กระบวนการเก ดพฤต กรรม ส รพล พยอมแย ม 2541 หน า7-16

รายงานผลการวจิ ัย กระบวนการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น

ของนักเรยี นโรงเรยี นเหลา่ ใหญน่ าข่าวิทยาคม โดยใช้กิจกรรมพัฒนาการอา่ นคลอ่ งเขียนคลอ่ ง

4 Group Development (4D) ปกี ารศึกษา 2561

นางลัดดา ผาพันธ์ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา วิทยฐานะผูอ้ านวยการชานาญการพเิ ศษ

โรงเรียนเหล่าใหญน่ าขา่ วิทยาคม จังหวัดขอนแก่น สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 25

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ.2561

บทสรปุ ผู้บริหาร

รายงานผลการวิจัยกระบวนการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรยี นโรงเรยี นเหล่าใหญ่นาขา่ วทิ ยาคม โดยใช้กิจกรรมพัฒนาการอ่านคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) ปีการศึกษา 2561 เป็นงานวิจัยท่ีมีแนวทางการวิจัยอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้ กระบวนการบริหารงานวชิ าการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน บรรลุตามวัตถุประสงค์ ในการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนของนักเรียน ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารงาน วิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ภายใต้แนวคิดการบริหารวิชาการแบบ LNW’s Style ที่ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สามารถนาความรู้ประสบการณ์ท่ีได้จากการร่วมกิจกรรมไปใช้ได้ สนับสนุนให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับหลักสูตร ผู้เรียน และบริบทของชุมชน มีกระบวนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เกิดความรู้ ความชานาญ ในการปฏิบัติหน้าที่ สร้างขวัญเสริมกาลังใจให้กับครูและบุคลากรของโรงเรียน มีการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพ ของผู้เรียนให้กับผู้ปกครองและผทู้ เี่ ก่ียวข้องทราบ เพ่อื นาขอ้ เสนอแนะ ความคิดเห็นมาบูรณาการพัฒนา กิจกรรมพฒั นาการอ่านคล่องเขยี นคล่อง 4 Group Development (4D) ให้เป็นระบบมากข้นึ

ผลจากการวิจัยกระบวนการบริหารงานวิชาการเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม โดยใช้กิจกรรมพัฒนาการอ่านคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) มีประเด็นข้อค้นพบของการประเมินท่ีสาคญั ดังนี้

1. ผลที่เกิดข้ึนกับผู้เรียนหลังการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาการอ่านคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) ตามกระบวนการจัดกิจกรรม โดยจัดกลุ่มผู้เรียนตามระดับความสามารถด้าน การอ่านและเขียน ด้วยวิธีคัดกรองความสามารถก่อนเข้าสู่กระบวนการจัดกิจกรรม ด้วยวิธีการ ทหี่ ลากหลาย สง่ ผลใหน้ ักเรยี นมที ักษะการอ่านและเขยี นสูงขึ้นโดยมที กั ษะการอ่านสูงข้ึน คิดเป็นร้อยละ 39.49 ทักษะการเขียนสูงขึ้น คิดเป็นร้อยละ 46.97 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561 สูงกว่าภาคเรียนท่ี 1 และมีผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยรวมในปีการศึกษา 2561 สูงกว่า ปีการศึกษา 2560 ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ปีการศึกษา 2561 มีค่าเฉล่ียรวมสูงกว่า ปีการศึกษา 2560 จากการเป็นตัวแทนเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ และอ่ืน ๆ พบว่านักเรียนมีความ มั่นใจในการสื่อสาร สามารถใช้ภาษาเพื่อการส่ือสารได้อย่างม่ันใจและเหมาะสมมากย่ิงขึ้น สรุปได้ว่า กระบวนการบริหารงานวชิ าการ เพอ่ื พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่า วิทยาคม โดยใช้กิจกรรมพัฒนาการอ่านคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) ปีการศึกษา 2561 สามารถยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน พัฒนาทักษะการอ่านและเขียนตลอดจน พฒั นาทกั ษะการใชภ้ าษาเพอ่ื การสอื่ สารได้ดยี ิ่งข้ึน

2. ผลจากการนิเทศติดตามการประเมินกระบวนการจัดกิจกรรมพัฒนาการอ่านคล่อง เขียนคล่อง 4 Group Development (4D) พบว่าการออกแบบแผนการจัดกิจกรรม โดยทีมครูผู้จัด กิจกรรมของแต่ละกลุ่มที่รับผิดชอบ ออกแบบกิจกรรมได้ครอบคลุมเน้ือหาในการพัฒนาด้านการอ่าน และเขียน มีระดับความยากง่ายเหมาะสม เครื่องมือที่ใช้ในแผนการจัดกิจกรรมมีความชัดเจน เหมาะสมกับผู้เรียนแบบเป็นทีม สามารถจัดกิจกรรมตามแผนที่ได้กาหนดไว้ โดยมีการจัดกิจกรรม การเรียนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูใช้นวัตกรรม ส่ือการสอน ได้อย่างเหมาะสม มีการจัดกิจกรรมท่ี สร้างสรรค์ เกิดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียนในระหว่างการจัดกิจกรรม ตลอดจน การสร้าง

บรรยากาศในช้ันเรียนเอื้อต่อการจัดกิจกรรม การสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีความชัดเจน เห็นถึงการพัฒนาการด้านการอ่านและเขียนของนักเรียนในกลุ่มท่ีรับผิดชอบ และการประเมินผล การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีความชัดเจน สามารถนาไปปรับปรุงการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ในอนาคตได้

การวิจัยเร่ือง กระบวนการบริหารงานวิชาการเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม โดยใช้กิจกรรมพัฒนา ช่อื ผรู้ ายงาน การอ่านคลอ่ งเขียนคล่อง 4 Group Development(4D) ปีการศกึ ษา 2561 ชอ่ื หน่วยงาน ลัดดา ผาพันธ์ โรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวทิ ยาคม ปที พี่ มิ พ์ 2561

บทคดั ยอ่

กระบวนการบริหารงานวิชาการเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียน เหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม โดยใช้กิจกรรมพัฒนาการอ่านคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพ่ือพัฒนากระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม 2) เพ่ือประเมินกระบวนการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม กลุ่มตัวอย่าง คือ คณะครู จานวน 12 คน และนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1–6 ปีการศกึ ษา 2561 จานวน 84 คน ไดม้ าจากการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive sampling) เคร่ืองมือ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบคัดกรองการอ่านและการเขียนคาภาษาไทย ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 และแบบบันทึกการนิเทศติดตามการจัดการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาการ อ่านคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) หาค่าร้อยละของนักเรียนเป็นรายกลุ่ม และวิเคราะห์ผลการประเมิน ด้วยการนิเทศติดตามของกลุ่มตัวอย่างโดยการหาค่าเฉล่ียรายข้อและค่าเฉล่ียรวม เปรียบเทียบผล การประเมนิ ด้วยการนิเทศตดิ ตามระหว่างภาคเรียนท่ี 1/2561 และ 2/2561

ผลสรปุ พบว่า 1. ผลที่เกิดกับผู้เรียนหลังจากได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยกิจกรรม พัฒนาการอ่านคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) ในภาคเรียน 1 และ 2 ปีการศึกษา 2561 พบว่า นักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1–6 จานวน 84 คน มีจานวนนักเรียนที่มีผลการพัฒนาด้านการอ่านและเขียนดีขึ้น โดยมีทักษะการอ่านสูงขึ้น คิดเป็น รอ้ ยละ 39.49 และมีทกั ษะการเขยี นสงู ขึ้น คิดเปน็ ร้อยละ 46.97 2. ผลจากการประเมินด้วยการนิเทศติดตามกระบวนการจัดกิจกรรมพัฒนาการอ่านคล่อง เขียนคล่อง 4 Group Development (4D) พบว่าการออกแบบแผนการจัดกิจกรรม ออกแบบ กิจกรรมได้ครอบคลุมเนื้อหาในการพัฒนาด้านการอ่านและเขียน มีระดับความยากง่ายเหมาะสม เคร่ืองมือท่ีใช้ในแผนการจัดกิจกรรมมีความชัดเจน สามารถจัดกิจกรรมตามแผนท่ีได้กาหนดไว้ โดยมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มคี วามชดั เจน สามารถนาไปปรบั ปรงุ การจดั ทาแผนการจดั การเรียนรใู้ นอนาคตได้

Title: An Academic Administration Process to Develop Academic Achievement for Students of Laoyainakha Witthayakhom School by Using Proficient Reading and Writing Development Activity through 4 Group Development (4D) of Academic Year 2018

Author: Mrs. Ladda Phapan School: Laoyainakha Wittayakom School

Abstract An Academic Administration Process to Develop Academic Achievement for

Students of Laoyainakha Witthayakhom School by Using Proficient Reading Development Activity through 4 Group Development (4D) of Academic Year 2018 aimed to the following objectives 1) to develop Academic Achievement of Students of Laoyainakha Witthayakhom School 2) to assess the process of enhancing students’ learning achievement of Laoyainakha Witthayakhom School. The samples consisted of 12 teachers and 84 students in mathayomsuksa 1-6 of Laoyainakha Wittayakom School by purposive sampling. The instruments used for this study consisted of screening test for reading and writing Thai words of mathayomsuksa 1-6 students and a supervision record to monitor learning management based on Using Proficient Reading and writing Development activities through 4 Group Development. The data were analyzed by descriptive statistics, finding the percentage of students by grouping and analyzing the results and supervision of the sample group by itemized average and total average and comparing the supervisory result between the first and the second academic year of 2018. The findings found that:

1. 84 students in mathayomsuksa 1-6 of Laoyainakhawitthayakhom School have improved reading and writing in Thai words with higher reading skill of 39.49 percent and higher writing skill of 46.97.

2. The result of supervising learning management of fluent reading and writing activity development through 4 Group Development(4D) was found that the design of the learning management plan was appropriate. The contents in developing reading and writing had an appropriate difficulty. The instruments used in the learning management plan were clearly written and implemented which provided activities based on learners centered or active learning. The evaluation of the learning activities was clearly stated and could be used to improve the preparation of learning management plans in the future.

กติ ตกิ รรมประกาศ

รายงานผลการวิจัยกระบวนการบริหารงานวิชาการเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 25 ปีการศึกษา 2561 โดยใช้กิจกรรมพัฒนาการอ่านคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) สาเร็จได้ด้วยดี ด้วยความอนุเคราะห์จากพระครูสุธีจริยวัฒน์,ผศ.ดร.รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน อาจารย์เอกชาตรี สุขเสน ผู้ช่วยอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน พระมหาศุภชัย สุภกิจโจ,ผศ.ดร. มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ดร.สวัสด์ิ แกว้ ชนะ ผู้อานวยการเช่ียวชาญโรงเรียนบ้านไผ่ จังหวัด ขอนแก่น และผศ.ดร.วิกานดา ผาพันธ์ อาจารย์ภาควิชาสถิติ ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ ซงึ่ ไดใ้ ห้คาแนะนา ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องต่างๆของผลงาน ตลอดจนให้คาปรึกษา ข้อคิดเห็นท่ีเป็นประโยชน์ทั้งด้านสถิติการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย รายละเอียดของการรายงานผลการวิจัย ต้ังแต่เริ่มดาเนินการจนส้ินสุดการวิจัย ส่งผลให้ รายงานผลการวิจัยกระบวนการบริหารงานวิชาการเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม โดยใช้กิจกรรมพัฒนาการอ่านคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) ปีการศึกษา 2561 สาเร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ไว้ ณ ท่นี ี้

ขอขอบพระคุณ ดร.อดิศักดิ์ มุ่งชู ผู้อานวยการเช่ียวชาญ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มัธยมศึกษาเขต 25 ที่ให้ความอนุเคราะห์ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะในการดาเนินการวิจัย ตลอดจน ขอขอบคุณคณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่า วิทยาคม และผู้เก่ียวข้องทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยและ ร่วมกันสะทอ้ นผลจนงานวิจยั สาเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดี

ลดั ดา ผาพนั ธ์

สารบญั ฉ เรื่อง หนา้ บทสรปุ สำหรบั ผู้บรหิ ำร บทคัดย่อ ก-ข Abstracts ค กติ ติกรรมประกำศ ง สำรบัญ จ สำรบัญตำรำง ฉ-ช สำรบญั แผนภูมิ ซ 1 บทนา ฌ

ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำ 1 คำถำมกำรวิจยั 2 สมมตุ ิฐำนกำรวิจัย 3 วตั ถุประสงค์กำรวิจยั 3 ขอบเขตกำรวิจัย 3 นยิ ำมศัพทเ์ ฉพำะ 3 กรอบแนวคดิ กำรวจิ ัย 4 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 5 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง พระรำชบัญญตั ิกำรศึกษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี2) 6 พ.ศ.2545 แผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ. 2560-2579 7 แนวคดิ กำรบรหิ ำรงำนวิชำกำร 8 บทบำทของผบู้ ริหำรและภำวะผู้นำ 14 แนวทำงกำรพฒั นำกำรจัดกำรศึกษำ 22 แนวคิดกำรนเิ ทศกำรศกึ ษำ 28 ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน 30 บรบิ ทของโรงเรียนเหล่ำใหญ่นำขำ่ วทิ ยำคม 34 แนวคดิ กำรบรหิ ำรวิชำกำรโดยใช้ LNW’s style 35 กจิ กรรมกำรพฒั นำกำรอำ่ นคลอ่ งเขียนคลอ่ ง 4 Group Development (4D) 37 งำนวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง 37

สารบญั (ต่อ) ช เร่อื ง หนา้ 3 วิธีดาเนินการวิจัย กำรกำหนดประชำกรและกำรเลอื กกลุ่มตัวอยำ่ ง 42 เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นกำรวิจัย 42 กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู 51 สถิติท่ีใชใ้ นกำรวิเครำะห์ข้อมลู 52

4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 53 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมลู 60 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 66 สรปุ อภปิ รำยผล และขอ้ เสนอแนะ 66 สรุปผลกำรวจิ ยั 67 อภิปรำยผล 69 ข้อเสนอแนะ 75 บรรณานุกรม 77 ภาคผนวก 79

ภาคผนวก ก รำยนำมผูเ้ ชีย่ วชำญ 84 ภาคผนวก ข ค่ำควำมสอดคลอ้ ง (IOC) ของแบบนเิ ทศติดตำม ภาคผนวก ค แบบบันทึกกำรนเิ ทศติดตำมกำรจัดกำรเรยี นรู้ 95 แบบทดสอบคดั กรองกำรอำ่ นและกำรเขยี นคำภำษำไทย ภาคผนวก ง โครงกำรพัฒนำกำรอ่ำนคล่องเขียนคล่อง 4 Group 102 Development (4D) 106 ภาคผนวก จ คำส่ังมอบหมำยหน้ำทก่ี ำรดำเนินโครงกำรพัฒนำผลสมั ฤทธ์ิ 131 ทำงกำรเรยี นของนักเรียนด้วยกิจกรรมพฒั นำกำรอ่ำนคล่องเขียนคลอ่ ง 4 Group 139 Development (4D) ภาคผนวก ฉ หนังสือขอควำมอนุเครำะหผ์ ู้เชยี่ วชำญ ภาคผนวก ช กำรเผยแพร่ผลงำน ภาคผนวก ซ ภำพประกอบกำรดำเนนิ กำรวิจยั ประวัตผิ ู้รายงานการวจิ ยั

สารบญั ตาราง ซ เร่อื ง หนา้ ตารางท่ี 2.1 จำนวนนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษำปที ่ี 1-6 โรงเรยี นเหล่ำใหญน่ ำข่ำ 35 46 วทิ ยำคม สำนกั งำนเขตพืน้ ที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 25 53 ตารางที่ 3.1 ปฏทิ ินกำรจดั กิจกรรมพัฒนำกำรอ่ำนและเขียน ปกี ำรศึกษำ 2561 54 ตารางท่ี 4.1 สรปุ ผลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถด้ำนกำรอำ่ น ของนกั เรยี น 54 ระดับชั้นมธั ยมศึกษำปีท่ี 1–6 โรงเรียนเหลำ่ ใหญน่ ำขำ่ วทิ ยำคม ภำคเรียนท่ี 1 55 ปีกำรศึกษำ 2561 55 ตารางท่ี 4.2 สรปุ ผลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถด้ำนกำรอำ่ น ของนกั เรยี น 56 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษำปีท่ี 1–6 โรงเรยี นเหล่ำใหญน่ ำขำ่ วทิ ยำคม ภำคเรียนท่ี 2 57 ปกี ำรศึกษำ 2561 58 ตารางท่ี 4.3 เปรียบเทยี บผลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถด้ำนกำรอำ่ น ของนักเรยี น ระดับชั้นมธั ยมศึกษำปีท่ี 1–6 โรงเรยี นเหลำ่ ใหญน่ ำขำ่ วทิ ยำคม ภำคเรยี นที่ 1–2 ปีกำรศึกษำ 2561 ตารางท่ี 4.4 สรปุ ผลกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรเขียน ของนักเรยี น ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1–6 โรงเรยี นเหลำ่ ใหญ่นำขำ่ วิทยำคม ภำคเรียนท่ี 1 ปีกำรศกึ ษำ 2561 ตารางที่ 4.5 สรุปผลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถดำ้ นกำรเขียน ของนักเรียน ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษำปีที่ 1–6 โรงเรยี นเหล่ำใหญ่นำขำ่ วิทยำคม ภำคเรียนท่ี 2 ปกี ำรศึกษำ 2561 ตารางที่ 4.6 เปรยี บเทยี บผลกำรประเมินควำมสำมำรถดำ้ นกำรเขียน ของนักเรียน ระดับชัน้ มัธยมศึกษำปีท่ี 1–6 โรงเรียนเหล่ำใหญน่ ำข่ำวทิ ยำคม ภำคเรยี นท่ี 1–2 ปีกำรศกึ ษำ 2561 ตารางที่ 4.7 ผลกำรนิเทศติดตำมกำรจัดกำรเรียนรู้กจิ กรรมพัฒนำกำรอ่ำนคลอ่ ง เขียนคลอ่ ง 4 Group Development (4D) ภำคเรียนที่ 1/2561 ตารางที่ 4.8 ผลกำรนเิ ทศติดตำมกำรจดั กำรเรยี นรูก้ ิจกรรมพัฒนำกำรอ่ำนคล่อง เขียนคล่อง 4 Group Development (4D) ภำคเรยี นที่ 2/2561

สารบญั แผนภูมิ ฌ เรื่อง หน้า แผนภูมทิ ี่ 1.1 กรอบแนวคิดกำรวจิ ยั 5 แผนภูมิที่ 2.1 วงจรกำรขับเคลือ่ นแนวคิด LNW’s style 36 แผนภมู ทิ ี่ 2.2 รปู แบบกำรทำงำนของ LNW’s style กำรบรหิ ำรจดั กำรสถำนศึกษำ 36

เพ่ือพัฒนำคุณภำพผู้เรียน

1

บทท่ี 1 บทนำ

ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปญั หำ

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 โดยสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้วางกรอบ เป้าหมาย และทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศในการพัฒนา ศกั ยภาพ และขดี ความสามารถของคนไทยทกุ ช่วงวัยใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ สามารถแสวงหาความรู้และ เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยการขับเคลื่อนตามวิสัยทัศน์ “คนไทยทุกคนได้รับ การศกึ ษา และการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ อย่างมีคณุ ภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21” นายแพทย์ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ ได้กล่าวในท่ีประชุมเชิงวิชาการของคุรุสภาประจาปี 2559 ว่า “ในการเตรียมการศึกษาจะต้องมีการวางแผนอย่างเป็นข้ันตอน จัดหลักสูตรให้ครอบคลุม คนทุกกลุ่ม พร้อมท้ังยังต้องปรับปรุงตาราเรียนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง เปล่ียนระบบ การประเมินเพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร โดยเฉพาะการคิดเป็น วิเคราะห์เป็น ตามทักษะในศตวรรษ ที่ 21 ปรับการอบรมครูให้ตรงตามความต้องการในการนาความรู้ไปใช้ ตลอดจนการให้วิทยฐานะ แก่ครทู ส่ี อนดีหรอื ครทู ส่ี นใจเด็ก เพอื่ ยกย่องชมเชย”

จากจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดีมีปัญญา มีความสขุ มีศักยภาพในการศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพ การศึกษาจึงเป็นเคร่ืองมือ สาคัญของการพัฒนาคนให้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการแก้ปัญหาและดาเนินชีวิตอย่างมี ความสุข การจัดการศึกษาในปัจจุบันมีจุดเน้น คือ การฝึกให้ผู้เรียนคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น การพัฒนา การศึกษาในฐานะนักพัฒนาผู้เรียนซ่ึงเป็นผลผลิตจากสถานศึกษาสู่พลเมืองท่ีมีคุณภาพในกา รพัฒนา ประเทศ จาเป็นต้องผสมผสานยุทธวิธีต่างๆ ในการสร้าง พัฒนา ส่งเสริม และปลูกฝังคุณลักษณะ แห่งความเป็นพลเมืองท่ีดี มีความรู้ความสามารถ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนสามารถ อยู่ร่วมกันกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข การที่สถานศึกษาจะสามารถสร้างผลผลิต คือ ผู้เรียนที่เป็นไป ตามเป้าหมาย ของยุทธศาสตร์ชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น จะต้องมีผู้นาคือ ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา และคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ของสถานศึกษาร่วมมือกันกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ แผนการบริหารสถานศึกษา และการปฏิบัติงานของบุคลากรทุกฝ่าย มีการ พฒั นาบคุ คลากรในสถานศึกษาให้มีการจัดการเรียนการสอน โดยใช้วิธีการสอนท่ีหลากหลายและเน้น ทักษะการคิดและทกั ษะสาคัญของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 เช่น ทักษะการอ่าน การเขียน การคานวณ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการคิดแก้ปัญหา ทักษะการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ทักษะการร่วมมือ การทางานเป็นทีมและภาวะผู้นา เป็นต้น อีกทั้งยังต้องเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มีเมตตากรุณา มีวินัย ให้ความสาคัญในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมแก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นพลเมืองท่ีดีของประเทศและโลก สถานศึกษาจะต้องเน้นการปลูกฝัง คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมบนพืน้ ฐานความเป็นไทยควบค่ไู ปกับความเป็นสากล การพัฒนาผู้เรียนดังกล่าว จะเป็นการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืน สง่ ผลตอ่ การอยู่ร่วมกนั ในประชาคมโลกอย่างสนั ติสขุ

