ข นตอนการสอนแบบโครงงาน ประสาท เน องเฉล ม 2558 กล าวว า

แแนบวบทโคางรกงางราจนัดเปกน็ ารฐเารนยี นรู้

หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์

สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

หน่วยศกึ ษำนเิ ทศก์

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชวี ศกึ ษำ www.nited.vec.go.th

แนวทางการจดั การเรียนรู้ แบบโครงงานเปน็ ฐาน

(Project-based Learning: PjBL)

หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning: PjBL)

พิมพ์ครัง้ ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 จานวน 2,500 เล่ม พิมพค์ รงั้ ท่ี 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 จานวน ๑,๐00 เลม่

ลขิ สทิ ธิ์ของหนว่ ยศกึ ษานิเทศก์ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

พิมพ์ท่ี หา้ งหุ้นสว่ นจากัด สนิ ทวีกิจ พรนิ้ ต้ิง (สานกั งานใหญ)่ 77/41 หมู่ที่ 7 ตาบลคลองโยง อาเภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท์ 086-4902261, 034-964459, 034-964460 โทรสาร 034-964460

คำนำ

แนวทางการจดั การเรยี นรแู ้ บบโครงงานเป็ นฐาน

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้กาหนดนโยบายในการจัดอาชีวศึกษาเพื่อให้ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซงึ่ เน้นการปฏิรปู การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาทกุ ระดบั และพระราชบัญญัติ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 ท่ีเน้นการจัดอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพให้สอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติ เพ่ือผลิตกาลังคนท่ีมีสมรรถนะ วชิ าชพี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ สามารถนาไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ตรง ตามความต้องการของตลาดแรงงานทส่ี อดคลอ้ งกับความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี หรอื ประกอบ อาชพี อิสระ

เพื่อให้การจัดการศึกษาตอบสนองนโยบายดังกล่าว สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดต้ ระหนักถงึ ความสาคัญของการจัดการศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 ที่มุ่งเน้นให้ผเู้ รียนเปน็ ผู้สรา้ งความรู้ ท่ีเป็นของตนเองข้ึนมา ทั้งจากความรู้เดิมหรือจากความร้ทู ี่รับเข้ามาใหม่ จึงนาไปสู่การปรับวิธีเรียน เปล่ียนวิธีสอนท่ีครูต้องปรับบทบาทเป็นผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) ผู้เรียนต้องลงมือปฏิบัติ ด้วยตนเองและสร้างองค์ความรู้ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้า รวมทั้งมีส่วนร่วมในการเรียนมากยิ่งข้ึน โดยผ่านการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning: PjBL) ท่ีเป็นการ จัดการเรียนการสอนวิธีหน่ึงที่จะส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ใช้ทักษะกระบวนการเรียนรู้ท่ีผู้เรียน ตอ้ งแสวงหาความรู้ ใชก้ ระบวนการคิด และพฒั นาทกั ษะในการแก้ปญั หา

เอกสารแนวทางการจดั การเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็นฐาน จดั ทาข้ึนเพอื่ ใชเ้ ป็นแนวทางในการนา การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา โดยเน้ือหาในเอกสารประกอบด้วย ความเป็นมา แนวคิด ประเภท ขั้นตอนและแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน พร้อม ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อช่วยให้การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานในสถานศึกษา เป็นรปู ธรรมและมีประสิทธภิ าพย่งิ ข้นึ

หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ขอขอบคณุ คณะกรรมการดาเนินงาน ผู้ทรงคณุ วฒุ ิและผู้เกีย่ วข้องทุกทา่ น ที่ให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะและข้อมูลต่าง ๆ ในการจัดทาเอกสารฉบับนี้ให้สาเร็จลุล่วงด้วยดี และ หวงั เป็นอยา่ งย่งิ ว่าเอกสารฉบับน้จี ะเปน็ ประโยชนแ์ กส่ ถานศึกษาตอ่ ไป

หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

เมษายน 2559

สำรบญั หน้า 1 แนวทางการจดั การเรยี นรแู ้ บบโครงงานเป็ นฐาน 1 1 บทนา 2  ความเปน็ มา 3  แนวคดิ เกีย่ วกับการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงานเปน็ ฐาน  นิยามศพั ท์ 4  ประเภทของโครงงาน 4 5 ข้ันตอนการจัดการเรียนรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน 6  ขนั้ ตอนท่ี 1 การเตรยี มความพรอ้ ม 8  ขน้ั ตอนที่ 2 การกาหนดและเลอื กหัวข้อ 9  ข้นั ตอนท่ี 3 การเขียนเคา้ โครงของโครงงาน 10  ขน้ั ตอนที่ 4 การปฏิบตั งิ านโครงงาน  ขั้นตอนที่ 5 การนาเสนอผลงาน 12  ขนั้ ตอนที่ 6 การประเมินโครงงาน 13 15 รปู แบบการจดั การเรยี นรูแ้ บบโครงงานเป็นฐาน  การจดั การเรียนร้แู บบโครงงานเปน็ ฐานทงั้ รายวชิ า 17  การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเปน็ ฐานเฉพาะบางหัวข้อในรายวชิ า 19 เอกสารอา้ งองิ 21 39 ภาคผนวก 65  ตัวอย่างแผนการจดั การเรยี นรู้แบบโครงงานเป็นฐานทง้ั รายวชิ า 70  ตวั อยา่ งการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐานเฉพาะบางหน่วยการเรยี นรู้  คาสัง่ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่ี 137/2558  คณะผจู้ ัดทา

แนวทางการจัดการเรียนรูแ้ บบโครงงานเปน็ ฐาน 1

บทนำ

แนวทางการจัดการเรยี นรแู ้ บบโครงงานเป็ นฐาน

ความเป็นมา

กระแสการเปลี่ยนแปลงโลกจากการก้าวผ่านศตวรรษที่ 20 เข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 ส่งผล กระทบท้ังทางสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม การเมืองและการจัดการศึกษาของทุกประเทศ ดังนั้น ประเทศไทยจึงจาเป็นต้องมีการวางแผนการพัฒนากาลังคนท่ีเหมาะสม และจัดการศึกษาให้สอดรับ กับกระแสการเปลี่ยนแปลงดงั กลา่ ว

แนวคิดทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 เช่อื ว่ารูปแบบการศกึ ษาแบบเดมิ ท่ีเนน้ ยา้ แต่การเรียนและ ท่องจาเนื้อหาในสาระวิชาหลักนั้น ไม่เพียงพอต่อการดารงชีวิตและการทางานภายใต้ความท้าทาย ในโลกศตวรรษใหม่ แนวคิดใหม่น้ีให้ความสาคญั กับผลสมั ฤทธ์ิของการเรียนรู้และการปลูกฝังทักษะ ท่ีจาเป็น ได้แก่ ทักษะในการคิดข้ันสูง ทักษะในการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะชีวติ และการทางาน ทักษะด้านสารสนเทศและการส่ือสาร ควบคู่กับเนื้อหาในสาระวิชาหลักและความรอู้ ่ืนที่สาคัญ ผ่าน หลักสูตรที่สร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ รู้จักคิด รักการเรียนรู้ มีสานึกพลเมือง มีคุณธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทางานร่วมกับผู้อื่น นอกจากน้ี การเรียนรู้ยังต้องผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเน้ือหาและวิธีการสอน โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุน ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ในการพฒั นาเนือ้ หาและทักษะแบบใหมอ่ กี ด้วย (สถาบันวิจัยเพอื่ การพฒั นาประเทศ ไทย, 2557)

ในการปฏิรูปการศึกษาของไทย ได้ใช้แนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นเป้าหมายหลัก และปรับเนื้อหา สมรรถนะและลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียนให้สอดคล้องกับเป้าหมายดังกล่าว ผ่านหลักสูตรที่เน้นแนวคิดหลักและสาระสาคัญในสาระการเรียนรู้ โดยเรียนรู้ผ่านโครงงาน การแก้ปัญหา การทางานเป็นทีม และการสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการหาความรู้ด้วยตนเอง พัฒนาผู้เรียนในการคิดข้ันสูง และสามารถเช่ือมโยงองค์ความรู้ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ด้วยเหตุนี้ผู้สอนจึงต้องปรับเปล่ียนวิธีการสอน โดยนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 มา ออกแบบการเรียนร้ใู ห้เหมาะสม

แนวคิดเกี่ยวกบั การจดั การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน

แนวคิดที่นักการศึกษาส่วนใหญ่ให้ความสนใจและเห็นว่าสอดคล้องกั บการจัดการศึกษา ในศตวรรษที่ 21 มากที่สุด คือ ทฤษฎีการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม (Constructivist Learning Theory) ได้แก่ ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) และทฤษฎีการสร้างความรู้ ดว้ ยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิน้ งาน (Constructionism) ซ่ึงมีความเช่ือว่าการเรียนรู้จะเกิดข้ึนเมื่อ ผู้เรียนได้สร้างความรู้ที่เป็นของตนเอง สร้างความรู้ท่ีเกิดจากความเข้าใจของตนเอง และมีส่วนร่วม

2 แนวทางการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงานเป็นฐาน

ในการเรียน (Active Learning) มากขึ้น รูปแบบจากการเรียนรู้ที่เกิดจากแนวคิดน้ีมีหลายรูปแบบ ได้แก่ การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) การเรียนรู้แบบช่วยเหลือกัน (Collaborative Learning) การเรียนรู้โดยการค้นคว้าอย่างอิสระ (Independent Investigation Method) รวมท้ัง การเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเป็นฐาน (Problem–Based Learning) (ยรรยง สินธง์ุ าม, 2556)

การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning: PjBL) เป็นการ สง่ เสริมการเรียนรู้ตลอดชีวติ สอดคลอ้ งกับทฤษฎกี ารสร้างความรู้ด้วยตนเอง ทฤษฎีการสรา้ งความรู้ ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ช้ินงาน และการเรียนรู้แบบร่วมมือ ซึ่งมีขั้นตอนการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กับการแสวงหาความรู้ การใช้กระบวนคิด และทักษะในการแก้ปัญหา ผู้เรียนจะเรียนรู้โดยสร้าง องค์ความรู้ด้วยตนเองโดยใช้โครงงานเป็นฐาน ซ่ึงการจัดการเรียนรู้ลักษณะน้ี ผู้เรียนต้องศึกษา ค้นควา้ ทดลอง ปฏิบัตแิ ละแก้ปัญหา เพื่อสร้างผลงานหรอื ชิ้นงาน เปน็ การฝึกให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก การกระทาเพ่ือสร้างองค์ความรู้ที่ถาวรด้วยตัวผู้เรียนเอง ทั้งนี้ ผู้เรียนอาจทาเป็นกลุ่มเล็กหรือเป็น กลมุ่ ใหญ่กไ็ ด้ ซง่ึ จะเป็นการฝึกใหผ้ เู้ รียนเกดิ ทกั ษะการทางาน เป็นทีม ได้รว่ มมอื รว่ มใจในการทางาน เพอื่ ให้บรรลเุ ป้าหมายของกลมุ่ และเกิดผลสาเร็จรว่ มกัน

สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ตระหนักถึงความสาคญั ของการจัดการเรียนรูแ้ บบ โครงงานเปน็ ฐาน ในการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นให้มีทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จึงกาหนดเป็นนโยบาย หลักในการขับเคลื่อนสู่สถานศึกษา โดยการจัดการเรียนร้แู บบนี้เป็นการเรียนร้ทู ่ีผู้เรียนร่วมกันศกึ ษา ค้นคว้า ทดลอง ปฏิบัติและแก้ปัญหา เป็นการพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ท่ีเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้สืบค้น เพ่ิมทักษะการคิดและการพึ่งพาตนเอง ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ความรู้ ทักษะและประสบการณ์ของตนเอง แสดงออกถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการศึกษาเรียนรู้และความคิด สร้างสรรค์ ด้วยการจดั การเรยี นรู้ที่เน้นการมสี ว่ นร่วม การแลกเปลย่ี นประสบการณ์ การฝึกฝนทักษะ การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นประชาธิปไตย กระบวนการเรียนรู้ประกอบด้วย การ กาหนดประเด็นปัญหา การกาหนดวิธีหาคาตอบ และการสรุปองค์ความรู้จากโครงงาน (หน่วย ศกึ ษานิเทศก์, 2556)

นยิ ามศัพท์

การจัดการเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการจัดสถานการณ์ สภาพการณ์ หรือกิจกรรม การเรียนรูใ้ ห้ผู้เรียนไดม้ ีประสบการณ์ เกิดการเรยี นรู้ พฒั นาตนเองในทุกดา้ นอยา่ งเตม็ ศักยภาพ

การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning: PjBL) หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นการใช้กิจกรรมโครงงาน ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียมความพร้อม ขั้นกาหนดและเลือกหัวข้อ ขั้นเขียนเค้าโครงของโครงงาน ขั้นปฏิบัติงาน โครงงาน ข้นั นาเสนอผลงาน และข้ันประเมินโครงงาน

แนวทางการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงานเป็นฐาน 3

โครงงานหรือโครงการ (Project) ซึ่งในท่ีนี้ใช้คาว่า “โครงงาน” หมายถึง กิจกรรมท่ี เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และ ความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการ 6 ข้ันตอน ในการศึกษาหาคาตอบในเร่ืองนั้น ๆ โดยมีครูผู้สอนหรือ ครูที่ปรึกษาคอยกระตุ้น แนะนา และให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด โครงงานสามารถทาได้ท้ัง ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ซึ่งผู้เรียนอาจทา เป็นกลุ่มเล็กหรือเป็นกลุ่มใหญ่ก็ได้ อาจเป็นโครงงานเล็ก ๆ ท่ีไม่ยุ่งยากซับซ้อน หรือเป็นโครงงานใหญ่ ท่ีมคี วามยากและซบั ซ้อนข้ึนก็ได้ ท้ังนี้ อาจขึ้นอยู่กับประเภทของโครงงาน ระยะเวลา หรือขอบเขตของ การศึกษา

ประเภทของโครงงาน

โครงงานแบง่ เปน็ 4 ประเภท ดงั นี้ (ปรชั ญนนั ท์ นลิ สขุ , 2558) 1. โครงงานประเภทสารวจ (Survey Project) 2. โครงงานประเภททดลอง (Experimental Project) 3. โครงงานประเภทสงิ่ ประดิษฐ์ (Development Project) 4. โครงงานประเภททฤษฎี (Theory Project) ซง่ึ โครงงานแตล่ ะประเภท จะมลี กั ษณะแตกตา่ งกนั ดงั นี้

1. โครงงานประเภทสารวจ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจและรวบรวมข้อมูล เก่ียวกับเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง แล้วนาข้อมูลที่ได้จากการสารวจนั้นมาจาแนกเป็นหมวดหมู่ และนาเสนอ ในรูปแบบต่าง ๆ อยา่ งมีระบบ เป็นโครงงานประเภทเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อหาสาเหตุของปัญหาหรือ สารวจความคิดเห็น ขอ้ มูลท่ีรวบรวมได้บางอยา่ งอาจเปน็ ปัญหาที่นาไปสู่การทดลองหรือค้นพบสาเหตุ ของปญั หาท่ีต้องหาวิธีแก้ไขและปรบั ปรุงรว่ มกนั

2. โครงงานประเภททดลอง เป็นโครงงานท่ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง โดยเฉพาะ ที่ต้องออกแบบทดลองเพื่อศึกษาว่าเป็นไปตามที่ต้ังสมมุติฐานไว้หรือไม่ มีการควบคุม ตัวแปรอ่ืนซ่ึงอาจมีผลต่อตัวแปรที่ต้องการศึกษา มีการรวบรวมข้อมูล การดาเนินการทดลอง การ แปลผล และสรุปผลการทดลองที่สอดคลอ้ งกับสมตฐิ านที่ตงั้ ไว้

3. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นโครงงานท่ีมีวัตถุประสงค์ในการนาเอาความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดมาประยุกต์ใช้ โดยการประดิษฐ์เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ เพ่ือ ประโยชน์ ในการเรียน การทางาน หรอื การใช้สอยอน่ื ๆ การประดษิ ฐ์คดิ ค้นตามโครงงานนี้อาจเป็น การประดษิ ฐข์ ้ึนมาใหมโ่ ดยท่ยี ังไมม่ ใี ครทา อาจเป็นการปรบั ปรงุ เปล่ยี นแปลง หรอื ดัดแปลงของเดิมที่ มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงข้ึนกว่าที่เป็นอยู่ รวมท้ังการสร้างแบบจาลองต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบการ อธิบายแนวคิดในเรื่องตา่ ง ๆ

