ว ชาการออกแบบและเทคโนโลย ม.4 ก จกรรมท 5.2

ว ชาการออกแบบและเทคโนโลย ม.4 ก จกรรมท 5.2
บทที่ 4 วัสดุและเครื่องมือพื้นฐาน เรื่องที่ 1 วัสดุ

http://www.youtube.com/watch?v=Nn5joa_iZQI

เรื่องที่ 2 เครื่องมือพื้นฐาน

http://www.youtube.com/watch?v=1X3GC9-ONj4

เรื่องที่ 3 การตัด ต่อ และขึ้นรูปวัสดุ

http://www.youtube.com/watch?v=3qZ94mLOww0

กิจกรรมท้ายบทเรียน ออกแบบอุปกรณ์และนำเสนอแนวทางการเลือกใช้วัสดุ และเครื่องมือพื้นฐาน ให้นักเรียนออกแบบอุปกรณ์ในห้องน้ำ หรือห้องครัว สำหรับผู้สูงอายุ ใดยบอกแนวคิดในการออกแบบ พร้อมทั้งบอกขนาดและสัดส่วนของชิ้นงานแนวทางการเลือกใช้วัสดุ เครื่องมือเพื่อปฏิบัตงานให้เหมาดสมกับ ประเภทของงาน และให้มีความปลอดภัย แล้วบันทึกลงกระดาษ A4 วาดภาพประกอบ (ดูรายละเอียดตัวอย่างงานที่หนังสือเรียน หน้าที่ 81 )

โครงการสอน รหัสวิชา ว31230 รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี 1 จำนวน 1 หน่วยกิต 2 คาบ/สัปดาห์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จัดทำโดย นางสาวน้ำทิพย์ สุวิมล ตำแหน่ง ครูอัตราจ้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนศรีบุณยานนท์อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ก คํานํา กําหนดการสอนที่จัดทําขึ้นนี้เพื่อให้ครูผู้สอนได้เตรียมการในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการ ออกแบบและเทคโนโลยี1 โดยมีการศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ จัดทําคําอธิบาย รายวิชา โครงสร้างรายวิชา กําหนดเวลาเรียน น้ําหนักคะแนน กําหนดทักษะกระบวนการในการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนของครู หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์สําหรับครูผู้สอนใน การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนศรีบุณยานนท์ จังหวัดนนทบุรีต่อไป นางสาวน้ำทิพย์ สุวิมล

ข สารบัญ หน้า คำนำ ก สารบัญ ข 1. หลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2551และฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 1 หลักการ 1 จุดหมาย 1 2. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 1 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2 4. การกําหนดโครงการสอน 2 สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 3 คําอธิบายรายวิชา 3 มาตรฐานการเรียนรู้ 3 ตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ 3 สาระการเรียนรู้ 4 5. ตารางโครงสร้างรายวิชา 6 6. การกําหนดโครงการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรียน 9 7. แผนการวัดผลและภาระงาน 19 แนวการวัดผล 19 แผนการวัดผล 19 การกําหนดภาระงานนักเรียน 20

1 1.หลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกําลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มี ความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จําเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญบนพื้นฐาน ความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ หลักการหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สําคัญ ดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น เป้าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย ควบคู่กับความเป็นสากล 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี คุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอํานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้สอดคล้อง กับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพใน การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกําหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต สาธารณะที่มุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

2 2. สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อ การตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหาเป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดําเนิน ชีวิตประจําวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้าง เสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลการจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทัน กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบ ต่อตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทํางาน การ แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทํางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ

3 4. การกําหนดโครงการสอน โครงการสอนรายวิชา รหัสวิชา ว31230 รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จํานวน 1 หน่วยกิต 2 คาบ/ สัปดาห์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด คําอธิบายรายวิชา ศึกษาแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ รวมทั้งประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา เทคโนโลยี ศึกษาการระบุปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีความซับซ้อนเพื่อสังเคราะห์วิธีการ เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคํานึงถึงความถูกต้องด้าน ทรัพย์สินทางปัญญา ศึกษาการออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่ จําเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นําเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิคหรือวิธีการที่ หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบ วางแผนขั้นตอนการทํางานและดําเนินการแก้ปัญหา การ ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นภายใต้กรอบเงื่อนไข หาแนวทาง การปรับปรุงแก้ไข พร้อมทั้งเสนอแนวทางการพัฒนาต่อยอด ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไกไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีที่ซับซ้อนในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และ ปลอดภัย โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem – based Learning) และการเรียนรู้แบบ ใช้โครงงานเป็นฐาน (Project – based Learning) เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญ สถานการณ์การแก้ปํญหาวางแผนการเรียนรู้ และนําเสนอผ่านการทํากิจกรรมโครงงานเพื่อให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา นําไปสู่การสร้างต้นแบบ ตลอดจนสามารถนํากระบวนการ เทคโนโลยี สร้างเทคโนโลยีวิธีการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดํารงชีวิต รวมทั้งคํานึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา ตลอดจนนําความรู้ความเข้าใจใวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดํารงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการ สื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมในการใช้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ มาตรฐานการเรียนรู้ ว 4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดํารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอย่างมีความคิด สร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคํานึงถึงผลกระทบต่อ ชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม

4 ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ รวมทั้ง ประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นแนวทาง ในการพัฒนาเทคโนโลยี 2. ระบุปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง กับปัญหาที่มีความซับซ้อนเพื่อสังเคราะห์วิธีการ เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคํานึงถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สิน ทางปัญญา 3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จําเป็นภายใต้เงื่อนไข และทรัพยากรที่มีอยู่ นําเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิคหรือวิธีการที่หลากหลาย โดยใช้ ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบ วางแผนขั้นตอน การทํางานและดําเนินการแก้ปัญหา 4. ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นภายใต้กรอบ เงื่อนไข หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนําเสนอผลการแก้ปัญหา พร้อมทั้งเสนอแนวทางการพัฒนาต่อยอด 5. ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีที่ ซับซ้อนในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ ม.4/1 • ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่าง ๆ ตั้งแต่สองส่วนขึ้นไปประกอบเข้าด้วยกันและทํางานร่วมกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทํางานของระบบทางเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วย ตัวป้อน (input)กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจ มีข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรับปรุงการทํางานได้ตามวัตถุประสงค์ โดยระบบทางเทคโนโลยี อาจมีระบบย่อยหลายระบบ (sub-systems) ที่ทํางานสัมพันธ์กันอยู่ และหากระบบย่อยใดทํางาน ผิดพลาดจะส่งผลต่อการทํางานของระบบอื่นด้วย • เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ม.4/2 • ปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม เช่น ปัญหาด้านการเกษตร อาหาร พลังงาน การขนส่ง สุขภาพและการแพทย์ การบริการ ซึ่งแต่ละด้านอาจมีได้หลากหลายปัญหา • การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโดยอาจใช้เทคนิคหรือวิธีการวิเคราะห์ที่หลากหลาย ช่วยให้เข้าใจเงื่อนไข และกรอบของปัญหาได้ชัดเจน จากนั้นดําเนินการสืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อนําไปสู่การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา

5 ม.4/3 • การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จําเป็น โดยคํานึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา เงื่อนไข และทรัพยากร เช่น งบประมาณ เวลา ข้อมูลและสารสนเทศ วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ ช่วยให้ได้แนว ทางการแก้ปัญหาที่เหมาะสม • การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทําได้หลากหลายวิธี เช่น การร่างภาพ การเขียนแผนภาพ การเขียนผัง งาน • ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและนําเสนอ มีหลากหลายชนิดจึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะกับงาน • การกําหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการทํางานก่อนดําเนินการแก้ปัญหาจะช่วยให้การทํางานสําเร็จได้ ตามเป้าหมาย และลดข้อผิดพลาดของการทํางานที่อาจเกิดขึ้น ม.4/4 • การทดสอบและประเมินผลเป็นการตรวจสอบชิ้นงานหรือวิธีการว่าสามารถแก้ปัญหาได้ตามวัตถุประสงค์ ภายใต้กรอบของปัญหา เพื่อหําข้อบกพร่อง และดําเนินการปรับปรุง โดยอาจทดสอบซ้ําเพื่อให้สามารถ แก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ • การนําเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิดเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทํางานและชิ้นงานหรือ วิธีการที่ได้ ซึ่งสามารถทําได้หลายวิธี เช่น การทําแผ่นนําเสนอผลงาน การจัดนิทรรศการ การนําเสนอ ผ่านสื่อออนไลน์ หรือการนําเสนอต่อภาคธุรกิจเพื่อการพัฒนาต่อยอดสู่งานอาชีพ ม.4/5 • วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึงต้องมีการวิเคราะห์สมบัติ เพื่อเลือกใช้ ให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน • การสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้ เรื่องกลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LDR sensor เฟื่อง รอก คาน วงจร สําเร็จรูป • อุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้งรู้จักเก็บรักษา

6 5. ตารางโครงสร้างรายวิชา รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ว31230 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการเรียน มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) คะแนน 1 ระบบทาง เทคโนโลยีที่ ซับซ้อน ว 4.1 ม.4/1 ระบบทางเทคโนโลยี ประกอบด้วย ตัวป้อน(input) กระบวนการ (process) และผลผลิต(output) และ ใ นบ า ง ร ะ บ บอา จ มี ข้ อม ู ลย้ อนกลับ n(feedback) เพื่อช่วยปรับปรุงหรือแก้ไขการ ทํางานของระบบให้มีความสมบูรณ์ตามต้องการ เทคโนโลยีบางอย่างอาจประกอบไปด้วยระบบย่อย (subsystems) ตั้งแต่สองระบบขึ้นไปทํางาน ร่วมกัน เรียกว่า ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน หากระบบย่อยใดทํางานผิดพลาด จะส่งผลต่อการ ทํางานของระบบใหญ่ ทําให้เทคโนโลยีทํางานไม่ได้ หรือได้ไม่สมบูรณ์ การเรียนรู้ระบบทางเทคโนโลยี ทําให้เข้าใจการทํางานของเทคโนโลยีและสามารถ แก้ไขปัญหาหรือซ่อมบํารุง รวมทั้งนําไปสู่การ พัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีได้ 2 5 2 การเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี ว 4.1 ม.4/1 มนุษย์สร้างหรือพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นมา เพื่อ แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ซึ่งเทคโนโลยีที่ ถูกสร้างขึ้นจะมีประโยชน์ ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เมื่อเวลาผ่านไป มนุษย์อาจพบ ปัญหาหรือ สถานการณ์ใหม่ ทําให้ต้องสร้างหรือพัฒนา เทคโนโลยีขึ้นมาเพื่อใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ที่เปลี่ยนไป ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีสาเหตุมาจาก หลายด้าน เช่น ปัญหาความต้องการ ความก้าวหน้า ของศาสตร์ต่าง ๆสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมซึ่งความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยที่ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเหล่านี้ สามารถใช้เป็นแนวทางเพื่อการพัฒนาต่อยอด เทคโนโลยีให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย ตลอดจน สามารถคาดการณ์เทคโนโลยีที่อาจเกิดขึ้นใน อนาคตได้