โรงเรียนเหลา่ ใหญน่ าขา่ วทิ ยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมประจาตาบลขนาดเล็ก มีครูและบุคลากร จานวน 12 คน มีนักเรียนจานวน 84 คน ผู้ปกครองท้ังหมดมีอาชีพรับจ้าง เกษตรกรรม โดยไม่มี

2

ระบบชลประทาน มีเพียงแหล่งน้าตามธรรมชาติ ทาให้การเพาะปลูกได้ผลไม่เต็มท่ี ผู้ปกครองขาด สภาพคล่องดา้ นเศรษฐกจิ หรอื ต้องไปรบั จ้างตา่ งท้องที่ นักเรียนต้องอาศัยอยู่เพียงลาพัง หรืออาศัยอยู่ กับญาติ ขาดการดแู ลเอาใจใส่ท่ีดี ขาดการส่งเสรมิ ด้านการเรียนจากทางบ้าน จากรายงานของกลุ่มงาน วัดผล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 พบว่าโรงเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า จานวนผู้ท่ีมีผลการเรียนในระดับดีข้ึนไปมีน้อย ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) มีค่าเฉล่ียต่ากว่า ระดับสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา โดยอยใู่ นกล่มุ สบิ อันดบั สดุ ทา้ ยจากจานวนโรงเรียนทั้งหมด 84 โรง ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 และจากรายงานผลการประเมินของสานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) รอบสาม โรงเรียนไม่ผ่านการประเมิน เนื่องจากตัวบ่งช้ีท่ี 5 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน มีระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุงอย่ำงเร่งด่วน โดยมีข้อเสนอแนะสาคัญเพื่อการพัฒนาคือ 1) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะที่จาเป็น ตามหลักสูตรแกนกลางปีพ.ศ. 2551 ท้ัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน โดยยกระดับ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผูเ้ รียนให้สงู ขนึ้ 2) ผเู้ รยี นควรไดร้ ับการสอนซ่อมเสริมอย่างเข้มข้นและควร ได้รับการช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษ 3) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาทักษะการใช้ส่ือเทคโนโลยีและ ส่งเสรมิ นิสัยรกั การอ่านใหม้ ากข้ึน

จากบริบทและสภาพปัญหาท่ีกล่าวมา ผู้วิจัยในฐานะผู้อานวยการโรงเรียน จึงได้ประชุม ระดมความคิดเห็นหาแนวทางในการแก้ปัญหา เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากผู้มีส่วน เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน อาทิเช่น จากครู นักเรียน ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา ชุมชน วัด และ องค์กร หน่วยงานราชการอื่นท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกรอบในการ ระดมความคิดเห็น ผลจากการคัดกรองนักเรียนตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการเรียนพบว่า นกั เรยี นส่วนใหญ่ มีปญั หาด้านการอ่านและเขยี น ซ่ึงเป็นทักษะพื้นฐานสาคัญและจาเป็นต่อการเรียนรู้ ถ้านักเรียนอ่านไม่คล่องเขียนไม่คล่อง ทาให้ไม่สามารถอ่านตีความ ส่ือความได้ ย่อมเป็นปัญหาและ อุปสรรคต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าไปด้วย ดังน้ันการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม จึงต้องเร่ิมจากการพัฒนาทักษะด้านการอ่านและเขียน ดว้ ยการจัดกจิ กรรมพฒั นาการอ่านคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) โดยแบ่งนักเรียน ออกเป็นกลุ่มตามความสามารถ เพื่อการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพของผู้เรียน มีครูทุกคนช่วยกัน จั ด กิ จ ก ร ร ม เ ป็ น ที ม ใ ช้ ภ า ว ะ ผู้ น า ข อ ง หั ว ห น้ า ที ม เ ป็ น ตั ว ขั บ เ ค ลื่ อ น ภ า ย ใ ต้ ก า ร ก า กั บ / นิ เ ท ศ ของผู้อานวยการโรงเรียน เพ่ือพฒั นาผเู้ รียนให้มคี ุณภาพตามจดุ ม่งุ หมายของหลกั สูตร คำถำมกำรวิจัย

1. กระบวนการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่า วทิ ยาคม ควรเป็นอยา่ งไร

2. ผลการใช้กระบวนการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่ นาข่าวิทยาคม เป็นอย่างไร

3

สมมตุ ฐิ ำนกำรวิจยั 1. กระบวนการจัดกิจกรรม โดยจัดกลุ่มผู้เรียนตามระดับความสามารถด้านการอ่านและ

การเขียน ด้วยวิธีคัดกรองความสามารถก่อนเข้าสู่กระบวนการของกิจกรรม มีการออกแบบกิจกรรม ที่หลากหลาย ส่งผลใหน้ ักเรียนมพี ฒั นาการท่ดี ขี ้ึน

2. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรียนโรงเรยี นเหลา่ ใหญ่นาขา่ วทิ ยาคมสงู ขึ้น วัตถุประสงค์ของกำรวิจยั

1. เพ่ือพัฒนากระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่ นาข่าวทิ ยาคม

2. เพ่ือประเมินกระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่ นาขา่ วิทยาคม ขอบเขตกำรวจิ ยั

1. กลุ่มตวั อยำ่ ง คณะครู จานวน 12 คน และนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม ระดับ

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 – 6 ปกี ารศกึ ษา 2561 จานวน 84 คน 2. ตัวแปร ตวั แปรตน้ กระบวนการพัฒนาทักษะด้านการอ่านและเขียนของนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่า

วิทยาคม ปีการศึกษา 2561 โดยใช้กิจกรรมพัฒนาการอ่านคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D)

ตัวแปรตาม ผล สั มฤทธ์ิด้านการอ่านแล ะเขียนของนักเรียนหลั งการเข้าร่ว ม กิจกรรมพัฒนาการ อ่านคลอ่ งเขยี นคลอ่ ง 4 Group Development (4D) 3. ระยะเวลำดำเนินกำรวิจัย ตลอดปีกำรศึกษำ 2561 นิยำมศพั ทเ์ ฉพำะ 1. การพัฒนาทักษะด้านการอา่ นและการเขยี น การพฒั นาทกั ษะด้านการอ่านและการเขียน เปน็ การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความสามารถ ทางสมองที่ตอบสนองสง่ิ เรา้ ในลกั ษณะต่างๆ ซึ่งพฤตกิ รรมที่แสดงออกและสงั เกตได้ เป็นความสามารถ ในการอา่ นและเขียนคา กลุ่มคา ประโยค เร่อื งราวภาษาไทย ตลอดจนความสามารถในการสร้างสรรค์ ผลงาน ช้นิ งาน ที่แสดงถงึ การพัฒนาด้านการอ่านและเขยี น สื่อสาร ถ่ายทอดได้ 2. กิจกรรมพัฒนาการอา่ นคลอ่ งเขียนคลอ่ ง 4 Group Development (4D) กิจกรรมพัฒนาการอ่านคล่องเขียนคล่อง เป็นกิจกรรมท่ีจัดขึ้นเพ่ือพัฒนาความสามารถ ในการอ่านและเขียน คา กลุ่มคา ประโยค เรื่องราว โดยมีการออกแบบกิจกรรมที่หลากหลาย โดยทมี ครูผู้สอน เพื่อใหน้ กั เรยี นได้รับการพัฒนาการอ่านและเขยี นตามศักยภาพ ความรู้ ความสามารถ ด้านการอ่านและเขียนของผู้เรียน ได้มีการคัดกรองแบ่งกลุ่มนักเรียน โดยใช้แบบประเมินคัดกรอง

4

การอ่าน นาไปสูก่ ารพฒั นาทกั ษะการอา่ นเขียน ตามระดับความสามารถของนักเรียน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ดังน้ี

กลุ่ม 1 กลุ่มใกลช้ ดิ คือ กลุ่มนักเรียนที่ต้องการ การเอาใจใส่ดูแลเป็นพิเศษ เน่ืองจากมีทักษะ ในการอ่านเขียนอ่อน ต้องพัฒนาในเรื่อง การผสมสระ ผันวรรณยุกต์ อ่านสะกดคาตามมาตรา ตัวสะกด

กลุ่ม 2 กลุ่มห่วงใย คือ กลุ่มท่ีมีพัฒนาการด้านทักษะการอ่านการเขียนดีข้ึน สามารถอ่าน คาท่ียากขึ้นได้ อ่านคาต้ังแต่สองพยางค์ข้ึนไปได้ อ่านออกเสียงคาควบกล้าได้ถูกต้อง และบอก ความหมายของคางา่ ยๆ เรียนรู้มาตราตัวสะกดแบบตรงตวั ตัง้ แตส่ องพยางคข์ ้ึนไปได้

กลุ่มที่ 3 กลุ่มพัฒนา คือ กลุ่มท่ีสามารถพัฒนาได้ตามศักยภาพของนักเรียนแต่ละบุคคล สามารถอ่านและเขยี นความเรียง ส่ือความหมาย และตีความของประโยคท่ีอ่านได้

กลุ่มท่ี 4 กลุ่มส่งเสริม คือ กลุ่มที่สามารถส่งเสริมความสามารถในการอ่านการเขียน ได้ตามศักยภาพของนักเรียน นักเรียนกลุ่มนี้สามารถส่ือความหมายของภาษาได้อย่างถูกต้อง เขียน และจบั ใจความของประโยคท่ไี ดอ้ ่าน สอื่ ภาษาและตีความหมายของประโยคและบทกวี สื่อความหมาย ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามหลกั ภาษาไทย วเิ คราะห์ไตร่ตรองอย่างมเี หตผุ ล นาไปสู่การตัดสินใจทถ่ี กู ตอ้ ง

3. กระบวนการบรหิ ารงานวิชาการ กระบวนการบริหารงานวิชาการ เป็นกระบวนการบริหารในกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีสถานศึกษา

จัดข้ึน โดยมีการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลายท่ีเก่ียวกับการปรับปรุง พัฒนาการเรียนการสอนให้ ได้ผลดีและมีประสิทธิภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด นาไปใช้ในการดารงชีวิตได้อย่างมีคุณค่า ซึ่งส่งผลท้ังทางตรงและ ทางอ้อมต่อผู้เรียน ทั้งนี้เพ่ือปรับปรุง ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพได้มาตรฐานตาม เจตนารมณ์ของการศกึ ษาให้มากที่สุด

4. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นความสามารถหรือผลท่ีเกิดจากกระบวนการเรียนการสอน

ที่จะทาให้นักเรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม และประสบการณ์เรียนรู้ สามารถวัดได้ทางด้าน พุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย และยังได้จาแนกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ตามลักษณะของ วตั ถปุ ระสงค์ของการเรยี นการสอนที่แตกตา่ งกนั ซ่ึงสามารถวดั ไดจ้ ากการทดสอบด้วยวิธกี ารตา่ งๆ กรอบแนวคิดกำรวจิ ยั

การบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการพัฒนาการอ่านและ การเขียนของนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม ด้วยกิจกรรมพัฒนาการอ่านคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) ผู้วิจัยได้ศึกษากรอบแนวคิดกระบวนการแก้ปัญหาเด็กอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ของศิวกานท์ ปทุมสูติ (2554) ซึ่งเป็นคู่มือสาหรับการแก้ปัญหาการอ่านและการเขียน ภาษาไทย โดยได้เสนอแนวทางการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อนาไปสู่การแก้ไขปัญหาท่ีสาเหตุ ซ่ึงสอดคล้อง กับแนวคิดของผู้วิจัย ท่ีดาเนินการออกแบบกระบวนการบริหารงานวิชาการโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน คานึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ทั้ง 2 ลักษณะ คือ เกิดขึ้นมาต้ังแต่กาเนิด และเกิดขึ้นทีหลัง ซึ่งไดร้ บั อิทธิพลจากการเลยี้ งดู และสภาพแวดล้อม ทาให้นักเรียนมีความแตกต่างกันท้ังด้านสติปัญญา อารมณ์ สังคม และดา้ นร่างกาย ดงั น้นั ผวู้ จิ ัยจึงเหน็ ความสาคัญของปัญหา และออกแบบกระบวนการ

5

บริหารงานวิชาการเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม โดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน มีกรอบแนวคดิ การวิจยั ดงั น้ี

กระบวนการบริหารงานวชิ าการเพอ่ื พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิ ผลสมั ฤทธด์ิ ้านการอา่ นและเขียน ทางการเรียนของนักเรยี นโรงเรียนเหลา่ ใหญน่ าข่าวิทยาคม ของนักเรียนหลังการเขา้ ร่วม กจิ กรรม 4D โดยใชก้ ิจกรรมพฒั นาการอ่านคล่องเขียนคลอ่ ง 4 Group Development (4D) ปกี ารศกึ ษา 2561

แผนภูมทิ ่ี 1.1 กรอบแนวคิดการวิจยั

ประโยชน์ทค่ี ำดว่ำจะไดร้ บั นักเ รียน โรงเรีย นเห ล่าใหญ่นาข่าวิทยาคมได้ รับการพั ฒน าทักษะ ด้ านการอ่ านและเ ขีย น

ตามกระบวนการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน หลังการใช้ กจิ กรรมพฒั นาการอ่านคลอ่ งเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) ดขี น้ึ

6

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง

การวิจยั เรือ่ ง กระบวนการบริหารงานวิชาการเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนเหลา่ ใหญ่นาข่าวิทยาคม สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ปีการศึกษา 2561 ไดม้ ีการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกย่ี วข้อง เพ่อื ใช้เป็นแนวทางในการวจิ ัยดงั ต่อไปนี้

2.1 พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่2) พ.ศ.2545 2.2 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 2.3 แนวคดิ การบรหิ ารงานวิชาการ 2.4 บทบาทของผู้บรหิ ารและภาวะผนู้ า 2.5 แนวทางการพฒั นาการจัดการศึกษา 2.6 แนวคดิ การนเิ ทศการศกึ ษา 2.7 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 2.8 บริบทของโรงเรียนเหลา่ ใหญ่นาขา่ วิทยาคม 2.9 แนวคิดการบริหารวชิ าการโดยใช้ LNW’s style 2.10 กจิ กรรมพฒั นาการอ่านคล่องเขยี นคล่อง 4 Group Development (4D) 2.11 งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง

พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่2) พ.ศ.2545 การสรา้ งสงั คมฐานความรู้และการเรยี นรู้อย่างตอ่ เนอ่ื ง ใหเ้ ป็นสงั คมแห่งการเรียนรู้ที่มีอิทธิพล

อันส่งผลต่อการศึกษาที่ต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา และนักเรยี น การจัดการศึกษาและการบริหารงานสถานศึกษาที่สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพจริง เป็นปัจจัยท่ีสาคัญในการพัฒนาการศึกษาให้มีประสิทธิภาพทางด้านการบริหารจัดการหลักสูตร องค์ความร้ใู นดา้ นตา่ งๆ ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละทักษะการปฏิบตั งิ าน ทีม่ สี มรรถนะและมีศักยภาพ

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กาหนดบทบัญญัติไว้ในหมวดต่างๆ ทั้งในเรื่องของความมุ่งหมายและหลักการ สิทธิหน้าที่ ทางการศึกษาและระบบการศึกษาการบริหารจัดการศึกษา มาตรฐานและการประกันคุณภาพ การศึกษา ทั้งครูและบุคลากรทางการศึกษารวมถึงทรัพยากรการลงทุนเพ่ือการศึกษา เทคโนโลยี เพ่ือการศึกษาท่ีสะท้อนถึงการพฒั นานกั เรียน ให้มปี ระสิทธภิ าพเป็นเปา้ หมายสูงสุดในการพัฒนาไดแ้ ก่

หมวด 1 บททั่วไป : ความหมายและหลักการ มาตรา 6 : การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบรูณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับ ผอู้ น่ื ได้อย่างมีความสุข มาตรา 7: ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าท่ี เสรีภาพความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจ ในความเป็นไทยรู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริมศาสนา

7

ศิลปวัฒนธรรมของชาติการกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจน อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความริเริม่ สรา้ งสรรค์ ใฝร่ แู้ ละเรียนรู้ ดว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

มาตรา 8 : การจัดการศึกษาให้ยึดหลัก เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชนให้สังคม มสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา การพฒั นาสาระและกระบวนการเรยี นรู้ใหเ้ ป็นไปอย่างตอ่ เน่ือง

มาตรา 9 : การจดั ระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจดั การศกึ ษา ให้ยดึ หลกั ความมีเอกภาพ ด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ มีการกระจายอานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกัน คุณภาพการศกึ ษาทุกระดบั และประเภทการศึกษา

สรุปได้ว่าการพัฒนาการศึกษาต้องสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 โดยความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษา ครู นักเรียน สังคมและชุมชนมีเอกภาพด้านวิสัยทัศน์ บริหารงานอย่างสร้างสรรค์ ให้ความสาคัญกับการพัฒนา ผ้เู รยี นเป็นสาคญั ในการวิจัยได้ศกึ ษาถึงกระบวนการบริหารงานวิชาการเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนกั เรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 25

แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 -2579 ซึ่งเป็นแผนระยะยาวใช้เป็นแนวทางในการจัดทา

แผนพัฒนาการศึกษาขององค์กร เป็นแนวทางในการจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคงของสังคมและ ประเทศชาติโดยเน้นการวิจัยและนวัตกรรม เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ มีการพัฒนาศักยภาพของคนทุกช่วงทุกวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีความเสมอภาคและ ความเท่าเทียมกันทางการศึกษาสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม แผนการศึกษา แห่งชาติฉบับนี้จึงได้กาหนดวิสัยทัศน์(Vision) โดยคนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ การเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา 4 ประการ คือ

  1. เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการ จัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2) เพ่ือพัฒนา คนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและยุทธศาสตร์ชาติ 3) เพ่ือพัฒนา สงั คมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกกาลังมุ่งสู่ การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 4) เพื่อนาประเทศไทย กา้ วข้ามกบั ดักประเทศทีม่ ีรายไดป้ านกลาง และความเหลื่อมลา้ ภายในประเทศลดลง

สรุปได้ว่าในการจัดการศึกษาน้ัน จะต้องจัดให้คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ และมีความเท่าเทียมกัน ซึ่งหน้าที่ในการจัดการศึกษาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพนั้นเป็นหน้าท่ีของ บุคลากรทางการศึกษาทุกคนในการท่ีจะออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน ต้องยอมรับวา่ ในการประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้น องค์ประกอบอีกด้าน หน่งึ ทส่ี าคัญ คอื ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรียน

8

แนวคดิ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานวิชาการเป็นกระบวนการหน่ึง ในการบริหารด้านการศึกษาซึ่งเป็นกิจกรรมที่

ตอ้ งปฏบิ ัติอย่างต่อเนื่องเพอื่ ให้งานฝา่ ยวิชาการบรรลตุ ามจุดมุ่งหมาย 1. ความหมายของการบริหารงานวิชาการ การบรหิ ารงานวชิ าการเป็นงานที่สาคัญในการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

มากทสี่ ดุ โดยได้มนี กั วิชาการให้ความหมายของการบริหารงานวชิ าการดังน้ี กมล สุดประเสริฐ (2544 : 35) ได้ให้นิยามการบริหารงานวิชาการไว้ว่าเป็นการบริหาร

ท่ีเก่ียวกบั การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นเป้าหมายสูงสุดของภารกิจของสถานศึกษาการบริหารงาน วิชาการเป็นการบริหารกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษาหรือโรงเรียนซึ่งเก่ียวข้องกับการปรับปรุง การพัฒนาการเรียนการสอนใหไ้ ดผ้ ลดแี ละมีประสิทธภิ าพมากทส่ี ดุ

รุ่ง แก้วแดง (2544 : 48) ให้ความหมายการบริหารงานวิชาการหมายถึงการบริหารงาน ด้านการเรียนการสอนทั้งหมดต้ังแต่เร่ืองหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้การวัดผลซึ่งในปัจจุบันอาจจะ เรียกใหมว่ า่ เป็นดา้ นการเรียนรขู้ องนกั เรียน

กมล ภู่ประเสริฐ (2547 : 5- 6) ให้ความหมายว่า การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา หมายถึงการบริหารที่เก่ียวกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอันเป็นเป้าหมายสูงสุดของภารกิจ ของสถานศึกษา

รงุ่ ชชั ดาพร เวหะชาติ (2550 : 30) ให้ความหมายว่า การบรหิ ารงานวิชาการเป็นกระบวนการ หรอื กจิ กรรมการดาเนินงานทกุ อยา่ งทเ่ี ก่ยี วกับการปรับปรุงการเรียนการสอนตลอดจนการประเมินผล ให้ดีข้นึ เพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลกั สตู รและให้เกิดประโยชน์สูงสดุ กบั ผู้เรียน