4 แนวทางการจดั การเรยี นรู้แบบโครงงานเป็นฐาน 4. โครงงานประเภททฤษฎี เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอความรู้ ทฤษฎี

หลกั การ แนวคิดใหม่ ๆ เกี่ยวกับเร่อื งใดเรอื่ งหนึ่งท่ยี ังไม่มใี ครคิดมาก่อน หรอื ศกึ ษาขยายจากเดิมท่ีมี อยู่ ซ่งึ ความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรอื แนวคดิ ท่เี สนอ ต้องผ่านการพสิ ูจน์อย่างมีหลักการหรือใช้วิธีการ ที่น่าเช่ือถือ เช่น วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นต้น ซึ่งผทู้ าโครงงานต้องเป็น ผู้ท่ีมีความรู้พื้นฐานในเรื่องน้ัน ๆ เป็นอย่างดี หรือต้องมีการศึกษาค้นคว้าข้อมูลมาประกอบอย่าง ลึกซ้งึ จึงจะทาให้สามารถกาหนดความรู้ ทฤษฎี หลักการหรอื แนวคดิ ใหม่ ๆ ข้นึ ได้

ภาพท่ี ๑ แสดงการเรียนรแู้ บบโครงการเปน็ ฐานของผเู้ รยี นตามสาขาวิชาและรายวิชาทีเ่ รียน

แนวทางการจดั การเรยี นรู้แบบโครงงานเปน็ ฐาน 5

ขน้ั ตอนกำรจดั กำรเรยี นรู้ แบบโครงงำนเป็ นฐำน

แนวทางการจัดการเรยี นรแู ้ บบโครงงานเป็ นฐาน

การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning: PjBL) เป็นวิธีการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญวิธีหน่ึง ที่จะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านความรู้และทักษะผ่าน กระบวนการศึกษาค้นคว้าและการใช้ความรู้ในชีวิตจริง ขับเคล่ือนผ่านกิจกรรมและการแก้ปัญหา ท่ที ้าทายรว่ มกัน โดยมผี ลงานท่ีแสดงถงึ ศกั ยภาพและความสาเร็จของผเู้ รยี น

การจัดการเรียนรูใ้ นระดับอาชีวศึกษา จาเป็นต้องเตรียมผู้เรียนเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 เพ่ือให้ เป็นผู้ปฏิบัติงานบนพื้นฐานความรู้ (Knowledge Worker) ท่ีสามารถคิดเป็น ทาเป็น มีวิธีการหา ความรู้ สร้างความรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต และนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการทางานได้ ดังนั้นครู จาเป็นต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน (Co- Learning Process) ศึกษาการแก้ปัญหา (Problem Solving) ฝึกความคิดสร้างสรรค์ ประยุกต์ ความรู้สร้างสรรค์ชิ้นงานโครงงาน เรียนรู้โดยการกระทา (Learning by Doing) รวมท้ังอื่น ๆ เพื่อ เตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนเข้าสู่ทักษะในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้วิธีการสอนแบบโครงงาน ซ่ึงเป็น เคร่ืองมือการเรียนรู้เพื่อสะท้อนผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวังดังกล่าวข้างต้น จึงต้องดาเนินการ 6 ข้ันตอน ดงั นี้

ขัน้ ตอนที่ 1 การเตรยี มความพรอ้ ม

ขน้ั ตอนท่ี 2 การกาหนดและเลอื กหวั ขอ้

ข้ันตอนที่ 3 การเขยี นเคา้ โครงของโครงงาน

ขน้ั ตอนที่ 4 การปฏบิ ตั งิ านโครงงาน

ข้ันตอนที่ 5 การนาเสนอผลงาน

ขนั้ ตอนท่ี 6 การประเมนิ โครงงาน

ภาพท่ี ๒ แสดงขัน้ ตอนการจัดการเรียนรูแ้ บบโครงการเปน็ ฐาน

6 แนวทางการจดั การเรียนรู้แบบโครงงานเปน็ ฐาน

ข้ันตอนที่ 1 การเตรียมความพรอ้ ม

การเตรียมความพร้อม เป็นข้ันตอนที่สาคัญสาหรับผู้สอนและผู้เรียน เป็นการเตรียม ความพร้อมผู้สอนเพ่ือให้เข้าใจบทบาทผู้สอนในการทบทวนสร้างความเข้าใจกับกิจกรรมในแผ น การจัดการเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ให้พร้อมต่อการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (PjBL) ให้ประสบความสาเร็จ ส่วนการเตรียมความพร้อมผู้เรียนเป็นการสร้างความเข้าใจในบทบาทผู้เรียน ให้เกิดความตระหนักถึงเป้าหมายการเรียนรู้และบทบาทผู้เรียนที่ต้องมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ รวม ไปถึงการเตรียมแหล่งข้อมูล วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ ระยะเวลา ความปลอดภัย และปัจจัยอื่น ๆ ทเี่ กีย่ วข้องในการทาโครงงาน ซ่ึงครผู ูส้ อนและผเู้ รยี นมบี ทบาท ดังนี้

บทบาทผู้สอน 1. กาหนดขอบเขตการจดั การเรียนรู้แบบโครงงานเปน็ ฐาน ประกอบด้วย

1.1 การวเิ คราะห์วตั ถุประสงคร์ ายวิชา 1.2 การกาหนดผลสัมฤทธิท์ ่ีคาดหวัง 1.3 การกาหนดประเดน็ ปญั หา/สมมติฐาน/ประเภทโครงงาน 1.4 การคน้ ควา้ /ทดลอง 1.5 การสรปุ /การประเมนิ ตนเอง 1.6 การหาความรู้เพ่มิ เตมิ 1.7 การนาเสนอ เผยแพร่ 1.8 การประเมินความก้าวหนา้ 2. กาหนดแหล่งเรยี นร/ู้ ค้นคว้า 2.1 ชมุ ชน ท้องถน่ิ 2.2 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) 2.3 ครู/ผูเ้ ช่ยี วชาญ/ปราชญช์ าวบ้าน 2.4 แหลง่ วทิ ยาการ เช่น ห้องสมุด ศูนย์วิทยบริการ ศูนย์การเรียนรู้ เป็นต้น 2.5 สถานท่เี รยี นรู้ เช่น สถานประกอบการ สถานท่ีภาครัฐและเอกชน เป็นต้น

บทบาทผู้เรยี น 1. มสี ว่ นร่วมในการกาหนดเงื่อนไขและเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบตั งิ านโครงงาน 2. กาหนดปญั หา ความต้องการ 3. ศกึ ษาแหลง่ เรยี นร/ู้ คน้ คว้า 4. แบง่ กลมุ่ และทางานรว่ มกนั

แนวทางการจดั การเรียนร้แู บบโครงงานเป็นฐาน 7

ขน้ั ตอนที่ 2 การกาหนดและเลือกหัวขอ้

การกาหนดและเลือกหัวข้อ เป็นการศึกษาความเป็นไปได้ของแต่ละหัวข้อท่ีจะทาโครงงาน รวมถงึ การศกึ ษาความคมุ้ คา่ ของโครงงานท่ีจะทาของผเู้ รียน การกาหนดและเลือกหวั ขอ้ เป็นกิจกรรม ท่ีผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันกาหนดหัวข้อท่ีจะทาเป็นโครงงาน ศึกษาความเป็นไปได้ ความคุ้มค่าของ แต่ละหัวข้อเพอื่ เลือกโครงงานท่ีจะจดั ทา การกาหนดและเลือกหัวข้อได้เหมาะสมจะทาให้ผสู้ อนและ ผ้เู รียนเกดิ การเรียนรู้ โดยเช่ือมโยงองคค์ วามรเู้ ดิมและสรา้ งองค์ความรู้ใหม่ไปพร้อมกัน ดังนน้ั ผเู้ รยี น จะตอ้ งนาเสนอหัวข้อโครงงานตอ่ ผู้สอน เพอื่ ให้ความเห็นชอบกอ่ นการดาเนินการขั้นต่อไป ซ่ึงผู้สอน และผ้เู รียนมบี ทบาท ดงั นี้

บทบาทผสู้ อน 1. จัดกิจกรรมหรือวิธีการเพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนในการคิดหัวข้อเร่ืองโครงงาน

ดว้ ยวิธกี ารท่ีหลากหลาย 2. อานวยความสะดวก หรอื ใหค้ าแนะนาในการกาหนดหัวขอ้ และเลือกหัวข้อ 3. กากับ ติดตามอย่างใกล้ชิด ให้กาลังใจ ช่วยแก้ปัญหาและให้ผู้เรียนคิดวิธีการใหม่ หาก

ไม่ประสบความสาเรจ็ 4. เสนอแนะแหลง่ ขอ้ มลู แหลง่ ความรู้ ผ้รู ู้ เอกสารต่าง ๆ ใหผ้ เู้ รียนศึกษาคน้ ควา้ 5. สร้างแรงจูงใจ และแรงบันดาลใจในการเลือกหัวข้อโครงงานตามศักยภาพ และความ

สนใจของผูเ้ รียน

บทบาทผเู้ รียน 1. กาหนดบทบาทหนา้ ที่ของสมาชกิ ในกลุ่ม 2. ร่วมกันกาหนดและเลือกหวั ข้อโครงงานโดยยดึ หลกั ประชาธปิ ไตยและกระบวนการกลุ่ม 3. นาเสนอหัวข้อโครงงานตอ่ ผสู้ อน

ข้นั ตอนท่ี 3 การเขียนเคา้ โครงของโครงงาน

การเขียนเค้าโครงของโครงงาน เป็นการสรา้ งผังมโนทัศน์ (Conceptual Map) หรือแผนที่ ความคิด (Mind Map) ที่แสดงถงึ ภาพรวมท้งั หมดของโครงงานต้งั แตต่ ้นจนจบ ประกอบด้วย แนวคิด หลกั การ แผนงาน และขน้ั ตอนในการทาโครงงานตงั้ แตเ่ ร่ิมต้นจนเสรจ็ ส้ิน มีการกาหนดบทบาทและ ระยะเวลาในการดาเนินงาน ทาให้การดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุม รอบคอบ ไม่สับสน ทาให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องมองเห็นภาระงาน สามารถปฏิบัติโครงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน ก่อนนาเสนอ ต่อครูผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพ่ือขอความเห็นชอบก่อนนาไปปฏิบัติในขั้นตอนที่ 4 ต่อไป ซ่ึงมี แนวทางในการจัดดาเนินการ ดังน้ี

8 แนวทางการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน

หลังจากผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันกาหนดหัวข้อที่จะทาเป็นโครงงานแล้ว ผู้เรียนในแต่ละ กล่มุ วางแผนการจัดทาโครงงาน โดยระบกุ ิจกรรมในแตล่ ะขน้ั ตอนและตารางการดาเนนิ งาน กาหนด บทบาทหน้าท่ีของสมาชิกในกลุ่ม และนาเสนอข้อสรุปแก่ผู้สอนอีกครั้ง ซ่ึงครูผู้สอนและผู้เรียน มีบทบาท ดังนี้

บทบาทผู้สอน 1. สร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเก่ียวกับกระบวนการในการเขียนเค้าโครงของ

โครงงานท่ีผเู้ รยี นจะทา 2. ให้การสนับสนุนคาปรึกษา แนะนา ช่วยเหลือ และตรวจสอบวิธีการเขียนเค้าโครงของ

โครงงานทผ่ี ้เู รียนจะทาใหถ้ ูกตอ้ งตามระเบยี บวธิ ี 3. ประสานงานกับหน่วยงาน บุคคล หรือแหล่งข้อมูลที่เก่ียวข้องกบั การจัดทาเคา้ โครงของ

โครงงานของผ้เู รียนให้ถกู ตอ้ งและสาเรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดี 4. กลน่ั กรองและเห็นชอบให้ผเู้ รยี นจัดทาโครงงานตามทผี่ เู้ รียนเสนอ 5. กาหนดเง่อื นไขและเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผู้เรียน

บทบาทผเู้ รยี น 1. ศึกษาค้นควา้ จากแหลง่ เรยี นรู้ 2. รว่ มกนั เขยี นเคา้ โครงของโครงงานตามระเบยี บวธิ ี 3. นาเสนอเค้าโครงของโครงงานต่อครูผูส้ อน 4. นาขอ้ เสนอแนะจากครผู ู้สอนมาปรับปรุง 5. นาเสนอขอความเห็นชอบเพื่อปฏบิ ตั โิ ครงงาน

โดยทวั่ ไป เค้าโครงของโครงงาน มีสว่ นประกอบและแนวทางการเขียน ดังน้ี 1. ชอื่ โครงงาน 2. ชอื่ ผูจ้ ดั ทาโครงงาน 3. ช่อื ทป่ี รกึ ษาโครงงาน 4. ทีม่ าและความสาคัญของโครงงาน 5. วตั ถุประสงคข์ องการทาโครงงาน 6. สมมตฐิ านของโครงงาน (ถา้ มี) 7. วธิ ีดาเนินงานของโครงงาน 8. แผนปฏิบัตงิ านของโครงงาน 9. ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั จากโครงงาน 10. เอกสารอา้ งอิงหรือบรรณานุกรม

แนวทางการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงานเป็นฐาน 9

1. ช่ือโครงงาน เป็นการเขียนว่าจะทาอะไร ควรเขียนให้ตรงกับเร่ืองท่ีจะทา เขียนให้ กระชับ ชัดเจน ส่ือความหมาย เฉพาะเจาะจง บ่งชี้ถึงเรื่องท่ีจะทาหรือศึกษา ควรเป็นประโยค ท่ีสมบูรณ์ มีท้ังประธาน กริยา กรรม และไม่ควรเป็นประโยคคาถาม ช่ือโครงงานควรมคี วามน่าสนใจ และสอดคล้องกบั เน้ือเรื่องของโครงงานท่ีจะทา

2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน เป็นชื่อผู้รับผิดชอบโครงงานท่ีจะทา อาจทาเป็นกลุ่มเล็กหรือเป็น กล่มุ ใหญ่ ขนึ้ อยกู่ ับขอ้ กาหนดหรือข้อตกลงของผเู้ รียน ครูผสู้ อนหรือครูท่ีปรกึ ษา

3. ชื่อท่ีปรึกษาโครงงาน เป็นชื่อผู้ที่ให้คาแนะนา ปรึกษา กากับ ดูแล อาจเป็นครูผู้สอน ผูท้ รงคุณวุฒิ หรอื ผู้เชย่ี วชาญในสาขาวชิ าหรือเร่ืองทจี่ ะทาโครงงาน อาจมมี ากกว่า 1 คนก็ได้ แล้วแต่ ข้อกาหนดหรือข้อตกลงระหว่างผูเ้ รียน ครผู ู้สอนหรอื ครทู ีป่ รึกษา

4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เป็นการเขียนถึงสภาพปัจจุบันของปัญหาที่ผู้เรียน สนใจจะศึกษา บอกถึงเหตุผลความจาเป็น แรงบันดาลใจหรือเหตุจูงใจในการทาโครงงาน เหตุผล ทเี่ ลือกทาโครงงานน้ีเป็นกรณีพิเศษ ควรมีข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีหรือหลักวิชาการท่ีเกี่ยวข้อง ปรากฏเด่นชัด เพ่ือสนับสนุนว่าโครงงานน้ีมีความสาคัญหรือเป็นเร่ืองที่จาเป็นต้องทา รวมทั้งบอก ข้อดี คณุ คา่ ความสาคัญ และไดป้ ระโยชนอ์ ะไรจากการจัดทาโครงงานนี้

5. วัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน เป็นการเขียนท่ีระบุถึงสิ่งที่ต้องการจะศึกษาหรือ ทดลอง ว่าจะทา จะศึกษาอะไร อย่างไร อาจเขียนแยกเป็นข้อ ๆ ตามส่ิงท่ีจะทาหรือศึกษาค้นคว้า ทดลอง วัตถุประสงค์ที่ดีควรมีความเฉพาะเจาะจง เป็นส่ิงที่สามารถวัดได้และบอกขอบเขตของงาน ท่ีจะทาได้ชัดเจน สอดคล้องกับช่ือของโครงงาน ไม่ควรเขียนในรูปของประโยคคาถาม และไม่ควร นาเอาประโยชน์ที่เกดิ ขน้ึ จากการทาโครงงานมาเขียนเป็นวัตถปุ ระสงค์หรือจุดมงุ่ หมายของการศึกษา คน้ คว้า