7 หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการเรียน มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) คะแนน 3 ผลกระทบของ เทคโนโลยี ว 4.1 ม.4/1 การเลือกใช้เทคโนโลยี ผู้ใช้ ผู้พัฒนา และผู้สร้าง เทคโนโลยีจําเป็นต้องมีการคํานึงถึง และวิเคราะห์ ถึงผลกระทบของเทคโนโลยีทั้งทางด้านบวกและ ด้านลบที่ส่งผลต่อมนุษย์ สังคมเศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการเสนอแนวทางการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ซึ่งปัญหานั้นอาจเกิดขึ้นแล้วหรือ คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต จากการใช้ เทคโนโลยี เพื่อเป็นการสร้างความตระหนักให้ เกิดขึ้นแก่ผู้ใช้ ผู้พัฒนา และผู้สร้าง เทคโนโลยีที่ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน 2 10 4 วัสดุและเครื่องมือ พื้นฐาน ว 4.1 ม.4/5 วัสดุมีอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทมีสมบัติที่ เหมือนและแตกต่างกัน เราจึงต้องเลือกใช้วัสดุให้ เหมาะสมกับการใช้งาน และต้องเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับลักษณะ ของงาน เช่น การตัด และการเจาะนอกจากนี้ ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เป็นอย่างดี เพื่อความปลอดภัยในการ ปฏิบัติงาน 3 10 สอบกลางภาค 1 20 5 กลไก ไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์ ว 4.1 ม.4/5 กลไก อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็น องค์ประกอบสําคัญที่ช่วยให้การทํางานของสิ่งของ เครื่องใช้ในชีวิตประจําวันของมนุษย์ให้มี ประสิทธิภาพ หรือช่วยอํานวยความสะดวกในการ ทํางาน หากสังเกตสิ่งของเครื่องใช้รอบตัว จะพบว่า สิ่งของเครื่องใช้เหล่านี้ได้รับการพัฒนาจนมีระบบ การทํางานที่ซับซ้อน และยังมีการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์มาช่วยในการทํางานให้เป็น ระบบอัตโนมัติเพื่อตอบสนองความต้องการของ มนุษย์ให้มีความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น 2 10

8 หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการเรียน มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) คะแนน 6 กระบวนการ ออกแบบเชิง วิศวกรรม ว 4.1 ม.4/2 , ม.4/3 , ม.4/4 กร ะ บ ว นการ ออกแบ บเชิ งว ิ ศวกร รมเป็น กระบวนการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน เพื่อสร้าง แนวทาง ที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาหรือสนอง ความต้องการตามที่กําหนดไว้ การทํางานตาม กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมนั้นสามารถ ย้อนขั้นตอนกลับไปมาได้ และอาจมีการทํางานซ้ำ ในบางขั้นตอน หากต้องการพัฒนา หรือปรับปรุง ผลงานให้ดีขึ้น 2 10 7 กรณีศึกษาการ แก้ปัญหาตาม กระบวนการ ออกแบบเชิง วิศวกรรม ว 4.1 ม.4/2 , ม.4/3 , ม.4/4 ,ม.4/5 การทํางานตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม สามารถประยุกต์ใช้ได้ทั้งในการสร้างชิ้นงาน และ วิธีการแก้ปัญหา ซึ่งการทํางานตามกระบวนการนี้ อาจไม่ได้มีลําดับขั้นตอนที่กําหนดตายตัวสามารถ ย้อนกลับหรือข้ามขั้นตอนได้ และอาจมีการทําซ้ํา กระบวนการ เพื่อพัฒนาหรือปรับปรุงผลงานให้มี ความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นกระบวนการแก้ปัญหา นี้ สามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้กับการทํางานใน ชีวิตประจําวันและการพัฒนางานเพื่อเป็นแนว ทางการเข้าสู่อาชีพได้อีกด้วยการสร้างหรือพัฒนา งานบางอย่างอาจมีความจําเป็นต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไกอุปกรณ์ ไฟฟ้าหรือ อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นต้องมีความรู้และทักษะ พื้นฐานที่จําเป็นในสิ่งที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถ ทํางานได้สําเร็จตามเป้าหมาย และทํางานได้อย่าง ปลอดภัย 5 10 สอบปลายภาค 1 20 รวม 7 หน่วย 1 มาตรฐาน 5 ตัวชี้วัด 20 ชั่วโมง 100 คะแนน