เอนก สุขสว่าง (2550 : 27) ให้ความหมายว่า งานวิชาการเป็นหัวใจของสถาบันการศึกษา การที่จะดูว่าสถาบันใดมีมาตรฐานงานทางวิชาการ โดยสาคัญวิชาการจะสัมฤทธิ์ผลเพียงใดขึ้นอยู่กับ บทบาทของผู้บริหารว่าจะเอาจริงเอาจังกับการบริหารงานวิชาการและบุคลากรครูผู้สอนใน สถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกจิ กรรมมากนอ้ ยแคไ่ หนจึงเป็นหนา้ ทข่ี องผู้บริหารในการเตรียมการ ให้ครูผู้สอนในโรงเรียนมีความพรอ้ มอยา่ งทวั่ ถึงกันให้การบรหิ ารงานวชิ าการไดบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์

สายหยุด ประกิคะ (2552 : 31) ให้ความหมายว่า การบริหารงานวิชาการหมายถึง การบริหารสถานศึกษาโดยการจัดกิจกรรมทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงและพัฒนาการเรียน การสอนตลอดจนการประเมินผลให้ดีข้ึนเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและเพื่อให้การเรียน การสอนมีประสทิ ธิภาพ

สรุปได้วา่ การบรหิ ารงานวิชาการเปน็ การบรหิ ารกิจกรรมตา่ งๆทจี่ ัดขนึ้ ภายในสถานศึกษาเพื่อ สง่ เสรมิ การจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพโดยผู้บริหารมีส่วนสาคัญในการรับผิดชอบและเป็น ผู้นาครูในด้านวิชาการท้ังการอานวยความสะดวก การให้คาปรึกษา การประสานงานเพ่ือให้บุคลากร ในโรงเรยี นสามารถทางานรว่ มกนั ได้อยา่ งมีความสขุ และบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

9

2. ความสาคัญของการบริหารงานวิชาการ คุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาจะมีความสอดคล้องกับงานด้านวิชาการซ่ึงเป็นงาน

ท่ีส่งเสริมคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพโดยตรงซึ่งมีนักวิชาการหลายท่านได้ให้คาจากัดความสาหรับ ความสาคัญของการบริหารงานวิชาการไวด้ งั น้ี

จันทรานี สงวนนาม (2545 : 143) ได้สรุปว่า การบริหารงานวิชาการเป็นหัวใจสาคัญของ การบริหารสถานศึกษาและเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาท่ีผู้บริหารจะต้องให้ความสาคัญ เป็นอย่างย่ิงเช่นการบริหารงานด้านอื่นๆนั้นแม้จะมีความสาคัญเช่นเดียวกันแต่ก็เป็นเพียงส่วนท่ี ส่งเสริมสนับสนุนให้งานวิชาการดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพผู้บริหารสถานศึกษาซ่ึงมีบทบาท หน้าที่ในการบริหารจะต้องสนับสนุนให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุจุดมุ่งห มาย ของหลักสูตร

ถวิล อรัญเวศ (2545 : 6) ได้กล่าวไว้ว่า กรอบการบริหารงานในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในปัจจุบันแบ่งออกเป็นงานใหญ่ๆได้ 2 งานคือ งานหลัก ได้แก่ งานวิชาการ และงานสนับสนุน ได้แก่ งานบุคลากร งานกิจการนักเรียนงานธุรการงานการเงิน งานอาคารสถานที่ และงานความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน เพ่ือให้การบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของโรงเรียนเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลได้กาหนดให้โรงเรียนมีหน้าท่ีจัดสาระหลักสูตรเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองท่ีดีของชาติ การดารงชีวิตเพ่ือการศึกษาต่อในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับสภาพปัญหา ของชุมชน สังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2546 : 33) ได้กล่าวถึงความสาคัญของการบริหารงานวิชาการไว้ ดงั นี้

1. งานวิชาการเป็นงานท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ คุณธรรม จรยิ ธรรมเจตคตแิ ละค่านิยมให้ผ้เู รยี นเป็นคนเก่งคนดีมคี วามสุขในการดารงชีวิตตลอดจนเป็นผู้มีคุณค่า ในสงั คม

2. งานวชิ าการเปน็ ตวั กาหนดปริมาณงานของโรงเรียนเม่ือโรงเรยี นมงี านวชิ าการมาก ปรมิ าณ งานดา้ นอน่ื ๆย่อมมีมากตามไปดว้ ย

3. ด้านวิชาการเป็นเคร่ืองกาหนดการจัดสรรทรัพยากรให้แก่โรงเรียน ไม่ว่าจะเป็นในรูปของ งบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์จะจัดให้ตามสัดส่วนปริมาณงานวิชาการของโรงเรียน โดยเฉพาะอย่างย่ิง ปริมาณงานด้านวิชาการ

4. งานวิชาการเป็นเครื่องตัดสินคุณภาพของโรงเรียน การพิจารณาคุณภาพของโรงเรียนต้อง อาศัยงานทางด้านวิชาการของโรงเรียน โดยพิจารณาวิธีการและผลผลิตของระบบงานวิชาการ อันได้แก่ วิธีการสอนของครู การบริหารงานวิชาการ ผลสาเร็จของครู ด้านผลสัมฤทธิ์ด้านการเรียนรู้ และคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของนักเรียนเป็นตน้

5. งานวิชาการเป็นเคร่ืองชี้วัดความสาเร็จความสามารถของผู้บริหารสถานศึกษา เนื่องจาก งานวิชาการเป็นงานหลกั ในสถานศึกษาที่ผ้บู ริหารสถานศึกษาจะต้องดาเนินการกระตุ้นและส่งเสริมครู ร่วมมือกนั ในการปรบั ปรงุ งานวิชาการของโรงเรยี นอยเู่ สมอ

10

รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ (2550 : 28) ได้สรุปว่า งานวิชาการเป็นงานหลักหรือเป็นภารกิจ ของสถานศึกษาที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กระจายอานาจในการบริหารจัดการ ไปให้สถานศึกษามากที่สุดด้วยเจตนารมณ์ ท่ีจะให้ สถานศึกษาดาเนินการได้โดยอิสระ คล่องตัว รวดเร็ว สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชน ท้องถ่ิน และการมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ซึ่งเป็นปัจจัยที่สาคัญ ท่ีทาให้สถานศึกษามีความเข้มแข็ง ในการบริหารและการจัดการสามารถพัฒนาหลักสูตรและ กระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการวัดผลประเมินผลรวมทั้งการวัดปัจจัยเก้ือหนุนการพัฒนาคุณภาพ นกั เรียนชุมชนท้องถิ่นได้อย่างมคี ณุ ภาพ

สายหยุด ประกิคะ (2552 : 32) สรุปว่า การบริหารงานวิชาการมีความสาคัญอย่างยิ่ง และจัดว่าเป็นงานหลักในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ท้ังน้ีเพราะการจัดการศึกษา เป็นการวาง พื้นฐานในการพัฒนาคนให้สามารถแสวงหาความรู้ก้าวทันโลกในสังคมได้อย่างมีความสุข สถานศึกษา จะสามารถจัดการศึกษาได้บรรลุตามเจตนารมณ์ท่ีกาหนดสถานศึกษาต้องสา มารถจัดการบริหาร งานวชิ าการใหม้ ปี ระสิทธิภาพ

สรุปได้ว่าการบริหารงานวิชาการมีความสาคัญ การพัฒนางานวิชาการของโรงเรียนให้มี คุณภาพได้ เพราะเม่ือผู้บริหารเห็นถึงความสาคัญของงานวิชาการแล้ว จะทาให้เกิดการวางแผน ติดต่อสื่อสาร ประสานงานกับส่วนต่างๆ รวมทั้งวางแผนร่วมกันกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพ่ือให้ งานด้านวิชาการสัมฤทธ์ิผล และเพ่ือให้การจัดการเรียนการสอนของครูสามารถส่งเสริมการเรียนรู้ ของนกั เรียนใหเ้ ป็นไปตามหลักสตู ร

3. ความสาคัญของงานวชิ าการ งานวิชาการเป็นงานหลักที่ส่งเสริมคุณภาพของนักเรียนและเป็นงานท่ีช่วยการันตีคุณภาพ ในการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น ได้มีนกั การศึกษาหลายท่านกล่าวถึงความสาคัญของงานด้านวิชาการ ไวด้ ังน้ี อุทัย บุญประเสริฐ (2540 : 25) ได้กล่าวถึงความสาคัญของงานวิชาการว่าเป็นงานหลั ก มีลักษณะคล้ายส่วนท่ีเป็นร่างกายของคนหรือของเด็ก เป็นส่วนที่ใหญ่ท่ีสุดของระบบเป็นงานท่ีเป็น หัวใจของโรงเรียนและมีหลักสูตรเป็นส่วนที่สาคัญของงานวิชาการ ที่ใช้กากับการจัดระบบการทางาน ของโรงเรียน ให้ตอบสนองและสนับสนุนการทางานวิชาการของโรงเรียนให้ได้ผลผลิตท่ีมีคุณภาพ ใหไ้ ด้คนดเี ป็นคนท่สี มบรู ณ์ กิติมา ปรีดีดิลก (2542 : 55) ได้กล่าวว่าการปฏิบัติงานวิชาการ เป็นงานท่ีมีความสาคัญ อย่างมากต่อหน่วยงานการศึกษา หรือโรงเรียน และเปรียบเสมือนเป็นหัวใจของโรงเรียน จุดมุ่งหมาย ของงานวิชาการก็คือการสร้างนักเรียนให้มีคุณภาพมีความรู้ มีจริยธรรม และมีคุณสมบัติท่ีต้องการ งานวิชาการจงึ เปน็ งานทร่ี ับผดิ ชอบตอ่ คุณภาพของพลเมืองและความม่ันคงของชาติ ปัญญา แก้วกีรยูร (2544 : 17) ได้ให้ความสาคัญของงานวิชาการว่า วิชาการถือเป็นหัวใจ สาคัญของการจัดการศึกษาในระดับสถานศึกษา การดาเนินงานวิชาการเป็นกระบวนการเกี่ยวกับ หลักสตู รและการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ตามท่ีกาหนดไว้ในจุดมุ่งหมายของการพัฒนา ผู้เรียน โดยท่ัวไปงานวิชาการ จะประกอบด้วยการศึกษาปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน กา ร พั ฒ น า แ ล ะก า ร น าห ลั ก สู ตร ไ ป ใ ช้ก า ร จั ดเ ต รี ยม ก า ร เรี ย น ก าร ส อ น กา ร วั ด แล ะ ป ร ะเ มิ น ผ ล

11

การดาเนินงานเก่ียวกับห้องสมุดแหล่งการเรียนรู้ การนิเทศติดตามการวางแผนและการกาหนดวิธี การดาเนนิ งานทางด้านวชิ าการรวมถงึ การประชมุ ทางวชิ าการ

สรุปได้ว่า งานวิชาการของโรงเรียนเป็นงานท่ีเป็นหัวใจหลักในการจัดการศึกษา บุคลากร ทุกคนในโรงเรียนจาเป็นจะต้องมีส่วนร่วมอย่างมาก และให้ความสาคัญกับการปฏิบัติงานด้านน้ีมาก ท่ีสุด ผู้บริหารและบุคลากรท่ีเก่ียวข้องจาเป็นต้องร่วมกันวางแผน การกาหนดหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้การทางานด้านวิชาการน้ันมีความรัดกุมมากท่ีสุดเพ่ือให้งานด้านวิชาการมีประสิทธิภาพ ตอบสนองนโยบาย และสอดคล้องกบั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

4. ขอบข่ายของงานวิชาการ ในการทางานด้านวิชาการให้ครอบคลุมทุกด้านและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผู้บริหารและ บุคลากรในโรงเรียนจาเป็นต้องทราบและเข้าใจขอบข่ายของงานวิชาการ ซึ่งมีนักวิชาการหลายท่าน ได้นาเสนอขอบขา่ ยงานวิชาการไวด้ ังน้ี อุทัย บุญประเสริฐ (2540 : 36) ได้กล่าวถึงงานวิชาการของโรงเรียนว่าเป็นงานท่ีมีขอบข่าย ครอบคลุมในเรอื่ งตอ่ ไปนี้คอื 1. ความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับหลักสูตรและการนาหลักสูตรไปใชใ้ นโรงเรียน 2. การสอนและการจัดการเรียนการสอนการให้สอดคล้องกับหลักการและจุดมุ่งหมาย ของหลกั สตู รกับเรอื่ งการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอน 3. กิจกรรมนกั เรียนและการบริหารกจิ กรรมนกั เรียนให้ตอบสนองเสริมสร้างหลักสูตรให้เป็นที่ สมบรู ณต์ ามคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ 4. การเรียนการสอนและกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอนตามหลักสูตรโดยตรงเพ่ือเสริม พัฒนาการของนักเรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูต รกับเร่ืองห้องสมุด และเสรมิ ความทนั สมัยทางวิชาการแกค่ รโู ดยตรง 5. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้จุดมุ่งหมาย และหลกั การของหลักสูตรจากการประเมนิ มาตรฐานคุณภาพทางวชิ าการของโรงเรยี น 6. การนเิ ทศการศกึ ษาการพัฒนาวิชาชีพสาหรับบุคลากรครบู ุคลากรทางวิชาการของโรงเรียน กิติมา ปรีดีดิลก (2542 : 57-58) ได้กล่าวถึงขอบข่ายของงานวิชาการว่าเป็นการดาเนินการ เก่ียวกับการเรียนการสอนโดยตรงเป็นกิจกรรมท่ีช่วยให้นักศึกษาสามารถแบ่งขอบข่ายงานวิชาการ ออกเป็น 6 ประการใหญ่ดังน้ี 1. งานดา้ นแผนงานวชิ าการ 2. งานด้านหลักสูตรและการสอนซ่ึงประกอบด้วยการหลักสูตรการสอนและการประเมิน การสอน 3. งานด้านการจัดการเรียนการสอน ซ่ึงประกอบด้วยงานการจัดตารางสอน การจัดการ ชน้ั เรียน 4. งานจดั ครเู ข้าสอน งานการจัดแบบเรียน งานการจัดห้องสมุด และงานการจัดคมู่ ือครู 5. งานด้านสอื่ การสอน 6. งานด้านการปรบั ปรุงการเรยี นการสอนซ่ึงประกอบดว้ ยการนเิ ทศการสอนและการ ฝกึ อบรมงานด้านการวัดและประเมนิ ผล

12

ธารง บัวศรี. (2542 : 53) ได้กล่าวถึงขอบข่ายของงานวิชาการว่า ได้แก่ การจัดหลักสูตร การวางแผนการสอน การวัดผล การจดั ตารางสอน และการเตรยี มการสอน

จนั ทรานี สงวนนาม (2545 : 145) ได้สรุปขอบข่ายงานวิชาการไว้ 6 ประการ คือ 1. หลักสูตรและการบริหารหลักสูตร ประกอบด้วย การศึกษาสาระการเรียนรู้ของหลักสูตร และการจดั ระบบ การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ สือ่ การเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 2. การวิจัยในชน้ั เรียน 3. การสอนซ่อมเสรมิ 4. การจัดกิจกรรมเสริมหลกั สูตร 5. การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา 6. การประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ปรยี าพร วงศอ์ นุตรโรจน์ (2546 : 59) กลา่ วว่า งานวิชาการ ได้แก่หลักสูตรการสอน อุปกรณ์ การสอน การจัดการเรียน คู่มือครู การจัดชั้นเรียน การปรับปรุงในการจัดการเรียน การสอน การฝึกอบรม การนิเทศการศึกษาการเผยแพร่งานวิชาการ การวัดผลการศึกษา การศึกษาวิจัย เพ่ือปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล ก่อ สวัสดิพาณิชย์ (2548 : 83) กล่าวว่างานวิชาการมีขอบข่ายครอบคลุมเก่ียวกับ งานด้าน หลักสูตรและการเรียนการสอน ต้ังแต่การวางแผนเกี่ยวกับงานวิชาการ การดาเนินงานเกี่ยวกับ การจัดการเรียนการสอน การจัดบริการการสอน ตลอดจนการวัดประเมินผล ติดตามผล โดยการ พัฒนาการเรียนการสอน การพัฒนาส่ือการสอน รวมไปถึงการพัฒนาผู้สอนตลอดจนการดาเนิน กิจการของโรงเรียน จะต้องเป็นไปตามหลักสูตรและระเบียบวิธีการของการเรียนการสอนหลักสูตร ให้สอดคล้องกับความต้องการและผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนอย่างแท้จริงนั้นเกิดจากการเรียนการสอน ดังนั้นการใช้หลักสูตรในโรงเรียนจะมีส่วนเกี่ยวโยงไปถึงวิธีสอนและการใช้กองการส่ือสารและ การประเมินผล กมล ภู่ประเสริฐ (2547 : 9-18) ได้กาหนดขอบข่ายการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา ดงั น้ี

1. การบรหิ ารหลกั สูตร 2. การบริหารการเรยี นการสอน 3. การบรหิ ารการประเมนิ ผลการเรียน 4. การบริหารการนเิ ทศภายในสถานศึกษา 5. การบรหิ ารการพัฒนาบุคลากรทางวชิ าการ 6. การบรหิ ารการวจิ ัยและพัฒนา 7. การบรหิ ารโครงการทางวชิ าการอื่นๆ 8. การบรหิ ารระบบข้อมูลและสารสนเทศทางวชิ าการ 9. การบริหารการประเมนิ ผลงานทางวชิ าการของสถานศึกษา รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ (2550:30) ได้กล่าวถึงขอบข่ายการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา ไว้ว่าการบริหารงานวิชาการตามกระบวนการปฏิรูปการเรียนรู้ครอบคลุมใน 4 ด้าน คือหลักสูตร

13

กระบวนการจัดการเรียนการสอน การวัดประเมินผล และการรับเข้าศึกษาต่อ สนับสนุนการ ดาเนินงานปฏริ ูปการเรยี นรู้ ในแตล่ ะด้าน

สายหยุด ประกิคะ (2552:34) ได้สรุปว่างานวิชาการ มีขอบขายในการบริหารงานกว้าง โดยท่วั ไปสถานศึกษาไม่ว่าจะเป็นสถานศึกษาของรัฐหรือเอกชน จะมีขอบข่ายการบริหารงานวิชาการ คล้ายๆกันอาจมีรายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกัน ตามลักษณะการบริหารงานของแต่ละหน่วยงาน ขอบข่ายการบริหารงานวิชาการจะครอบคลุมต้ังแต่การวางแผนเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการ การบริหารระบบข้อมูลและสารสนเทศทางวิชาการ การบริหารหลักสูตร การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา การแนะแนวการศึกษา การบริหารการวิจัยและพัฒนา การพัฒนา ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาการส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน การประสานความ ร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาอ่ืน การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคลากร ครอบครัว องค์กร หนว่ ยงานและสถาบนั อน่ื ทจี่ ดั การศึกษา

สานักปฏิรูปการศึกษา (2551:42) ได้กาหนดขอบข่าย ภารกิจของการจัดการศึกษา ในเขตพน้ื ที่การศึกษาและสถานศึกษา ในด้านงานวิชาการ 8 ภารกจิ ดงั นี้

1. การพฒั นาหลกั สูตร 2. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ 3. การวดั ผลและประเมินผล 4. การประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา 5. การพัฒนาและใช้สอ่ื เทคโนโลยเี พอื่ การศึกษา 6. การพฒั นาและสง่ เสรมิ ใหม้ ีแหล่งเรียนรู้ 7. การวิจยั เพ่ือพฒั นาและสง่ เสริมให้มแี หล่งเรียนรู้ 8. การสง่ เสริมชมุ ชนใหม้ ีความเข้มแขง็ ทางวชิ าการ สรุปได้ว่าขอบข่ายของงานวิชาการผู้บริหารและคณะครูจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมต่างๆให้กับนักเรียนเพ่ือเสริมสร้างและพัฒนานักเรียน ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์รวมไปถึงการผลิตสื่อการเรียนการสอนจะต้องตอบสนองความ อยากรู้อยากเรียนให้กับนักเรียนนอกจากน้ีเม่ือจัดการเรียนการสอนแล้วจาเป็นที่จะต้องมีการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การนเิ ทศตดิ ตาม เพ่ือประเมินว่าในกระบวนการจัดการเรียนการสอนมีคุณภาพ มากนอ้ ยเพยี งใด 5. การพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ กระทรวงศึกษาธิการ (2551:36) ได้กาหนดแนวทางในการปฏิบัติด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ดงั น้ี 1. สารวจแหล่งเรียนรู้ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา ในสถานศึกษา ชมุ ชนท้องถ่นิ ในเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาและเขตพื้นท่กี ารศึกษาใกลเ้ คยี ง 2. จัดทาเอกสารเผยแพร่แหล่งการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาอ่ืน บุคคล ครอบครัวและ สถาบนั การศกึ ษาอ่ืนทจ่ี ัดการศึกษาในบรเิ วณใกลเ้ คยี ง

14

3. จัดตั้งและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งพัฒนาให้เกิดการประส านความร่วมมือ กบั สถานศึกษาอน่ื บุคคล ครอบครัว องคก์ ร หนว่ ยงานและสถาบันสังคมอ่ืน ที่จัดการศึกษา การจัดต้ัง และส่งเสรมิ การพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ท่ใี ช้รว่ มกัน

4. ส่งเสริมสนับสนุนให้ครู ใช้แหล่งการเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน ในการจัดกระบวนการ การเรยี นรู้โดยครอบคลมุ ในภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ

สรุปได้ว่าการบริหารงานวิชาการเป็นหลักการและแนวคิดท่ียึดหลักให้สถานศึกษา จัดทา หลักสูตรสถานศึกษา ให้เป็นไปตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และสอดคล้องกับ สภาพปัญหา ความต้องการของนักเรียน โรงเรียน ชุมชน และสังคม โดยจะได้มีส่วนร่วมในทุกส่วน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาการศึกษาและการเรียนการสอน ให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร จากกระบวนการเรียนรู้ถือว่าผู้เรียน มีความสาคัญสูงสุด ส่งเสริมให้ชุมชนและสังคม ได้มีส่วนร่วม ในการจดั ทาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งเป็นเครือข่ายและแหล่งเรียนรู้ เพื่อจัดการศึกษา ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน จัดให้มีดัชนีช้ีวัดคุณภาพ ตลอดจนสามารถตรวจสอบคุณภาพ การจัดการศึกษาได้ ส่งเสริมสนับสนุนงานวิชาการทางการศึกษาและต้องสารวจและศึกษาข้อมูล รวมทั้งความต้องการในการสนับสนุน งานวิชาการ จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดการศึกษา การจัดระบบส่ือการเรียนและการสอนให้มีความเหมาะสมและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งทางด้าน ความรู้ความสามารถ การประสานงาน และการถ่ายทอดความรู้ให้เกิดความร่วมมือ อันก่อให้เกิด ประโยชน์ทุกด้านอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

บทบาทของผู้บรหิ ารและภาวะผู้นา 1. บทบาทและหนา้ ท่ีของผู้บริหารสถานศกึ ษา การบริหารและการจัดการในสถานศึกษาเป็นหน้าท่ีของผู้บริหารสถานศึกษาโดยตรง

การบริหารและการจัดการศึกษาจะมีประสิทธิภาพ ดาเนินไปอย่างราบรื่นและประสบผลสาเร็จ ตามวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้บริหาร ซึ่งเป็นผู้สร้างกลไก ในการใช้ ทรัพยากรต่างๆ โดยตรง โดยเฉพาะในปัจจุบันสถานศึกษามีการเปล่ียนแปลงในหลายๆด้าน ไม่วา่ จะเป็นดา้ นปริมาณ เมื่อสถานศกึ ษามขี นาดใหญข่ น้ึ

เนเซวิช (Knezevich, 1984 : 16-18) ได้เสนอบทบาทสาคัญในการบริหารองค์การ รวมทั้ง การบรหิ ารสถานศึกษา ไว้ดงั นี้

1. บทบาทเป็นผู้กาหนดทิศทางในการปฏิบัติงาน (Direction setter) ผู้บริหารจะต้องช่วย ให้หน่วยงานบรรลุเป้าหมายได้ จึงจาเป็นต้องมีความสามารถ ในการช้ีแจงทาความเข้าใจและ เขียนวตั ถุประสงค์ขององค์กรจะต้องมีความรู้และทักษะในระบบการจัดสรรงบประมาณแบบโครงการ (PPBS) และการบรหิ ารงานโดยยึดวัตถุประสงค์และผลงาน (MBO/R)

2. บทบาทเป็นผู้กระตุ้นความเป็นผู้นา (Leader - catalyst) บทบาทน้ีจาเป็นจะต้องมี คว า มส า มา ร ถ ใน ก า ร จู ง ใจ ก ร ะ ตุ้ น แล ะ มีอิ ท ธิ พล ต่ อพ ฤ ติ ก ร ร มข อ งม นุ ษ ย์ ใ น อง ค์ ก ร ใ ห้ มีทั ก ษ ะ ในกระบวนการกลมุ่

3. บทบาทเป็นนักวางแผน (Planner) จะต้องมีความสามารถในการคาดคะเนเหตุการณ์ ในอนาคตเตรียมบุคลากรให้พร้อมในการรับมือกับสิ่งใหม่ๆท่ีจะเกิดข้ึนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในการวางแผน

15

4. บทบาทเป็นผู้ตัดสินใจ (Decision maker) บทบาทนี้จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ ทฤษฎตี ่างๆของการตดั สินใจและมีความสามารถในการตดั สินใจ

5. บทบาทเป็นผู้จัดองค์กร (Organizer) ผู้บริหารจาเป็นต้องออกแบบขยายงานและกาหนด โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง อ ง ค์ ก า ร ขึ้ น ใ ห ม่ ดั ง นั้ น จึ ง จ า เ ป็ น จ ะ ต้ อ ง เ ข้ า ใ จ พ ล วั ต ข อ ง อ ง ค์ ก า ร แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ขององคก์ ารด้วย

6. บทบาทเป็นผู้เปล่ียนแปลง (Change manager) ผู้นาจะต้องนาการเปล่ียนแปลง มาสู่สถาบัน เพื่อเพ่ิมคุณภาพของสถาบัน ให้รู้ว่าจะเปล่ียนอะไร เปล่ียนอย่างไร และควรเปล่ียน ในสถานการณ์ใด

7. บทบาทเป็นผู้ประสานงาน (Coordinator) ผู้บริหารจะต้องมีความเข้าใจรูปแบบ การปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ เข้าใจเครือข่ายของการส่ือสาร รู้จักวิธีนิเทศงานที่พึงปรารถนาเข้าใจระบบ การรายงานท่ดี ีจึงจะสามารถประสานกิจกรรมตา่ งๆได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

8. บทบาทเป็นผู้ส่ือสาร (Communicator) ผู้บริหารจะต้องมีความสามารถในการสื่อสาร ดว้ ยการพูดการเขียนรู้จักใชส้ ่ือตา่ งๆเพอื่ การสื่อสารและควรจะมคี วามสามารถในการประชาสัมพันธ์

9. บทบาทเป็นผู้แก้ความขัดแย้ง (Conflict manager) เน่ืองจากความขัดแย้งเป็นส่ิงท่ี ไม่สามารถจะหลีกเล่ียงได้ผู้บริหารจะต้องเข้าใจสาเหตุของความขัดแย้งจะต้องมีความสามารถในการ ตอ่ รองไกลเ่ กลย่ี จดั การกับความขดั แยง้ และแก้ปญั หาความขัดแย้ง

10. บทบาทเป็นผู้แก้ปัญหา (Problems Manager) เนื่องจากปัญหาท้ังหมดไม่จาเป็นต้อง ลงเอย ด้วยความขัดแย้งปัญหาจึงมีความหมายกว้างกว่าความขัดแย้ง ผู้นาจะต้องมีความสามารถ ในการวินจิ ฉัยปัญหาและแก้ปญั หา

11. บทบาทเป็นผู้จัดระบบ (Systems Manager) ผู้บริหารจะต้องมีความสามารถ ในการวิเคราะห์ระบบและกระบวนการท่ีเกี่ยวข้องจะต้องเข้าใจ ในการนาทฤษฎีทางการบริ หาร ไปใช้ประโยชน์

12. บทบาทเป็นผู้บริหารการเรียนการสอน (Instructional manager) ผู้บริหารจะต้อง ทาความเข้าใจในระบบการเรียนรู้ การเจริญและพัฒนาการของมนุษย์ มีการสร้างและพัฒนาหลักสูตร มีความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

13. บทบาทเปน็ ผู้บริหารบคุ คล (Personnel manager) ผูบ้ ริหารตอ้ งมคี วามสามารถ เทคนิค ของการเปน็ ผนู้ าการเจรจาต่อรอง การประเมินผลงานและการปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากร

14. บทบาทเป็นผู้บริหารทรัพยากร (Resource manager) ผู้บริหารจะต้องมีความสามารถ ในการบริหารการเงินและงบประมาณ การบริหารวัสดุครุภัณฑ์ การก่อสร้าง การบารุงรักษา ตลอดจน หาการสนับสนนุ จากภายนอก

15. บทบาทผู้ประเมินผล (Appraiser) ผู้บริหารจะต้องมีความสามารถในการประเมิน ความตอ้ งการการประเมิน ระบบวิธีการทางสถติ ิและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

16. บทบาทเป็นนักประชาสัมพันธ์ (Public relater) จะต้องมีทักษะในการสื่อความหมาย รู้จักวิธีสร้างภาพพจน์ท่ีดี รู้จักพลวัตของกลุ่มรู้จักและเข้าใจการเผยแพร่ข่าวสารด้วยส่ือและ วธิ ีการต่างๆ

16

17. บทบาทเปน็ ประธานในพิธีการ (Ceremonial head) เป็นบทบาทอยา่ งหน่งึ ของผูบ้ ริหาร ซึง่ จาเป็นจะต้องใช้ความสามารถในบทบาท

แคมพ์เบลล์และคนอ่ืนๆ (Campbell and others. 1983 : 6-7) ได้ชี้ให้เห็นว่าหน้าที่สาคัญ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาคอื สง่ เสรมิ การเรยี นการสอนและมภี ารกิจหลักดงั น้ี

1. ผู้บริหารสถานศึกษาควรเป็นผู้มองการณ์ไกลและมีอิทธิพลในการพัฒนาเป้าหมายและ นโยบาย ของสถานศึกษา

2. ผู้บริหารสถานศึกษาควรกระตุ้นและช้ีนา ในการพัฒนาโครงการและโปรแกรมต่างๆ เพ่อื ช่วยให้บรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาควรจะกาหนดวิธีการและประสานงาน ในการนาโครงการต่างไปปฏิบัติที่ผู้บริหารสถานศึกษาควรจัดหาและจัดสรรทรัพยากรต่างๆท่ีจาเป็น เพ่ือสนับสนุนโครงการและโปรแกรมของสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาควรเป็นตัวแทน ของสถานศึกษาในการจัดกิจกรรม ผู้บริหารสถานศึกษาควรจะประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล การดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา

กอร์ตัน (Gorton. 1953 :49) ได้ทาการศึกษาบทบาทสาคัญของผู้บริหารสถานศึกษาและ สรุปวา่ ผบู้ ริหารสถานศึกษามบี ทบาทสาคญั 6 ประการคือ

1. บทบาทในฐานะเป็นผูบ้ รหิ าร 2. บทบาทในฐานะผู้นาทางด้านการสอนหรือด้านวิชาการ 3. บทบาทในฐานะผรู้ ักษาระเบียบวนิ ยั 4. บทบาทในฐานะผู้ส่งเสรมิ ระเบียบวินยั 5. บทบาทในฐานะเป็นผู้ประเมนิ ผล 6. บทบาทในฐานะผแู้ ก้ปญั หาความขัดแย้ง นอกจากนี้ ยังได้สรปุ ภารกจิ หลกั ของผูบ้ ริหารสถานศึกษาที่จะต้องปฏิบัตดิ งั นี้ 1. ภารกิจด้านการบริหารงานบุคคลมภี ารกจิ สาคญั ได้แก่

1.1 กาหนดนโยบายการบริหารงานบุคคล 1.2 ดาเนินการคดั เลือกครูอาจารย์และบคุ ลากรด้านอื่น 1.3 มอบหมายงานให้แก่บคุ ลากรในสถานศกึ ษา 1.4 แจ้งวตั ถุประสงค์ของสถานศกึ ษาใหค้ รูอาจารย์ได้ทราบ 1.5 สังเกตพฤตกิ รรมการสอนของครู 1.6 วนิ ิจฉัยหาลักษณะเดน่ และลักษณะด้อยในการสอนของครู 1.7 ชว่ ยเหลือครแู กป้ ญั หาในชน้ั เรียน 1.8 ประเมินการสอนของครู 1.9 ชว่ ยปรบั ปรุงและพัฒนาการสอนของครู 1.10 ช่วยส่งเสริมความกา้ วหนา้ ในวชิ าชีพให้แก่ครู 1.11 สง่ เสริมความสามัคคใี นหม่คู รู-อาจารย์ 2. ภารกิจด้านกิจการนักเรยี น มภี ารกิจสาคัญได้แก่ 2.1 จดั บรกิ ารแนะแนว 2.2 จัดบรกิ ารปฐมนเิ ทศนักเรียน

17

2.3 กาหนดนโยบายและกระบวนการเกีย่ วกับวนิ ัยของนกั เรยี น 2.4 กาหนดมาตรฐานเกย่ี วกับความปลอดภัยของนักเรยี น 2.5 พัฒนาและประสานงานกิจกรรมเสริมหลักสูตร 2.6 พจิ ารณาเกีย่ วกบั วินัยและการลงโทษ 2.7 จัดสวัสดิการตา่ งๆให้แก่นักเรยี น 2.8 รายงานพฤติกรรมนักเรยี นให้ผปู้ กครองได้ทราบ 3. ภารกจิ ดา้ นความสัมพันธร์ ะหวา่ งโรงเรียนกบั ชุมชน มภี ารกจิ สาคัญ ได้แก่ 3.1 กาหนดนโยบายและมาตรการให้บุคลากรของโรงเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม ของชมุ ชน 3.2 กาหนดนโยบายและมาตรการในการให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วม ในกจิ กรรมของโรงเรยี น 3.3 ชว่ ยเหลอื กจิ กรรมของสมาคมครผู ูป้ กครอง 3.4 จัดดาเนินการในเร่ืองทผ่ี ู้ปกครองมาร้องทุกข์ 3.5 เปน็ ตัวแทนของสถานศึกษาในกจิ กรรมของชมุ ชนทโี่ รงเรียนต้งั อยู่และชุมชนอื่น 3.6 จัดให้บรกิ ารแก่ชุมชน 4. ภารกจิ ด้านการพฒั นาหลักสูตรและการสอน มีภารกจิ สาคัญ ไดแ้ ก่ 4.1 ชว่ ยเหลอื ในการกาหนดเป้าหมายของหลกั สูตร 4.2 ชว่ ยทาความกระจา่ งในเน้ือหาของหลกั สตู ร 4.3 จัดหาวสั ดุอปุ กรณเ์ พ่อื ส่งเสริมการเรยี นการสอน 4.4 แนะการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรยี น 4.5 ฝกึ อบรมบุคลากรเพ่ือพัฒนาการเรยี นการสอน 4.6 ชว่ ยเหลอื ในการประมวลผลการเรยี น 5. ภารกิจด้านการเงินและพสั ดุ มภี ารกจิ สาคัญ ได้แก่ 5.1 จัดทางบประมาณเงนิ รายได้ของแผ่นดิน 5.2 จัดระบบตรวจสอบภายใน 5.3 จัดระบบจัดซ้ือจัดจ้าง 5.4 จัดระบบการพสั ดุ 5.5 จดั ระบบบัญชี 6. ภารกจิ ด้านอาคารสถานท่ี มีภารกิจสาคัญ ได้แก่ 6.1 วางแผนเกีย่ วกบั การใชอ้ าคารสถานที่ 6.2 ระบบบารุงและซ่อมแซมอาคารสถานที่ 6.3 ดแู ลคนงานภารโรง 6.4 จดั ระบบการจอดยานพาหนะ 7. ภารกิจอืน่ ๆ มีภารกจิ สาคัญไดแ้ ก่ 7.1 จัดการประชมุ หรือสัมมนา 7.2 จัดการประชาสัมพนั ธส์ ถานศกึ ษา

18

7.3 ประเมนิ ข้อดีและข้อเสยี ของโปรแกรมการสอน 7.4 มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของโรงเรียนเช่นกิจกรรมการประกวดต่ าง ๆ กิจกรรมสง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี เปน็ ตน้ โรงเรียนมีภารกิจหลัก 2 ด้าน ได้แก่ การจัดการศึกษา และการบริหาร ซ่ึงต้องใช้ทั้ง กระบวนการและปัจจัยจึงจะบรรลุผลในกระบวนการจะอาศัยผู้บริหารโรงเรียนและครู ผู้บริหาร โรงเรียนจะตอ้ งมศี ักยภาพหลายดา้ นจงึ จะนาโรงเรยี นประสบความสาเร็จ ธีระ รุญเจริญ (2544 : 42 - 43) สรุปบทบาทและหน้าท่ีความรับผิดชอบของผู้บริหาร สถานศึกษาตามแนวทางปฏริ ูปการศึกษาในพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542 และ ทแี่ กไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ท2ี่ )พ.ศ. 2545 มี 2 ด้านหลักสาคญั ไดแ้ ก่ 1. การจัดการศึกษาให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมาย หลักการ แนวทาง รูปแบบการจัดการศึกษา หลกั สูตรและกระบวนการจัดการเรยี นการสอน 2. การบริหารการจัดการ ให้เป็นไปตามแนวทางการบริหารที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี2) พ.ศ. 2545 โดยเน้นการบริหาร แบบมีส่วนร่วม ของหลายฝ่ายรวมท้ัง บิดา มารดา ผู้ปกครอง องค์กรของรัฐและเอกชน ตลอดท้ัง ชมรมสมาคมในสังคม สรุปได้ว่าหน้าท่ีของผู้บริหารสถานศึกษา คือ ต้องจัดการศึกษาให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของ หลักสูตรที่ได้กาหนดไว้ มีภาวะความเป็นผู้นา วางแผนการทางานในภาพรวมของโรงเรียน ประสานงานกบั คณะครใู นโรงเรียนเพ่ือนาข้อมูลมาตัดสินใจในการพัฒนาการทางาน รวมทั้งต้องเป็นผู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆได้ เช่น การจัดการเรียนการสอน การบริหารทรัพยากรภายในโรงเรียน การแก้ปัญหาความขัดแย้ง การกาหนดนโยบายและมาตรการให้บุคลากรของโรงเรียนได้มีส่วนร่วม ในกิจกรรมของชมุ ชน และให้ชมุ ชนมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมของโรงเรียน 2. ภาวะผนู้ าของผ้บู ริหารสถานศึกษา การบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษาในประเทศไทยนั้น ผู้บริหารสถานศึกษามีการบริหาร โดยยึดแนวทาง การบรหิ ารจากฐานโรงเรียนเป็นหลกั ซ่งึ สอดคล้องกับแนวปฏิรูปการศึกษาท่ีกาหนด ไว้ในพระราชบญั ญัติการศกึ ษาชาตพิ ุทธศกั ราช 2542 และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี2) พ.ศ. 2545 การท่ี ผู้บรหิ ารสถานศึกษา จะบรหิ ารจัดการศึกษาใหเ้ กดิ ประสิทธผิ ลนั้น ผ้บู ริหารตอ้ งมีภาวะผนู้ า แกว้ ตา ไทรงาม และคณะ (2548 : 4-5) กล่าวถึงหลกั การสาคญั ของภาวะผูน้ าได้แก่ 1. รู้จกั ตนเองและปรับปรงุ พฒั นาตนเอง 2. มีเทคนิคด้านวชิ าชีพที่ต้องรู้งานเข้าใจและคุณเคยงานที่รบั ผิดชอบเปน็ อยา่ งดี 3. รับผิดชอบและแสวงหาความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน รวมท้ังนาองค์กร ให้เจรญิ กา้ วหน้าด้วยวิธกี ารใหมๆ่ และมีส่ิงผิดพลาดกจ็ ะหาแนวทางแก้ไขและม่งุ ไปสู่สงิ่ ท้าทายต่อไป 4. ตดั สินใจอยา่ งดีและใชว้ ธิ ีการแก้ปญั หาท่ีดีในการตดั สนิ ใจ 5. ทาเป็นแบบอยา่ งที่ดี แสดงบทบาทเป็นแบบอยา่ งท่ีดตี ่อบุคลากร 6. รู้จักบุคลากรและเอาใจใส่ดแู ล ตามธรรมชาติของบุคลากร 7. ให้ข้อมูลบุคลากรรู้วิธีการท่ีจะส่ือสารกับบุคลากร หัวหน้าหน่วยเหนือ และ บคุ ลากรในองคก์ ร

19

8. พัฒนาจิตสานึกความรับผิดชอบและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของบุคลากรให้มี ความรบั ผิดชอบในวชิ าชีพ

9. ความสามารถในการนเิ ทศงานและทกั ษะในการสื่อสาร 10. ฝึกทักษะการปฏิบัตแิ ละส่งเสรมิ บุคลากรให้ทางานเปน็ ทีม 11. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรใช้ศักยภาพอย่างเต็มท่ีในการทางาน ท่ีรับผิดชอบ กาญจน์ เรืองมนตรี (2547 : 136 -140) ได้สรุปเกี่ยวกับองค์ประกอบภาวะผู้นาของผู้บริหาร สถานศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีจะนาไปสู่ประสิทธิผลของการบริหารและจัดการศึกษาตามแนวปฏิรูป การศกึ ษา 7 ดา้ นดังนี้ 1. บคุ ลิกภาพสว่ นตวั ผูบ้ ริหาร ได้แก่ 1.1 บุคลิกภาพภายในประกอบด้วย มีคุณธรรม จริยธรรม ความคิด ความเชื่อม่ัน ในตนเองและวุฒิภาวะทางอารมณ์สูง จิตใจมั่นคงหนักแน่นและมีความอดทน อดกล้ัน อุทิศตน เพ่อื ประโยชน์ต่อส่วนรวม 1.2 บคุ ลิกภาพภายนอกประกอบดว้ ยมีความมุ่งม่ันพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สนใจ ใฝ่รู้ เท่าทันการเปล่ียนแปลง มีวิสัยทัศน์และมนุษย์สัมพันธ์เป็นที่ยอมรับของผู้ท่ีเก่ียวข้อง กล้าแสดง ความคดิ เหน็ กลา้ คดิ นอกกรอบ กล้าตดั สนิ ใจ มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้น คล่องแคล่ว ว่องไว รู้จัก สรา้ งและระวัง บคุ ลกิ ลกั ษณะของตนให้เปน็ แบบอย่างที่ดีและมที ักษะในการใชเ้ ทคโนโลยี 2. ดา้ นพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิไดแ้ ก่ 2.1 ด้านมิตรสัมพันธ์ ประกอบด้วยการส่งเสริมและพัฒนาครูอย่างสม่าเสมอ เพ่ือให้ ครู มีประสิทธิภาพ ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ดาเนินการเพื่อจัด สภาพแวดลอ้ มทเี่ อือ้ ตอ่ การเรียนรู้สุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน ใช้หลักประชาธิปไตย ในการทางาน และสง่ เสริมการทางานเป็นทมี ใช้หลักการกระจายอานาจในการตัดสินใจ เพื่อการมีส่วน รว่ มของทุกฝา่ ยท่ีเกย่ี วข้องและใช้หลักธรรมาภิบาลในการดาเนนิ 2.1 ดา้ นกิจสัมพันธ์ ประกอบดว้ ย การปฏริ ูปการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ การดาเนินการเพื่อจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา ท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับ เป้าหมายของการศึกษาและความต้องการของผู้เรียนและท้องถ่ิน ดาเนินการเพื่อจัดหาส่ือการเรียน การสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้และดาเนินการเพ่ือจัดหาแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพือ่ การเรยี นการสอน จัดหาและนาเทคโนโลยีสารเทศมาใช้ในการปฏิรูปการเรียนรู้และบริหารโดยยึด กระบวนการบริหารครบวงจร (P = วางแผน D = ปฏิบัติ C = ประเมิน A = ปรับปรุง : PDCA) บรหิ ารจดั การทรพั ยากรที่มีอยู่ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ดาเนินการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาการบริหารจดั การ 3. ด้านปัจจัยสนบั สนุนได้แก่ 3.1 งบประมาณคือ งบประมาณที่ใชใ้ นการบรหิ ารจดั การ 3.2 บุคลากร ประกอบด้วยความสามัคคีของครูและบุคลากร ความรู้ความสามารถ ครูครบตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้และความเหมาะสมของสัดส่วนจานวนครูและนกั เรยี น

