั ยดิ อัรเราะฮม์ ะฮ์ มมิ บรั ของมสั ยดิ มหานาคคงมเี หตผุ ลเดยี วกบั ลายมงคล (ทา่ ตอน) อนื่ ๆ คอื เปน็ ลายทมี่ คี วามหมายดจี งึ ถกู นำ� มาใชต้ กแตง่ เชียงใหม่ มัสยิด แต่ลายอายุวัฒนะที่ตกแต่งอาคารละหมาด ส�ำหรับสตรีของมัสยิดอัรเราะฮ์มะฮ์ (ท่าตอน) จังหวัด เชียงใหม่ นั้นมีจุดประสงค์เพ่ือแสดงเอกลักษณ์ทาง ชาตพิ นั ธข์ุ องชมุ ชนมากกวา่ จะใชเ้ พอ่ื สอื่ ถงึ ความอายยุ นื

ลายอายุวฒั นะทีด่ ้านข้างของ ของมิมบัรของมัสยดิ มหานาค

กรงุ เทพฯ

198

(3) บทที่ 4 ศลิ ปะอิสลามในประเทศไทย ลวดลายและการ ตกแต่งแบบศลิ ปะ ลวดลายและการตกแตง่ แบบศิลปะตะวันตก ตะวนั ตก พบในมัสยิดในภาคใต้ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ท่ี สรา้ งขนึ้ ภายใตอ้ ทิ ธพิ ลของสถาปตั ยกรรมตะวนั ตกและ สถาปตั ยกรรมแบบอาณานคิ มในประเทศมาเลเซยี และ สงิ คโปร์ มสั ยดิ เหลา่ นป้ี ระดบั ดว้ ยราวระเบยี ง (parapet), ชอ่ งโคง้ หลอก (blind arch), เสาองิ (pilaster) ทมี่ หี วั เสา เปน็ แบบไอออนกิ (Ionic) หรอื คอมโพสติ (Composite) ภายในและภายนอกอาคาร รวมถงึ สว่ นของเมยี๊ ะหรอ็ บ และมิมบัรตกที่แต่งด้วยปูนปั้นรูปใบอะคันธัส, ใบปาล์ม, ลายพรรณพฤกษา, รูปมาลัยดอกไม้ หรือรปู ผลไม้ในสวรรค์ของอิสลามอย่างองุ่นและทับทิมท่ีดู สมจริงแบบศิลปะตะวันตก ตามมงกุฎยอดอาคาร หวั เสาของระเบยี งและหวั เสาของบนั ไดยงั ปรากฏแจกนั หรือกระถางปนู แบบสถาปตั ยกรรมในยโุ รปอีกดว้ ย

ลายปนู ป้ันแบบศลิ ปะตะวันตก ลายปูนปัน้ แบบศลิ ปะตะวันตก ตามเสาองิ ของอาคารมสั ยดิ บนอาคารมสั ยิดบางออ้ ดาร้ลุ อาบีดนี (ตรอกจันทน์) กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ

199

บทที่ 4 ศลิ ปะอสิ ลามในประเทศไทย

นอกจากนี้ลวดลายที่แพร่หลายเป็นอย่างมากใน สมยั รชั กาลท่ี 5 ถงึ รชั กาลที่ 6 อยา่ งลายไมฉ้ ลแุ บบขนมปงั ขงิ ก็ได้รับความนิยมน�ำมาตกแต่งศาสนสถานของมุสลิมเช่น เดียวกัน มักท�ำเป็นหน้าจั่ว, ซุ้มประตู, เชิงชาย, คันทวย, ชอ่ งลม, ราวระเบียงและเม๊ยี ะหรอ็ บ

ลายปนู ปนั้ แบบศิลปะตะวันตก มสั ยดิ ในประเทศไทยทม่ี ลี ายไมฉ้ ลแุ บบขนมปงั ขงิ ของอาคารมสั ยิดดารลุ้ อาบดี นี อันควรชมได้แก่มัสยิดเซฟี ศาสนสถานของแขกเจ้าเซ็นใน (ตรอกจันทน)์ เขตธนบรุ ี กรงุ เทพฯ และมัสยิดดาร้ลุ อาบดี นี กรงุ เทพฯ

200

หลักปฏิบัติ 5 ประการมีอะไรบ้าง

หลักการปฏิบัติ5 ประการ ❖ การปฏิญาณตน ❖ การละหมาด ❖ การถือศีลอด ❖ การบริจาคทาน ❖ การประกอบพิธีฮัจญ์

การละหมาด 5 เวลา มีอะไรบ้าง

ชนิดของการละหมาด.

ย่ำรุ่ง (ศุบฮิ) ประมาณ ตี 5 - 6 โมงเช้า.

บ่าย (ซุหฺริ) ประมาณ เที่ยงครึ่ง - บ่ายโมงกว่าๆ.

เย็น (อัศริ) ประมาณ บ่าย 3 ถึง 5 โมงเย็น.

พลบค่ำ (มัฆริบ) ประมาณ 6 โมงครึ่ง ถึง ทุ่มกว่า ๆ.

กลางคืน (อิชาอ์) ก่อนนอน ประมาณ 1 ทุ่มเป็นต้นไป.

ก่อนกินอาหารอิสลามพูดว่าอะไร

บัสมะละฮ์ (อาหรับ: بَسْمَلَة) รู้จักในตอนเริ่มกุรอานว่า บิสมิลลาฮ์ (อาหรับ: بِسْمِ ٱللَّٰهِ, "ด้วยพระนามของอัลลอฮ์") เป็นประโยคอิสลามของคำว่า บิสมิลลาฮิรเราะห์มานิรเราะฮีม (بِسْمِ ٱللَّٰهِ ٱلرَّحْمَٰنِ ٱلرَّحِيمِ), "ด้วยพระนามของอัลลอฮ์ ผู้ทรงกรุณาปราณี ผู้ทรงเมตตาเสมอ"

อัสลามูอาลัยกุมต้องตอบว่าอะไร

วะอะลัยกุมุสซะลาม (وَعَلَيْكُمُ ٱلسَّلَامُ) เป็นคำทักทายภาษาอาหรับที่มุสลิมทั่วโลกมักใช้ มีความหมายว่า "ขอความสันติสุขจงมีแด่ท่านเช่นกัน" มักเป็นคำตอบรับของคำทักทายอัสซะลามุอะลัยกุม (ٱلسَّلَامُ عَلَيْكُمْ) คำทักทายเป็นการสื่อสารโดยเจตนาเพื่อรับรู้ถึงการมีอยู่ของบุคคลในบริเวณนั้นหรือเพื่อให้ใครบางคนรู้สึกยินดี มักใช้ ...