9 อัตราส่วนคะแนน คะแนนเก็บระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20 รวม 100 คะแนน คะแนนเก็บก่อนสอบกลางภาค = 30 คะแนน สอบกลางภาค = 20 คะแนน คะแนนเก็บก่อนสอบปลายภาค = 30 คะแนน สอบปลายภาค = 20 คะแนน รวม 100 คะแนน 6. การกําหนดโครงการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรียน แผนการ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้/คำสำคัญ ตัวชี้วัด/ ผลการ เรียนรู้ ข้อที่ กิจกรรมการสอน/ การวัดและการประเมินผล ภาระงาน/ ชิ้นงาน เวลา (ชั่วโมง) คะแนน 1 ระบบทางเทคโนโลยีที่ ซับซ้อน ว 4.1 ม.4/1 - แบบทดสอบก่อนเรียน - ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง การ วิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยี และระบบย่อยของเทคโนโลยี และอธิบายความสัมพันธ์ของ ระบบย่อย - กิจกรรมท้าทายความคิด เรื่อง ไม้เท้าอัจฉริยะสําหรับผู้ บกพร่องทางการเห็น - กิจกรรมท้ายบท เรื่อง ระบบ ทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน - แบบสังเกตพฤติกรรม • ทักษะการสื่อสาร • ทักษะการคิดวิเคราะห์ • ทักษะการทํางานร่วมกับ ผู้อื่น • ทักษะการคิดเชิงระบบ - แบบประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ -กิจกรรมที่ 1 ระบบทาง เทคโนโลยีที่ซับซ้อน ภาระงาน :วิเคราะห์และ เขียนแผนภาพแสดงการ ทํางานของเทคโนโลยีที่ กําหนดในรูปแบบระบบ ทางเทคโนโลยีโดยระบุ และแสดงความสัมพันธ์ ของระบบย่อย รวมทั้ง ความผิดพลาดของระบบ ท ี ่ อา จ เกิ ด ขึ ้ น แ ล ะ เ ส น อ แ น ะ แ น ว ท า ง บํารุงรักษา 2 5

10 แผนการ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้/คำสำคัญ ตัวชี้วัด/ ผลการ เรียนรู้ ข้อที่ กิจกรรมการสอน/ การวัดและการประเมินผล ภาระงาน/ ชิ้นงาน เวลา (ชั่วโมง) คะแนน 2 เทคโนโลยีมีการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัยมา จากหลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ ต่าง ๆ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ว 4.1 ม.4/1 - ใบกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง สาเหตุหรือปัจจัยของการ เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีใน ชีวิตประจําวัน - กิจกรรมท้าทายความคิด เรื่อง การพัฒนาไม้เท้าสําหรับ ผู้บกพร่องทางการเห็น - กิจกรรมท้ายบท เรื่อง วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี - แบบสังเกตพฤติกรรม • ทักษะการสื่อสาร • ทักษะการคิดอย่าง มี วิจารณญาณ • ทักษะการทํางานร่วมกับ ผู้อื่น - แบบประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ - กิจกรรมที่ 2 การ เปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี ภาระงาน : 2.1 อธิบายการ เปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีที่สนใจใน ชีวิตประจําวัน โดย เชื่อมโยงกับสาเหตุหรือ ปัจจัยที่ทําให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี 2.2 วิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ทําให้เกิด การเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี และ คาดการณ์เทคโนโลยีที่ จะเปลี่ยนแปลงไปใน อนาคต 2 5 3 เทคโนโลยีมีการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตั้งแต่อดีตจนถึงปจจุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัยมา จากหลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ ต่าง ๆ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ว 4.1 ม.4/1 - ใบกิจกรรมที่ 3.1 เรื่อง การ วิเคราะห์ผลกระทบของ เทคโนโลยี - กิจกรรมท้าทายความคิด เรื่อง วิเคราะห์ผลกระทบของ เทคโนโลยีที่นักเรียนสนใจใน บทที่ 1 และ 2 - กิจกรรมท้ายบท เรื่องสํารวจ ว ิ เค ร า ห ์ ผลกร ะ ท บ ของ - กิจกรรมที่ 3 ผลกระทบของ เทคโนโลยี ภาระงาน : 3.1 วิเคราะห์ ผลกระทบด้านบวก และด้านลบของการใช้ เทคโนโลยีที่สนใจที่มี ต่อมนุษย์ และสังคม เศรษฐกิจ หรือ สิ่งแวดล้อม 2 10

11 แผนการ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้/คำสำคัญ ตัวชี้วัด/ ผลการ เรียนรู้ ข้อที่ กิจกรรมการสอน/ การวัดและการประเมินผล ภาระงาน/ ชิ้นงาน เวลา (ชั่วโมง) คะแนน เทคโนโลยีและเสนอแนว ทางการป้องกันและแก้ไข - แบบสังเกตพฤติกรรม • ทักษะการคิดเชิงระบบ • ทักษะการคิดอย่าง มี วิจารณญาณ • ทักษะการสื่อสาร - แบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ - แบบทดสอบหลังเรียน 3.2 สํารวจวิเคราะห์ ผลกระทบของ เทคโนโลยีที่สนใจใน ชุมชนและเสนอแนว ทางการป้องกันและ แก้ไข 4 1) วัสดุแต่ละประเภทมี สมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้ สังเคราะห์ โลหะ จึงต้องมี การวิเคราะห์สมบัติ เพื่อ เลือกใช้ให้เหมาะสมกับ ลักษณะของงาน 2) อุปกรณ์และเครื่องมือ ในการสร้างชิ้นงาน หรือ พัฒนาวิธีการมีหลาย ประเภท ต้องเลือกใช้ให้ ถูกต้อง เหมาะสม และ ปลอดภัย รวมทั้งรู้จักเก็บ รักษา ว 4.1 ม.4/5 - แบบทดสอบก่อนเรียน - ใบกิจกรรมที่ 4.1 เรื่อง วิเคราะห์ประเภทและอธิบาย สมบัติของวัสดุในสิ่งของ เครื่องใช้ - ใบกิจกรรมที่ 4.2 เรื่อง วิเคราะห์เครื่องมือพื้นฐานใน การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ - กิจกรรมท้าทายความคิด เรื่อง อธิบายและเลือกใช้วัสดุ และอุปกรณ์ในการสร้างไม้ เท้า - กิจกรรมท้ายบท เรื่อง ออกแบบอุปกรณ์และนําเสนอ แนวทางการเลือกใช้วัสดุและ เครื่องมือพื้นฐาน - แบบสังเกตพฤติกรรม • ทักษะการคิดเชิงระบบ 3 10