20

3.3 ส่ิงแวดล้อมภายในสถานศกึ ษา ประกอบด้วยความพร้อมของอาคารสถานที่ เช่น ห้องเรียน โรงฝึกงาน ห้องสมุด ห้องศิลปวัฒนธรรม องค์กรของโรงเรียนควรได้รับการสนับสนุน ช่วยเหลอื จากผปู้ กครองและชมุ ชนในการพัฒนาการศึกษา

3.4 นโยบายหน่วยเหนือประสิทธิผลการบริหารและการจัดการศึกษาสถานศึกษา ขน้ั พน้ื ฐานตามแนวปฏิรูปการศึกษา มเี ครือ่ งบ่งช้ี ดังนี้

3.4.1 ดา้ นประสิทธภิ าพการบริหารจัดการ ได้แก่ ความมีชื่อเสียงของโรงเรียน คือ โรงเรียนที่มีช่ือเสียงทาให้ผู้ปกครองส่งบุตรหลานเข้าเรียนมากข้ึน ผู้บริหารได้รับรางวัลดีเด่นในการ บรหิ ารงาน ผบู้ ริหารและครูได้รับเชิญจากหน่วยงานต่างๆ ไปเป็นวิทยากรบรรยาย และนักเรียนได้รับ รางวลั ชนะเลศิ กจิ กรรมดา้ นตา่ งๆ

3.4.2 การบรรลุวัตถุประสงค์ของงานโรงเรียน คือ งานของโรงเรียนบรรลุ เป้าหมายกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีได้รับการยกย่องชมเชย เช่น รางวัลกิจกรรมดีเด่นครูได้รับการเสริมสร้าง และพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูได้รับการส่งเสริม ให้มีคุณวุฒิ มีความรู้ความสามารถตรงกับงานท่ีรับผิดชอบ มีจานวนครูเพียงพอ และนักเรยี นมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนดี รวมทง้ั นกั เรียนออกกลางคนั มจี านวนนอ้ ย

3.4.3 ด้านความพึงพอใจ ได้แก่ สภาพแวดลอ้ มท่ดี ีในการทางาน ผู้ร่วมงานมีความ พอใจในการทางานของผู้บังคับบัญชา มีความพอใจในตัวผู้บังคับบัญชาเป็นต้น มีโอกาสแสดง ความสามารถให้ผู้บังคับบัญชาได้เห็น มีความสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้บังคับบัญชา มีความพอใจในการเล่ือน ระดับขัน้ เงนิ เดอื น

3.4.4 ด้านลกั ษณะงาน ได้แก่ มีอสิ ระในการเลือกวิธีทางาน งานที่ได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบมีความเหมาะสม มีความพอใจในรูปแบบการบริหารโรงเรียน มีความพอใจในความม่ันคง ในการทางาน

4. ด้านปัจจัยภายใน ได้แก่ การยอมรับความคิดเห็นของผู้ใต้บังคับบัญชา การได้รับ ความชื่นชมยินดีในผลงานท่ีดี มีโอกาสเจริญก้าวหน้าในตาแหน่งหน้าท่ี การงานมีความพอใจกับ ภาระงานท่ีปฏิบตั ิ มีความพอใจกับความรบั ผดิ ชอบในหนา้ ที่หลายอยา่ ง

5. ปจั จัยในงานโดยทวั่ ไป คอื มีความพอใจในงานท่ีทาโดยรวม 6. ด้านคุณภาพนักเรียน ได้แก่ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ มคี วามรูแ้ ละทกั ษะท่ีจาเป็นตามหลักสูตร มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้และ มีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพสุจริต มีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตท่ีดี มีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัย ดา้ นศิลปะ ดนตรี และกีฬา 7. ด้านการมสี ว่ นร่วมของชุมชน ได้แก่

7.1 ชุมชนมีความสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้บริหารและครู ได้แก่ ผู้บริหารและครู มีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนในการร่วมกันจัดการศึกษา ชุมชนมีความเข้าใจและเห็นความสาคัญและ เขา้ รว่ มในกจิ กรรมต่างๆ ของโรงเรยี นมจี านวนมากข้ึน

21

7.2 ชุมชนร่วมในการพัฒนาการศึกษา ได้แก่ ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามาร่วม ในการพัฒนาการศึกษา เช่น ร่วมในการวางแผนพัฒนาโรงเรียน และแก้ไขปัญหาของโรงเรียน ในการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาคือชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา

7.3 สนับสนุนการดาเนินงานของสถานศึกษา ได้แก่ ชุมชนเข้าร่วมเป็นกรรมการ สถานศึกษานาภูมิปัญญาท้องถ่ินมาร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้ปกครองและชุมชน ร่วมในการระดมทรัพยากรเงินทุนบริจาคเงิน และอุปกรณ์วัสดุครุภัณฑ์ให้แก่โรงเรียน ผู้ปกครองและ ชุมชน ให้ความช่วยเหลือในการสร้างแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียนผู้ปกครองและชุมชน มีความรู้สึกเปน็ เจ้าของโรงเรยี น

พรชัย เจตามาน ( 2556 : 28 ) ให้คาจากัดความคาว่า “การจัดการทุนมนุษย์ (Human capital management )” และคาว่า “การจัดการบุคลากรที่เป็นเลิศ (Talent management)” ซึ่งคาทั้งสองน้ีด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของต่างประเทศจะใช้ว่า Human capital of talent management และได้ให้ความหมายไว้ว่า “Managing the Knowledge, skills, and capabilities of individuals that have economic value to an organization.” ซ่ึงหมายความได้ว่า เป็นกระบวนการจัดการเพ่ือให้ได้มา ธารงรักษาไว้ซึ่งบุคลากรท่ีมีความสามารถมีศักยภาพและ มีประสิทธภิ าพตามกระบวนการดงั ตอ่ ไปน้ี แหล่งทม่ี า(Sourcing) การสรรหาและคัดเลือก (Screening and selection) การใช้งาน (Deployment) การธารงรักษา (Retention) และยังได้กล่าวถึงลักษณะ ของทุนมนุษย์ไว้ว่าทรัพยากรบุคคลถือเป็นทรัพย์สิน (Asset) ท่ีสาคัญขององค์กรทุนมนุษย์ (Human capital) หมายถึง เทคโนโลยคี วามรู้ ทกั ษะและสมรรถนะซงึ่ ติดตวั บุคคลในองค์การและมีความจาเป็น ในการปฏิบัติงาน เช่น ทักษะเชิงเทคนิค นวัตกรรมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และการเป็นผู้นา องค์กรใดมีทุนมนษุ ย์ท่ีเหนือกวา่ ก็จะสามารถยืนอยู่ในสถานะท่ีเหนือกว่าองค์การคู่แข่งได้ท้ังในปัจจุบัน และอนาคต การกาหนดบทบาทของผู้ที่ทาหน้าที่ในการจัดการทุนมนุษย์/การจัดการบุคลากร ท่ีเป็นเลิศจาเป็นต้องเป็นผู้ดูแลทุนมนุษย์ (Human capital steward) เป็นผู้ประสานสัมพันธ์ (Relationship builder) เป็นผู้อานวยความรู้ (Knowledge facilitator) เป็นมืออาชีพที่ฉับไว (Rapid deployment specialist) เป็นผู้บริหารความหลากหลายของพนักงานหรือบุคลากร (Workforce diversity management)

ก า ร พั ฒ น า ภ า ว ะ ผู้ น า ข อ ง ผู้ บ ริ ห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น ห า ก ผู้ บ ริ ห า ร มี ภ า ว ะ ผู้ น า ย่อมจะนาไปสปู่ ระสิทธิผลการบริหารและการจัดการศกึ ษา กลา่ วคอื การบรหิ ารจัดการมีประสิทธิภาพ ครูมคี วามพงึ พอใจนกั เรียนมคี ณุ ภาพ และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา ซึ่งสอดคล้อง กบั การบรหิ ารตามแนวปฏริ ูปการศกึ ษา

สมานจิตร สุคนธ์ทรัพย์ (2547 :22-25) ได้สรุปคุณลักษณะของผู้นาที่บริหารแบบฐาน โรงเรียน(SBM) ประสบผลสาเรจ็ ประกอบดว้ ย 3 ด้าน ดงั น้ี

1. ดา้ นความรู้ ความสามารถในการบริหารท่ัวไป ประกอบด้วย 1.1 มวี สิ ยั ทศั น์ สามารถคาดคะเนอนาคต 1.2 มองเห็นภาพรวม 1.3 ใชภ้ าวะผ้นู าเชงิ เกอ้ื หนนุ แทนการช้ีนา 1.4 สามารถจูงใจผู้เก่ยี วขอ้ งใหร้ ว่ มกาหนดและยอมรบั วสิ ยั ทัศนร์ ่วมกนั

22

1.5 มคี วามสามารถในการวางแผนและออกแบบระบบ 1.6 สามารถใช้วิธีทางประชาธิปไตยได้บรรลุจุดหมาย ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ในการตัดสนิ อยา่ งสร้างสรรค์ ตา่ งรับฟงั และหาข้อตกลงร่วมกนั 1.7 มคี วามสามารถในการตอ่ รอง และจัดการกับความขดั แย้ง 1.8 พฒั นาบคุ ลากรอยา่ งมีเปา้ หมายเชิงรุกต่อเนื่อง และขยายผล 2. ความรู้ความสามารถในดา้ นวิชาการ ประกอบด้วย 2.1 รู้จักงานวิชาการอย่างถ่องแท้ ในด้านที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร การจัดการเรียน การสอนการประเมนิ ผล และการวิจัยและพฒั นา เปน็ ตน้ 2.2 สามารถวางแผนและจัดระบบการนเิ ทศงานวิชาการได้ 2.3 ตระหนักถึงความสาคญั และตดิ ตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างต่อเน่ืองและ ทันการณ์ 3. คณุ สมบตั สิ ว่ นตัว ประกอบด้วย 3.1 มีบคุ ลิกภาพที่เอ้ือต่อการประสานสัมพันธ์ และแสวงหาความร่วมมือ ทักษะทาง สังคม การเปน็ ผนู้ า และทักษะการสื่อสาร 3.2 การปฏบิ ัติตนเป็นทีเ่ ชอื่ ถือศรทั ธาของผู้ทเี่ ก่ยี วข้อง พระธรรมปิฎก (ป.อ. ประยุตโต) (2546 : 28 - 30 ) กล่าวถึง คุณสมบัติของผู้นาซ่ึง เปรยี บเสมือนท่พี ึ่งของคนอื่น ที่บริหารประสบผลสาเร็จ ว่ามีลกั ษณะดังน้ี 1. ตอ้ งประพฤตดิ ีและเป็นแบบอย่างท่ดี ใี หก้ ับบุคคลทัว่ ไป 2. ตอ้ งมีกลั ยาณมิตร ต้องหาที่ปรึกษาและผู้ร่วมงานท่ีดี มีความรู้ความสามารถ และแสวงหา ปัญญาเพม่ิ เตมิ อย่เู สมอ 3. ต้องเปน็ คนไมป่ ระมาท 4. ตอ้ งเป็นคนเขม้ แขง็ กระตือรือร้น เอาจรงิ แมจ้ ะมีอปุ สรรคมีภยั กไ็ มย่ ่อท้อวางตวั เป็นหลัก ไดไ้ ม่หวั่นไหว ต่อสง่ิ แวดลอ้ ม 5. ต้องทาได้ และชว่ ยคนอนื่ ทาไดใ้ นส่งิ ทีต่ อ้ งการจะทา 6. สายตากว้างไกล มองกว้างคิดไกลใฝ่สูง ซึ่งเป็นลักษณะทางปัญญา ผู้ที่จะเป็นผู้นาน้ัน ปญั ญาสาคัญท่ีสดุ จาเปน็ ตอ้ งเปน็ คนมีวสิ ยั ทัศน์ สรุปได้ว่าภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษา คือการท่ีผู้นารู้จักตนเอง สามารถวิเคราะห์ จุดเด่นจุดด้อยของตนเอง เพื่อนาข้อมูลท่ีได้ไปใช้ในการพัฒนาตนเอง เข้าใจในงานและนาพาองค์กร ให้มีความเจริญก้าวหน้าเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับครูและบุคลากรในโรงเรียน ส่งเสริมและสนับสนุน ให้บุคลากรทางานได้เต็มตามศักยภาพ ทั้งนี้ผู้บริหารจะต้องบริหารงานด้วยคุณธรรม จริยธรรม มุ่งมั่น พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องเท่าทันการเปลี่ยนแปลง มีวิสัยทัศน์และมนุษยสัมพันธ์เป็นท่ียอมรับ ของผอู้ น่ื แนวทางการพฒั นาการจดั การศึกษา ปรัชญา เวสารัชช์ (2546) ได้กล่าวถึง การจัดการศึกษาเป็นกระบวนการอย่างเป็นระบบ โดยมเี ปา้ หมายชดั เจน คือ การพฒั นาคุณภาพมนุษย์ทุกดา้ น ไมว่ ่าจะเป็นดา้ นร่างกาย จิตใจ สติปัญญา คุณธรรมค่านิยม ความคิดและการประพฤติปฏิบัติ โดยคาดหวังว่าคนที่มีคุณภาพนั้น จะทาให้สังคม

23

มีความมั่นคงสงบสุข เจริญก้าวหน้าทันโลกแข่งขันกับสังคมอ่ืนในเวทีระหว่างประเทศได้ คนในสังคม มีความสมานฉันท์ จากความสาคัญดังกล่าวและจัดการศึกษา จึงจาเป็นที่ประเทศต้องดาเนินการ เพื่อยกระดับคุณภาพประชากรและเพ่ิมขีดความสามารถของประเทศในการแข่งขันระหว่างประเทศ ดังนั้นการจัดการศึกษาจึงจาเป็นต้องดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง มีบุคคลและหน่วยงานที่รับผิดชอบ เข้าร่วมดาเนนิ การมรี ปู แบบขั้นตอน กติกาและวิธีการดาเนินการมีทรัพยากรต่างๆสนับสนุนและต้องมี กระบวนการประเมนิ ผลการจัดการศึกษาที่เที่ยงตรงและเชื่อถือได้

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 หมวด 4 ไดก้ าหนดแนวการจัดการศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2554 :11- 14) ไว้ดงั นี้

1. การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนา ตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศักยภาพ

2. การจัดการศึกษาท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการ ตามความเหมาะสม ของแตล่ ะระดับการศึกษาในเร่ืองต่อไปนี้

2.1 ความรู้เรื่องเก่ียวกับตนเองและความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคมได้แก่ ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรู้เก่ียวกับประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของสังคมไทยและระบบการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมุข

2.2 ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมท้ังความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ เร่ืองการจัดการการบารุงรกั ษา การใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดล้อม อย่างสมดลุ และย่ังยนื

2.3 ความรู้เก่ียวศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย การประยุกต์ใช้ ภมู ิปญั ญา

2.4 ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทย ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

2.5 ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ และการดารงชีวิตอย่างมีความสขุ 3. การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงานท่เี ก่ียวข้องดาเนนิ การดงั ต่อไปนี้

3.1 จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัด ของผู้เรียน โดยคานึงถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล

3.2 ฝกึ ทกั ษะกระบวนการคิด การจดั การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้ มาใช้เพื่อปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหา

3.3 การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คดิ ได้ รักการอา่ น และเกิดการใฝร่ อู้ ยา่ งต่อเนื่อง

3.4 จัดการเรยี นการสอนโดยผสมผสาน สาระความรู้ต่างๆอย่างได้สัดส่วน สมดุลกัน รวมท้งั ปลกู ฝังคุณธรรมคา่ นยิ มทีด่ ีงามและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ไว้ในทกุ วิชา

24

3.5 ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัย เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ผู้สอนและผู้เรียนสามารถเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่ือการเรียน การสอนและแหลง่ วิทยาการประเภทต่างๆ

3.6 การจัดการเรยี นรูใ้ ห้เกิดข้ึนได้ทุกเวลาทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกับ บดิ ามารดา ผู้ปกครอง และบคุ คลทกุ ฝ่ายเพ่ือร่วมกนั พัฒนาผู้เรยี นตามศักยภาพ

4. รัฐต้องส่งเสริมการดาเนินงาน และจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต ทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ศิลปะ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ ศูนย์การกีฬาและ นันทนาการ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แหล่งข้อมูลและแหล่งเรียนรู้อื่นอย่างพอเพียงและมี ประสิทธภิ าพ

5. ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียน โดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน การสังเกต พฤตกิ รรมการเรียน ความประพฤตกิ ารร่วมกิจกรรม และการทดสอบควบคู่กันไปในกระบวนการเรียน การสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ และรูปแบบการศึกษา และสถานศึกษาใช้วิธีการท่ี หลากหลายในการจัดสรรโอกาสเข้าศึกษาต่อและให้นาผลการประเมินผู้เรียนมาใช้ประกอบการ พิจารณา

6. ให้คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กาหนดหลักสูตรแกนกลางในการศึกษา เพ่ือสร้าง ความเป็นไทยความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพ่ือ การศกึ ษาต่อสถานศึกษามีหน้าที่จัดทาสาระของหลักสูตร ในส่วนท่ีเก่ียวกับสภาพปัญหาในชุมชนและ สังคมภูมิปัญญาท้องถ่ินในลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ หลกั สตู รการศึกษาต้องมีลักษณะหลากหลายและจัดตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ โดยมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลที่สมแก่วัยและศักยภาพ มีความสมดุลท้ังด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงามและความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม

7. ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และองค์กรชุมชน องค์กรการปกครอง สว่ นท้องถน่ิ องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอ่ืน ส่งเสริม ความเข้มแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชนเพื่อชุมชน มีการจัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ขอ้ มลู ขา่ วสารและรู้จักเลือกสรรภูมิปัญญา และวิทยาการต่างๆ เพ่ือพัฒนาชุมชน ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการ รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนให้มีการแลกเปล่ียน ประสบการณ์การพัฒนาระหว่างชมุ ชน

8. ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอน ที่มีประสิทธิภาพรวมท้ังส่งเสริมผู้สอน ให้สามารถวิจยั เพอื่ พัฒนาการเรยี นรทู้ ่เี หมาะสมกับผูเ้ รียนในแต่ละระดับการศึกษา

สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2548 : 5-7) ได้กาหนดมาตรฐาน การศึกษาของชาติ โดยผ่านความเห็นชอบจากท่ีประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 26 ตุลาคม 2547 เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศ ในมาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา ไดก้ าหนดให้สถานศกึ ษาและหน่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ งมีแนวทางการบรหิ ารจัดการดังนี้

25

1. จัดหลักสูตรการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ตามความเหมาะสมของกลุ่มผู้เรียนทุกระบบและ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และท้องถิ่นสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ

2. องค์กรท่ีให้บริการทางการศึกษา มีสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ มีอาคารสถานท่ี มีการส่งเสริมสุขภาพอนามยั และความปลอดภยั

3. พัฒนานวัตกรรมและส่ือการจัดการเรียนรู้ และการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ทกุ รปู แบบท่เี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ดว้ ยตนเองและการเรยี นรูแ้ บบมสี ่วนร่วม

4. ผู้บริหาร ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และ ต่อเนื่องเพ่ือสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการ และวิชาชีพ มีคุณธรรม มีความพึงพอใจ ในการทางาน และผูกพันกับงาน

5. การบริหารจัดการ ท่ีใช้สถานศึกษาเป็นฐาน โดยมีองค์กรชุมชนมีส่วนร่วม ในการพัฒนา จดั การเรยี นรตู้ ามสภาพทอ้ งถ่นิ สภาพปัญหาและความตอ้ งการทแี่ ท้จรงิ ของผู้เรียน ผู้เกี่ยวข้องทุกกลุ่ม มีความ พึงพอใจตอ่ การจัดบริการทางการศึกษาของสถานศึกษา

6. มีการกาหนดระบบประกันคุณภาพภายใน ให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร การศกึ ษา เพื่อนาไปสูก่ ารพฒั นาคณุ ภาพและสามารถรองรับการประเมินคณุ ภาพภายนอกได้