6. สมมติฐานของโครงงาน (ถ้ามี) การเขียนสมมุติฐานของโครงงาน โดยทั่วไปจะใช้กับ การเขียนโครงงานประเภททดลองหรือโครงงานวิทยาศาสตร์ สมมุติฐานเป็นคาตอบหรือคาอธิบาย ท่ีคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าเก่ียวกับเรื่องท่ีจะศึกษาค้นคว้า ทดลอง ซ่ึงสมมุติฐานอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ แต่ที่สาคัญตอ้ งคานึงไวว้ ่าการเขยี นสมมุติฐานนั้นควรมีเหตุผล คอื มีทฤษฎีหรอื หลักทางวิทยาศาสตร์ มารองรับ ส่วนใหญ่มักจะเขียนเป็นข้อความที่สามารถมองเห็นแนวทางในการดาเนินงานทดลอง ทดสอบหรอื ตรวจสอบได้

7. วิธีดาเนินงานของโครงงาน เป็นการเขียนที่ระบุขั้นตอนในการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เร่ิมต้นทาโครงงาน ระยะเวลาดาเนินงาน ข้ันตอน วิธีการในการปฏิบัติงาน ค่าใช้จ่ายในการ ดาเนินงาน ผู้รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอน รวมถึงการเก็บข้อมูล ประเภทของข้อมูล เครื่องมือและ วิธกี ารเก็บขอ้ มลู ระยะเวลา การวิเคราะห์ขอ้ มลู และสถิติท่ใี ช้

10 แนวทางการจัดการเรยี นรูแ้ บบโครงงานเปน็ ฐาน

8. แผนการปฏิบัติงานของโครงงาน เป็นการกาหนดโครงงานแต่ละข้ันตอนอย่างละเอียด ต้ังแต่ต้นจนเสร็จสิ้นโครงงาน โดยอธิบายเกี่ยวกับกิจกรรมในแต่ละข้ันตอนท่ีจะปฏิบัติในโครงงาน รวมทั้งกาหนดเวลา สถานท่ี และผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติงานแต่ละกิจกรรม และในแต่ละข้ันตอน ตั้งแตเ่ ริ่มตน้ ปฏิบตั จิ นเสร็จส้ินการดาเนินงานในต่ละกจิ กรรม จึงควรเขียนเปน็ แผนภูมิแสดงขัน้ ตอน ในการทา

9. ผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน เป็นการระบุถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการทา โครงงาน ว่าจะไดอ้ ะไรจากการทาโครงงานน้ีบา้ ง มากน้อยเพียงใด รวมถงึ ประสิทธิภาพหรอื คณุ ภาพ ของผลท่ีไดร้ ับ หรือประโยชน์ผ้เู ก่ยี วข้องในแต่ละระดับ เช่น ผเู้ รยี น ครูผู้สอน สถานศึกษาหรือสังคม โดยรวม จะได้รับจากการทาโครงงานคร้ังนี้

10. เอกสารอ้างองิ หรอื บรรณานุกรม เปน็ การเขยี นถึงแหล่งข้อมูลท่ีผ้ทู าโครงงานใช้ศึกษา ค้นคว้าและนามาใช้เป็นประโยชน์ต่อการทาโครงงาน ซึ่งอาจเป็นเอกสาร ตารา เอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ หรือแหล่งข้อมูลอื่น เช่น อินเทอร์เน็ต สถานประกอบการ หรือผู้เชี่ยวชาญที่เป็น เจ้าของอาชพี เป็นการบอกให้ผอู้ ืน่ ทราบว่าผเู้ รียนไดท้ าการศกึ ษาคน้ คว้าขอ้ มลู จากแหล่งใดบ้าง

อย่างไรกต็ าม การเขียนเค้าโครงของโครงงานใน 10 หัวข้อนี้ เปน็ แนวทางในการเขยี นแบบ หน่ึงท่ีได้ประมวลจากหลาย ๆ แบบ แล้วสรุปรวมว่าน่าจะเป็นรูปแบบการเขียนท่ีสามารถนาสู่การ ปฏิบัติได้จริง ซึ่งครูผู้สอนสามารถนาไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสมของรายวิชา หรือหน่วยการ เรยี นรทู้ ีจ่ ัดให้ผเู้ รยี นทาโครงงาน

ข้ันตอนท่ี 4 การปฏบิ ตั ิงานโครงงาน

การปฏิบัติงานโครงงาน เป็นการนาขั้นตอนวิธีการตามเค้าโครงของโครงงานสู่การปฏิบัติ หลังจากที่ผู้เรียนได้รับความเห็นชอบจากครูผู้สอนหรือครูท่ีปรึกษาแล้ว ซ่ึงในการปฏิบัติโครงงานน้ี ครผู ้สู อนและผูเ้ รียนมีบทบาท ดงั น้ี

บทบาทผสู้ อน 1. อานวยความสะดวกในการปฏิบัติโครงงานของผู้เรียน เช่น จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็น

เป็นต้น 2. ตดิ ตามความกา้ วหน้าการปฏิบตั โิ ครงงานของผเู้ รยี น 3. ติดตามสถานการณ์ สภาพปัญหาในการปฏิบัติโครงงานของผู้เรียนระหว่างการ

ปฏบิ ตั ิงาน 4. ติดตามพฤติกรรม ทักษะกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น นวัตกรรมที่ใช้ วิธีการ

เรียนรู้ กระบวนการแก้ปัญหาในการปฏิบัติโครงงานของผู้เรียนระหว่างการปฏิบัติงาน เปน็ ตน้ 5. เสรมิ แรงทางบวก สรา้ งขวัญกาลงั ใจใหผ้ เู้ รียนรจู้ ักการค้นคว้าหาข้อมูลเพ่อื แก้ปญั หา

แนวทางการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงานเป็นฐาน 11

6. อานวยความสะดวกให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหวา่ งผู้เรียนภายในกลมุ่ หรือระหวา่ งกลมุ่ 7. เปิดโอกาสใหม้ กี ารแลกเปลยี่ นเรียนร้รู ะหวา่ งผู้เรียนและครูผสู้ อน

บทบาทผู้เรยี น 1. ปฏิบัตงิ านโครงงาน 2. ประชมุ ปรึกษาหารือระหว่างผเู้ รยี น 3. ประชมุ ปรึกษาหารอื กบั ครูและผู้ท่ีเก่ยี วข้อง 4. รวบรวมขอ้ มลู จากการปฏบิ ัตงิ านโครงงาน 5. วเิ คราะหแ์ ละแปลผลขอ้ มลู การดาเนินงาน

ข้นั ตอนที่ 5 การนาเสนอผลงาน

การนาเสนอผลงาน เป็นการจัดทารายงานและการนาเสนอผลการปฏิบัติโครงงาน ได้แก่ กระบวนการและผลงาน เป็นขั้นตอนท่ีผเู้ รยี นปฏิบัติงานโครงงานเสร็จสิ้นเรยี บร้อยแล้ว ซง่ึ ครูผู้สอน และผู้เรียนมบี ทบาท ดังนี้

บทบาทผู้สอน 1. สร้างความรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะเก่ยี วกับกระบวนการในการเขยี นรายงานโครงงาน 2. มอบหมายใหผ้ เู้ รยี นจดั ทารายงานโครงงาน 3. จดั กิจกรรมให้ผู้เรียนนาเสนอกระบวนการและผลงานโครงงาน

บทบาทผูเ้ รยี น 1. เขยี นรายงานโครงงาน 2. นาเสนอกระบวนการและผลงานโครงงาน

ในการเขียน รายงานโครงงาน ควรใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย กระชับ ชัดเจน ครอบคลุมประเด็น สาคญั ๆ ของโครงงานซึง่ เลม่ รายงานควรประกอบด้วยสว่ นสาคัญ ๆ 3 สว่ น ดังน้ี

1. สว่ นหนา้ โดยทัว่ ไปประกอบด้วย ปกนอก ปกใน คานา และสารบัญ แตอ่ าจมบี ทคัดย่อ และกติ ติกรรมประกาศอกี กไ็ ด้

2. ส่วนเน้อื หา ประกอบด้วย 5 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 บทนา ประกอบด้วย ความเป็นมาของโครงงาน วัตถุประสงค์ของโครงงาน ขอบเขตของโครงงาน วิธีการดาเนินงาน ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับ และนยิ ามศัพท์ ตอนที่ 2 เอกสารและงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ตอนท่ี 3 วธิ ีการดาเนนิ โครงงาน ตอนท่ี 4 ผลการดาเนนิ โครงงาน ตอนที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

3. ส่วนอ้างอิง ประกอบด้วย หนังสอื อ้างองิ หรือบรรณานกุ รม และภาคผนวก

12 แนวทางการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน

การนาเสนอผลงานหลังจากท่ีผู้เรียนได้ดาเนินการจดั ทาโครงงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นต่อไป คือ การนาเสนอผลงานของผู้เรยี น ซึ่งครูผสู้ อนควรฝึกให้ผู้เรียนนาเสนอหน้าช้ันเรียน เป็นการฝกึ ผู้เรียน ให้มีความสามารถในการส่อื สาร ขณะเดียวกันก็ตอ้ งรบั ฟังข้อคดิ เห็นจากเพื่อน ๆ รว่ มชนั้ เรียน จะช่วยให้ ผู้เรียนเกิดทักษะในการเรียบเรียงความคิดรวบยอด (Concept) อย่างเป็นระบบ มีความความมั่นใจ ในการตอบคาถามเพ่ือนในช้ันเรียน หรือผู้อื่นท่ียังสงสัยในประเด็นต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน ถือว่าเป็น ส่ิงจาเปน็ ในการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน การนาเสนอผลงานอาจจะเป็นการนาเสนอ หน้าชั้นเรียน หรือผ่านเคร่ืองมือออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Video Clip, Online Text, Webpage, Blog, Face Book เป็นตน้

ภาพท่ี ๓ แสดงการนาเสนอผลงานจากการเรยี นรแู้ บบโครงการเป็นฐาน

ขัน้ ตอนที่ 6 การประเมินโครงงาน

การประเมินโครงงานเป็นขั้นตอนหน่ึงที่สาคัญ ที่จะสะท้อนให้เห็นถึงความสาเร็จของ โครงงานในแต่ละขั้นตอน ตั้งแต่ก่อนทาโครงงานจนถึงเสร็จสิ้นโครงงาน ซึ่งเป็นการประเมินอย่าง ต่อเนื่องด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย เน้นการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ท้ังความรู้ กระบวนการ พฤติกรรมของผู้เรียน ผลงาน และข้อค้นพบท่ีผู้เรียนได้จาก การทาโครงงาน การประเมินเป็นบทบาทหน้าที่ของครูผู้สอนหรือครูท่ีปรึกษา ซึ่งมีข้ันตอนการ ประเมนิ การจัดการเรียนรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน ดงั นี้

แนวทางการจดั การเรยี นรู้แบบโครงงานเป็นฐาน 13

การประเมนิ ขัน้ ตอนของโครงงาน ประเด็น/สง่ิ ที่ประเมิน

กอ่ นการทา ขน้ั ตอนท่ี 1 ประเมินความพรอ้ ม เชน่ โครงงาน การเตรยี มความพร้อม แหลง่ ข้อมูล วัสดุอุปกรณ์ และปจั จยั อ่นื ๆ ท่ีเกยี่ วข้องในการทาโครงงาน ขั้นตอนท่ี 2 การกาหนดและเลือกหวั ข้อ ประเมินความเป็นไปได้ ในการทาโครงงาน ข้นั ตอนท่ี 3 การเขียนเคา้ โครง ประเมินความถูกตอ้ ง ความสอดคล้อง ความเหมาะสมของเคา้ โครง ของโครงงาน ของโครงงาน

ระหวา่ ง ขั้นตอนท่ี 4 ประเมนิ ความกา้ วหนา้ สภาพปญั หา การทาโครงงาน การปฏบิ ตั ิงานโครงงาน พฤติกรรม กระบวนการเรยี นรู้ กระบวนการแก้ปญั หา หลังเสรจ็ ส้ิน ขั้นตอนที่ 5 ในการดาเนินโครงงาน การทาโครงงาน การนาเสนอผลงาน ประเมนิ ผลงาน ข้อคน้ พบ ทไ่ี ด้จากการทาโครงงาน

ประเมินผลกระทบทเี่ กดิ จากโครงงาน

ภาพท่ี ๔ แสดงข้นั ตอนการประเมนิ การจดั การเรยี นร้แู บบโครงงานเป็นฐาน

 การประเมินก่อนการทาโครงงาน เป็นการประเมินในข้ันตอนที่ 1 ถึงข้ันตอนที่ 3 คือ

ข้ันตอนท่ี 1 การเตรียมความพร้อม เช่น ความพร้อมของผู้เรียน แหล่งข้อมูล วัสดุ อุปกรณ์ งบประมาณ ระยะเวลา ความปลอดภยั หรอื ปจั จัยอน่ื ๆ ท่ีเก่ยี วข้องในการทาโครงงาน

ขน้ั ตอนที่ 2 การกาหนดและเลือกหวั ข้อ เช่น ประเมินความเปน็ ไปไดใ้ นการทาโครงงาน

และความคมุ้ ค่าของการทาโครงงาน ขั้นตอนที่ 3 การประเมินการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ท่ีผู้เรียนนาเสนอขอความ

เห็นชอบ เชน่ ความถกู ต้อง ความสอดคล้อง และความเหมาะสมของเคา้ โครงของโครงงาน เปน็ ตน้

14 แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน

 การประเมนิ ระหวา่ งการทาโครงงาน เปน็ การประเมนิ ในข้นั ตอนที่ 4 คอื ขน้ั ตอนที่ 4 การปฏบิ ัติงานโครงงาน เชน่ ประเมินความก้าวหน้า ประเมินสภาพปัญหา

ในการดาเนินโครงงานของผู้เรียน ประเมินพฤติกรรม ทักษะ กระบวนการเรียนรู้ นวัตกรรมที่ใช้ ในการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ และกระบวนการแก้ปัญหาในการดาเนินการของโครงงานของผู้เรียน เป็นต้น

 การประเมินหลงั เสรจ็ สิน้ การทาโครงงาน เปน็ การประเมินในข้ันตอนที่ 5 คือ ข้ันตอนที่ 5 การนาเสนอผลงานเด่น ประเมินข้อค้นพบท่ีได้จากการทาโครงงาน

ประเมินการนาเสนอผลงาน ประเมินผลงาน ประเมินผลกระทบท่ีเกิดจากโครงงาน เช่น การจัดทา รายงาน การเรียนรทู้ ไี่ ด้เรียนรทู้ ่ีเกดิ จากการทาโครงงาน เป็นตน้

อย่างไรก็ตามการประเมินนี้ เป็นเพียงแนวทางที่ครูผู้สอนสามารถปรับใช้ได้ตามความ เหมาะสมของลกั ษณะของโครงงานได้

ภาพที่ ๕ แสดงการประเมินกระบวนการและผลงานของผเู้ รียน

แนวทางการจดั การเรยี นรู้แบบโครงงานเป็นฐาน 15

รปู แบบกำรจดั กำรเรยี นรู้ แบบโครงงำนเป็ นฐำน

แนวทางการจดั การเรยี นรแู ้ บบโครงงานเป็ นฐาน

ในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานในระดับอาชีวศึกษาน้ัน นอกจากการทาโครงงาน ในรายวิชาโครงงาน (Project) และรายวิชาอ่ืนที่เน้นการทาโครงงานโดยเฉพาะ ทั้งในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) แล้ว การจัดการเรียนรู้ แบบโครงงานเป็นฐาน ยังสามารถจัดอยู่ในรายวิชาต่าง ๆ ได้อีก ท้ังรายวิชาในหมวดทักษะชีวิตและ หมวดทักษะวชิ าชีพ ในท่นี ้ีขอเสนอแนะแนวทางการจัดไว้ 2 รูปแบบ ดังนี้

1. การจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงานเป็นฐานท้งั รายวชิ า 2. การจัดการเรยี นรู้แบบโครงงานเปน็ ฐานเฉพาะบางหน่วยการเรียนรู้ในรายวชิ า

การจัดการเรียนร้แู บบโครงงานเป็นฐานทง้ั รายวิชา

การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานทั้งรายวิชา เป็นการออกแบบ วางแผนการจัดการ เรียนรู้ที่กาหนดให้ผู้เรียนนาองค์ความรู้ทั้งหมดของรายวิชาท่ีได้เรียนรู้ มาบูรณาการในการทา โครงงาน โดยครผู สู้ อนสามารถดาเนนิ การได้ ๒ ลกั ษณะ คือ

