ประสบการณ ว ชาช พ ม สอบปลายภาค ไหม มสธ

มาแชร์ประสบการณ์ การเรียน มสธ. กันค่ะ

กระทู้คำถาม

มหาวิทยาลัย การเรียน มนุษย์เงินเดือน

สนใจที่จะเรียน ป ตรี ในรั้ว ของ มสธ. รู้ว่าตัวเองไม่ชอบเลขการคิดเลขมากๆๆๆ อ่อนภาษาตปท. อยากไห้ผู้มีประสบการณ์ การเรียน มสธ มาแชร์กันค่ะ -เรียนคณะไหน -ความสามารถที่ต้องมีในการเรียนขณะนี้ -เรียนอะไรบ้าง -ค่าใช้จ่ายต่างๆ -อาชีพที่รองรับคณะนี้ -คำแนะนำให้กับ จขกท.

ประสบการณ ว ชาช พ ม สอบปลายภาค ไหม มสธ

0

1

ประสบการณ ว ชาช พ ม สอบปลายภาค ไหม มสธ

สมาชิกหมายเลข 6804207

สมาชิกหมายเลข 6804207 ถูกใจ

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การศึกษา คณะนิติศาสตร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) การเรียน

มสธ. เรียนยากมั้ยคะ ตอนนี้เราจบปวช. กำลังคิดว่าจะต่อนิติศาสตร์ของมสธ.ค่ะ

0

0

ประสบการณ ว ชาช พ ม สอบปลายภาค ไหม มสธ

สมาชิกหมายเลข 7036422

▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼

แสดงความคิดเห็น

คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

สมาชิกหมายเลข 5381770

สมาชิกหมายเลข 6423349

สมาชิกหมายเลข 7581111

สมาชิกหมายเลข 4759796

สมาชิกหมายเลข 5848336

สมาชิกหมายเลข 7859335

สมาชิกหมายเลข 7460218

สมาชิกหมายเลข 6826497

สมาชิกหมายเลข 7888243

สมาชิกหมายเลข 7895317

อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การศึกษา คณะนิติศาสตร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) การเรียน

ตอบ กรณีที่สมัครเป็นผู้เรียนโครงการสัมฤทธิบัตรเรียบร้อยแล้ว จะไม่สามารถเพิ่ม/ถอนชุดวิชาได้ หากลงทะเบียนมา 3 ชุดวิชา แต่มหาวิทยาลัยรับลงทะเบียนแค่ 2 ชุดวิชา โดยชุดวิชาที่ไม่รับลงทะเบียนดังกล่าวเป็นปัญหาเงินขาด หรือวัน/เวลาสอบตรงกัน สามารถนำเงินที่เหลือไปสมัครฯ รุ่นต่อไปได้

ตอบ นักศึกษาสามารถยื่นคำร้องขอเทียบผลการศึกษาได้ตั้งแต่ภาคการศึกษาแรกที่สมัครเข้าศึกษา โดยกรอกรายละเอียดลงในคำร้องขอเทียบผลการศึกษา (มสธ.18) ค่าธรรมเนียมการยื่นคำร้องขอเทียบผลการศึกษา 300 บาท


หัวข้อคำถามเรื่อง การทดลองเรียน

ตอบ ผู้ที่สมัครเป็นนักศึกษาทดลองเรียนอยู่ต่างประเทศ สามารถสมัครเช่นเดียวกับผู้สมัครในประเทศ ไทยทุกประการ โดยผู้สมัครต้องแจ้งที่อยู่ภายในประเทศไทย สำหรับใช้ติดต่อกับมหาวิทยาลัยในการรับเอกสารที่มหาวิทยาลัยจัดส่งให้โดยต้องมีญาติ หรือบุคคลอื่น ดำเนินการจัดส่งต่อให้กับ ผู้สมัครในประเทศที่พำนักอยู่ต่อไป


หัวข้อคำถามเรื่อง การสมัครเรียน

ตอบ ทั้ง 2 วิชาเอกมีความแตกต่างกันทางเนื้อหาวิชาเรียน และ ความแตกต่างกันทางลักษณะงานหลังสำเร็จการศึกษา ดังรายละเอียดต่อไปนี้