12 แผนการ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้/คำสำคัญ ตัวชี้วัด/ ผลการ เรียนรู้ ข้อที่ กิจกรรมการสอน/ การวัดและการประเมินผล ภาระงาน/ ชิ้นงาน เวลา (ชั่วโมง) คะแนน • ทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณ • ทักษะการทํางานร่วมกับ ผู้อื่น • ทักษะการสื่อสาร - แบบประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ สอบกลางภาค 1 20 5 1) การสร้างชิ้นงานอาจใช้ ความรู้ เรื่องกลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LDR sensor เฟื่อง รอก คาน วงจรสําเร็จรูป 2) อุปกรณ์และเครื่องมือ ในการสร้างชิ้นงาน หรือ พัฒนา ว ิ ธ ี การ มีหลาย ประเภท ต้องเลือกใช้ให้ ถูกต้อง เหมาะสม และ ปลอดภัย รวมทั้งรู้จักเก็บ รักษา ว 4.1 ม.4/5 - ใบกิจกรรมที่ 5.1 เรื่อง วิเคราะห์การใช้งานกลไก - ใบกิจกรรมที่ 5.2 เรื่อง วิเคราะห์อุปกรณ์ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ในสิ่งของ เครื่องใช้ - กิจกรรมท้าทายความคิด เรื่อง เลือกใช้กลไก อุปกรณ์ ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์เพื่อ สร้างไม้เท้า - กิจกรรมท้ายบท เรื่อง ออกแบ บ เทคโนโลยีที่มี องค์ประกอบ กลไก อุปกรณ์ ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ - แบบสังเกตพฤติกรรม • ทักษะการคิดวิเคราะห์ • ทักษะการคิดอย่าง มี วิจารณญาณ • ทักษะการคิดสร้างสรรค์ • ทักษะการทํางานร่วมกับ ผู้อื่น - กิจกรรมที่ 5 กลไก ไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์ ภาระ งาน : 5.1 วิเคราะห์หลักการ ทํางานและการใช้งาน กลไกในสิ่งของ เครื่องใช้ 5.2 วิเคราะห์การใช้ งานและส่วนประกอบ ของอุปกรณ์ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ใน สิ่งของเครื่องใช้ 2 10

13 แผนการ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้/คำสำคัญ ตัวชี้วัด/ ผลการ เรียนรู้ ข้อที่ กิจกรรมการสอน/ การวัดและการประเมินผล ภาระงาน/ ชิ้นงาน เวลา (ชั่วโมง) คะแนน - แบบประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ - แบบทดสอบหลังเรียน 6 1) ปัญหาหรือความ ต้องการที่มีผลกระทบต่อ สังคม เช่น ปัญหาด้าน การเกษตร อาหาร พลังงานการขนส่งสุขภาพ และการแพทย์ การบริการ ซึ่งแต่ละด้านอาจมีได้ หลากหลายปัญหา 2) การวิเคราะห์ สถานการณ์ปัญหาโดยอาจ ใช้เทคนิคหรือวิธีการ วิเคราะห์ที่หลากหลาย ช่วยให้เข้าใจเงื่อนไขและ กรอบของปัญหาได้ชัดเจน จากนั้นดําเนินการสืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรู้จาก ศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนําไปสู่การออกแบบ แนวทางการแก้ปัญหา 3) การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจ เลือกข้อมูลที่จําเป็น โดย คํานึงถึงทรัพย์สินทาง ปัญญาเงื่อนไขและ ทรัพยากร เช่น งบประมาณ เวลา ข้อมูล ว 4.1 ม.4/2 , ม.4/3, ม.4/4 - แบบทดสอบก่อนเรียน - ใบกิจกรรมที่ 6.1 ตอนที่ 1 เรื่อง การวิเคราะห์ องค์ประกอบของปัญหาด้วย 5W1H - ใบกิจกรรมที่ 6.1 ตอนที่ 2 เรื่อง การหาสาเหตุและ กําหนดขอบเขตของปัญหาที่ สนใจ - ใบกิจกรรมที่ 6.2 ตอนที่ 1 เรื่อง การรวบรวมข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาที่สนใจ - ใบกิจกรรมที่ 6.2 ตอนที่ 2 เรื่อง การเปรียบเทียบและ ตัดสินใจเลือกแนวทางในการ แก้ปัญหา - ใบกิจกรรมที่ 6.3 ตอนที่ 1 เรื่อง การวิเคราะห์ องค์ประกอบที่จําเป็นต่อการ แก้ปัญหาด้วย function analysis diagram - ใบกิจกรรมที่ 6.3 ตอนที่ 2 เรื่อง การสร้างและ เปรียบเทียบทางเลือกในการ แก้ปัญหา - ใบกิจกรรมที่ 6.3 ตอนที่ 3 - กิจกรรมที่ 6 กระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม ภาระงาน: 6.1 สํารวจและอภิปราย สถานการณ์ปัญหา 6.2 วิเคราะห์สาเหตุและ ปัจจัยของปัญหาที่สนใจ ขอบเขตของปัญหาที่ สนใจ 6.3 สืบค้นข้อมูลและ เสนอแนวทางในการ แก้ปัญหา 6.4 ออกแบบชิ้นงาน หรือวิธีการ 6.5 วางแผนขั้นตอนการ สร้างชิ้นงานหรือพัฒนา วิธีการแก้ปัญหา 6.6 ทดสอบชิ้นงานหรือ วิธีการปรับปรุงแก้ไข และประเมินผล 6.7 นําเสนอผลการ ดําเนินงาน 2 10