7. การบรหิ ารจัดการโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล นโยบายของคณะรัฐมนตรี โดย พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี ท่ีแถลงต่อสภานิติ บัญญัติแห่งชาติเม่ือวันท่ี 3 พฤศจิกายน 2549 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2549 : เว็บไซต์) กระทรวงศึกษาธิการได้นามากาหนดเป็นนโยบายการจัดการศึกษาให้หน่วยงานด้านการศึกษา ยกระดบั นาไปเปน็ แนวทางจัดการศกึ ษา ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติมีดังนี้ 1. เรง่ รัดการปฏริ ูปการศกึ ษา โดยยึดคุณธรรม นาความรู้ สร้างความตระหนัก สานึกในคุณค่า ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงความสมานฉันท์และสันติวิธี วิถีชีวิตประชาธิปไตย พัฒนาโดยใช้ คุณธรรมเป็นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้เพ่ือเช่ือมโยงความร่วมมือของสถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบนั การศกึ ษา และสถานศึกษาอน่ื ได้แก่

1.1 ปรบั ปรุงหลักสตู รการเรยี นการสอนและการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ทุกระดับ และ ทกุ ประเภทการศกึ ษา

1.2 พัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถจัดทาหลักสูตรและ การเรยี นการสอน

1.3 สร้างเครือข่ายคุณธรรมในทุกเขตพ้ืนที่การศึกษา เชื่อมโยงความร่วมมือ ร่วมคิด รว่ มทาของบ้าน วดั โรงเรียน

2. ขยายโอกาสทางการศึกษาข้ันพื้นฐานของประชาชนให้กว้างขวางและท่ัวถึงโดยไม่เก็บ ค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ให้เด็กที่มีอายุ 7-16 ปี ได้เข้าเรียนทุกคน จัดการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน 12 ปโี ดยไม่เก็บคา่ ใช้จา่ ย โดยการเพิ่มเงินอดุ หนุนรายหวั ใหเ้ พียงพอ

3. พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดับ โดยปรับการเรียนเปล่ียนการสอน โดยยึด ผู้เรียนเป็นสาคัญ พัฒนาวิธีการสอนของครูกับนักเรียน โดยเน้นการเรียนรู้ของผู้เรียน แก้ปัญหา การขาดแคลนครทู กุ พืน้ ทแ่ี ละกลุ่มสาระ ใชเ้ ทคโนโลยีช่วยเพมิ่ คุณภาพและขยายโอกาสทางการศกึ ษา

26

4. การกระจายอานาจไปสเู่ ขตพืน้ ที่การศกึ ษาและสถานศึกษา ไดแ้ ก่ 4.1 กระจายอานาจสู่เขตพื้นท่ีและสถานศึกษาทางด้านวิชาการ การบริหารงาน

บคุ คลงบประมาณและการบรหิ ารท่ัวไป 4.2 การพัฒนาผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ และครูแกนนาของพ้ืนที่การศึกษา

สถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานทเ่ี ปน็ ผู้นาการเปล่ยี นแปลง และสามารถขยายผลได้เต็มพื้นท่ี 4.3 นาร่องการบริหารจัดการแบบกระจายอานาจในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ที่มี

ศกั ยภาพและความพรอ้ มในเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา 4.4 เปล่ียนฐานะของสถาบันอุดมศกึ ษาของรฐั ทีเ่ ป็นส่วนราชการและมีศักยภาพและ

ความพร้อมเปน็ สถาบนั อุดมศึกษา ในกากับของรัฐ ตามความสมัครใจของแตล่ ะแหง่ 4.5 จัดระบบการกระจายอานาจ ไปสู่สถานศึกษาด้านอาชีวศึกษา ตามหลักการ

บรหิ ารท่ีใชส้ ถานศกึ ษาเปน็ ฐาน 5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคเอกชนและท้องถิ่น ได้แก่ 5.1 ปรับปรุงโครงสร้าง บทบาทและหน้าที่ ของสมาคมผู้ปกครอง คณะกรรมการ

สถานศึกษาและเขตพื้นท่ีเพื่อใหผ้ ู้มสี ่วนไดเ้ สียทางการศึกษาไดม้ ีสว่ นรว่ มรบั ผิดชอบกว้างขวางขึ้น 5.2 ส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาของเอกชนทุกระดับทุกประเภท สามารถ

จัดการศึกษาได้ตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยมุ่งให้ความเป็นอิสระคล่องตัวและ ไม่เลอื กปฏบิ ัติ

5.3 ส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วมรับผิดชอบการจัดการศึกษา ร่วมกับเขตพื้นท่ี การศึกษาและสถานศกึ ษาทุกระดับ โดยเนน้ การรว่ มคิดรว่ มทารว่ มรับผดิ ชอบ

ปรัชญา เวสารัชช์ (2546) ได้กล่าวไว้ว่า แนวทางการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ควร คานงึ ถงึ องคป์ ระกอบสาคัญของการจัดการศกึ ษา มี 8 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่

1. สาระเนื้อหาในการศึกษา ในกรณีการศึกษาในระบบ สถานศึกษาต้องจัดทาหลักสูตร เปน็ ตัวกาหนดเนอ้ื หาสาระ หลกั สตู รเหล่านี้ ได้แก่ หลักสูตรแกนกลางใช้สาหรับการศึกษาแต่ละระดับ ขณะเดียวกันสถานศึกษาแต่ละแห่งก็สามารถจัดเน้ือหาสาระที่เหมาะสมกับท้องถ่ินได้ เน้ือหาสาระ ในหลักสูตรน้ันควรทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนและสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ท้ังนี้ครูต้องทบทวนเนื้อหาสาระที่ตนสอนเพ่ือปรับแก้ไขให้ถูกต้อง ทันสมัย และให้ข้อมูลท่ีถูกต้องแก่ผู้เรียน หากเห็นว่าเน้ือหาผิดพลาดหรือล้าสมัย ควรแจ้งผู้บริหาร ให้ทราบเพอ่ื ทาการปรับปรงุ หลกั สูตรตอ่ ไป

2. ครูผู้สอน หรือผู้ให้การเรียนรู้ ซ่ึงถือเป็นผู้ประกอบวิชาชีพช้ันสูง บุคคลเหล่าน้ีต้องได้รับ การศึกษาอบรมมา ทงั้ ในด้านเนอื้ หาและวิธีการถา่ ยทอด เพื่อให้สามารถถ่ายทอดความรู้และสาระวิชา ท่ีเป็นประโยชน์ ต่อผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เง่ือนไขสาคัญสาหรับครูคือต้องมีความตื่นตัว อยู่เสมอ ในการติดตามเรียนรู้เนื้อหาวิชาการ วิชาชีพใหม่ๆและวิทยาการด้านการเรียนการสอน ตลอดเวลา ครูต้องมีการศึกษาค้นคว้าวิจัยเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ ครูในสถานศึกษาต้องได้รับการ พฒั นาความสามารถในการประยุกตส์ าระเน้อื หาและองคค์ วามรู้ใหม่ให้เหมาะสมกบั ผเู้ รียนแต่ละกลุ่ม

3. สื่อและอุปกรณ์สาหรับการศึกษา สื่อและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น อาคารสถานท่ี โต๊ะ เก้าอี้ กระดานหนังสือเรียน และอุปกรณ์ที่ทันสมัย เช่น อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์

27

เคร่ืองคอมพิวเตอร์เป็นต้น สื่อและอุปกรณ์เหล่าน้ีเป็นส่วนประกอบท่ีจาเป็นสาหรับการจัดการศึกษา ครูและผู้บริหารสถานศึกษาจึงมีหน้าท่ีรับผิดชอบดูแลให้มีอย่างเพียงพอ อยู่ในสภาพใช้งานได้และ ใช้สื่อเหล่านี้เป็นส่วนช่วยให้เกิดการถ่ายทอดเน้ือหาความรู้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ครูทม่ี ีคุณภาพต้องสามารถผลิตสอื่ และพฒั นาส่ือและอปุ กรณ์การศึกษาสาหรับการสอนของตนด้วย

4. รปู แบบวธิ กี ารเรียนการสอน การศึกษายุคปฏิรูป มีความแตกต่างไปจากการศึกษายุคก่อน ซงึ่ เน้น ทีต่ วั ครู ระบบการศกึ ษายุคใหมเ่ น้นความสาคัญที่ตัวผู้เรียน ดังน้ันรูปแบบวิธีการเรียนการสอน จึงแตกต่างไปจากเดิมซึ่งนาไปสู่กระบวนการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย เช่น การระดมความคิด การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน การนาชมนอกสถานที่ การใช้สื่ออุปกรณ์ เคร่ืองมือประกอบ ผู้สอน ต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้เรียนแต่ละกลุ่มจาเป็นต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ ประกอบกับ การทาความเขา้ ใจธรรมชาตกิ ารเรียนรู้ ของผูเ้ รียนของตน

5. ผู้บริหารและบุคลากรที่ทาหน้าที่สนับสนุนการศึกษา มีหน้าท่ีในการจัดการศึกษาท่ีต้อง รับผิดชอบให้เป็นไปโดยเรียบร้อยนาไปสู่เป้าหมายท่ีต้องการ และยังจาเป็นต้องมีบุคลากร ทางการศกึ ษาอื่นรว่ มดว้ ย เช่น เจา้ หน้าท่ีธุรการ งานทะเบียน งานโภชนาการ สุขอนามัย รวมทั้งฝ่าย สนับสนนุ อน่ื ๆ

6. เงินทุนสนับสนุนการจัดการศึกษา เป็นเร่ืองการลงทุนของรัฐบาลในฐานะผู้รับผิดชอบ โดยตรงในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แต่รัฐไม่สามารถจัดสรรได้เพียงพอกับความต้องการ ดังน้ัน โรงเรียนควรมีการสนับสนุนจากผู้ปกครองชุมชนและองค์กรต่างๆที่เก่ียวข้อง เงินทุนเหล่าน้ีเป็น องคป์ ระกอบสาคญั ท่ีชว่ ยให้การจดั การศกึ ษาเกิดผลตามเป้าหมาย

7. สถานทีแ่ ละบรรยากาศแวดลอ้ มในชนั้ เรียน เป็นส่ิงจาเปน็ ดังนนั้ อาคารสถานท่ีในห้องเรียน และบรรยากาศแวดลอ้ มจงึ เป็นส่วนสาคญั ทีต่ อ้ งคานงึ ถึงถึงแมจ้ ะมกี ารจดั การศึกษา โดยใช้สื่อทางไกล กต็ ามยงั ตอ้ งมสี ถานท่สี าหรบั การบริหารจัดการการผลิตและการถ่ายทอดหรือการทางานของบุคลากร ที่เกี่ยวข้องในกรณีที่ยังต้องใช้อาคารเป็นสถานที่สาหรับจัดการเรียนการสอน สิ่งที่ผู้บริหารและผู้จัด การศึกษาต้องสนใจดูแลคือความเพียงพอเหมาะสมปลอดภัยและการมีบรรยากาศแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อ การเรียนรู้ ครกู ต็ ้องมกี ารจัดบรรยากาศในชน้ั เรียนให้เหมาะสม

8. ผู้เรียนหรือผูศ้ ึกษาถือเปน็ องคป์ ระกอบทจ่ี าเปน็ ทีส่ ุดของการจัดการศึกษา เพราะผู้เรียนคือ ผรู้ บั การศึกษาและเป็นเป้าหมายหลักของการจัดการศึกษา การปรับเปล่ียนความรู้และพฤติกรรมของ ผ้เู รียน เป็นดัชนีช้ีวัดผลสัมฤทธิ์ของการจัดการศึกษา การจัดการศึกษาจึงครอบคลุมข้ันตอนที่เกี่ยวกับ การเรียนรู้ของผู้เรียน ต้ังแต่การเตรียมความพร้อมสาหรับการเรียนรู้ การให้การศึกษาอบรม การ ประเมินและการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ต่อเน่ือง ด้วยเหตุนี้เป้าหมายการจัดการศึกษาในภาพรวม จงึ มิได้จากัดวงแคบเฉพาะในสถานทีแ่ ต่เน้นที่ตัวผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ

สานักนิติกร สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (2550 : 3) ได้กาหนดหลักการกระจาย อานาจ การบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและ การบริหารงานท่ัวไปไว้ในร่างกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหาร และการจดั การศึกษา พ.ศ. 2550 สถานศกึ ษาและส่วนราชการในสังกดั ยดึ หลักการต่อไปนี้

28

1. ยดึ และดารงหลกั เอกภาพได้มาตรฐานและนโยบายดา้ นการศึกษา 2. มีความเป็นอิสระและความคล่องตัวในการบริหาร และการจัดการศึกษา รวมทั้ง ขีดความสามารถและความรับผิดชอบของผ้รู บั การกระจายอานาจ 3. มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของชมุ ชนและผูม้ สี ่วนได้เสียในพื้นท่ี 4. มุ่งให้เกิดความสาเร็จอยู่ท่ีสถานศึกษา โดยเน้นให้สถานศึกษามีความเข้มแข็ง เพ่ิมความ คลอ่ งตวั เพอื่ ใหก้ ารดาเนนิ การทก่ี ระจายอานาจทง้ั 4 ดา้ น ไปยังสถานศึกษาให้มากทส่ี ุด 5. เพ่ิมคุณภาพและประสิทธิภาพให้แก่สถานศึกษา มอบหมายให้ผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการ ดาเนนิ การเปน็ ผ้ตู ัดสนิ ใจในเรื่องน้ันๆโดยตรง สรุปได้ว่าแนวทางในการพัฒนาการศึกษา คือ กระบวนการในการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ ท้งั ดา้ นร่างกาย จิตใจ และสตปิ ัญญา โดยต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ เต็มตามศักยภาพของตนเอง มีการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตามหลักสูตร ปลูกฝังให้ผู้เรียน มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม สามารถอย่รู ่วมกับผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ แนวคิดการนเิ ทศการศึกษา แนวคิดการนิเทศการศึกษา การนิเทศการศึกษาภายในสถานศึกษาซ่ึงมีการดาเนินการโดย ผู้บริหารสถานศึกษาและครูตลอดจนบุคลากรภายในสถานศึกษาร่วมมือกันปรับปรุงงานด้านต่างๆ เป็นการส่งเสรมิ และเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนการสอนเพ่ือคุณภาพของสถานศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ (2551 : 36) ได้กาหนดแนวทางการปฏิบตั ิการนิเทศดังน้ี

1. จดั ระบบการนเิ ทศงานวิชาการและการเรยี นการสอนภายในสถานศึกษา 2. ดาเนนิ การนิเทศงานวิชาการและการเรียนการสอนในรูปแบบหลากหลายและเหมาะสม กับสถานศกึ ษา 3. ประเมนิ ผลการจัดระบบและกระบวนการนเิ ทศการศกึ ษาในสถานศึกษา 4. ตดิ ตามและประสานงานกบั เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาเพื่อพฒั นาระบบและกระบวนการนิเทศ งานวิชาการและการเรียนการสอน 5. การแลกเปลยี่ นเรียนรูแ้ ละประสบการณ์การจดั ระบบนิเทศการศึกษาภายในสถานศึกษา กับสถานศึกษาอื่นหรอื เครอื ข่ายการนิเทศการศึกษาภายในเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา การนิเทศเป็นความพยายามในการปรับปรุง และส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอน ในสถานศึกษาให้ดีข้ึน เป็นการเพ่ิมพลังการปฏิบัติงาน รวมทั้งให้มีความก้าวหน้าและผลสุดท้ายคือ การศึกษาของนักเรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การนิเทศเป็นงานท่ีมีความสาคัญในการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนามาตรฐานการศึกษาซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงที่จะช่วยเหลือแนะนาครูในการจัดการศึกษา ให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งในการนิเทศมีจุดมุ่งหมายสาคัญ 4 ประการ คือ เพื่อพัฒนาคน เพ่ือพัฒนางาน เพอ่ื สรา้ งการประชาสมั พนั ธ์ และเพ่ือสร้างขวัญและกาลังใจ กิติมา ปรีดีดิลก (2542 : 265) ได้กล่าวเก่ียวกับความหมายความจาเป็นและจุดมุ่งหมาย ของการนิเทศการศึกษาว่า การนิเทศการศึกษา หมายถึง กระบวนชี้แนะ แนะนา และให้ความร่วมมือ ต่อกิจกรรมของครูและการปรับปรุงการเรียนการสอน เพื่อให้ได้ผลตามจุดหมายที่วางไว้ การนิเทศ การศกึ ษามคี วามจาเป็น ดังน้ี 1. เป็นการให้บรกิ ารแก่ครูทมี่ ีความสามารถแตกตา่ งกนั

29

2. การนิเทศการศึกษาเป็นงานท่มี คี วามจาเป็นต่อความเจริญงอกงามของครู 3. การนิเทศการศกึ ษาเปน็ การช่วยเหลือครใู นการเตรยี มการสอน 4. เปน็ การทาใหค้ รเู ป็นบคุ คลที่ทันสมยั จากการเปล่ยี นแปลงทางสงั คมอยูเ่ สมอ 5. เป็นการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆช่วยให้การเรียนการสอนพัฒนาขึ้น ความมุ่งหมาย ของการนิเทศการศกึ ษาคือ

  1. เพอื่ ช่วยให้ครูค้นหาและรู้วธิ กี ารทางานดว้ ยตนเอง
  2. เพื่อช่วยให้ครูได้รู้จักแยกแยะวิเคราะห์ปัญหาของตนเองโดยช่วยให้ครูรู้ว่าอะไรท่ีเป็น ปญั หาท่กี าลังเผชิญอยู่และจะแกป้ ญั หาเหลา่ นนั้ อย่างไร
  3. เพ่ือช่วยใหค้ รูรูส้ กึ มน่ั คงในอาชีพและมีความเช่ือม่ันในความสามารถของตน
  4. ชว่ ยให้ครคู ้นหาตาแหนง่ วทิ ยาการและสามารถนาไปใช้ในการเรียนการสอนได้
  5. ชว่ ยเผยแพร่ใหช้ ุมชนเขา้ ใจถึงแผนการศกึ ษาของโรงเรียนและใหก้ ารสนับสนุนโรงเรยี น
  6. ชว่ ยให้ครูเขา้ ใจถึงปรชั ญาและความต้องการทางการศึกษา การนิ เทศการ ศึกษาเ ป็น กิจ กร รมที่มุ่งพัฒ นาการจั ดการเ รีย นการ สอน ให้ มีป ระสิทธิ ภ าพ ช่วยส่งเสริมและรักษาคุณภาพของการศึกษาของโรงเรียน ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร การศกึ ษา สุกานดา ตปนียางกูล (2547 : 102) ได้กล่าวถึงการนิเทศไว้ว่าการนิเทศการเรียนการสอน เป็นกระบวนการสาคัญในทุกระดับ และกระบวนการนี้มีไว้เพื่อช่วยครูสอนนักเรียนได้ถูกต้อง ตามความม่งุ หมายของหลกั สตู ร หลกั สูตรทีน่ ามาใช้จะประสบผลสาเร็จเพียงใดข้ึนอยู่กับครูซ่ึงเป็นผู้ใช้ หลักสตู รโดยตรงและเปน็ ผทู้ ่จี ะต้องคอยช่วยเหลือหรือชี้แนะ ชี้ทาง ให้ครู ได้จัดการเรียนการสอนตรง ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการได้น้ัน ก็คือผู้นิเทศการสอน ซึ่งเมื่อนิเทศแล้วก็จะทาให้ทราบปัญหาของ การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนท่ีแท้จริงเพื่อจะได้นาไปสู่การแก้ไขปัญหาได้ถูกต้องทันท่วงทีและ ตรงจดุ ทส่ี ดุ ดังน้นั การนิเทศจงึ มคี วามจาเปน็ อย่างมากในกระบวนการศึกษา อาภา บุญช่วย (2547 :111) ได้กล่าวถึงความหมายและจุดมุ่งหมายของการนิเทศว่าหมายถึง ความพยายามทาทุกส่งิ ทกุ อยา่ งของผู้ที่อยู่ในโรงเรียน ต้ังแต่ผู้บริหารลงไป ในอันท่ีจะปรับปรุงส่งเสริม ประสทิ ธิภาพในด้านการเรยี นการสอนภายในโรงเรียนให้ดีขึ้น ทาให้เกิดการเพิ่มพลังในการปฏิบัติงาน ของครูรวมท้ังให้ครูเกิดความก้าวหน้าในวิชาชีพและก่อให้เกิดผลในข้ันสุดท้ายคือการศึกษาของเด็ก ก้าวหน้าไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมีจุดมุ่งหมายดงั นี้ 1. เพ่ือชว่ ยให้ทราบถึงสภาพปัญหาและความต้องการของโรงเรยี น 2. ใหค้ รูทส่ี อนไดจ้ ัดประสบการณ์ให้กบั เด็กได้อย่างถูกต้องตามจุดมงุ่ หมายท่วี างไว้ 3. เพอื่ ใหค้ รทู ส่ี อนตระหนักถงึ ปัญหาเกีย่ วกับการจัดประสบการณ์ใหส้ ามารถแกป้ ญั หาได้ 4. เพ่ือสนับสนนุ สง่ เสรมิ และใหก้ าลงั ใจแกค่ รูท่สี อน 5. เพื่อให้เกิดความร่วมมือและประสานงานกันเป็นอย่างดีภายในระบบงาน เพ่ือควบคุม มาตรฐานและพัฒนางานในดา้ นการสอนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพยงิ่ ขึน้ ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2546 : 223) ได้สรุปว่าการนิเทศการศึกษา เป็นการจัดการศึกษา ด้านหนึ่งเพื่อช้ีแนะ ให้ความช่วยเหลือและร่วมมือกับครู และบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา เพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอนของครู และเพ่ิมคุณภาพของนักเรียนให้เป็นไปตามเป้าหมาย