  1. ความแตกต่างกันของชุดวิชาที่เรียน ดังนี้ 1.1วิชาเอกสารนิเทศ จะศึกษาเน้นการพัฒนาคุณภาพบุคลากรที่ทำหน้าที่จัดเก็บค้นหาและบริการสารสนเทศในหน่วยงานหรือในสำนักงาน กำหนดให้ศึกษาชุดวิชา ต่างๆ เช่น การอ่านภาษาอังกฤษ,การบริการและเผยแพร่สารนิเทศ,การวางแผนและการบริหารสารนิเทศ เป็นต้น 1.2 วิชาเอกเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ เน้นการศึกษาเกี่ยวกับความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาตนเองและพัฒนางานที่ปฏิบัติอยู่กำหนดให้ศึกษาชุดวิชาต่างๆ เช่นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น,คอมพิวเตอร์กับงานธุรกิจด้านพาณิชยกรรม,คอมพิวเตอร์กับบัญชีบริหารเป็นต้น ความแตกต่างกันของลักษระงานหลังจากสำเร็จการศึกษาดังนี้
  2. ความแตกต่างกันของลักษระงานหลังจากสำเร็จการศึกษาดังนี้ 2.1 ผู้ที่สำเร็จการศึกษาวิชาเอกเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ สามารถนำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ภาครัฐและเอกชน ทางด้านการพิมพ์ หรือทางด้านพาณิชยกรรม และยังสามารถไปประกอบอาชีพส่วนตัวได้อีก

ตอบ ผู้สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) สามารถสมัครเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีได้ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

  1. กรณีท่านสำเร็จการศึกษา ม.3 ท่านสามารถสมัครเข้าศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี ได้ หากมี คุณสมบัติตรงตามข้อใดข้อหนึ่งที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้ดังนี้ 1.1 มีอายุ 25 ปี สามารถสมัครเรียนได้ 1.2 หากอายุไม่ถึง 25 ปีบริบูรณ์ ต้องจบ ม.3 มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ท่านสามารถสมัครเป็นนักศึกษาในหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่งใน 9 สาขาวิชา ดังนี้
  2. ท่านสามารถสมัครเป็นนักศึกษาในหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่งใน 9 สาขาวิชา ดังนี้ 2.1 สาขาวิชาศิลปศาสตร์ 2.2 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ 2.3 สาขาวิชาวิทยาการจัดการ 2.4 สาขาวิชานิติศาสตร์ 2.5 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ 2.6 สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ 2.7 สาขาวิชารัฐศาสตร์ 2.8 สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ 2.9 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ตอบ พระภิกษุ สามเณรสมัครเข้าศึกษาสาขาวิชาศึกษาศาสตร์จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

  1. เปรียญธรรมไม่ต่ำกว่า 5 ประโยค และนักธรรมชั้นเอก (ยกเว้น พระภิกษุ-สามเณรที่ได้วุฒิ พกศ. พป. พม. หรือ ม.ศ.5 จะต้องเป็นเปรียญธรรม 4 ประโยคและนักธรรมชั้นเอก)
  2. เป็นครูสอนปริยัติธรรมที่ได้รับแต่งตั้งจากเจ้าสำนักเรียน ซึ่งมีตราตั้งถูกต้องตามระเบียบ ของคณะสงฆ์ และสอนอยู่ในสำนักเรียนหรือสำนักศึกษาปริยัติธรรมที่มีชื่ออยู่ในบัญชีสำนักเรียน หรือของคณะสงฆ์ที่ กรมศาสนารับรอง
  3. .ได้สอนนักธรรม และ/หรือ บาลีในสำนักเรียน หรือสำนักศึกษาปริยัติธรรมของคณะสงฆ์มาแล้วไม่น้อย กว่า 300 ชั่วโมง โดยให้กรมการศาสนาออกใบรับรองของเจ้าสำนักเรียนตามมติคณะกรรมการซึ่งมหาเถร สมาคมแต่งตั้ง
  4. ได้รับอนุญาตจากเจ้าอาวาส/เจ้าสังกัด ให้สมัครเข้าศึกษา ในการสมัครเข้าศึกษาจะต้องส่งหลักฐาน ดังนี้ 4.1 หนังสืออนุญาตจากเจ้าอาวาส/เจ้าสังกัด 4.2 หนังสือรับรองว่าเป็นครูสอนปริยัติธรรมมาแล้วไม่น้อยกว่า 300 ชั่วโมง 4.3 ตราตั้งครูสอนปริยัติธรรม 4.4 ใบเปรียญธรรม 4.5 ใบนักธรรมชั้นเอก 4.6 สำเนาภาพถ่ายทะเบียนบ้าน 4.7 หนังสือสุทธิ สำหรับพระภิกษุ

เมื่อมหาวิทยาลัยได้รับเอกสารการสมัครแล้ว จะต้องส่งให้กรมการศาสนาตรวจสอบ เพื่อให้มหาเถรสมาคมรับรอง ดังนั้น ผู้สมัครอาจได้รับการตอบขึ้นทะเบียนเป้นนักศึกษาล่าช้ากว่าผู้สมัครอื่นๆ ที่สมัครในช่วงเวลาเดียวกัน