14 แผนการ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้/คำสำคัญ ตัวชี้วัด/ ผลการ เรียนรู้ ข้อที่ กิจกรรมการสอน/ การวัดและการประเมินผล ภาระงาน/ ชิ้นงาน เวลา (ชั่วโมง) คะแนน และสารสนเทศ วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ ช่วย ให้ได้แนวทางกาแก้ปัญหา ที่เหมาะสม 4) การออกแบบแนว ทางการแก้ปัญหาทําได้ หลากหลายวิธี เช่น การ ร่างภาพ การเขียน แผนภาพการเขียนผังงาน 5) ซอฟต์แวร์ช่วยในการ ออกแบบและนําเสนอมี หลากหลายชนิดจึงต้อง เลือกใช้ให้เหมาะกับงาน 6)การกําหนดขั้นตอนและ ระยะเวลาในการทํางาน ก่อนดําเนินการแก้ปัญหา จะช่วยให้การทํางานสําเร็จ ได้ตามเป้าหมาย และลด ข้อผิดพลาดของการ ทํางานที่อาจเกิดขึ้น 7) การทดสอบและ ประเมินผลเป็นการ ตรวจสอบชิ้นงานหรือ วิธีการว่าสามารถ แก้ปัญหาได้ตาม วัตถุประสงค์ภายใต้กรอบ ของปัญหา เพื่อหา ข้อบกพร่อง และ ดําเนินการปรับปรุงโดย เรื่อง การออกแบบการ แก้ปัญหา - ใบกิจกรรมที่ 6.4 เรื่อง การ วางแผนและแนวทางการ พัฒนา - ใบกิจกรรมที่ 6.5 ตอนที่ 1 เรื่อง การกําหนดประเด็นใน การทดสอบและประเมินผล - ใบกิจกรรมที่ 6.5 ตอนที่ 2 เรื่อง การพัฒนาหรือปรับปรุง ชิ้นงานหรือแก้ปัญหา - ใบกิจกรรมที่ 6.6 เรื่อง การ นําเสนอ - กิจกรรมท้ายบท เรื่อง การ วิเคราะห์ชิ้นงานหรือวิธีการ ตามกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม • ทักษะการสื่อสาร • ทักษะการทํางานร่วมกับ ผู้อื่น • ทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณ • ทักษะการคิดวิเคราะห์ • ทักษะความคิดสร้างสรรค์ - สังเกตพฤติกรรมการมีส่วน ร่วม - แบบประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์

15 แผนการ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้/คำสำคัญ ตัวชี้วัด/ ผลการ เรียนรู้ ข้อที่ กิจกรรมการสอน/ การวัดและการประเมินผล ภาระงาน/ ชิ้นงาน เวลา (ชั่วโมง) คะแนน อาจทดสอบซ้ําเพื่อให้ สามารถแก้ไขปัญหาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 8) การนําเสนอผลงานเป็น การถ่ายทอดแนวคิด เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับ กระบวนการทํางานและ ชิ้นงานหรือวิธีการที่ได้ ซึ่ง สามารถทําได้หลายวิธี เช่น การทําแผ่นนําเสนอผลงาน การจัดนิทรรศการการ นําเสนอผ่านสื่อออนไลน์ หรือการนําเสนอต่อภาค ธุรกิจเพื่อการพัฒนาต่อ ยอดสู่งานอาชีพ 7 1) ปัญหาหรือควาต้องการ ที่มีผลกระทบต่อสังคม เช่น ปัญหาด้านการเกษตร อาหาร พลังงานการขนส่ง สุขภาพและการแพทย์ การบริการ ซึ่งแต่ละด้าน อาจมีได้หลากหลายปัญหา 2) การวิเคราะห์ สถานการณ์ปัญหาโดยอาจ ใช้เทคนิคหรือวิธีการ วิเคราะห์ที่หลากหลาย ช่วยให้เข้าใจเงื่อนไขและ กรอบของปัญหาได้ชัดเจน จากนั้นดําเนินการสืบค้น ว 4.1 ม.4/2 , ม.4/3 , ม.4/4 , ม.4/5 - ใบกิจกรรมที่ 7.1 เรื่อง การ ว ิ เค ร า ะ ห ์ กร ะ บ ว นกา ร ออกแบบเชิงวิศวกรรม - กิจกรรมท้ายบท เรื่อง การ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานตาม กระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม • ทักษะการคิดวิเคราะห์ • ทักษะการคิดอย่าง มี วิจารณญาณ • ทักษะความคิดสร้างสรรค์ • ทักษะการทํางานร่วมกับ ผู้อื่น - กิจกรรมที่ 7 กรณีศึกษาการแก้ปัญหา ตามกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม ภาระงาน : 7.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา ที่กําหนดให้แล้วสรุป ขั้นตอนการกัญหา หรือพัฒนางานตาม กระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม 7.2 แก้ปัญหาหรือ พัฒนางานตาม กระบวนการออกแบบ 5 10