30

ของการจัดการศึกษา ส่วนการนิเทศการสอนเป็นงานย่อยของการนิเทศการศึกษา เพ่ือปรับปรุงและ พัฒนาการสอนในโรงเรียนโดยมุ่งที่พฤติกรรมของครูท่ีจะส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนและ หลักการนิเทศการสอนคือหลักแห่งการส่งเสริมความเจริญงอกงามให้ครูและนักเรียนการจัดอย่าง ประชาธิปไตย หลักการสร้างสรรค์ หลักการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ หลักการสร้างขวัญและกาลังใจและ หลกั การปรบั ปรุงการเรยี นการสอน เพื่อสง่ เสริมความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งโรงเรียนและหนว่ ยงานอ่นื

กมล ภู่ประเสริฐ (2554 : 74) ได้กล่าวเกี่ยวกับการนิเทศไว้ว่าการนิเทศและการพัฒนา บุคลากรมีความจาเป็นอยู่ตลอดเวลาเพราะถ้าไม่ใช่เพ่ือแก้ปัญหาภายในสถานศึกษาก็จะเป็น ความต้องการท่ีจะพัฒนาให้ก้าวหน้าย่ิงข้ึนตราบใดท่ียังต้องการพัฒนางานความต้องการการนิเทศ ภายในและการพฒั นาบคุ ลากรกย็ งั คงมอี ยู่

สรุปได้ว่า การนิเทศมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งต่อการจัดการเรียนรู้และ การพัฒนา คุณภาพการศึกษาให้บรรลุตามเป้าหมาย ซึ่งเป็นหน้าท่ีของผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากร ทางการศึกษาทกุ ฝา่ ยจะต้องใหค้ วามร่วมมอื กนั เพอื่ ใหก้ ารนิเทศการศึกษามีความชัดเจนข้ึน เน่ืองด้วย การนเิ ทศการศกึ ษามคี วามจาเป็นทส่ี าคัญได้แก่

1. เพอื่ ปรบั ปรุงคุณภาพการจดั การศึกษาให้ได้มาตรฐานใกล้เคียงกนั 2. ปริมาณศึกษานิเทศกไ์ ม่เพยี งพอกับความต้องการของครูในสถานศกึ ษา 3. บุคลากรในสถานศกึ ษามีความรู้ความสามารถความใกลช้ ิดปญั หาท่สี ุด 4. บรรยากาศในการนเิ ทศมคี วามเปน็ กนั เองสามารถปฏบิ ตั ิการนิเทศได้อย่างต่อเน่ือง

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 1. ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นคุณลักษณะความรู้และประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีบุคคลได้รับ

จากการเรยี นการสอนเพ่ือท่คี รูผสู้ อนจะได้ใช้ประเมินค่าระดับความรู้ความสามารถของนักเรียนเพื่อใช้ ในการตัดสินผลการเรียน พัฒนาการเรียนของนักเรียนและการจัดการเรียนรู้ของครู มีนักการศึกษา หลายทา่ นได้ให้ความหมายของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนดังนี้

บุญชม ศรสี ะอาด (2541 : 150) ใหค้ วามหมายผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น หมายถงึ ผลการเรียน ที่ได้จากการสอบท่ีมงุ่ ให้ผู้เรียนไดบ้ รรลตุ ามที่กาหนดไว้

ภพ เลาหไพบูลย์ (2542 : 295) ได้ให้ความหมายผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนว่าคือพฤติกรรม ที่แสดงออกถึงความสามารถในการกระทาสิ่งหนึ่งสิ่งใดได้ จากท่ีไม่เคยกระทาได้ กระทาได้น้อย ก่อนท่ีจะมกี ารเรยี นรู้ซง่ึ เปน็ พฤติกรรมทส่ี ามารถวัดได้

พิมพันธ์ เตชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2548 : 125) ได้ให้ความหมายว่าผลสัมฤทธิ์ทาง การเรยี นหมายถึงขนาดของความสาเรจ็ ท่ไี ด้จากกระบวนการเรยี นการสอน

กระทรวงศึกษาธกิ าร (2552 : 13) ได้บัญญัติศัพท์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไว้ว่า วัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน หมายถึง ความสาเร็จหรือความสามารถในการกระทาใดๆ ท่ีต้องอาศัยทักษะหรือ มฉิ ะน้ันก็ตอ้ งอาศัยความรอบรู้ในวชิ าหน่ึงวิชาใดโดยเฉพาะ

ประทีป ศรีวุ่น (2554 : 23) ให้ความหมายไว้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ท่เี กดิ จากการเรยี นการสอน การฝกึ ฝน หรือประสบการณ์ต่างๆของบุคคล และสามารถ วัดไดโ้ ดยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น

31

พชั รีย์ เอน็ ดรู าษฎร์ (2555 : 32) ให้ความหมายไว้ว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ผลที่ เกิดจากการอบรม สั่งสอน การค้นคว้า ประสบการณ์ต่างๆ หรือการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม ทแ่ี สดงออกถึงความสามารถทางด้านพทุ ธพิ สิ ยั ดา้ นจติ พิสัย และดา้ นทักษะพสิ ยั

ประดบั ศิลป์ ชากานนั (2556 : 33) สรุปไว้วา่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เป็นคณุ ลกั ษณะความรู้ ความสามารถและประสบการณ์การเรียนรู้ที่บุคคลได้รับจากการเรียนการสอนเป็นผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมในด้านต่างๆ ซึง่ สามารถตรวจสอบได้ จากการวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน

ปัญญา ศรีผายวงษ์ (2556 : 48) สรุปไว้ว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คุณลักษณะ ทางด้านความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทักษะทางด้านวิชาการท่ีเกิดจากบุคคล ที่ได้รับ การเรยี นการสอน ซง่ึ ตอ้ งอาศยั ทักษะและความรอบรู้ ซง่ึ สามารถสงั เกตและวดั ได้ดว้ ยแบบทดสอบ วัดผลสมั ฤทธ์ิในเร่ืองนน้ั ๆ

รดา วัฒนะนิรันดร์ (2558 : 43) สรุปไว้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง การตรวจสอบ ดูว่าผู้เรียนได้บรรลุถึงจุดมุ่งหมายทางการศึกษาตามที่หลักสูตรกาหนดไว้แล้วเพียงใด รวมถึงการ ประเมินผลความสาเร็จต่างๆภายหลังจาการเรียนรู้ และได้รับการส่ังสอนท้ังที่เป็นการวัด โดยใช้ แบบทดสอบแบบใหป้ ฏิบัติการ และแบบทไ่ี ม่ใช้แบบทดสอบด้วย

ณิชลกานต์ นิทะโน (2559 : 17) สรุปไว้ว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความสามารถ ทางด้านสติปัญญาของนักเรียนหรือความรู้ความคิดในการเรียนท่ีเกิดจากการเรียนรู้ การฝึกฝนและ สมรรถภาพทางสมองด้านตา่ งๆ

เจษฎายุทธ ไกรกลาง (2560 : 29) ได้ให้ความหมายว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหมายถึง คุณลักษณะด้านความรู้ความเข้าใจความสามารถในการนามวลประสบก ารณ์ท่ีได้รับจากการเรียน การสอนและการทากจิ กรรมตา่ งๆไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวัน

สรุปว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลท่ีเกิดจากการเรียนรู้ การสะสมประสบการณ์ ที่ผา่ นมา ในเรือ่ งใดเร่ืองหนง่ึ ซ่งึ สามารถวดั ไดโ้ ดยแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น

2. องค์ประกอบท่ีมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน Prescott (1961 : 14-44) ผู้อานวยการสถาบันค้นคว้าเรื่องเด็กแห่งมหาวิทยาลัย

แมรแี ลนดไ์ ด้สรปุ ปจั จัยทม่ี คี วามสมั พนั ธ์กบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนไว้ 6 ประการดงั นี้ 1. ปัจจัยด้านร่างกาย ได้แก่ อัตราการเจริญเติบโตของร่างกาย สุขภาพ

ขอ้ บกพร่องและลักษณะท่าทางของร่างกาย 2. ปัจจัยด้านความรัก ได้แก่ ความสัมพันธ์ของบิดามารดา ความสัมพันธ์ระหว่าง

บดิ ามารดาและบุตร ความสัมพันธร์ ะหว่างพ่ีน้อง และความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมาชิกในครอบครัว 3. ปัจจัยทางวัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อม ได้แก่ ขนบธรรมเนียมประเพณี ความ

เปน็ อยขู่ องสมาชกิ ในครอบครวั สภาพแวดล้อมทางบา้ น การอบรมและฐานะทางบ้าน 4. ปัจจยั ทางด้านความสมั พันธ์ในกลุ่มเพ่ือน ได้แก่ ความสัมพันธ์ของนักเรียน กับ

เพ่อื นวัยเดียวกัน 5. ปัจจยั การพัฒนาแห่งตน ได้แก่ สติปัญญา ความสนใจ เจตคติ และแรงจูงใจ 6. ปัจจยั การปรบั ตัว การแสดงอารมณ์

32

Bloom ได้กล่าวถึงตัวแปรท่ีมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในโรงเรียน ซงึ่ ประกอบด้วย 3 ตัวแปร ไดแ้ ก่ (Bloom อา้ งใน มานพ ทับทมิ เมอื ง, 2550 : 46)

1. พฤติกรรมด้านความรู้ ความคิด หมายถึง ความสามารถทั้งหลายของผู้เรียน ซ่ึงประกอบ ด้วย ความถนัด และพื้นฐานความรเู้ ดิมของผูเ้ รียน

2. คุณลักษณะทางจิตใจหมายถึง แรงจูงใจที่ทาให้ผู้เรียนเกิดความอยากเรียนรู้ สิ่งใหม่ๆ ได้แก่ ความสนใจในวิชาที่เรียน เจตคติต่อเนื้อหาวิชาและสถาบัน ระบบการเรียนการสอน การยอมรบั ความสามารถของตนเอง และลกั ษณะบุคลกิ ภาพ

3. คุณภาพการสอน หมายถึง ประสิทธิภาพท่ีผู้เรียนจะได้รับผลสาเร็จ ในการเรียนรู้ ได้แก่ การได้รับคาแนะนา การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การเสริมแรงจากครู การแกไ้ ขขอ้ บกพร่อง และการรผู้ ลสะทอ้ นกลบั ถงึ การกระทาของตนเองว่าถูกต้องหรอื ไม่

สายวรุณ บุญคง (อ้างใน ธัญกร คาแวง, 2550 : 23) ได้ให้ความหมาย องค์ประกอบ ที่มีอทิ ธิพลตอ่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง สง่ิ ที่มีส่วนส่งเสริมความสามารถในการเรียน หรือส่ิงที่ เป็นอุปสรรคต่อความสามารถในการเรียนของนักเรียน องค์ประกอบท่ีมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนแบง่ ออกเปน็ 2 องค์ประกอบ คอื

1. องค์ประกอบทางด้านสติปัญญาเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญส่วนหน่ึงท่ีมีผลต่อ ผลสมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถทางด้านการคิดของบุคคลอ่ืน เป็นผลจากการสะสมกันมา ของประสบการณ์ต่างๆรวมท้ังความสามารถท่ีติดตัวมาแต่กาเนิดซึ่งความสามารถเหล่านี้สามารถวัด ได้หลายทางคอื

1.1 สมรรถภาพทางสมอง (Mental Abilities) 1.2 ความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude) 1.3 ความคิดสรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) 1.4 ความสามารถในการแกป้ ญั หา (Problem Solving Ability) 2. องค์ประกอบที่ไม่ใช่ความสามารถทางสติปัญญา เป็นองค์ประกอบที่มี ความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เช่นเดียวกับองค์ประกอบทางด้านสติปัญญา ทั้งนี้ เพราะองค์ประกอบทางด้านน้ี จะช่วยให้ผู้ท่ีมีสติปัญญาเท่ากันมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแตกต่างกัน ตัวแปรที่ไม่ใช่ความสามารถทางด้านสติปัญญา ได้แก่ การปรับตัว พ้ืนฐานทางครอบครัว สภาพบ้าน ความสนใจ ความมุ่งหวัง ทัศนคติท่ีมีต่อสถาบัน ต่อวิชาเรียน และต่ออาจารย์ผู้สอน ปัญหาส่วนตัว ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม วุฒิภาวะ แรงจูงใจ ทักษะทางการเรียน วิธีการสอนของอาจารย์ ความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับเพ่ือน การเอาใจใส่ ทางการเรียน ปนัดดา บุญพาวัฒนา (2551 : 9) สรุปไว้ว่า ผลของพฤติกรรมการเรียน หรือ ที่เรียกว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนน้ัน จะข้ึนอยู่กับปัจจัยท่ีสาคัญ 2 ประการ ได้แก่ ปัจจัยภายใน ประกอบด้วย พันธุกรรม ความถนัด ความสามารถพื้นฐาน ความรู้เดิม แรงจูงใจ ตลอดจนเจตคติที่มี ต่อการเรียนและปัจจัยภายนอก ประกอบด้วย พ้ืนฐานครอบครัวและสังคม หลักสูตร ลักษณะ การเรียนการสอน พฤติกรรมการสอน สอ่ื การเรียน และสงิ่ แวดลอ้ มอน่ื ๆ

33

ศศิธร อนันตโสภณ (2554 : 11) สรุปไว้ว่า ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นมีหลายประการสามารถจาแนกไดเ้ ป็น 2 ดา้ น ไดแ้ ก่

1. ตัวแปรด้านภูมิหลังของนักศึกษา ได้แก่ ความรู้เดิม ความถนัด แรงจูงใจ อายุ เพศ เจตคตแิ ละค่านิยม อาชีพของบดิ ามารดา

2. ตวั แปรด้านสภาพแวดล้อมทางการเรียนได้แก่ วิธกี ารสอนของครู ประสิทธิภาพ ของโรงเรียน ความสัมพนั ธ์ในกลุ่มเพ่ือน

สรปุ วา่ องคป์ ระกอบทมี่ อี ิทธพิ ลตอ่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน เช่น พันธุกรรม ความถนัดความสนใจ ความรู้พ้ืนฐาน ทัศนคติที่มีต่อรายวิชา เป็นต้น ปัจจัยภายนอก เช่น ครอบครัว สังคม ส่ิงแวดล้อม การจัดการเรยี น การสอน ส่อื การเรยี น ครู เพ่อื นรว่ มชนั้ เรียน เป็นตน้

3. ลักษณะการวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น รวิวรรณ พวงสมบัติ (2553 : 51) การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นการตรวจสอบ

ความเปลี่ยนแปลงในดานต่างๆของสมรรถภาพทางสมองซ่ึงเป็นผลจากการฝึกฝนอบรม ในชวงท่ีผ่าน มาสามารถวัดได้ 2ดาน คือ การวัดด้านการปฏิบัติ และการวัดด้านเน้ือหา ตามจุดมุ่งหมายและ ลักษณะวิชาที่สอน

ปัญญา ศรีผายวงษ์ (2556 : 49) สรุปไว้ว่า ในการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ในแต่ละวิชานั้นสามารถวัดได้ 2 แบบ คือ การวัดด้านการปฏิบัติและการวัดด้านเนื้อหา ตามจุดมุง่ หมายและลักษณะของวิชาที่เรียน การวัดผลสัมฤทธ์ิด้านเนื้อหาโดยการเขียนตอบน้ัน เป็นที่ นิยมแพร่หลายในโรงเรียน ซ่ึงมีเครื่องมือท่ีใช้การสอบวัด เรียกว่า วัดสอบสัมฤทธิ์ หรือแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์

ประดับศิลป์ ชากานัน (2556 : 34) สรุปไว้ว่า การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในแต่ละวิชานั้น สามารถวัดได้ 2 แบบ คือ การวัดด้านการปฏิบัติการเป็นการวัดที่เน้นจากการปฏิบัติ หรือผลงานของนักเรียน และการวัดด้านเน้ือหา เน้นความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาตามจุดมุ่งหมาย และลักษณะวิชาเปน็ สาคัญ

สรปุ ไดว้ า่ การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมีการวัด 2 ด้าน คือ การวัดด้านการปฏิบัติ และการวัดด้านเนื้อหา ซ่ึงการวดั ดา้ นการปฏบิ ตั นิ ัน้ เป็นลักษณะการวัดที่เน้นกระบวนการการลงมือทา ของผเู้ รียน ส่วนการวัดดา้ นเนื้อหาเปน็ การวดั ดา้ นความรคู้ วามเข้าใจในสิง่ ทไี่ ดเ้ รียน โดยใช้เคร่ืองมือวัด เชน่ แบบทดสอบ เป็นต้น

4. หลกั การวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น บุญชม ศรีสะอาด (2537 : 57-58) กล่าวว่า การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นการ

วดั ผลการศกึ ษา ซ่ึงจะมปี ระสิทธิภาพและไดผ้ ลตามจุดมงุ่ หมายควรปฏบิ ัตติ ามหลักการต่อไปน้ี 1. วัดให้ตรงตามจุดประสงค์ในการวัด ควรวัดให้ตรงตามคุณลักษณะที่ต้องการวัด

เพื่อจะไดแ้ ปลความหมายใหถ้ กู ตอ้ งและไมผ่ ิดพลาดในการนาไปใช้ต่อไป ซึ่งความผิดพลาดทที่ าให้ การวดั ไมต่ รงตามจดุ ประสงค์มีดังนี้

1.1 ความไม่เขา้ ใจในคุณลักษณะทตี่ ้องการ 1.2 ใช้เคร่ืองมือไมส่ อดคล้องกบั ตวั แปรที่จะวดั

34

1.3 วดั ไมค่ รบถว้ น 1.4 เลอื กกลุม่ ตัวอย่างท่จี ะวดั ไม่เหมาะสม 2. ใช้เครื่องมือดีมีคุณภาพ ในการวัดผลการศึกษาเคร่ืองมือต้องมีคุณภาพ เพื่อผลท่ี ไดจ้ ากการวดั จะสามารถเชอ่ื ถือไดแ้ ละคะแนนที่ไดจ้ ากการวดั สามารถแปลได้ถูกต้อง 3. มีความยุติธรรม การวัดผลการศึกษา ซ่ึงจัดไว้เป็นการวัดตัวแปรทางด้านจิตวิทยา หรือทางสังคมศาสตร์ ถ้าจะให้ได้ผลดีต้องมีความยุติธรรม สิ่งที่ถูกต้องอยู่ภายใต้สถานการณ์ที่เป็นไป เหมือนๆกนั ไม่มกี ารลาเอยี ง หรอื เลือกทร่ี กั มักทีช่ งั ปรัชวี สวามิวัศดุ์ (2553 : 39) สรุปไว้ว่า หลักการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน คือ วัดใหต้ รงตามจุดประสงค์ในการวัด ใชเ้ ครอื่ งมือดมี คี ุณภาพ และมีความยตุ ธิ รรม สรปุ ว่าหลกั การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพในการวัดจะต้อง วัดให้ตรงตามจุดประสงค์ เคร่ืองมือที่ใช้ในการวัดมีคุณภาพเพ่ือให้มีความน่าเชื่อถือและแปลความได้ ถูกต้อง และมีความยตุ ธิ รรมในการวดั อยภู่ ายใต้สถานการณท์ เี่ หมือนกนั ไมล่ าเอยี ง

บรบิ ทของโรงเรยี นเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม 1. ข้อมลู ทว่ั ไป

ชื่อสถานศึกษา เหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม ต้ังอยู่ท่ีหมู่ 14 ตาบลนาข่า อาเภอมัญจาคีรี จังหวัด ขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ 40160 โทรศัพท์ 0956706574 e-mail : Lynakhawit @gmail.com Facebook : https://www.facebook.com/laoyainakhawit พ้ืนท่ีท้ังหมด 26 ไร่ 139 ตารางวา สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนต้ังแต่ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เขตพน้ื ทบ่ี ริการการศกึ ษา 3 ตาบล ได้แก่ ตาบลคาแคน ตาบลนางาม ตาบลนาขา่ 2. ข้อมูลเกย่ี วกับผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา

ช่ือ-สกุล ผู้บริหาร นางลัดดา ผาพันธ์ วุฒิการศึกษาสูงสุดปริญญาโท หลักสูตรศาสนศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งในโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2558 - ปัจจบุ นั 3. ปรชั ญา วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ และกลยุทธ์

3.1 ปรชั ญาของโรงเรยี น “นตฺถิ ปญญฺ าสมา อาภา” มีความหมายว่า “แสงสวา่ งเสมอด้วยปัญญา ไม่มี”

3.2 วิสัยทศั น์ ภายในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้

คูค่ ณุ ธรรม โดยยดึ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3.3 พนั ธกจิ 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนใฝ่รู้ ใฝ่เรียน คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล

มีคุณธรรมจริยธรรม 2. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมการใช้ทรัพยากร และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ในการจดั การเรียนการสอน

35

3. พัฒนาครู บุคลากรในการผลิตสื่อ-นวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษา และจัดบรรยากาศสิง่ แวดล้อมทีด่ ีภายในโรงเรยี น

4. สง่ เสริม สนบั สนนุ การมีส่วนร่วมของภาคีเครอื ขา่ ยในการบริหารจดั การของสถานศึกษา 3.4 กลยทุ ธ์

1. พฒั นาผเู้ รยี นให้มคี วามรู้คู่คุณธรรมโดยยดึ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. พัฒนาหลกั สตู รและกระบวนการจัดการเรยี นรู้เชงิ บรู ณาการ 3. พัฒนาสภาพแวดล้อม สื่อนวตั กรรม เทคโนโลยี ใหเ้ อ้ือตอ่ การจดั การเรยี นการสอน 4. บรหิ ารจัดการแบบมีสว่ นรว่ ม 4. จานวนครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผู้อานวยการ จานวน 1 คน ครู จานวน 12 คน พนักงานราชการ จานวน 1 คน เจ้าหน้าท่ีธุรการ จานวน 1 คน 5. จานวนนักเรียนข้อมูล ณ วันที่ 10 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2561