ลกั ษณะท่ี ๑ ครูผสู้ อนให้ผู้เรียนไดเ้ รียนร้แู ละฝกึ ปฏิบัติเน้อื หาสาระในหน่วยตา่ ง ๆ จนครบ ทุกหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชานั้นแล้ว จงึ ให้ผู้เรยี นเสนอเค้าโครงเร่ืองทส่ี นใจจะทาโครงงานจากส่ิงที่ ได้เรียนรู้ไปแล้วเพ่ือให้เกิดประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติจริง จากนั้นจึงเร่ิมลงมือทาโครงงาน สรุปผลการดาเนินงานและนาเสนอผลงาน การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานในลักษณะนี้ เหมาะกับรายวิชาท่ีผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและประสบการณ์จากการเรียนรายวิชาที่เป็นพื้นฐาน มาแล้วระดับหนึ่ง ทั้งนี้ ครผู ู้สอนต้องวางแผนการจัดการเรยี นรู้ให้กระชับเพื่อให้เวลาผู้เรียนในการทา โครงงานให้เพียงพอจนแลว้ เสร็จสมบรู ณ์ ดงั ตวั อย่าง

สัปดาห์ท่ี ๑-๙ ครผู สู้ อนจัดการเรยี นการสอนทกุ หน่วยการเรียนรใู้ ห้แลว้ เสร็จ

สปั ดาห์ท่ี ๑๐-๑๗ ผู้เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอเคา้ โครงเรื่อง ดาเนินงานโครงงาน และสรปุ ผลการดาเนินงาน

สัปดาห์ที่ ๑๘ ผู้เรียนแตล่ ะกลุม่ นาเสนอผลงาน

16 แนวทางการจัดการเรียนร้แู บบโครงงานเปน็ ฐาน

ลักษณะท่ี ๒ ครูผู้สอนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติเนื้อหาสาระสาคัญในหน่วยการ เรยี นรูต้ ้น ๆ ของรายวิชานั้นเพื่อเป็นการปูพื้นฐานความรู้ แล้วจึงใหผ้ ู้เรียนเสนอเค้าโครงเรอื่ งท่ีสนใจ และลงมือทาโครงงานคู่ขนานไปกับการศึกษาเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้จนแล้วเสร็จ สรุปผล

การดาเนินงานและนาเสนอ การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานในลักษณะนี้ครูผู้สอนจะต้อง วางแผนการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนให้สัมพันธ์สอดคล้องกับข้ันตอนการทาโครงงานของผู้เรียน เพ่อื ให้ผ้เู รียนไดน้ าความรแู้ ละทักษะมาใช้ในการพัฒนาการทาโครงงาน ดังตวั อยา่ ง

สัปดาห์ท่ี ๑-๖ ครผู ้สู อนจดั การเรียนการสอนหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑-๔ สปั ดาห์ท่ี ๗-๑๗ สปั ดาหท์ ี่ ๑๘ ครผู สู้ อนจัดการเรียนการสอนหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๕-๙ ควบคู่กับ ผเู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอเคา้ โครงเร่อื ง ดาเนินงานโครงงาน และสรปุ ผลการดาเนนิ งาน

ผ้เู รยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน

การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานท้ังรายวิชา ตามลักษณะท่ี ๑ และลักษณะที่ ๒ ครูผู้สอนอาจกาหนดให้ผู้เรียนใช้เวลาในการจัดทาโครงงานในเวลาเรียนและหรือนอกเวลาเรียนได้ ตามลกั ษณะโครงงานของผูเ้ รียน

อย่างไรก็ตาม เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับความรู้ มีทักษะและประสบการณ์ในการปฏิบัติจริงด้วย ตนเองจากการนาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ และหรือการปฏิบัตินาสู่หลักการ แนวคิด ทฤษฎี นอกจากครูผู้สอนจะต้องวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างรอบคอบเพ่ือให้ ผู้เรยี นได้เรยี นรู้เนื้อหาสาระครบตามหลกั สูตรรายวชิ ากาหนดแลว้ ครูผู้สอนต้องแบ่งเวลาสาหรบั การ ทาโครงงานของผู้เรียนด้วย รวมทั้งต้องวางแผนและกาหนดเวลาในการให้ความรู้ ให้คาแนะนาแก่ ผู้เรียนในการทาโครงงานตามลาดับขั้นตอน เพื่อให้ผู้เรียนได้รับทราบแนวทาง เตรียมความพร้อม ในการทาโครงงาน ลงมือปฏิบัติงานโครงงาน และสรุปนาเสนอผลการเรียนรู้ให้แล้วเสร็จภายใน ภาคเรียน ทั้งนี้ ครูผู้สอนอาจแจง้ ผู้เรียนไว้ล่วงหน้าตั้งแต่ชั่วโมงแรกของการเรียนรู้แบบโครงงานเป็น ฐาน เพ่ือผู้เรียนจะได้ให้ความสนใจเป็นพิเศษในเร่ืองท่ีจะทาโครงงาน เม่ือมีการเรียนการสอน ในหัวข้อหรอื เรอ่ื งที่เปน็ สาระสาคญั น้ัน ๆ

การให้ความรู้ในการทาโครงงานโดยกาหนดเป็นกิจกรรมการเรียนรู้น้ัน หากจัดการเรียนรู้ ในลักษณะที่ ๑ ครูผู้สอนอาจเริ่มจัดกิจกรรมการทาโครงงานติดต่อกันหลังจากจัดการเรยี นการสอน ครบตามเนื้อหาที่กาหนดของรายวิชาแล้ว หากจัดการเรียนรู้ในลักษณะที่ ๒ ผู้สอนอาจจัดดาเนิน กิจกรรมโครงงานควบคไู่ ปกบั การเรียนรเู้ นอ้ื หาของรายวิชา

แนวทางการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงานเป็นฐาน 17

ขั้นตอนการจดั การเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ครงั้ ที่ 1 แบบโครงงานเป็นฐาน (PjBL) ขั้นนา ขัน้ ตอนที่ ๑ การเตรียมความพรอ้ ม ขั้นตอนท่ี ๒ การกาหนดและเลือก 1. ผสู้ อนนาเขา้ สู่บทเรียนเพื่อเตรยี มความพรอ้ มผู้เรียน

หัวข้อ ขน้ั สอน ขัน้ ตอนท่ี ๓ การเขยี นเคา้ โครงของ 1. ผสู้ อนนาเสนอเนอื้ หาเกยี่ วกับโครงงานและการ โครงงาน เลอื กหวั ข้อโครงงาน แล้วให้ผเู้ รยี นพิจารณาเลือก หัวขอ้ การทาโครงงาน ขน้ั ตอนที่ ๔ การปฏิบตั งิ านโครงงาน 2. ผสู้ อนนาเสนอเนอ้ื หาการเขยี นเค้าโครงของโครงงาน ขั้นตอนที่ ๕ การนาเสนอผลงาน แลว้ ให้ผ้เู รียนเขยี นเคา้ โครงของโครงงาน ขั้นตอนที่ ๖ การประเมินโครงงาน ขั้นสรปุ ภาพท่ี ๖ แสดงแนวทางการจดั ทา 1. ผู้เรยี นนาเสนอเค้าโครงของโครงงาน แผนการจดั การเรียนรแู้ บบ 2. ผสู้ อนและผูเ้ รียนรว่ มกันสรุปและประเมนิ ผล โครงงานเป็นฐานทั้งรายวิชา กจิ กรรมการเรียนรู้ ครงั้ ท่ี ๒ ข้นั นา

1. ผสู้ อนนาเข้าสู่บทเรียน

ขน้ั สอน

1. ผู้สอนนาเสนอเนอ้ื หาการวางแผนการปฏิบตั ิงาน แล้วใหผ้ เู้ รยี นรว่ มกนั วางแผนการปฏิบัตงิ าน

2. ผ้สู อนนาเสนอเนอื้ หาการเขยี นรายงานโครงงาน แล้วใหผ้ เู้ รยี นรว่ มกนั วางแผนการเขียนรายงาน

ขั้นสรปุ

1. ผู้เรยี นนาเสนอแผนการปฏิบัติงาน 2. ผูส้ อนมอบหมายใหผ้ ู้เรยี นปฏิบัตงิ านตามท่ีวางแผน

เตรยี มการจดั ทารายงานและนาเสนอผลงาน 3. ผู้สอนและผู้เรยี นรว่ มกนั สรุปและประเมินผล

กจิ กรรมการเรยี นรู้ คร้ังที่ ๓ ขน้ั นา

1. ผสู้ อนนาเข้าสู่บทเรียน

ขน้ั สอน

1. ผสู้ อนช้แี จงแนวทางการนาเสนอผลงานของผเู้ รียน แต่ละกลมุ่ พร้อมชแ้ี จงเกี่ยวกบั การวัดประเมินผล

2. ผู้เรียนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลงาน

ขั้นสรุป

1. ผู้สอนและผเู้ รียนร่วมกันสรุปและอภปิ รายผล 2. ผู้สอนประเมินผล

18 แนวทางการจดั การเรยี นรู้แบบโครงงานเป็นฐาน

จากภาพที่ ๖ แสดงแนวทางการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ท้ังรายวิชา โดยจัดกิจกรรมให้ความรู้ในการทาโครงงาน 3 คร้ังติดต่อกัน หลังจากจัดการเรียน การสอนครบตามเน้ือหาที่กาหนดของรายวชิ าแล้ว ประกอบด้วย

คร้ังที่ 1 เป็นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พอื่ เตรยี มความพร้อมผู้เรียน ใหผ้ ูเ้ รียนกาหนดและ เลือกหัวข้อโครงงาน โดยสามารถปฏิบัติงานได้ทั้งเป็นกลุ่มเล็กหรือกลุ่มใหญ่ตามความเหมาะสม กับลักษณะของโครงงาน และร่วมกันเขียนเค้าโครงของโครงงานตามรูปแบบท่ีกาหนด ซ่ึงควรจัด ภายหลังจากเสร็จส้ินการเรียนการสอนครบตามจุดประสงค์ เน้ือหาและกิจกรรมท่ีกาหนดไว้ใน รายวิชา ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียนสามารถเลือกหัวข้อโครงงานที่ตนสนใจจากหัวข้อหรือเรื่องท่ีได้เรียนมา ทั้งหมดในรายวิชาตั้งแต่ชว่ั โมงแรกของการเรยี น ไม่จากัดเฉพาะในหัวขอ้ หรือเรอ่ื งใดเรื่องหน่ึงเท่าน้ัน อาจเป็นการบูรณาการความรู้ในหลาย ๆ เร่ืองจากที่เรียนมาก็ได้ เป็นการเปิดโอกาสให้กับผู้เรียน เลอื กหัวขอ้ โครงงานตามศักยภาพและความสนใจได้มากขึ้น

คร้ังท่ี 2 เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนร่วมกันวางแผนการปฏิบัติงาน จัดทา ตารางเวลาปฏิบัติงาน และมอบหมายหน้าที่สมาชิกในกลุ่มในการปฏิบัติงาน ซ่ึงอาจรวมถึงวางแผน การเขียนรายงานโครงงานตามรูปแบบท่ีกาหนดและการนาเสนอผลงานของโครงงานด้วย สาหรับ บางรายวิชาท่ีมีจานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์หลายชั่วโมง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครั้งท่ี 1 และคร้ังที่ 2 อาจรวมจัดในครง้ั เดยี วกนั ได้ตามความเหมาะสม

คร้ังท่ี 3 เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนนาเสนอผลงานตามโครงงาน โดย ทุกกลุ่มท่ีทาโครงงานสามารถหมุนเวียนนาเสนอจนครบในคราวเดียวกัน และเปิดโอกาสให้มีการ อภปิ รายผลและการแลกเปลีย่ นเรยี นร้หู ลงั จากการนาเสนอ

การจัดการเรียนรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐานเฉพาะบางหนว่ ยการเรียนรู้ในรายวชิ า

การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานเฉพาะบางหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชา เป็นการ ออกแบบ วางแผน การจดั การเรยี นรทู้ ่ีกาหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรูแ้ ละลงมอื ปฏบิ ัตเิ พื่อสรา้ งองค์ความรู้ และหรือพัฒนาทักษะสาคญั เฉพาะบางหวั ข้อหรือบางเรื่องท่ีสาคัญของรายวิชา ผ่านการทาโครงงาน ท่ีสะท้อนให้เห็นว่าผู้เรียนมีความรู้ สมรรถนะ เจตคติและกิจนิสัยเป็นไปตามที่หลักสูตรรายวิชา กาหนด ซ่งึ การทาโครงงานในลกั ษณะน้ี ครผู สู้ อนสามารถดาเนนิ การได้ ๒ ลักษณะ คอื

ลักษณะที่ ๑ การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานเฉพาะหน่วยการเรียนรู้หน่วยใด หน่วยหนึ่งในรายวิชา โดยครูผู้สอนออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติตาม เน้ือหาสาระของหน่วยการเรียนรู้นั้นเพ่ือเป็นพ้ืนฐาน แล้วจึงให้ผู้เรียนนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดทา โครงงาน ซ่ึงจัดเป็นการนาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ หรือออกแบบการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติด้วยตนเองเพื่อให้เกิดองค์ความรู้และทักษะจากการทาโครงงาน นั้น ซ่งึ เป็นการจดั การเรยี นรทู้ ใ่ี ห้ลงมือปฏบิ ตั ิเพ่ือนาสู่ทฤษฎี

แนวทางการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงานเปน็ ฐาน 19

การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานตามลักษณะที่ ๑ น้ี ครูผู้สอนต้องวางแผนการจัด การเรียนรู้ให้กระชับเพ่ือให้เวลาผู้เรียนในการทาโครงงานให้เพียงพอจนแล้วเสร็จสมบูรณ์ หรืออาจ กาหนดให้เปน็ งานมอบหมายนอกเวลาเรยี นกไ็ ด้ ดังตวั อย่าง

สปั ดาหท์ ่ี ๑-๙ ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑-๕

สปั ดาหท์ ี่ ๑๐-๑๒ ผเู้ รยี นแตล่ ะกลุ่มนาเสนอเค้าโครงเรอื่ ง ดาเนนิ งานโครงงาน และสรุปผลการดาเนินงาน สาหรบั หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๖

สัปดาหท์ ี่ ๑๓-๑๘ ครูผูส้ อนจดั การเรยี นการสอนหนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๗-๙

ลักษณะของโครงงานที่ครูผู้สอนกาหนดให้ทาเฉพาะหน่วยการเรียนรู้น้ี ควรเป็นโครงงาน ที่ใช้เวลาต้ังแต่เริ่มต้นจนส้ินสุดโครงงานไม่มาก ถ้าเป็นไปได้ควรกาหนดเวลาในการทาโครงงาน ให้สัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้นั้น เพ่ือไม่ให้กระทบต่อการเรียนรู้ในหน่วยต่อไป ดังนั้นหากผู้เรียน ได้ผ่านการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานมาก่อนในรายวิชาอ่ืนหรือภาคเรียนอื่น จะทาให้เข้าใจและ สามารถดาเนินกิจกรรมไปได้อย่างราบร่ืนและแล้วเสร็จตามเวลาที่ครูผู้สอนกาหนดไว้ในแผน การจดั การเรียนรู้

อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ผู้สอนควรคานึงถึงในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานเฉพาะ หน่วยการเรียนรู้หน่วยใดหน่วยหนึ่งในรายวิชา ตามลักษณะที่ ๑ นี้ ไม่ควรกาหนดให้ผู้เรียนทา โครงงานทุกหน่วยการเรียนรู้ เนื่องจากเน้ือหาสาระของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ไม่ได้เหมาะสมกับ การจดั กิจกรรมในรปู แบบโครงงาน และทสี่ าคญั ก็คือจะเปน็ การเพม่ิ ภาระงานให้แก่ผู้เรียนมากขึ้น รวมท้ังตัวครูผู้สอนเองด้วย ดังน้ันครูผู้สอนต้องพิจารณาและเลือกใช้เทคนิควิธีการสอนและการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระและจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ี ต้องการให้เกิด ข้นึ กบั ผเู้ รยี น

ลกั ษณะที่ ๒ เป็นการจดั การเรยี นรู้แบบโครงงานเปน็ ฐานหลายหน่วยการเรียนรูท้ ีเ่ กย่ี วข้อง กันในรายวิชา โดยครูผู้สอนออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติตามเน้ือหา สาระของหน่วยการเรียนรู้เหล่าน้ันเพื่อเป็นพ้ืนฐาน แล้วจึงให้ผู้เรียนนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดทา โครงงาน ตามกระบวนการนาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ หรือออกแบบการจัดการ เรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติด้วยตนเองเพ่ือให้เกิดองค์ความรู้และทักษะจากการทา โครงงานตามหลักการจัดการเรียนร้แู บบปฏิบัตนิ าสู่ทฤษฎี หรือออกแบบให้ผู้เรียนได้รบั ความรู้และ ฝึกปฏบิ ัตคิ วบคูก่ นั ไปกบั การทาโครงงานของผเู้ รยี น

การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานตามลักษณะที่ ๒ น้ี ครูผู้สอนต้องวางแผนการจัด การเรียนรู้ให้สอดคล้องสัมพันธ์กับเวลาที่ผู้เรียนต้องใช้ในการทาโครงงาน เพ่ือให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ ตามทก่ี าหนด หรอื อาจกาหนดใหเ้ ปน็ งานมอบหมายนอกเวลาเรยี นก็ได้ ดงั ตวั อย่าง

20 แนวทางการจดั การเรยี นรู้แบบโครงงานเปน็ ฐาน

สปั ดาห์ท่ี ๑-๙ ครูผสู้ อนจัดการเรยี นการสอนหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑-๔

สปั ดาหท์ ่ี ๑๐-๑๓ ผู้เรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอเคา้ โครงเรอ่ื ง ดาเนินงานโครงงาน และสรปุ ผลการดาเนนิ งาน สาหรับหนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๕-๗

สปั ดาหท์ ่ี ๑๔-๑๘ ครผู ู้สอนจัดการเรยี นการสอนหน่วยการเรยี นรู้ที่ ๘-๙

ลักษณะของโครงงานท่ีครูผู้สอนกาหนดให้ผู้เรียนบูรณาการหรือประยุกต์ใช้ความรู้และ ทกั ษะจากบางส่วนของรายวิชาหรือจากหลายหน่วยการเรียนรู้มาทาโครงงานนั้น ควรใช้เวลาตั้งแต่ เร่ิมต้นจนส้ินสุดโครงงานสัมพนั ธ์กับเวลาที่กาหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือไม่ให้กระทบต่อการ เรียนรู้ในหน่วยต่อไป ซ่ึงครูผู้สอนอาจออกแบบการจัดการเรียนรู้ควบคู่กันไประหว่างการสอนและ การทาโครงงานของผูเ้ รียนไดต้ ามความเหมาะสม

การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบโครงงานเป็นฐานตามลกั ษณะที่ ๒ น้ี ผู้เรียนจะมเี วลาในการ ทาโครงงานมากกว่าการจัดกิจกรรมการเรียนร้แู บบโครงงานเป็นฐานตามลกั ษณะที่ ๑ เพราะสามารถ ใช้เวลาของหน่วยการเรียนรู้หลายหน่วยที่สัมพันธ์กันมาดาเนนิ งานโครงการ โดยครูผู้สอนจะตอ้ งจัด เวลาในแผนการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ความรู้ในการทาโครงงานจานวน 2-3 ครั้ง ก่อนให้ผู้เรียน ดาเนนิ งานโครงงาน แต่หากผ้เู รียนมปี ระสบการณ์การเรยี นรู้แบบโครงงานเป็นฐานมากอ่ นในรายวิชา อนื่ หรือภาคเรียนอื่น จะทาให้เข้าใจและสามารถดาเนินกิจกรรมไปได้อย่างราบร่ืนและแล้วเสร็จตาม เวลาท่ีกาหนด โดยครูผู้สอนอาจเพียงแค่ทบทวนขั้นตอนกระบวนการและทาความตกลงร่วมกันกับ ผูเ้ รียนเกย่ี วกับเงื่อนไขการทางาน การส่งงานและการวัดประเมนิ ผล

ภาพที่ ๗ แสดงผลงานจากการเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน

(ซ้าย) ผลงานจากการเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐานทั้งรายวชิ า (ขวา) ผลงานจากการเรยี นรู้แบบโครงงานเปน็ ฐานบางสว่ นของรายวชิ า

แนวทางการจดั การเรยี นร้แู บบโครงงานเปน็ ฐาน 21

ขั้นตอนการจัดการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ คร้ังท่ี 1 แบบโครงงานเป็นฐาน (PjBL) ขั้นนา ขนั้ ตอนท่ี ๑ การเตรยี มความพร้อม ขนั้ ตอนท่ี ๒ การกาหนดและเลอื ก 1. ผสู้ อนนาเข้าสู่บทเรียนเพือ่ เตรยี มความพร้อมผูเ้ รยี น

หวั ขอ้ ขั้นสอน ขน้ั ตอนท่ี ๓ การเขียนเคา้ โครงของ 1. ผ้สู อนนาเสนอเน้ือตามหนว่ ยการเรยี นรู้ โครงงาน 2. ผสู้ อนนาเสนอเน้ือหาเกย่ี วกับโครงงานและการ

ข้ันตอนที่ ๔ การปฏิบัตงิ านโครงงาน เลือกหัวข้อโครงงาน แล้วให้ผู้เรยี นคัดเลอื กหัวขอ้ การทาโครงงาน ข้นั ตอนที่ ๕ การนาเสนอผลงาน 3. ผู้สอนนาเสนอเนื้อหาการเขียนเคา้ โครงของโครงงาน ขั้นตอนที่ ๖ การประเมินโครงงาน แล้วใหผ้ ู้เรยี นเขียนเคา้ โครงของโครงงาน

ภาพท่ี ๘ แสดงแนวทางการจดั ทาแผนการจดั ข้นั สรุป การเรยี นร้แู บบโครงงานเป็นฐาน 1. ผ้เู รียนนาเสนอเค้าโครงของโครงงาน เฉพาะบางหนว่ ยการเรยี นรู้ใน 2. ผู้สอนและผ้เู รียนรว่ มกันสรุปและประเมนิ ผล รายวชิ า กิจกรรมการเรียนรู้ คร้งั ที่ ๒ ขั้นนา

1. ผสู้ อนนาเข้าสู่บทเรียน

ขั้นสอน

1. ผสู้ อนนาเสนอเนือ้ หาตามหนว่ ยการเรียนรู้ 2. ผู้สอนนาเสนอเนอ้ื หาการวางแผนการปฏิบัตงิ าน

แล้วใหผ้ เู้ รียนรว่ มกันวางแผนการปฏิบตั ิงาน

3. ผู้สอนนาเสนอเนื้อหาการเขยี นรายงานโครงงาน

แลว้ ใหผ้ ู้เรยี นรว่ มกันวางแผนการเขยี นรายงาน

ขนั้ สรปุ

1. ผเู้ รียนนาเสนอแผนการปฏิบัตงิ าน 2. ผู้สอนมอบหมายใหผ้ เู้ รียนปฏิบัติงานตามที่วางแผน

เตรยี มการจัดทารายงานและนาเสนอผลงาน 3. ผู้สอนและผู้เรียนรว่ มกนั สรุปและประเมินผล

กจิ กรรมการเรยี นรู้ ครัง้ ท่ี ๓ ขั้นนา

1. ผ้สู อนนาเข้าสู่บทเรยี น

ขน้ั สอน

1. ผู้สอนช้ีแจงแนวทางการนาเสนอผลงานของผู้เรียน แตล่ ะกล่มุ พรอ้ มช้ีแจงเกย่ี วกบั การวัดประเมินผล

2. ผูเ้ รยี นแตล่ ะกล่มุ นาเสนอผลงาน

ขัน้ สรปุ

1. ผู้สอนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปและอภปิ รายผล 2. ผสู้ อนประเมินผล

22 แนวทางการจัดการเรียนรแู้ บบโครงงานเป็นฐาน

การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานเฉพาะบางหน่วยการเรียนรู้ของรายวิชา ดังท่ีแสดงในภาพที่ ๘ ข้างต้น เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เก่ียวกับการทาโครงงานจานวน 2-3 ครั้ง โดยแทรกอยู่หลงั จากการจัดการเรียนการสอนในเนื้อหาตามหนว่ ยการเรยี นรู้ปกตแิ ล้ว ประกอบด้วย

ครง้ั ที่ 1 เป็นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือเตรียมความพรอ้ มผู้เรยี น ให้ผเู้ รียนกาหนดและ เลือกหัวข้อโครงงาน โดยสามารถปฏิบัติงานได้ท้ังเป็นกลุ่มเล็กหรือกลุ่มใหญ่ตามความเหมาะสม และร่วมกันเขียนเค้าโครงของโครงงานตามรูปแบบที่กาหนด โดยจัดอยู่ในแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีมี หัวข้อท่ีครูผู้สอนเห็นว่าน่าสนใจและเหมาะสมในการกาหนดให้ผู้เรียนทาโครงงาน รูปแบบนี้จะเป็น การกาหนดขอบเขตหัวข้อโครงการท่ีแคบกว่าแบบท้ังรายวิชา เปน็ การกาหนดหัวขอ้ ท่ีเฉพาะเจาะจง แต่เน้นความหลากหลายหรือความแตกต่างของประเด็นและวิธีการท่ีผู้เรียนแต่ละกลุ่มสนใจท่ีจะหา คาตอบร่วมกนั

ครั้งท่ี 2 เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ พ่ือให้ผู้เรียนร่วมกันวางแผนการปฏิบัติงาน จดั ทา ตารางเวลาปฏิบัติงาน และมอบหมายหน้าที่สมาชิกในกลุ่มในการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจรวมถึง วางแผนการเขียนรายงานโครงงานตามรูปแบบที่กาหนดและการนาเสนอผลงานของโครงงานด้วย โดยอาจแทรกกิจกรรมการเรียนรู้นี้อยู่ในแผนการจัดการเรียนรู้ปกติในสัปดาห์ถัดมา สาหรับ รายวิชาที่มีเวลาเรียนต่อสัปดาห์หลายช่ัวโมง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้คร้ังที่ 1 และคร้ังท่ี 2 อาจ รวมจัดในครั้งเดียวกันได้ตามความเหมาะสม โดยผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานนอกเวลาการเรียน การสอนปกติก็ได้

ครั้งท่ี 3 เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนนาเสนอผลงานตามโครงงาน ดังนั้น จึงควรมีระยะห่างจากครั้งที่ 2 พอสมควร เพ่ือให้ผู้เรียนมีเวลาปฏิบัติงานตามโครงงาน และจัดทา รายงานเมื่อเสร็จสิ้นโครงงาน รวมทั้งวางแผนและเตรียมพร้อมในการนาเสนอผลงาน โดยสามารถ จัดอยู่ในแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะแยกตา่ งหากเพ่ือให้มีเวลาเพียงพอในการนาเสนอ อภิปรายผล และแลกเปลี่ยนเรียนรหู้ ลงั การนาเสนอ หรอื อาจแทรกกิจกรรมการเรียนรู้นี้ในแผนการจดั การเรียนรู้ ปกติในสปั ดาหส์ ดุ ท้ายของการเรยี นการสอนกไ็ ด้ ตามความเหมาะสม

สาหรับตัวอย่างการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานแบบท้ังรายวิชาและเฉพาะบาง หวั ขอ้ ในรายวิชา แสดงไว้ในภาคผนวก

ขอ้ พจิ ารณาในการจดั การเรยี นร้แู บบโครงงานเปน็ ฐาน

ถงึ แม้ว่าการจัดการเรียนรแู้ บบโครงงานเป็นฐานในระดบั อาชีวศึกษาจะสามารถจัดได้หลาย รูปแบบ แต่การท่ีครูผู้สอนจะประสบความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาท่ีรับผิดชอบ โดย สามารถทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นไปตามจุดประสงค์รายวิชาและ สมรรถนะรายวิชา สถานศึกษาและครูผู้สอนต้องคานึงถึงข้อพิจารณาที่เก่ียวข้องเพื่อการตัดสินใจ และดาเนินการ ดังนี้

แนวทางการจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน 23

๑. ธรรมชาติของรายวิชามีความเหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน หรือไม่ สามารถพิจารณาได้จากรายละเอียดของรายวิชา ได้แก่ จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะ รายวิชาคาอธิบายรายวิชา รวมทั้งเวลาในการจัดการเรียนร้ตู อ่ สปั ดาห์และต่อภาคเรียน รายวิชาทไ่ี ม่ เหมาะสมกบั การจัดการเรียนรแู้ บบโครงงานเป็นฐาน อาจจะสามารถบูรณาการร่วมกับรายวชิ าอื่นท่ี เหมาะสมกว่าได้ นั่นคือ ไม่จาเป็นต้องจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานทุกรายวิชา แต่ผู้เรียน ควรได้มีการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ โครงงาน โดยควรเป็น โครงงานทเ่ี กดิ จากการบูรณาการความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์จากรายวชิ าตา่ ง ๆ ในภาคเรียน นน้ั และหรือจากภาคเรยี นก่อนหน้า นามาประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ กจิ กรรมโครงงาน

๒. ในรายวิชาน้ันควรจะเกิดงาน ผลงาน ช้ินงานใดจากการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ครูผู้สอนสามารถพิจารณาได้จากงาน ผลงานและหรือชิ้นงานนั้นวา่ สามารถสะท้อนถึงผลการเรียนรู้ ตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชาและคาอธิบายรายวิชาหรือไม่ อย่างไร และสามารถ ดาเนินการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานได้ครบทุกขั้นตอนภายในเวลาเรียนของรายวชิ า หรือ ถ้าจาเปน็ กอ็ าจจดั ทานอกเวลาได้บ้าง ท้ังนี้ ครูผสู้ อนต้องเข้าใจว่า การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ไม่ใชก่ ารทาแบบฝึกหดั จงึ ไม่จาเปน็ ต้องทาทุกหนว่ ยการเรียนรู้ ไม่จาเปน็ ตอ้ งทาหลายงาน หลาย ผลงานและหรือหลายชิ้นงานในหน่ึงรายวิชา เพราะจะเป็นการเพิ่มภาระงานให้กับทั้งผู้เรียนและ ครูผูส้ อน

๓. ในการกาหนดเวลาสาหรบั การจัดการเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็นฐานจะต้องใช้เวลาเท่าใด เนื่องจากการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานมีข้ันตอนกระบวนการท่ีต้องดาเนินการต้ังแต่การเตรียม ความพร้อม การกาหนดและเลอื กหวั ข้อ การเขียนเคา้ โครงของโครงงาน การปฏิบตั ิงานโครงงาน การ นาเสนอผลงาน และการประเมนิ โครงงาน ดังนั้น ครูผูส้ อนจะต้องกาหนดเวลาที่ใชใ้ นการใหค้ วามรู้ ผเู้ รยี นเก่ียวกับการกาหนดและเลือกหัวข้อ การเขียนเคา้ โครงของโครงงาน การเขยี นสรปุ รายงาน ผลการดาเนินงานโครงการไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งการใช้เวลาในการเตรียมความ พร้อมและการนาเสนอผลงานด้วย แต่หากผู้เรียนมีประสบการณ์ในการเรียนรู้แบบโครงงานเป็น ฐานมาแล้วในรายวชิ าอื่นหรอื ภาคเรยี นอ่ืน ครูผู้สอนก็สามารถลดเวลาในการจัดการเรยี นรู้ในบาง ขน้ั ตอนลงได้

๔. การจัดการเรียนรแู้ บบโครงงานเป็นฐานควรกาหนดให้ผู้เรียนทาเป็นรายบุคคลหรือเป็น กลุ่ม หากจัดทาเป็นกลุ่มควรมีสมาชิกต่อกลุ่มจานวนเท่าใด ครูผู้สอนสามารถพิจารณาจากลักษณะ ขนาดของโครงงาน ความยาก-ง่าย และระยะเวลาท่ีต้องใช้ในการทางาน ผลงานและหรือช้ินงาน จนแลว้ เสร็จ ทัง้ น้ี การเลอื กเรอื่ งท่จี ะทาโครงงานควรเป็นเรอื่ งทผ่ี ้เู รยี นมีความสนใจและความถนัด ไม่ควรเป็นโครงงานที่ใหญ่เกนิ ไปหรือมีความยุ่งยากซบั ซ้อนมากเกินไป ผู้เรียนควรได้มโี อกาสคิด วิเคราะห์ ลงมือปฏิบัติและเรียนรู้ด้วยตนเอง รวมท้ังได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกันโดยการ ทางานร่วมกัน ครูผู้สอนควรพิจารณาการเลือกเรื่องหรือหัวข้อของแต่ละกลุ่มให้มีความ หลากหลาย ไมซ่ ้าซอ้ น เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ การเรียนรมู้ ากยง่ิ ขนึ้