16 แผนการ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้/คำสำคัญ ตัวชี้วัด/ ผลการ เรียนรู้ ข้อที่ กิจกรรมการสอน/ การวัดและการประเมินผล ภาระงาน/ ชิ้นงาน เวลา (ชั่วโมง) คะแนน รวบรวมข้อมูล ความรู้จาก ศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนําไปสู่การออกแบบ แนวทางการแก้ปัญหา 3) การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจ เลือกข้อมูลที่จําเป็น โดย คํานึงถึงทรัพย์สินทาง ปัญญาเงื่อนไขและ ทรัพยากร เช่น งบประมาณ เวลา ข้อมูล และสารสนเทศ วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ ช่วย ให้ได้แนวทางการ แก้ปัญหาที่เหมาะสม 4) การออกแบบแนว ทางการแก้ปัญหาทําได้ หลากหลายวิธี เช่น การ ร่างภาพ การเขียน แผนภาพการเขียนผังงาน 5) ซอฟต์แวร์ช่วยในการ ออกแบบและนําเสนอมี หลากหลายชนิดจึงต้อง เลือกใช้ให้เหมาะกับงาน 6)การกําหนดขั้นตอนและ ระยะเวลาในการทํางาน ก่อนดําเนินการแก้ปัญหา จะช่วยให้การทํางานสําเร็จ ได้ตามเป้าหมาย และลด • ทักษะการสื่อสาร - แบบประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ - แบบทดสอบหลังเรียน เชิงวิศวกรรมจาก สถานการณ์ที่สนใจ

17 แผนการ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้/คำสำคัญ ตัวชี้วัด/ ผลการ เรียนรู้ ข้อที่ กิจกรรมการสอน/ การวัดและการประเมินผล ภาระงาน/ ชิ้นงาน เวลา (ชั่วโมง) คะแนน ข้อผิดพลาดของการ ทํางานที่อาจเกิดขึ้น 7) การทดสอบและ ประเมินผลเป็นการ ตรวจสอบชิ้นงานหรือ วิธีการว่าสามารถ แก้ปัญหาได้ตาม วัตถุประสงค์ภายใต้กรอบ ของปัญหา เพื่อหา ข้อบกพร่อง และ ดําเนินการปรับปรุงโดย อาจทดสอบซ้ําเพื่อให้ สามารถแก้ไขปัญหาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 8) การนําเสนอผลงานเป็น การถ่ายทอดแนวคิด เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับ กระบวนการทํางานและ ชิ้นงานหรือวิธีการที่ได้ ซึ่ง สามารถทําได้หลายวิธี เช่น การทําแผ่นนําเสนอผลงาน การจัดนิทรรศการการ นําเสนอผ่านสื่อออนไลน์ หรือการนําเสนอต่อภาค ธุรกิจเพื่อการพัฒนาต่อ ยอดสู่งานอาชีพ 9) วัสดุแต่ละประเภทมี สมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้ สังเคราะห์ โลหะ จึงต้องมี

18 แผนการ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้/คำสำคัญ ตัวชี้วัด/ ผลการ เรียนรู้ ข้อที่ กิจกรรมการสอน/ การวัดและการประเมินผล ภาระงาน/ ชิ้นงาน เวลา (ชั่วโมง) คะแนน การวิเคราะห์สมบัติเพื่อ เลือกใช้ให้เหมาะสมกับ ลักษณะของงาน 10) การสร้างชิ้นงานอาจ ใช้ความรู้ เรื่องกลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LDR sensor เฟื่อง รอก คาน วงจรสําเร็จรูป 11) อุปกรณ์และเครื่องมือ ในการสร้างชิ้นงานหรือ พัฒนาวิธีการมีหลาย ประเภท ต้องเลือกใช้ให้ ถูกต้องเหมาะสม และ ปลอดภัย รวมทั้งรู้จักเก็บ รักษา สอบปลายภาค 1 20 รวม 20 100

19 7. แผนการวัดผลและภาระงาน แนวการวัดผล อัตราส่วน คะแนนระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20 หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการ เรียนรู้ เรื่อง ตัวชี้วัด/ ผลการ เรียนรู้ข้อที่ จํานวน ชั่วโมง คะแนนเต็ม ระหว่างเรียน คะแนนสอบ กลางภาค หน่วยที่ 1 แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 1 ระบบทางเทคโนโลยี ที่ซับซ้อน ว 4.1 ม.4/1 2 5 4 หน่วยที่ 2 แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 2 การเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี ว 4.1 ม.4/1 2 5 2 หน่วยที่ 3 แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 3 ผลกระทบของ เทคโนโลยี ว 4.1 ม.4/1 2 10 6 หน่วยที่ 4 แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 4 วัสดุและเครื่องมือ พื้นฐาน ว 4.1 ม.4/5 3 10 8 รวม 30 20 หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการ เรียนรู้ เรื่อง ตัวชี้วัด/ ผลการ เรียนรู้ข้อที่ จํานวน ชั่วโมง คะแนนเต็ม ระหว่างเรียน คะแนนสอบ กลางภาค หน่วยที่ 5 แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 5 กลไก ไฟฟ้า แลอิเล็กทรอนิกส์ ว 4.1 ม.4/5 2 10 6 หน่วยที่ 6 แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 6 กระบวนกาออกแบบ เชิงวิศวกรรม ว 4.1 ม.4/2 , ม.4/3 , ม.4/4 2 10 4 หน่วยที่ 7 แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 7 กรณีศึกษาการ แก้ปํญหาตาม กระบวนการ ออกแบบเชิง วิศวกรรม ว 4.1 ม.4/2 , ม.4/3 , ม.4/4 5 10 10 สอบกลางภาค 1 สอบปลายภาค 1 รวม 30 20