ตารางที่ 2.1 จานวนนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-6 โรงเรยี นเหล่าใหญ่นาขา่ วิทยาคม

สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 25

ระดับชั้นเรียน ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวม

จานวนหอ้ ง 111111 6

ชาย 12 10 11 5 5 5 48

เพศ หญงิ 9 1 12 6 3 5 36

รวม 21 11 23 11 8 10 84

เฉลย่ี ตอ่ ห้อง 21 11 23 11 8 10

แนวคิดการบรหิ ารวชิ าการโดยใช้ LNW’s style โรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม ได้ข้อสรุปจากการระดมความคิดทาให้ได้แนวทางในการ

พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ให้เหมาะกับบริบทของโรงเรยี น โดยมีรูปแบบของโรงเรียน ช่ือว่า LNW’s style การบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน (อ่านว่า ลอ – นอ – วอ – สะ - ไต) มีที่มา จากชือ่ ในภาษาองั กฤษของโรงเรยี น คอื LOAYAINAKHAWITTAYAKHOM SCHOOL มีตัวย่อเป็นอักษร ภาษาอังกฤษ L.N.W. และใชค้ าว่า Style เนือ่ งจากมแี นวคิดรว่ มกนั วา่ คาว่า Style หมายถึง รูปแบบ วิธีการ แนวทางที่จะนาไปสู่การพัฒนาผู้เรียนด้วยรูปแบบเฉพาะตัว เน้นกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ของผู้เรียนภายใตแ้ นวคดิ การใชห้ ลกั ธรรมชาติ อนั สอดคลอ้ งกับหลักธรรมทางพุทธศาสนา มาบูรณาการ ในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ทุกกระบวนการเน้นการมีส่วนร่วม ของทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง LNW’s style เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยให้สามารถกาหนดกรอบการทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และสามารถมองเห็นกระบวนการทางานท้ังหมดต้ังแต่ต้น จนสิ้นสุดกระบวนการ ดงั แผนภูมิที่ 2.1

36

แผนภูมทิ ่ี 2.1 วงจรการขับเคล่ือนแนวคิด LNW’s style

L (Leadership) คือ ภาวะผู้นา ผู้บริหาร ครูและนักเรียนทุกคนต้องเป็นผู้นาในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน แบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบในแต่ละด้าน โดยผลัดกันทาหน้าท่ีผู้นาผู้ตามท่ีดี N (Nature) คือการใช้หลักธรรมชาติซึ่งสอดคล้องกับหลักธรรมทางพุทธศาสนามาบูรณาการในการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน W (Weakness) คือจุดอ่อนของโรงเรียนซ่ึงเป็นปัญหาที่ทางโรงเรียน ต้องการทาการแก้ไข โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน S (Stakeholder) คือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน ใหก้ ารดูแลช่วยเหลอื และใหค้ วามรว่ มมือในการแกป้ ญั หา มีรูปแบบการทางานดงั แผนภมู ิท่ี 2.2

วิเคราะห/์ ค้นหา ปญั หาที่แทจ้ รงิ W = Weakness

ยึดหลักธรรมชาติในการแกป้ ัญหา N = Nature

ใช้ภาวะผู้นาของทุกคนในองคก์ รเป็นตวั ขับเคลอื่ น L = Leadership

โดยการดแู ลช่วยเหลือของผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย S = Stakeholder

แผนภมู ิที่ 2.2 รูปแบบการทางานของ LNW’s style การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพผูเ้ รียน

37

กิจกรรมการพฒั นาการอา่ นคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) จากปัญหาคุณภาพผู้เรียนของนักเรียนโรงเรียนเหล่าใหญ่นาข่าวิทยาคม ด้านผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียน เกิดจากการอ่านไม่คล่องและเขียนไม่คล่อง เพ่ือแก้ปัญหาดังกล่าว ผู้บริหาร คณะครู ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้จัดกิจกรรม เพ่ือพัฒนาการอ่านคล่องเขียนคล่อง 4 Group Development (4D) โดยมีรูปแบบ วิธกี ารดงั นี้

1. ครทู ุกคนชว่ ยกนั จัดกิจกรรมเปน็ ทมี ในรปู แบบ Team Teaching เนน้ กระบวนการทางาน เปน็ ทมี แบ่งหนา้ ท่ีรับผิดชอบทชี่ ดั เจน ใช้ภาวะผนู้ าของหัวหน้าทีมเป็นตวั ขับเคลื่อน

2. จดั เป็นกจิ กรรมซ่อมเสรมิ สปั ดาห์ละ 3 คาบ 3. นักเรียนทุกคน ทุกระดับชั้น เข้าร่วมกิจกรรม แบ่งนักเรียนออกเป็น 4 กลุ่ม โดยใช้แบบ คดั กรองการอ่านและเขยี น ของศิวกานท์ ปทมุ สตู .ิ (2554). เด็กอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ง่ายนิดเดียว เพื่อพฒั นาได้ตรงตามกลุ่มเปา้ หมาย ดังนี้ กลุ่ม 1 กลุ่มใกล้ชิด คือ กลุ่มนักเรียนท่ีต้องการการเอาใจใส่ดูแลเป็นพิเศษ เนื่องจากมีทักษะ ในการอ่าน การเขียนอ่อน ต้องพัฒนาในเรื่อง การผสมสระ ผันวรรณยุกต์ อ่านสะกดคาตามมาตรา ตัวสะกด กลุ่ม 2 กลุ่มห่วงใย คือ กลุ่มที่มีพัฒนาการด้านทักษะการอ่านการเขียนดีขึ้น สามารถอ่านคา ที่ยากขน้ึ ได้ อา่ นคาตงั้ แต่สองพยางค์ขน้ึ ไปได้ อ่านออกเสยี งคาควบกล้าได้ถูกต้อง และบอกความหมาย ของคางา่ ยๆ เรยี นรู้มาตราตัวสะกดแบบตรงตวั ตงั้ แตส่ องพยางคข์ ้นึ ไปได้ กลุ่มท่ี 3 กลุ่มพัฒนา คือ กลุ่มท่ีสามารถพัฒนาได้ตามศักยภาพของนักเรียนแต่ละบุคคล สามารถอ่านและเขยี นความเรยี ง สอื่ ความหมาย และตคี วามของประโยคท่อี ่านได้ กลุ่มที่ 4 กลุ่มส่งเสริม คือ กลุ่มที่สามารถส่งเสริมความสามารถในการอ่าน การเขียน ได้ตาม ศักยภาพของนักเรียน นักเรียนกลุ่มน้ีสามารถสื่อความหมายของภาษาได้อย่างถูกต้อง เขียนและ จับใจความของประโยคที่ได้อ่าน สื่อภาษาและตีความหมายของประโยคและบทกวี สื่อความหมาย ได้อย่างถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษาไทย

งานวิจยั ที่เก่ียวข้อง 1. งานวจิ ยั ในประเทศ กุลชญา เท่ียงตรง (2550) ได้ศึกษาการบริหารงานวิชาการตามแนวการปฏิรูปการศึกษา

ของสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียนเทศบาลเขตการศึกษา 5 ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการบริหารงานวิชาการตามแนวการปฏิรูปการศึกษา ของสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมาก 9 ด้าน เรียงลาดับค่าเฉล่ีย คือ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา การวัดผลประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน การวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพ การศึกษา การพัฒนาส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยี การนิเทศการศึกษา การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ และ การแนะแนวการศึกษา ส่วนด้านท่ีอยู่ในระดับปานกลาง 3 ด้าน เรียงลาดับค่าเฉล่ียคือ การส่งเสริม และสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา การส่งเสริมความรู้ทางวิชาการแก่ชุมชน และการประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการ สถานศึกษาและองค์กรอื่น 2) ผลการเปรียบเทียบสภาพการบริหารงานวิชาการตามแนวปฏิรูป

38

การศึกษา จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา โดยสภาพการบริหารงานวิชาการตามแนวการปฏิรูป การศึกษาของสถานศึกษาขนาดเล็กน้อยกว่าสถานศึกษาขนาดใหญ่อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และนอ้ ยกว่าสถานศึกษาขนาดกลางอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 3) สภาพปัญหาและ แนวทางแก้ปัญหาการบริหารงานวิชาการตามแนวปฏิรูปการศึกษา ที่พบมากที่สุดในแต่ละด้าน เรียงลาดับความถี่จากมากไปน้อย 3 อันดับดังน้ี ปัญหาด้านการประสานความร่วมมือในการพัฒนา วิชาการ กับสถานศึกษาและองค์กรอื่นคือ ขาดการประสานงานกับสถานศึกษาและองค์กรอ่ืน มีแนวทางการแก้ปัญหาตามลาดับ คือ สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการทางานวิชาการกับ หน่วยงานอื่นและส่งเสริมการประสานงานจัดการฝึกอบรมครูร่วมกันให้มากข้ึน รองลงมา เป็นปัญหา ดา้ นการวิจยั เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา คอื ครูขาดความรูค้ วามเขา้ ใจในการทาวิจัยในช้ันเรียนทาให้ ครูไม่กล้าทาวิจัย เกรงว่างานวิจัยที่ทาไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ แนวทางแก้ปัญหา คือ การอบรม สัมมนาเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจและจัดศึกษาดูงานแลกเปล่ียนเรียนรู้ การทาวิจัยบ่อยๆ อย่างต่อเน่ืองจากสถานศึกษาอ่ืนและปัญหาด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ คือ ครูขาดความรู้ ความเข้าใจวธิ ีการจดั กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ฝึกฝนให้ ผู้เรียนคิดวิเคราะห์แนวทางแก้ปัญหา คือ ผู้บริหารควรจัดอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ โดยเชิญ วิทยากรผู้มีความรู้ความเช่ียวชาญ มาสาธิตและฝึกปฏิบัติวิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ ท่ีเน้นผู้เรียน เปน็ สาคญั ท่ใี ห้ผเู้ รยี นคิดวิเคราะห์และลงมอื ปฏิบตั ิไดจ้ ริง

สารพัฒน์ แซ่อุ้ย (2550) ได้ศึกษาการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในโรงเรียนที่จัดสอนระดับมัธยมศึกษา ในอาเภอปลายพระยา สังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษากระบ่ี ผลการวิจัยพบว่าโรงเรียนส่วนใหญ่มีระดับการปฏิบัติมาก ทั้ง 9 ด้าน คือ 1) การพัฒนาหลักสูตร มีการจัดทามาตรฐานการเรียนรู้ ปรับโครงสร้างหลักสูตร จัดทาผลการเรียนรู้ที่คาดหวังทุกกลุ่มสาระ และทุกระดับช้ัน 2) การจัดการเรียนการสอนมีการเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ ครูจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ 3) การประเมินผลการเรียนจัดให้มีการประเมินตามเกณฑ์การวัดและ ประเมินผลของกระทรวงศึกษาธิการ ถือหลักการประเมินตามสภาพจริงเพ่ือการพัฒนา 4) การนิเทศ ภายในสถานศึกษา เปิดโอกาสให้ครูมีส่วนร่วมในการวางแผน จัดทาแผนการนิเทศและนิเทศแบบ กัลยาณมิตร 5) การพัฒนาบุคลากร จัดให้มีการพัฒนาบุคลากร โดยการอบรมประชุมอย่างสม่าเสมอ

  1. การวิจัยและพัฒนาส่งเสริมให้ครูมีการจัดหาหรือจัดทานวัตกรรมมาแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้
  2. การจัดทาโครงการทางวชิ าการ ส่งเสริมให้ดาเนินตามกิจกรรมในโครงการเพ่ือให้สอดคล้องกับแผน กลยุทธ์ 8) การจัดทาระบบข้อมูลและสารสนเทศทางวิชาการ จัดให้มีผู้รับผิดชอบงานระบบข้อมูล สารสนเทศอยา่ งชัดเจน 9) การประเมินผลงานทางวชิ าการ มกี ารสรา้ งความตระหนักให้แก่บุคลากรใน การประเมนิ ผลงานทางวชิ าการประจาปเี พอื่ พัฒนาทางการศึกษา

สมคิด สกุลสถาปัตย์ (2552) ได้ศึกษารูปแบบภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงท่ีมี ประสิทธิผลในการปฏิรูปการศึกษาอย่างยั่งยืน พบว่า องค์ประกอบภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงที่มี ประสิทธิผลประกอบด้วย การสร้างส่ือกลางท่ีมีศักยภาพในการใช้ความฉลาดทางอารมณ์เป็นฐาน การสร้างแรงบันดาลใจ การคานึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล การกระตุ้นการใช้ปัญญาและการใช้ อิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ สาหรับองค์ประกอบการปฏิรูปแบบย่ังยืน ประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลง สมดุลอย่างต่อเน่ือง เน้นผู้เรียน ปัจจัยนาเข้ามีพลังขับเคล่ือน ผลผลิตมีคุณภาพ ผลลัพธ์ที่มีดุลยภาพ

39

เชิงพลวัต บริบทเหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้แบบพอเพียง ซ่ึงปัจจัยภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง มีอทิ ธิพลตอ่ ปัจจยั นาเขา้ มพี ลังขบั เคลอ่ื น กระบวนการเปล่ียนแปลงสมดุลต่อเนื่อง โดยท้ังทางตรงและ ทางอ้อมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และรูปแบบที่ได้ มีความถูกต้องเหมาะสมเป็นไปได้ และสามารถ นาไปใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ริง

ขวัญใจ ขุนทานาย (2553) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการ ของผู้บริหารโรงเรียนกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ในกลุ่มการศึกษาที่ 9 ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผนู้ าทางวิชาการของผบู้ ริหารโรงเรยี น โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับ มาก ท่ีมีระดับภาวะผู้นาทางวิชาการสูงท่ีสุดคือด้านการนิเทศ และติดตามการนาหลักสูตรไปใช้ คือ ด้านการใชเ้ ทคโนโลยีและข้อมูลที่หลากหลายในการพัฒนาตามลาดับ ส่วนด้านที่มีค่าเฉล่ียต่าที่สุด คือ ด้านการเสริมสร้างความร่วมมือกับผู้ที่เก่ียวข้อง 2) ภาวะผู้นาของผู้บริหารโรงเรียนมีความสัมพันธ์ กับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนอยู่ในระดับปานกลางอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 ได้พบว่า ภาวะผู้นาทางวิชาการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา สูงสุด โดยมีความสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง รองลงมาคือ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษและวิชาคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับปานกลางและมีความสัมพันธ์ ทางผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์และวชิ าภาษาไทยอยใู่ นระดับค่อนขา้ งต่าตามลาดบั

วีชัย ทีฆพิพัฒน์ (2553) ได้ศึกษาการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาในอาเภอพระแสง เขตพ้ืนที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ผลการวิจัยพบว่า การบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา ในอาเภอพระแสง เขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 โรงเรียนส่วนใหญ่มีการปฏิบัติในระดับมาก ทั้ง 9 ด้าน คือ 1) การบริหารหลักสูตร โรงเรียนได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ในหลักสูตรสถานศึกษาสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ทรัพยากร สภาพการดารงชีวิตและปัญหาต่างๆ ของชมุ ชน 2) การบริหารการเรยี นการสอน ครูผู้สอนแต่ละกล่มุ สาระ ไดส้ อดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ในกิจกรรมการเรียนการสอนทุกคร้ัง 3) การวัดและประเมินผลการเรียน 4) การนิเทศภายใน สถานศึกษา ครูมีการแลกเปล่ียนประสบการณ์และแสดงความคิดเห็นในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนระหว่างเพื่อนครูด้วยกัน 5) การพัฒนาบุคลากรทางวิชาการ โรงเรียนควบคุมดูแลให้มี การดาเนินงานพัฒนาบุคลากรทางด้านวิชาการ ให้เป็นไปตามแผนงานของโรงเรียน 6) การวิจัยและ พัฒนา โรงเรียนส่งเสริมให้ครูมีการวิจัยในชั้นเรียน 7) การจัดโครงการทางวิชาการอื่นๆ โรงเรียน ควบคุมดูแลให้มีการดาเนินงานตามแผนงานโครงการทางวิชาการท่ีกาหนด 8) ระบบข้อมูลและ สารสนเทศทางวิชาการ โรงเรียนนาข้อมูลและสารสนเทศทางด้านวิชาการไปใช้ในการวางแผน เชิงกลยุทธ์และจัดทาแผนปฏิบัติการของโรงเรียน 9) การประเมินผลงานทางวิชาการของสถานศึกษา โรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

เสาวพรรณ มีแสง (2553) ได้ศึกษาการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา อาเภอนาโยง สังกัดเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตรัง เขต 1 ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน ส่วนใหญ่มีระดับการปฏิบัติมาก ทง้ั 12 ดา้ น คอื 1) ด้านการพัฒนาหลกั สตู รโรงเรียนได้กาหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจเป้าหมาย คุณลักษณะ อนั พึงประสงค์โดยใหร้ ว่ มกันกาหนดจากการวิเคราะห์ของโรงเรยี น 2) ดา้ นกระบวนเรียนรู้ ครูส่วนใหญ่

40

ไดจ้ ัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยสอดแทรกให้ปลกู ฝังค่านยิ ม จริยธรรม คุณธรรม ตามคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 3) ด้านการวัด ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน ครูวัดผลและประเมินผล ตามสภาพจริงได้จัดทาระเบียบและแนวปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั การวดั และประเมนิ ผลของโรงเรยี น 4) การวจิ ยั เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนได้นาผลการวิจัยเกี่ยวกับการบริหารจัดการและการพัฒนา คุณภาพงานวิชาการมาแจ้งให้คณะครูทราบเพื่อนาผลการวิจัยมาปรับใช้ 5) การพัฒนาส่ือนวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โรงเรียนให้ครูผลิตและพัฒนาสื่อเอกสารประกอบการเรียน ใบงาน แบบฝึก เพ่ือใช้ในโรงเรียน 6) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ครูมีการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในหรือภายนอก โรงเรียนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รวมถึงการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อกาหนด ใน แผนการจัดการเรียนรู้ 7) การนิเทศการศึกษา โรงเรียนมีการนาผลการนิเทศมาพัฒนางานนิเทศของ โรงเรียน 8) การแนะแนวการศึกษา โรงเรียนมีการประชุมนักเรียนเกี่ยวกับการดารงชีวิตที่ดีในสังคม

  1. การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนได้กาหนดเกณฑ์การประเมิน เป้าหมายความสาเร็จตามมาตรฐานการศึกษา และตัวช้ีวัดของกระทรวงฯ เขตพ้ืนที่ และสมศ . เพื่อเป็นแนวทางในการประเมินคุณภาพของโรงเรียน 10) การส่งเสริมความรู้ทางวิชาการแก่ชุมชน โรงเรยี นไดส้ ง่ เสริม สนับสนุน ให้ผู้ปกครองและประชาชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม ทางวิชาการโดยเฉพาะภูมิปัญญาท้องถิ่น 11) การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับ สถานศึกษาและองค์กรอื่น โรงเรียนเข้าร่วมเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนางานวิชาการกับ หน่วยงานอื่นๆ 12) การส่งเสรมิ และสนบั สนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและ สถาบันอื่นที่จัดการศึกษา โรงเรียนได้จัดให้มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็นของผู้ปกครองเกี่ยวกับ การเล้ียงดูและอบรมนักเรยี นทางบ้านกบั คณะครูเพือ่ พฒั นานักเรยี นร่วมกนั

2. งานวิจัยต่างประเทศ สมิท (Smith, 1971) ได้ทาการวิจัยการพรรณนาเกี่ยวกับพฤติกรรมท่ีมีประสิทธิผล

และประสิทธิภาพของครูใหญ่โรงเรียน ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมของผู้ใหญ่ท่ีทาให้งานเกิด ประสิทธิผลนั้น เรียงลาดับจากมากไปหาน้อย คือ 1) สร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้บริหารระดับสูงกว่า คณะกรรมการ 2) การวางแผนและร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับคณะครูในโรงเรียน 3) สร้างความเข้าใจ ในการติดต่อท่ีดีระหว่างบ้านกับโรงเรียน 4) กระตุ้นให้ครูมีการพัฒนาทั้งด้านอาชีพ และด้านส่วนตัว

  1. ทาให้มีความมั่นคงและเช่ือมั่นในตนเองสูงในบรรยากาศของโรงเรียน 6) อุปการะครู 7) ร่วมมือ ในกิจกรรมที่ก่อให้เกิดประสิทธิผลและให้ความถูกต้องและยุติธรรมเท่าท่ีทาได้ 8) พัฒนาตนเอง ในด้านวชิ าการ 9) สามัคคีร่วมมือกับครู ส่งเสรมิ โรงเรียนของตน 10) ทางานตามโครงการพัฒนาต่างๆ ของโรงเรียนอยา่ งต่อเน่อื ง 11) ทางานอย่างมีสัมพันธภาพอนั ดยี ิ่งกบั ชมุ ชน 12) เป็นผู้นาทางวิชาการ

แมคคาธี (Mc Cathy, 1976) ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับบทบาทการบริหารงาน วิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในรัฐนิวเจอร์ซี่ จากการศึกษากลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้บริหาร ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายวิชาการ หัวหน้าหมวดวิชาและครู ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มครูมีความเห็น ไม่สอดคล้องกับผู้บริหารและผู้ช่วยฝ่ายวิชาการเกี่ยวกับบทบาทในการปฏิบัติงานวิชาการ เร่ือง การสังเกตการณ์การสอน การวัดและประเมินผล การจัดตั้งคณะกรรมการการบริหารงานวิชาการ ความรับผิดชอบในการตัดสินใจของคณะกรรมการ นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีความเห็น