24 แนวทางการจดั การเรียนร้แู บบโครงงานเปน็ ฐาน

๕. การประเมินผลการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานควรดาเนินการเม่ือไร อย่างไร สามารถ พิจารณาได้จากข้ันตอนกระบวนการของการทาโครงงานของผู้เรียน ต้ังแต่การเตรียมการ การ ดาเนนิ งาน จนเกดิ งาน ผลงานและหรือช้ินงาน รวมถึงพฤตกิ รรมลักษณะนิสยั ในการทาโครงงานด้วย โดยครูผู้สอนควรวางแผนไว้ล่วงหน้า โดยอาจทาความตกลงกับผู้เรียนเก่ียวกับเง่ือนไข หลักเกณฑ์ วธิ ีการและเกณฑ์การตัดสินให้คะแนน ท้ังน้ี ครูผู้สอนจะต้องทาการประเมินเป็นระยะเพ่ือเป็นการ กระตนุ้ และตดิ ตามความก้าวหนา้ ในการปฏิบตั ิงานของผู้เรยี น ทงั้ ก่อนการทาโครงงาน (ขนั้ ตอนที่ 1-3) และระหว่างการทาโครงงาน (ข้ันตอนที่ 4) ส่วนการประเมินหลังเสร็จส้ินการทาโครงงาน (ขน้ั ตอนที่ 5) จะให้ความสาคญั กบั ข้อค้นพบและผลกระทบจากการทาโครงงาน

๖. การจะทาให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญของการเรียนรู้แบบโครงงาน ต้องเร่ิมต้นจาก ผู้บรหิ ารสถานศึกษาเห็นความสาคญั สนบั สนุนสง่ เสริมให้ครูมีความร้คู วามเขา้ ใจในการจัดการเรยี นรู้ แบบโครงงานเป็นฐาน ส่งเสริมให้มีการบูรณาการการจัดการเรียนรใู้ นรายวิชา และระหว่างรายวิชา โดยจัดแผนการเรียนในแต่ละภาคเรียนให้เอ้ือต่อการบูรณาการเพื่อให้เกิดงาน ผลงานและหรือ ชิ้นงานอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ โครงงาน เรียงลาดับจากโครงงานท่ีง่ายไปถึงโครงงานท่ียากข้ึน ซับซ้อนขึ้นในแต่ละภาคเรียนตามสาขาวิชาและสาขางานที่เรียน การวางแผนร่วมกันระหว่าง ครูผู้สอนในสาขาวิชาและสาขางาน จะทาให้งาน ผลงานและหรือชิ้นงานท่ีเกิดจากการเรียนรู้ แบบโครงงานสามารถสะท้อนความสามารถของผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ โดยเฉพาะด้านสมรรถนะวชิ าชีพของสาขาวชิ าและสาขางาน และสามารถใช้เป็นสว่ นหนึ่งหรือใช้ แทนการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพเพ่ือการสาเร็จการศึกษาได้

แนวทางการจดั การเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็นฐาน 25

เอกสำรอำ้ งองิ

แนวทางการจัดการเรยี นรแู ้ บบโครงงานเป็ นฐาน

เกษมรัสมิ์ ววิ ติ รกลุ เกษม. 2555. การจัดการเรยี นการสอนแบบ Project-Based Learning ใน ระดบั อดุ มศกึ ษา. สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั , กรงุ เทพฯ.

ปรัชญนนั ท์ นิลสขุ . 2558. การจัดการเรยี นรู้แบบโครงการเปน็ ฐาน (Project-based Learning).กรงุ เทพฯ: MAC Education.

ยรรยง สนิ ธ์ุงาม. 2556. การเรียนรูโ้ ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (Problem-based Learning: PBL). สบื คน้ เมอื่ วันท่ี 20 ธนั วาคม 2556 จาก http://www.vcharkarn.com.

วัชรินทร์ โพธิเ์ งนิ , พรจติ ประทมุ สวุ รรณ และสนั ติ หตุ ะมาน. 2556. การจดั การเรยี นการสอนแบบ โครงงานเปน็ ฐาน. ภาควิชาครศุ าสตรเ์ คร่ืองกล คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม, มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ. แหล่งที่มา: http://www.fte. kmutnb.ac.th/km/project-based%20learning.pdf, 25 มกราคม 2556.

สถาบนั วจิ ัยเพ่ือการพฒั นาประเทศไทย. 2557. ข้อเสนอว่าดว้ ยการปฏริ ูประบบการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจยั เพอ่ื การพัฒนาประเทศไทย.

สชุ าติ วงศ์สุวรรณ. 2542. การเรียนรู้สาหรบั ศตวรษที่ 21 : การเรยี นรู้ท่ีผู้เรยี นเปน็ ผสู้ ร้าง ความร้ดู ว้ ยตนเอง. กรมวิชาการ, กรุงเทพฯ.

หน่วยศึกษานเิ ทศก์. 2556. คู่มือการจัดการเรยี นรอู้ าชวี ศึกษาแบบโครงการเปน็ ฐาน. กรุงเทพฯ: หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา.

----

ภาคผนวก

แนวทางการจดั การเรยี นรูแ้ บบโครงงานเปน็ ฐาน 27

ตัวอยา่ งแผน

แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐานท้ังรายวิชา

หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 หมวดวิชาทักษะชีวิต

วิชาคณิตศาสตร์และสถติ เิ พอ่ื งานอาชพี

28 แนวทางการจดั การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน

ลกั ษณะรายวิชา

3000-1404 คณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ิเพ่อื งานอาชพี 3-0-3

จานวนหน่วยกิต ๓ หนว่ ยกติ เวลาเรยี นตอ่ ภาคเรยี น 54 ช่ัวโมง

จดุ ประสงค์รายวิชา เพ่ือให้ 1. เกิดความคดิ รวบยอดเก่ียวกับ ตรรกศาสตร์ สถิติพ้ืนฐาน และความนา่ จะเปน็ 2. นาความรเู้ รอื่ งตรรกศาสตร์ สถิตพิ ้นื ฐาน และความน่าจะเปน็ ประยกุ ต์ใช้ในงานอาชพี 3. มเี จตคติทด่ี ีตอ่ การเรยี นร้ทู างคณิตศาสตร์

สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงเหตผุ ลโดยใช้ตรรกศาสตร์ 2. ดาเนนิ การเกีย่ วกบั สถิตพิ นื้ ฐาน 3. ดาเนนิ การเกย่ี วกับความนา่ จะเป็น 4. ประยกุ ตใ์ ช้ตรรกศาสตร์ สถติ พิ ้นื ฐาน และความนา่ จะเปน็ ในงานอาชีพ

คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาเก่ียวกบั การฝึกทักษะ การคิดคานวณและการแกป้ ญั หาเก่ียวกับ ตรรกศาสตร์ การวดั

แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจายข้อมูล ค่ามาตรฐาน การประยุกต์ใช้สถิติในงานอาชีพ และ ความนา่ จะเปน็

แนวทางการจัดการเรยี นรูแ้ บบโครงงานเป็นฐาน 29

กาหนดการสอน

3000-1404 คณติ ศาสตร์และสถติ ิเพือ่ งานอาชพี จานวน 3 หน่วยกติ

เวลาเรียนต่อสปั ดาห์ ทฤษฎี 3 ชัว่ โมง ปฏิบัติ - ชัว่ โมง รวมเวลาเรียนตอ่ ภาคเรียน 54 ชว่ั โมง

ช่อื หน่วย สัปดาห์ ช่วั โมง ที่ ที่ ท่ี การเรยี นรู้ สมรรถนะประจาหน่วย/เกณฑ์ปฏิบตั ิงาน 1-3 1-9 /รายการสอน 4-6 10–18 1 ตรรกศาสตร์ สมรรถนะ 7–9 19–27 - แสดงเหตุผลโดยใชต้ รรกศาสตร์ 10-11 28-33 เกณฑ์ปฏบิ ตั งิ าน 12–14 34-42 - ปัญหาถกู วิเคราะห์และแก้ไขอย่างมีเหตุผลโดยใชห้ ลัก

ตรรกศาสตร์

2 การวัดแนวโน้ม สมรรถนะ

เข้าสสู่ ว่ นกลาง - ดาเนินการเกี่ยวกับการวดั แนวโน้มเข้าสสู่ ่วนกลาง

เกณฑป์ ฏบิ ตั งิ าน

- ข้อมลู ถูกวิเคราะหเ์ พื่อหาคา่ การวดั แนวโน้มเขา้ สู่สว่ นกลาง

3 การวัดการ สมรรถนะ กระจายขอ้ มลู - ดาเนินการเก่ยี วกบั การวัดการกระจายข้อมูล

เกณฑ์ปฏบิ ตั งิ าน

- ขอ้ มูลถกู วเิ คราะห์เพ่ือหาคา่ การวัดการกระจายขอ้ มลู

4 ค่ามาตรฐาน สมรรถนะ

- ดาเนินการเก่ียวกบั ค่ามาตรฐาน

เกณฑป์ ฏบิ ตั งิ าน

- ข้อมลู ถกู วเิ คราะห์เพ่ือหาค่ามาตรฐาน

5 ความนา่ จะเป็น สมรรถนะ

- ดาเนินการเกี่ยวกับความน่าจะเป็น

เกณฑ์ปฏบิ ตั ิงาน

- ข้อมลู ถูกวเิ คราะห์เพ่อื หาคา่ ความน่าจะเป็น

30 แนวทางการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงานเป็นฐาน

ชอ่ื หน่วย สัปดาห์ ช่ัวโมง ที่ ท่ี ท่ี การเรียนรู้ สมรรถนะประจาหน่วย/เกณฑป์ ฏิบตั งิ าน 15-17 43-51 /รายการสอน

6 การประยกุ ตใ์ ช้ สมรรถนะ

สถติ ิในงาน - ประยุกต์ใช้ตรรกศาสตร์ สถติ ิพ้นื ฐานและความน่าจะเป็น อาชพี ในงานอาชีพ (PjBL) เกณฑ์ปฏบิ ตั ิงาน

- หวั ขอ้ เรอื่ งงานอาชพี ทจ่ี ะจดั ทาโครงงานถูกกาหนดชดั เจน

และมีแหล่งข้อมลู สนบั สนนุ ท่ีเชอ่ื ถือได้

- โครงงานสารวจข้อมูลในงานอาชีพถูกออกแบบและวางแผน

อยา่ งถูกต้องชัดเจนในแต่ละขัน้ ตอน รูปแบบการเขียน

ครบถ้วนสมบรู ณต์ ามที่กาหนดและสามารถนาไปปฏบิ ัติได้

- เคร่ืองมอื สารวจรวบรวมข้อมูลในงานอาชพี ถกู ออกแบบ

ตามหลกั การและเหมาะสมกบั ลักษณะของข้อมูลทต่ี ้องการ

สารวจ

- ขอ้ มลู ในงานอาชีพถูกสารวจรวบรวมตามเคร่อื งมอื ท่ใี ช้

ครบถ้วน ถูกตอ้ ง เช่ือถอื ได้

- ข้อมูลในงานอาชพี ถกู วเิ คราะห์ ตคี วามและสรปุ อยา่ ง

ถกู ตอ้ ง เช่ือถอื ได้ โดยใช้หลกั ตรรกศาสตร์ สถิตพิ น้ื ฐาน

และความน่าจะเปน็

- รายงานการสารวจขอ้ มูลในงานอาชีพถูกจัดทาตามรูปแบบ

ที่กาหนด แล้วเสร็จทันเวลาและเชอ่ื ถือได้

สอบปลายภาค 18 52-54

แนวทางการจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน 31

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 6

วิชา คณติ ศาสตรแ์ ละสถติ เิ พื่องานอาชีพ สอนครั้งที่ 15-17 ชอื่ หนว่ ย การประยุกต์ใช้สถติ ใิ นงานอาชีพ จานวน 9 ช่ัวโมง ชอื่ เร่อื ง โครงงานสารวจขอ้ มูลในงานอาชีพ

1. สาระสาคญั

ข้อมูลสถิติมีความสาคัญและจาเป็นต่อการบริหารงานและพัฒนาประเทศ เป็นเคร่ืองมือ สาหรับผ้บู รหิ ารใชเ้ ปน็ แนวทางประกอบการตดั สินใจในการจดั ทาแผนงาน กาหนดนโยบายหรอื แกไ้ ข ปญั หาตา่ ง ๆ ดังน้ันประโยชนข์ องข้อมลู สามารถจาแนกตามการใช้ ทสี่ าคญั ๆ คอื ขอ้ มูลสถติ ทิ ่ใี ช้ ใน การบริหาร และข้อมูลสถิติท่ีใช้ในการพัฒนา นอกจากน้ีข้อมูลสถิติยังเป็นท่ีต้องการและใช้กันอย่าง กว้างขวางและแพร่หลายในวงการธุรกิจเอกชน โดยเฉพาะธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญ่ท่ีต้อง อาศัยข้อมูลในการวางแผนด้านต่าง ๆ อย่างรอบคอบ เพื่อให้การดาเนินธุรกิจมีโอกาสท่ีจะประสบ ความสาเร็จ ความก้าวหน้าได้มากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการวางแผนด้านการผลติ การตลาด การโฆษณา การกาหนดราคาสินค้าหรือบริการให้เหมาะสมกับกาลังซ้ือและสภาวะการแข่งขัน จะต้องอาศัย การศึกษาและวิเคราะหข์ ้อมลู สถิติตา่ ง ๆ ทีจ่ าเปน็ และเป็นประโยชน์ในการวางแผนและการตดั สนิ ใจ ในด้านต่าง ๆ เพ่ือลดอัตราการเสี่ยงท่ีจะต้องประสบความล้มเหลวในการดาเนนิ การ และเพ่ือให้การ แก้ไขปญั หาภาวะวิกฤตทางเศรษฐกจิ ได้เปน็ ผลสาเร็จ

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

ประยุกตใ์ ชต้ รรกศาสตร์ สถิตพิ นื้ ฐานและความนา่ จะเปน็ ในงานอาชีพ

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

3.1 จุดประสงคท์ ั่วไป เพือ่ ให้

  1. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกีย่ วกับการประยกุ ต์ใช้ตรรกศาสตร์ สถติ พิ ืน้ ฐานและความ

นา่ จะเปน็ ในงานอาชีพ ๒) มีทกั ษะในประยุกตใ์ ชต้ รรกศาสตร์ สถติ ิพ้นื ฐาน และความน่าจะเปน็ ในงานอาชีพ ๓) มีกิจนิสัยในการปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบ ละเอียดอบคอบ สามารถทางาน

รว่ มกันโดยใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม

  1. กาหนดหวั ข้อโครงงานสารวจขอ้ มูลในงานอาชพี ได้ ๒) ออกแบบและวางแผนโครงงานสารวจขอ้ มลู ในงานอาชพี ได้ ๓) เขยี นโครงงานสารวจขอ้ มูลในงานอาชพี ได้ ๔) ออกแบบเครื่องมือสารวจรวบรวมขอ้ มูลในงานอาชีพได้ ๕) สารวจรวบรวมขอ้ มลู ในงานอาชพี ได้

32 แนวทางการจดั การเรียนรู้แบบโครงงานเปน็ ฐาน

๖) วิเคราะห์ ตีความและสรุปข้อมูลในงานอาชีพที่ได้จากการสารวจโดยใช้หลัก ตรรกศาสตร์ สถติ พิ น้ื ฐาน และความนา่ จะเป็นได้

๗) จดั ทารายงานการสารวจข้อมูลในงานอาชพี ได้ ๘) นอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านได้

4. สาระการเรียนรู้

4.1 การเตรียมความพรอ้ ม

  1. การทางานรว่ มกับผ้อู ่ืน
  2. การกาหนดปัญหา ความตอ้ งการ
  3. การศกึ ษาด้วยตนเอง และการตอ่ ยอดองคค์ วามรู้
  4. การกาหนดผลสมั ฤทธ์ิ
  5. การจดั กระบวนการคิด การปฏบิ ตั ิ การทดลอง โดยใช้กระบวนการวจิ ัยเป็นฐาน

4.2 การกาหนดและเลือกหวั ข้อ

  1. การแบง่ กลมุ่ ผู้เรยี นตามความถนดั และความสนใจ
  2. การระดมสมองเพอ่ื กาหนดและเลอื กหัวขอ้ โครงงาน

4.3 การเขยี นเค้าโครงของโครงงาน

  1. การศึกษาขอบเขตโครงงานและแหลง่ ขอ้ มลู
  2. การวางแผนการดาเนนิ งาน
  3. การกาหนดบทบาทหนา้ ท่ี ภาระงานของสมาชกิ ในกลมุ่
  4. การนาเสนอขอ้ สรุป
  5. การเขยี นโครงงาน

4.4 การปฏบิ ัตโิ ครงงาน

  1. การออกแบบและวางแผนการดาเนินโครงงาน
  2. การกาหนด/เลือกวิธีการเรียนรู้
  3. กระบวนการแกป้ ัญหา
  4. การตรวจสอบความกา้ วหน้า