20 8. การกําหนดภาระงานนักเรียน ในการเรียนรายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี1 ได้กําหนดให้นักเรียนทํากิจกรรม/ ปฏิบัติงาน 7 ชิ้น ดังนี้ ที่ ชื่องาน ตัวชี้วัด/ผลการ เรียนรู้ข้อที่ ประเภทงาน กำหนดส่ง กลุ่ม เดี่ยว วัน/เดือน/ปี 1 กิจกรรมที่ 1 ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน ภาระงาน : วิเคราะห์และเขียนแผนภาพแสดงการทํางานของ เทคโนโลยีที่กําหนดในรูปแบบระบบทางเทคโนโลยีโดยระบุ และแสดงความสัมพันธ์ของระบบย่อย รวมทั้งความผิดพลาด ของระบบที่อาจเกิดขึ้นและเสนอแนะแนวทางบํารุงรักษา ว 4.1 ม.4/1 6-10 กรกฎาคม 2566 2 กิจกรรมที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ภาระงาน : 2.1 อธิบายการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่สนใจใน ชีวิตประจําวัน โดยเชื่อมโยงกับสาเหตุหรือปัจจัยที่ทําให้เกิด การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 2.2 วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี และคาดการณ์เทคโนโลยีที่จะเปลี่ยนแปลงไป ในอนาคต ว 4.1 ม.4/1 20-24 กรกฎาคม 2566 3 กิจกรรมที่ 3 ผลกระทบของเทคโนโลยี ภาระงาน : 3.1 วิเคราะห์ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของการใช้ เทคโนโลยีที่สนใจที่มีต่อมนุษย์ และสังคม เศรษฐกิจ หรือ สิ่งแวดล้อม 3.2 สํารวจวิเคราะห์ผลกระทบของเทคโนโลยีที่สนใจในชุมชน และเสนอแนวทางการป้องกันและแก้ไข ว 4.1 ม.4/1 17-21 สิงหาคม 2566 4 กิจกรรมที่ 4 วัสดุและเครื่องมือพื้นฐาน ภาระงาน : 4.1 วิเคราะห์ประเภทและอธิบายสมบัติของวัสดุในสิ่งของ เครื่องใช้ พร้อมให้เหตุผลในการเลือกใช้วัสดุ 4.2 วิเคราะห์เครื่องมือพื้นฐานในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้ ว 4.1 ม.4/5 31-4 กันยายน 2566 5 กิจกรรมที่ 5 กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ ภาระงาน : 5.1 วิเคราะห์หลักการทํางานและการใช้งานกลไกในสิ่งของ เครื่องใช้ ว 4.1 ม.4/5 31-4 กันยายน 2566

21 ที่ ชื่องาน ตัวชี้วัด/ผลการ เรียนรู้ข้อที่ ประเภทงาน กำหนดส่ง กลุ่ม เดี่ยว วัน/เดือน/ปี 5.2 วิเคราะห์การใช้งานและส่วนประกอบของอุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ในสิ่งของเครื่องใช้ 6 กิจกรรมที่ 6 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ภาระงาน : 1. สํารวจและอภิปรายสถานการณ์ปัญหา 2. วิเคราะห์สาเหตุและปัจจัยของปัญหาที่สนใจ ขอบเขตของ ปัญหาที่สนใจ 3. สืบค้นข้อมูลและเสนอแนวทางในการแก้ปํญหา 4. ออกแบบชิ้นงานหรือวิธีการ 5. วางแผนขั้นตอนการสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการ แก้ปัญหา 6. ทดสอบชิ้นงานหรือวิธีการปรับปรุงแก้ไขและประเมินผล 7. นําเสนอผลการดําเนินงาน ว 4.1 ม.4/2 , ม.4/3 ,ม.4/4 14-18 กันยายน 2566 7 กิจกรรมที่ 7 กรณีศึกษาการแก้ปัญหาตามกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม ภาระงาน : 7.1 วิเคราะห์กรณีศึกษาที่กําหนดให้แล้วสรุปขั้นตอนการ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานตามกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม 7.2 แก้ปัญหาหรือพัฒนางานตามกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรมจากสถานการณ์ที่สนใจ ว 4.1 ม.4/2 , ม.4/3 ,ม.4/4 5-9 ตุลาคม 2566 หากนักเรียนขาดส่งงาน 5 ชิ้น หรือขาดส่งชิ้นงานที่ 1 , 2 , 5 , 6 และ 7 จะได้รับผลการเรียน “ร” ในรายวิชานี้ ลงชื่อ ....................................... ครูผู้สอน ลงชื่อ ......................................... หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (นางสาวน้ำทิพย์ สุวิมล) (...........................................) ลงชื่อ ...................................... ลงชื่อ ............................................. (นายสัมฤทธิ์ ผิวนิ่ม) (นางกรชนก สุตะพาหะ) รองผู้อํานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ ผู้อํานวยการโรงเรียนศรีบุณยานนท