4.5 การประเมินการจัดการเรยี นรูแ้ บบโครงงาน

  1. การประเมินก่อนดาเนนิ โครงงาน
  2. การประเมนิ ระหว่างดาเนินโครงงาน
  3. การประเมนิ หลังเสรจ็ ส้นิ โครงงาน

4.6 การนาเสนอผลงาน

  1. การจัดทารายงานโครงงาน
  2. การนาเสนอผลงาน

แนวทางการจดั การเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็นฐาน 33

5. กจิ กรรมการเรียนรู้

สปั ดาหท์ ่ี 15 การจดั กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน (ข้ันตอนที่ 1–3) ดงั นี้

  1. ครูผู้สอนเตรียมความพร้อมผู้เรียนในการจัดทาโครงงาน โดยอธิบายถึงความสาคญั และ

ความจาเปน็ ของขอ้ มูลสถติ ิในรปู แบบต่าง ๆ

  1. ครผู สู้ อนแจกใบความรู้ที่ 6.1 การเขยี นโครงงาน พร้อมอธบิ ายการเขียนโครงงาน
  2. ครผู ู้สอนนาเสนอแนวคิดการสารวจข้อมลู ในงานอาชพี ต่าง ๆ พรอ้ มทงั้ แจกใบมอบหมาย

งานท่ี 4.1 การทาโครงงานสารวจในงานอาชพี

  1. ครูผู้สอนแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม ๆ ละ 2 คน ให้ศึกษาค้นคว้าความรู้ด้วยตนเองจากแหล่ง

เรียนรตู้ ่าง ๆ โดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ เพอ่ื เปน็ ข้อมลู ในการกาหนดหวั ข้อหรือปญั หาเกี่ยวกับงาน อาชพี ตา่ ง ๆ

  1. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมพิจารณาคัดเลือกหัวข้อจากท่ีกาหนดไว้โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เพือ่ จัดทาโครงงานสารวจข้อมูลในงานอาชีพกลุ่มละ 1 หัวขอ้
  1. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนาหัวข้อท่ีคัดเลือกไว้มาเขียนเค้าโครงของโครงงานตามแบบฟอร์ม ทก่ี าหนด
  1. ครผู ู้สอนใหค้ าแนะนา ชแ้ี นะและสังเกตการปฏิบัตงิ านของผเู้ รยี นทุกกลมุ่ อยา่ งใกล้ชดิ
  2. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอโครงงานของกลมุ่ หนา้ ช้นั เรียน เพ่ือนในห้องและครูผ้สู อนรว่ ม อภปิ รายซกั ถาม
  3. ครผู ู้สอนให้ข้อเสนอแนะและประเมนิ ผลงานโครงงานของกลุ่ม

สัปดาหท์ ่ี 16 การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน (ขน้ั ตอนท่ี 4) ดังนี้

  1. ครูผู้สอนแจกใบความรู้ท่ี 6.2 เรื่องการวิจัยเชิงสารวจ พร้อมอธิบายระเบียบวิธีวิจัยเชิง

สารวจ การสร้างเครือ่ งมือและการใชส้ ถิตเิ บือ้ งตน้

  1. ครูผู้สอนแจกใบความรู้ที่ 6.3 เรื่องการเขียนรายงานโครงงาน การออกแบบเคร่ืองมือ

เกบ็ รวบรวมข้อมลู และการนาเสนอผลงาน พรอ้ มอธบิ ายเพมิ่ เติม

  1. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานโครงงานบทที่ 1–3 และออกแบบเครื่องมือเก็บรวบรวม

ข้อมูล

  1. ครูใหค้ าแนะนา ชแี้ นะและสังเกตการปฏบิ ัตงิ านของผเู้ รียนทกุ กลมุ่ อยา่ งใกล้ชดิ
  1. ผเู้ รียนแตล่ ะกลุม่ นาเสนอแผนการปฏบิ ตั ิงานตามโครงงานสารวจขอ้ มลู ในงานอาชีพ
  1. ครผู สู้ อนใหข้ ้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ และประเมินผลงาน
  1. ครูผู้สอนนัดหมายผู้เรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติงานตามโครงงาน การประเมินผลโครงงาน

พร้อมทงั้ จัดทารปู เล่มรายงานการสารวจ และนาเสนอในสัปดาหท์ ่ี 17

34 แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเปน็ ฐาน

สปั ดาห์ท่ี 17 การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (ข้ันตอนที่ 5 - 6) ดงั นี้

  1. ครูผู้สอนชแี้ จงการนาเสนอผลงานของแตล่ ะกลุ่ม โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนของการ

ดาเนนิ โครงงาน และสว่ นของการรายงานผลการสารวจข้อมลู ในงานอาชพี

  1. ผู้เรียนแตล่ ะกลุม่ นาเสนอผลงาน
  2. ครูผสู้ อนให้ข้อเสนอแนะและประเมนิ รายงานการจดั ทาโครงงาน

6. สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้

6.1 ใบความรู้ ท่ี 6.1 เรอ่ื ง การเขยี นโครงงาน 6.2 ใบความรู้ ที่ 6.2 เร่ือง การวิจัยเชงิ สารวจ 6.3 ใบความรู้ ท่ี 6.3 เรอ่ื ง การเขียนรายงานโครงงาน การออกแบบเครือ่ งมอื เก็บรวบรวม ข้อมลู และการนาเสนอผลงาน 6.4 ใบมอบหมายงานท่ี ๖.1 เร่ือง โครงงานสารวจข้อมูลในงานอาชีพ ๖.๕ ขอ้ มลู งานอาชพี จากเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตและสถานประกอบการ ๖.๖ แบบประเมนิ การปฏิบตั ิงานและแบบสังเกตการปฏิบตั งิ าน พร้อมเกณฑ์การประเมนิ

7. หลักฐานการเรยี นรู้

7.1 หลักฐานความรู้

  1. กระบวนการดาเนินงานสารวจขอ้ มลู ในงานอาชีพ ๒) การวิเคราะห์ ตีความและสรุปผลข้อมูลโดยใช้หลักตรรกศาสตร์ สถิติข้ันพ้ืนฐาน

และความนา่ จะเป็น

7.2 หลกั ฐานการปฏิบตั งิ าน

  1. แบบสังเกตพฤติกรรมลักษณะนสิ ัยในการปฏิบตั งิ าน
  2. แบบประเมนิ ผลงานและการนาเสนอผลงาน ๓) โครงงานสารวจขอ้ มลู ในงานอาชพี ๔) เคร่ืองมือเกบ็ รวบรวมข้อมลู และผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ๕) รายงานโครงงานสารวจขอ้ มูลในงานอาชีพ

8. การวัดและประเมินผล

สมรรถนะประจาหนว่ ย/ จดุ ประสงค์ วิธกี ารวัด เครอ่ื งมอื ผปู้ ระเมนิ เกณฑป์ ฏบิ ตั งิ าน เชงิ พฤตกิ รรม ครผู ้สู อน สมรรถนะ 1.กาหนดหัวขอ้ โครงงาน 1. สังเกตการปฏิบตั ิ 1. แบบสงั เกต ครูผู้สอน - ประยุกต์ใช้ตรรกศาสตร์ สารวจข้อมูลในงานอาชีพ งานกลมุ่ ผ้เู รยี น สถิติพ้ืนฐาน และความ ได้ 2. ประเมินชอื่ ๒. แบบประเมนิ

นา่ จะเปน็ ในงานอาชพี หวั ขอ้ โครงงาน

แนวทางการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน 35

สมรรถนะประจาหนว่ ย/ จดุ ประสงค์ วธิ กี ารวดั เครอ่ื งมือ ผ้ปู ระเมนิ เกณฑป์ ฏิบตั งิ าน เชิงพฤตกิ รรม

เกณฑ์ปฏบิ ตั ิงาน 2.ออกแบบและวางแผน 1. สังเกตการปฏิบัติ 1. แบบสงั เกต ครูผสู้ อน

- หัวขอ้ เรอ่ื งงานอาชพี ที่ โครงงานสารวจข้อมูล งานกล่มุ

จะจดั ทาโครงงานถกู ในงานอาชีพได้ 2. ประเมนิ เค้าโครง 2. แบบประเมิน ครูผสู้ อน

กาหนดชัดเจนและมี ของโครงงาน แบบมาตราส่วน ผู้เรียน

แหล่งข้อมลู สนับสนุน ประมาณค่า

ท่เี ช่ือถอื ได้ 3.เขียนโครงงานสารวจ 1.สงั เกตการปฏบิ ัติ 1. แบบสังเกต ครูผู้สอน

- โครงงานสารวจขอ้ มูลใน ขอ้ มูลในงานอาชีพได้ งานกลุม่

งานอาชีพถกู ออกแบบ 2.ประเมินโครงงาน 2. แบบประเมิน ครูผสู้ อน

และวางแผนอยา่ ง สารวจในงาน แบบมาตราส่วน ผเู้ รียน

ถูกตอ้ งชดั เจนในแตล่ ะ อาชีพ ประมาณค่า

ขนั้ ตอน รปู แบบการ 4.ออกแบบเครอื่ งมอื สารวจ 1.สังเกตการปฏบิ ตั ิ 1. แบบสังเกต ครูผู้สอน เขียนครบถ้วนสมบูรณ์ รวบรวมข้อมูลในงาน ตามที่กาหนดและ งานกลุ่ม

สามารถนาไปปฏิบัตไิ ด้ อาชีพได้ 2.ประเมนิ เครือ่ งมอื 2. แบบประเมิน ครูผู้สอน สารวจรวบรวม แบบมาตราสว่ น - เคร่ืองมอื สารวจ ข้อมลู ในงานอาชีพ ประมาณค่า รวบรวมขอ้ มูลในงาน 5.สารวจรวบรวมข้อมูล 1.สงั เกตการปฏบิ ัติ 1. แบบสังเกต ครูผู้สอน อาชีพถกู ออกแบบตาม ผู้เรียน หลักการและเหมาะสม ในงานอาชีพได้ งานกลุ่ม ครูผสู้ อน กับลักษณะของข้อมูลที่ 2.ประเมนิ ข้อมูลใน 2. แบบประเมิน ครูผสู้ อน ต้องการสารวจ ผ้เู รียน งานอาชพี ทีไ่ ดจ้ าก แบบมาตราสว่ น ครูผสู้ อน - ขอ้ มูลในงานอาชีพถูก การสารวจ ประมาณคา่ ครูผสู้ อน สารวจรวบรวมตาม ผู้เรียน เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ ครบถ้วน 6.วิเคราะห์ ตีความและ 1.สังเกตการปฏิบัติ 1. แบบสงั เกต ครูผสู้ อน

ถกู ตอ้ ง เชื่อถือได้ สรุปข้อมูลในงานอาชพี งานกลมุ่

- ข้อมลู ในงานอาชพี ถกู ท่ีไดจ้ ากการสารวจโดยใช้ 2.ประเมินผลการ 2. แบบประเมิน หลกั ตรรกศาสตร์ สถิติ วเิ คราะห์ ตคี วามและ พนื้ ฐาน และความนา่ - วเิ คราะห์ ตีความ แบบมาตราส่วน สรปุ อย่างถกู ต้อง และสรปุ ข้อมลู ใน ประมาณค่า จะเป็นได้ เชอ่ื ถอื ได้ โดยใชห้ ลัก งานอาชีพที่ไดจ้ าก ตรรกศาสตร์ สถติ ิ การสารวจ พนื้ ฐาน และความ น่าจะเปน็ 7.จัดทารายงานการสารวจ 1.สงั เกตการปฏิบตั ิ 1. แบบสงั เกต

- รายงานการสารวจ ขอ้ มูลในงานอาชีพได้ งานกลมุ่

ขอ้ มูลในงานอาชีพถูก 2.ประเมินรายงาน 2. แบบประเมนิ

การสารวจข้อมลู แบบมาตราสว่ น

ในงานอาชีพ ประมาณคา่

จดั ทาตามรูปแบบท่ี

กาหนด แลว้ เสร็จ

ทนั เวลาและเชอ่ื ถอื ได้

36 แนวทางการจดั การเรียนรูแ้ บบโครงงานเปน็ ฐาน

สมรรถนะประจาหน่วย/ จุดประสงค์ วธิ ีการวัด เครอื่ งมือ ผปู้ ระเมนิ

เกณฑป์ ฏบิ ตั งิ าน เชิงพฤติกรรม ครูผูส้ อน ผู้เรียน 8. น้อมนาหลักปรัชญาของ 1.สังเกตการปฏบิ ัติ 1. แบบสังเกต ครูผูส้ อน

เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ งานกลมุ่

ในการปฏิบัติงาน 2.ประเมินผลการ 2. แบบตรวจสอบ

ดาเนินงาน รายการ

9. เอกสารอา้ งองิ

๙.๑ กัลยา วานชิ ยบ์ ัญชา. (2544). หลักสถิติ. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ๙.๒ ยุทธ ไกยวรรณ.์ (2545). พื้นฐานการวจิ ยั . กรงุ เทพฯ: สุวรี อยาสาส์น. ๙.๓ อุทมุ พร จามรมาน. (2537). การทาวจิ ยั เชงิ สารวจ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์

มหาวทิ ยาลยั .

แนวทางการจัดการเรียนรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน 37

ใบมอบหมายงาน ท่ี ๖.๑ หน่วยท่ี 6

วชิ า คณติ ศาสตร์และสถติ ิเพ่ืองานอาชพี สอนครงั้ ที่ 15-17 ชือ่ หน่วย การประยกุ ต์ใช้สถติ ิในงานอาชีพ จานวน 9 ชว่ั โมง ช่อื เรื่อง โครงงานสารวจข้อมูลในงานอาชีพ จานวน 9 ชว่ั โมง

จดุ ประสงค์การมอบหมายงาน เพือ่ ให้ 1. กาหนดหัวขอ้ โครงงานสารวจขอ้ มูลในงานอาชพี ได้ ๒. ออกแบบและวางแผนโครงงานสารวจข้อมลู ในงานอาชีพได้ ๓. เขียนโครงงานสารวจขอ้ มูลในงานอาชีพได้ ๔. ออกแบบเคร่อื งมือสารวจรวบรวมข้อมลู ในงานอาชีพได้ ๕. สารวจรวบรวมขอ้ มลู ในงานอาชพี ได้ ๖. วเิ คราะห์ ตคี วามและสรปุ ขอ้ มลู ในงานอาชพี ที่ไดจ้ ากการสารวจโดยใช้หลักตรรกศาสตร์ สถติ พิ น้ื ฐาน และความนา่ จะเปน็ ได้ ๗. จดั ทารายงานการสารวจข้อมลู ในงานอาชีพได้ ๘. นอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นการปฏบิ ัติงานได้

แนวทางการปฏิบัตงิ าน สปั ดาห์ที่ 15 1. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้ด้วยตนเองจากข้อมูล แหล่งเรียนรู้/ค้นคว้า ตัวอย่าง งานวจิ ยั เชงิ สารวจในอาชพี จรงิ 2. สมาชิกกลุ่มแต่ละคนเสนอปัญหาหรือความคิดในการทาโครงงานสารวจข้อมูลในงาน อาชีพ อย่างน้อยคนละ 2 เรื่อง แล้วใช้กระบวนการกลมุ่ ในการคดั เลือกปญั หาหรือเรือ่ ง ท่สี นใจเพียงเรือ่ งเดยี วสาหรับกาหนดเปน็ หัวขอ้ โครงงาน 3. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนาเสนอหน้าช้ันเรียน โดยประเด็นท่ีนาเสนอประกอบด้วยปัญหา หรือหัวข้อทั้งหมดท่ีสมาชิกเสนอ และหัวข้อท่ีกลุ่มเลือกสาหรับทาโครงงาน พร้อม เหตุผลประกอบ เวลาในการนาเสนอกลุม่ ละ ๓ นาที 4. แต่ละกลุ่มนาหัวข้อที่เลือกมาเขียนเค้าโครงของโครงงานตามแบบฟอร์มที่กาหนดให้ เสรจ็ ในเวลา ๓๐ นาที แลว้ ส่งตวั แทนนาเสนอหนา้ ช้นั เรียนกลุม่ ละ ๕ นาที

สัปดาห์ที่ 16 5. ผเู้ รยี นแตล่ ะกลุม่ จดั ทาแผนการปฏบิ ตั งิ านตามโครงงาน และการประเมนิ ผลโครงงาน

ของกลุ่มจนเสรจ็ 6. ผู้เรยี นแต่ละกล่มุ เขยี นรายงานโครงงาน บทที่ 1–3 7. ผเู้ รียนแตล่ ะกลมุ่ ออกแบบเครอ่ื งมอื เกบ็ รวบรวมข้อมูล

38 แนวทางการจดั การเรียนรแู้ บบโครงงานเป็นฐาน

8. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอเคร่ืองมือเก็บรวบรวมข้อมูลหนา้ ช้ันเรียน 9. ผเู้ รียนแตล่ ะกล่มุ เก็บรวบรวมขอ้ มลู และจดั ทารายงานโครงงานนอกเวลาเรียน

สัปดาห์ที่ 17 10. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานโครงงาน โดยจัดทาเล่มรายงานโครงงาน และ

นาเสนอดว้ ยโปรแกรมนาเสนอ (Power Point)

แหลง่ ค้นคว้า ๑. http://tdc.thailis.or.th/tdc/ ๒. http://library.cmu.ac.th/digital_collection/etheses/ ๓. http://arit.rmutr.ac.th/?page_id=211

คาถาม/ปัญหา ๑. ผเู้ รียนใช้หลักตรรกศาสตรใ์ นการทาโครงงานในขั้นตอนใดบา้ ง ๒. ผเู้ รียนใช้สถติ พิ นื้ ฐานอะไรบา้ งในการทาโครงงานสารวจขอ้ มูลในงานอาชีพ ๓. ผูเ้ รียนไดน้ อ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นการปฏิบตั ิงานอย่างไรบา้ ง

กาหนดเวลาส่งงาน ส่งงานสปั ดาห์ที่ 17 ดังนี้ 1. นาเสนอผลงานโครงงานดว้ ยโปรแกรมนาเสนอ (Power Point) 2. จัดทาเลม่ รายงานโครงงาน กลมุ่ ละ 1 เล่ม

การประเมินผล 1. สังเกตการปฏิบัตงิ าน 2. ประเมินหัวขอ้ การออกแบบและวางแผนเค้าโครงของโครงงานและการเขยี นโครงงาน ๓. ประเมินเครือ่ งมอื รวบรวมข้อมูล ๔. ประเมินความก้าวหนา้ โครงงาน ๕. ประเมินผลการปฏิบัตงิ านสารวจรวบรวมข้อมูล วเิ คราะห์ ตคี วามและสรปุ ๖. ประเมินผลรายงานโครงงาน

เอกสารอ้างอิง ๑. กัลยา วานชิ ยบ์ ญั ชา. (2544). หลักสถิติ. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ๒. ยทุ ธ ไกยวรรณ์. (2545). พ้นื ฐานการวจิ ยั . กรงุ เทพฯ: สุวรี อยาสาสน์ . ๓. อุทุมพร จามรมาน. (2537). การทาวจิ ยั เชิงสารวจ. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั .

แนวทางการจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน 39

แบบสังเกตการปฏบิ ตั งิ าน หนว่ ยท่ี 6

วิชา คณิตศาสตรแ์ ละสถติ ิเพื่องานอาชพี สอนครั้งที่ 15-17 ชื่อหนว่ ย การประยกุ ต์ใชส้ ถิติในงานอาชีพ จานวน 9 ชว่ั โมง ชือ่ เรอื่ ง โครงงานสารวจข้อมูลในงานอาชีพ จานวน 9 ชั่วโมง

วันที่ ............ เดือน ............................... พ.ศ. ............... เวลา .................. น. ถึง เวลา ................ น. ชื่อ–นามสกลุ ................................................. กลุ่ม .................. ช้ัน ............... แผนก ........................

ข้อท่ี รายการประเมนิ /หัวขอ้ ประเมิน ระดบั คะแนน 54321 1 การเตรียมความพรอ้ ม 2 การกาหนดและคดั เลือกหัวข้อ 3 การเขียนเคา้ โครงของโครงงาน 4 การวางแผนการปฏบิ ัติงาน 5 ความก้าวหน้าของโครงงาน 6 การประเมนิ โครงงาน 7 การจดั ทารายงานโครงงาน 8 การนาเสนอผลงาน

รวม รวมท้งั หมด

(.............................................................) ผู้ประเมนิ

หมายเหตุ แบบสงั เกตการปฏบิ ตั ิงานนสี้ ามารถใชเ้ ป็นแบบตรวจผลงานได้ โดยตัดรายการที่ 1 และ 8 ออก

40 แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน

เกณฑก์ ารตดั สินการประเมนิ

รายการประเมิน หัวข้อประเมิน เกณฑก์ ารให้คะแนน 1. การเตรยี ม 5 = ปฏบิ ตั ไิ ด้ 5 รายการ 1. มีการเตรียมอปุ กรณส์ ืบค้นขอ้ มูล 4 = ปฏิบตั ไิ ด้ 4 รายการ ความพร้อม 2. มกี ารกาหนดขอ้ มลู ท่จี ะคน้ หา 3 = ปฏบิ ตั ไิ ด้ 3 รายการ 3. มกี ารเตรียมแหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ 2 = ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ 2. การกาหนดและ 1 = ปฏบิ ัตไิ ด้ 1 รายการ คัดเลือกหัวขอ้ ที่จะคน้ หา 4. มกี ารวางแผนการสืบค้นข้อมลู 5 = ปฏบิ ัตไิ ด้ 5 รายการ 3. การเขยี น 5. มีการแบ่งหนา้ ที่ในกลุ่มเพื่อสบื คน้ เคา้ โครงของ 4 = ปฏบิ ตั ไิ ด้ 4 รายการ โครงงาน 1. มีการกาหนดปญั หาหรอื เรอ่ื งท่จี ะทา โครงงานตามเกณฑ์ท่กี าหนด 3 = ปฏบิ ัตไิ ด้ 3 รายการ 4. การวางแผน การปฏิบัตงิ าน 2. ในกลมุ่ มกี ารบันทกึ ปญั หาหรอื เรอ่ื ง 2 = ปฏบิ ตั ไิ ด้ 2 รายการ ทก่ี าหนดทงั้ หมด 1 = ปฏิบตั ไิ ด้ 1 รายการ 3. มกี ารวพิ ากษป์ ัญหาหรอื เรอ่ื งทกุ เร่ือง 5 = ปฏิบตั ไิ ด้ 5 รายการ 4. ใชก้ ระบวนการกล่มุ เพอ่ื คดั เลือก 4 = ปฏบิ ัตไิ ด้ 4 รายการ 3 = ปฏบิ ตั ไิ ด้ 3 รายการ หัวขอ้ 2 = ปฏิบัตไิ ด้ 2 รายการ 5. ไดห้ ัวข้อเหมาะสมกบั การทาโครงงาน 1 = ปฏิบัตไิ ด้ 1 รายการ 5 = ปฏบิ ตั ริ ายการที่ 1, 2, 3, 4 1. รว่ มกนั เขียนเคา้ โครงของโครงงาน 2. หลกั การและเหตผุ ลเหมาะสม และ 5 ได้ 3. วตั ถปุ ระสงค์เหมาะสมกับโครงงาน 4 = ปฏิบัตริ ายการท่ี 1, 2, 3 และ 4. เปน็ โครงงานทม่ี คี วามคดิ สรา้ งสรรค์ 5. โครงงานมอี งค์ประกอบครบถ้วน 4 ได้

1. มกี ารวางแผนปฏิบัตงิ านโครงงาน 3 = ปฏบิ ตั ริ ายการที่ 1, 2 และ 3 ได้ 2. สมาชกิ ทุกคนร่วมวางแผนปฏิบัติงาน 3. แผนปฏิบัตงิ านมีระยะเวลาเหมาะสม 2 = ปฏิบตั ิรายการท่ี 1 และ 2 ได้ 4. แผนปฏบิ ตั งิ านสามารถปฏบิ ตั ิได้จรงิ 5. แผนปฏบิ ัตงิ านสอดคลอ้ งกับ

โครงงาน

1 = ปฏบิ ัตริ ายการที่ 1 ได้

แนวทางการจดั การเรียนรแู้ บบโครงงานเปน็ ฐาน 41

รายการประเมนิ หัวขอ้ ประเมนิ เกณฑ์การให้คะแนน 5. ความกา้ วหนา้ 1. มีการรายงานความก้าวหน้าของ 5 = ปฏบิ ัตไิ ด้ 5 รายการ ของโครงงาน โครงงาน 4 = ปฏิบตั ไิ ด้ 4 รายการ 3 = ปฏิบตั ไิ ด้ 3 รายการ 6. การประเมิน 2. มีการรายงานเค้าโครงของโครงงาน 2 = ปฏิบตั ไิ ด้ 2 รายการ โครงงาน 3. มกี ารรายงานวางแผนการปฏิบัติงาน 1 = ปฏิบัตไิ ด้ 1 รายการ 4. มีการรายงานความก้าวหนา้ ของ 7. การจดั ทา รายงานผล โครงงาน โครงงาน 5. มีการรายงานผลสาเร็จของโครงงาน

8. การนาเสนอ 1. มกี ารวางแผนการประเมนิ โครงงาน 5 = ปฏิบตั ริ ายการที่ 1, 2, 3, 4 ผลงาน 2. มีการประเมินหลงั เสร็จสน้ิ โครงงาน และ 5 ได้ 3. มกี ารประเมนิ ระหว่างดาเนิน 4 = ปฏบิ ัตริ ายการที่ 1, 2, 3 และ โครงงาน 4 ได้ 4. มีการประเมินกอ่ นการดาเนิน 3 = ปฏิบัตริ ายการที่ 1, 2 และ 3 ได้ โครงงาน 5. การประเมินสอดคลอ้ งกบั โครงงาน 2 = ปฏิบัตริ ายการที่ 1 และ 2 ได้

1 = ปฏบิ ัตริ ายการท่ี 1 ได้

1. มีการจัดทารายงานโครงงาน 5 = ปฏบิ ัติรายการท่ี 1, 2, 3, 4

2. รายงานผลตามวัตถุประสงค์โครงงาน และ 5 ได้

3. รายงานตามทป่ี ระเมินโครงงานไว้ 4 = ปฏบิ ตั ริ ายการท่ี 1, 2, 3 และ 4. รายงานโครงงานถูกต้องตามรูปแบบ 4 ได้ ทก่ี าหนด 3 = ปฏบิ ัตริ ายการที่ 1, 2 และ 3 ได้ 5. รายงานโครงงานมกี ารเช่อื มโยงแตล่ ะ 2 = ปฏบิ ตั ริ ายการที่ 1 และ 2 ได้ หวั ขอ้ ชัดเจน

1 = ปฏบิ ตั ริ ายการที่ 1 ได้

1. มกี ารมอบหมายงานทกุ คนนาเสนอ 5 = ปฏิบตั ไิ ด้ 5 รายการ 2. มีสไลด์ (PPT) ประกอบการนาเสนอ 4 = ปฏิบตั ไิ ด้ 4 รายการ 3. รปู แบบการนาเสนอนา่ ใจ 3 = ปฏิบัตไิ ด้ 3 รายการ 4. นาเสนอชัดเจนสอดคล้องกบั 2 = ปฏบิ ัตไิ ด้ 2 รายการ

โครงงาน 5. ใชค้ าพูดในการนาเสนอชดั เจน

1 = ปฏบิ ตั ไิ ด้ 1 รายการ

42 แนวทางการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงานเปน็ ฐาน

ตวั อย่างแผน

แผนการจัดการเรียนร้แู บบโครงงาน เฉพาะบางหน่วยการเรยี นรู้ในรายวิชา

หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พุทธศักราช 255๖ หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ

วิชาคอมพวิ เตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชพี

แนวทางการจดั การเรยี นร้แู บบโครงงานเป็นฐาน 43

ลกั ษณะรายวิชา

๒00๑-๒๐๐๑ คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชพี ๑-๒-๒

จานวนหนว่ ยกติ ๒ หนว่ ยกติ เวลาเรยี นตอ่ ภาคเรยี น 54 ช่วั โมง

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจหลักการและกระบวนการด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องาน อาชีพ การใช้โปรแกรมสาเร็จรูป การใช้อินเทอร์เน็ตและการส่ือสารข้อมูลสารสนเทศ ในงานอาชพี 2. สามารถสบื ค้นและสื่อสารขอ้ มลู โดยใช้อนิ เทอร์เนต็ ใช้ระบบปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์และ โปรแกรมสาเร็จรปู ตามลักษณะงานอาชีพ 3. มีคณุ ธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบในการใช้คอมพิวเตอรก์ ับระบบสารสนเทศ

สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการและกระบวนการใช้คอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศ ระบบ ปฏิบัตกิ าร โปรแกรมสาเร็จรปู และอินเทอร์เนต็ เพือ่ งานอาชีพ 2. ใช้ระบบปฏิบัติการในการจัดสภาพแวดล้อมและจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ บนเครื่อง คอมพวิ เตอร์ 3. ใช้โปรแกรมสาเรจ็ รปู ในงานอาชีพตามลักษณะงาน 4. สบื ค้นขอ้ มลู สารสนเทศในงานอาชพี โดยใช้อนิ เทอร์เนต็ 5. สอ่ื สารขอ้ มลู สารสนเทศโดยใชอ้ นิ เทอร์เนต็

คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ การใช้

ระบบปฏบิ ัตกิ าร (Windows, Mac, Open source OS, ฯลฯ ) การใช้โปรแกรมประมวลผลคาเพ่ือ จัดทาเอกสารในงานอาชีพ การใช้โปรแกรมตารางทาการเพ่ือการคานวณในงานอาชีพ การใช้ โปรแกรมการนาเสนอผลงาน หรือการใช้โปรแกรมสาเร็จรูปอื่น ๆ ตามลักษณะงานอาชีพ การใช้ อินเทอร์เน็ตสืบค้นข้อมูลเพ่ืองานอาชีพและการสื่อสารข้อมูลสารสนเทศ ผลกระทบของการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ จริยธรรมและความรับผิดชอบในการใชค้ อมพิวเตอร์กบั ระบบสารสนเทศและ งานอาชีพ

44 แนวทางการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงานเป็นฐาน

กาหนดการสอน

๒00๑-๒๐๐๑ คอมพิวเตอร์และสารสนเทศงานอาชีพ จานวน ๒ หน่วยกติ

เวลาเรียนตอ่ สปั ดาห์ ทฤษฎี ๑ ช่วั โมง ปฏิบัติ ๒ ช่วั โมง รวมเวลาเรียนตอ่ ภาคเรยี น 54 ช่วั โมง

ชอ่ื หน่วย สปั ดาห์ ชัว่ โมง ที่ ท่ี ท่ี การเรียนรู้ สมรรถนะประจาหนว่ ย/เกณฑป์ ฏิบตั ิงาน 1 1-3 /รายการสอน 2 4-6 1 ระบบ สมรรถนะ 3 7-9 คอมพิวเตอร์ - แสดงความรเู้ กี่ยวกบั หลกั การและกระบวนการใช้ 4-6 10-18 คอมพิวเตอร์

- ประกอบติดตั้งอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์และอปุ กรณ์ต่อพ่วง

ตามคูม่ ือ

เกณฑ์ปฏบิ ตั ิงาน

- อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์และอุปกรณต์ อ่ พ่วงถกู ติดตงั้ ถกู ตอ้ ง

สมบูรณ์ พรอ้ มใช้งาน

2 ระบบปฏิบตั กิ าร สมรรถนะ

- แสดงความรเู้ กี่ยวกับหลกั การและกระบวนการติดตั้งและ

ใชร้ ะบบปฏิบัตกิ าร

- ตดิ ตง้ั ระบบปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอรแ์ ละโปรแกรมยูทิลติ ี้

ตามค่มู ือ

เกณฑป์ ฏบิ ตั งิ าน

- ระบบปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์และโปรแกรมยทู ลิ ิตถ้ี ูกตดิ ตง้ั

ในคอมพิวเตอร์อยา่ งถูกตอ้ ง สมบูรณ์ ใชง้ านได้

3 ระบบสารสนเทศ สมรรถนะ

ในงานอาชพี - แสดงความรเู้ กย่ี วกบั ระบบสารสนเทศ - ประยุกตใ์ ชร้ ะบบสารสนเทศในงานอาชพี

เกณฑ์ปฏบิ ตั ิงาน

- ระบบสารสนเทศในงานอาชีพถกู นามาประยุกต์ใช้ตาม

หลกั การ กระบวนการและลักษณะอาชพี โดยคานึงถงึ

ผลกระทบของการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ จรยิ ธรรมและ

ความรับผดิ ชอบ

4 การใช้ สมรรถนะ

โปรแกรม - แสดงความรเู้ กย่ี วกับหลกั การและเทคนิควธิ กี ารใช้ ประมวลผลคา โปรแกรมประมวลผลคา ในงานอาชพี - ผลติ เอกสารในงานอาชพี โดยใช้โปรแกรมประมวลผลคา (Ms-Word)