ปราสาทศ ขรภ ม อ.ศ ขรภ ม จ.ส ร นทร

สแกนเพื่อพื่เดินทาง ปราสาทศีขรภูมิภูมิ ประวัติวั ติและความเป็น ป็ มา ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ปราสาทศีขรภูมิ ภูมิ ปราสาทศีขรภูมิภูมิสันสันิฐนิานว่าว่เริ่มริ่สร้าร้ง ราวพุทธศตวรรษที่ 17 เป็นป็ โบราณสถาน แบบเขมร ลักษณะโครงสร้าร้ง สถาปัตยกรรมและศิลปกรรม ที่ทำ ให้ ทราบว่าว่ศาสนาสถานแห่งห่นี้ เป็นป็ เทวสถานในศาสนาฮินดู ในสมัยมัพระเจ้าจ้ สุริสุยริวรมันมัที่ 2 พระองค์สืบสืเชื้อชื้สายมา จากพระเจ้าจ้ศรีหิรีรัหินรัยวรรมันมัและ พระนางหิรัหิญรัยลักษมี เจ้าจ้เมือมืงมหินหิธร มีพมีระนามว่าว่รัญรัยวรมันมัเป็นป็พระราช บิดบิาและพระราชมารดาของพระเจ้าจ้ชัยชัว รมันมัที่ 6 และพระเจ้าจ้ธรณีนณีทรวรมันมัที่ 1 มีพมีระราชนัดนัดานามว่าว่กษิตีนทราทิตย์ สมรสกับนเรนทรลักษมี เป็นป็พระราช บิดบิาและพระราชมารดาของพระเจ้าจ้สุริสุ -ริ ยวรมันมัที่ 2 ฐาน ปราสาทศีขรภูมิภูก่มิ ก่อเป็นป็ฐานปัทม์ สร้าร้งจากศิลาแลงรูปรูสี่เ สี่ หลี่ยมจัตุจัรัตุสรัย่อย่ มุมบันบั ได มีทมีางขึ้นขึ้และลงปราสาท 2 ฝั่ง คือ ทิศตะวันวัออกและตะวันวัตก บันบั ได ทางขึ้นขึ้มีทั้มี ทั้งทั้หมด 7 ขั้นขั้ซึ่งซึ่ศิลาแลงถูกถู วางเรียรีงซ้อซ้นกันเป็นชั้นชั้ๆ จากพื้นพื้ดินดิ ขึ้นขึ้มา มีคมีวามสูงสูประมาณ 1.5 เมตร ปราสาทศีขรภูมิภูมิได้เด้ริ่มริ่ต้นมาจากคติ ความเชื่อชื่ของชาวอินเดียดีเชื่อชื่ว่าว่เทพเจ้าจ้ ทั้งทั้หลายสถิตอยู่ ณ เขาพระสุเสุมรุ ซึ่งซึ่ เป็นป็ศูนย์กย์ลางของจักจัรวาลตั้งตั้อยู่บยู่น สวรรค์ การสร้าร้งปราสาทเปรียรีบเสมือมืน การจำ ลองเขาพระสุเสุมรุมรุายังยัโลกมนุษนุย์ เพื่อพื่เป็นป็ที่อยู่ขยู่องเทพเจ้าจ้ ปราสาทตั้งตั้อยู่บยู่นพื้นพื้ที่ 10 ไร่ 2 งาน 7 ตารางวา มีลัมี ลักษณะเป็นป็รูปสี่เ สี่ หลี่ยม ตัวปราสาทตั้งตั้อยู่ตยู่รงกลางของพื้นพื้ที่ ทั้งทั้หมด มีคูมีน้ำคูน้ำ 2 ด้าด้น ฝั่งทิศเหนือนืคูน้ำคูน้ำ มีลัมี ลักษณะคล้ายอักษรแอล (L) ฝั่งทิศใต้ คล้ายอักษรซี (C) ปราสาทศีขรภูมิภูมิเป็นปราสาทก่ออิฐ ไม่สม่อปูน ตั้งตั้อยู่บยู่นฐานศิลาแลง เดียดีวกัน ตัวฐานก่อด้วยศิลาแลงกว้าว้ง ประมาณ 25 เมตร ยาวประมาณ 26 เมตร และสูงสูประมาณ 1.5 เมตร มี ลักษณะเป็นปรางค์หมู่ 5 หลัง ซึ่งซึ่จะ ประกอบไปด้วย ปรางค์ประธาน ตั้งตั้อยู่ตยู่รงกลาง ปรางค์ ประธานหันหัหน้าน้ไปทางทิศ ตะวันวัออก ก่อบนฐานศิลา แลง กรอบประตูปตูราสาท ปรางค์บริวริาร ทิศตะวันวัตกเฉียงเหนือ มีลัมี ลักษณะเช่นช่เดียวกันกับ ปรางค์บริวริารทิศตะวันวัออก เฉียงเหนือ ด้าด้นในตัว ปรางค์บริวริาร ทิศตะวันวัออกเฉียงเหนือนื ก่อด้วยอิฐสีแสีดงทั้งทั้หลัง มีสมีภาพทรุดรุโทรม ไม่มีม่ มี ยอดปราสาท เสากรอบ ปรางบริวริาร ทิศตะวันวัตกเฉียงใต้ ถูกถูดัดดัแปลงจากศิลปะ ขอมเดิมมาเป็นศิลปะแบบ ล้านช้าช้ง ตัวปราสาทก่อ ปรางค์บริวริาร ทิศตะวันวัออกเฉียงใต้ ด้านในตัวปราสาทก่อเป็น ฐานชุกชี มีจมีารึกรึปรากฏ บนเสากรอบประตูปตูราสาท ทำ จากหินหิทรายสีเสีทา ยอดปราสาท ประธานมีทั้มี ทั้งทั้สิ้นสิ้ 5 ชั้นชั้แต่ในปัจจุบันบั เหลือยอดปราสาทเพียพีง 3 ชั้นชั้ยอด ปราสาทก่อเลียนแบบตัวเรือรืนธาตุย่ตุอย่ ส่วส่นเล็กลงเป็นป็ลำ ดับชั้นชั้ขึ้นขึ้ ไป ด้านใน ตัวปราสาทปรางค์ประธานก่อเป็นบันบั ได และมีฐมีาน เรียรีกว่าว่ชุกชี ปราสาทด้านในไม่พม่บสิ่งสิ่ก่อสร้าร้ง ประตูทำตูทำจากหินหิทรายแตกหักหัด้าด้นในตัว ปราสาทด้านในไม่พม่บสิ่งสิ่ก่อสร้าร้ง ด้วยอิฐ ยอดปราสาท 3 ชั้นชั้บริเริวณส่วส่น ยอดปราสาท มีกมีลีบขนุนหินหิทรายแกะ สลักเป็นรูปเทพ เป็นอักษรธรรมอีสาน ซึ่งซึ่สามารถสรุป ใจความได้ว่าว่พระเถระผู้ใผู้หญ่ และท้าว พระยาในท้องถิ่น ได้บูรณะปราสาทหินหิ บ้าบ้นระแงง โดยเข้าข้ใจว่าว่เป็นพระมหาธาตุ ของศาสนาพุทธ ถัดจากปราสาทศีขรภูมิภูมิราว 300 เมตร มีสมีระน้ำ ขนาดใหญ่ เรียรีกว่าว่สระสี่เ สี่ หลี่ยม เป็นแหล่งน้ำ สำ คัญใช้ใช้นการอุปโภคและ บริโริภคของชาวอำ เภอศีขรภูมิภูมิ ป ร าส าทศีข ร ภูมิ ป ร าส าทศีข ร ภูมิ

ลักษณะทางศิลปกรรมปราสาท ศีขรภูมิภูมิตรงกับศิลปะแบบนครวัดวัสมัยมั เมือมืงพระนคร ในช่วช่ง พ.ศ. 1650 – 1720 ตรงกับพุทธศตวรรษที่ 17 และมีกมีาร บูรณะเพิ่มพิ่เติมที่องค์ปราสาทบริวริาร ทิศตะวันวัตกเฉียงใต้ เป็นป็แบบศิลปะ ล้านช้าช้ง และพบจารึกรึอักษรธรรมอีสาน ณ ปราสาทบริวริารทิศตะวันวัออกเฉียงใต้ มีปมีระติมากรรมที่พบ ณ ปราสาท มี 2 ประเภท คือ ประติมากรรมนูนนูสูงสูและ ประติมากรรมนูนนูต่ำ คือ การแกะสลัก จากหินหิทราย ดังดันี้ ลักษณะทางศิลปกรรม ปราสาทศีขรภูมิ ภูมิ ภาพจำ หลักอื่น ๆ ได้แ ด้ ก่ ทับหลัง ภาพสลักหินหิทรายประกอบ ไปด้วด้ยทับหลัง 3 แผ่นผ่ ได้แด้ก่ พระศิวะ นาฏราชพระกฤษณะประลองกำ ลังกับ สิงสิห์แห์ละช้าช้ง และพระกฤษณะประลอง กำ ลังกับสิงสิห์สห์องตัว ทับหลังแผ่นผ่ที่ 1 พระศิวะนาฏราช 10 กร มีหมีงส์แส์บก 3 ตัว อยู่เยู่หนือหน้า กาล หน้าน้กาลจับจัขาสิงสิห์ 2 ข้าข้ง สิงสิห์ 2 ตัว คายท่อนพวงมาลัย มีลัมี ลักษณะโค้ง ขึ้นขึ้และลง ภายใต้ท่อนพวงมาลัย สลัก เป็นป็ภาพนางอุมา หรือรื ปาราวตรีถืรี ถือคฑา รูปรูกะโหลกศีรษะ ถัดมาเป็นป็ภาพพระ วิษวิณุ มี 4 กร นั่งนั่บนฐานปัทมาสน์กำน์ กำลัง ตีฉิ่ง ถัดมาคือพระพรหม มี 4 พักพัตร์ และ 4 กร กำ ลังตีฉาบ ให้จัห้งจัหวะพระศิวะ ร่าร่ยรำ สุดสุท้ายคือพระพิฆพิเณศ มีเมีศียร เป็นป็รูปรูช้าช้งนั่งนั่อยู่บยู่นฐานปัทมาสน์กำน์ กำลัง ให้จัห้งจัหวะพระศิวะร่าร่ยรำ ทับหลังแผ่นผ่ที่ 2 พระกฤษณะ ประลองกำ ลังกับช้าช้งและคชสีห์สี ห์พระ กฤษณะใช้พช้ระหัตหัถ์ขวาจับจัสิงสิห์ พระหัตหัถ์ซ้าซ้ยจับจัช้าช้งฟาดลงกับพื้นพื้สิงสิห์ และช้าช้งคายท่อนพวงมาลัยออกมามี ลักษณะโค้งขึ้นขึ้ โค้งลง ปลายท่อนพวง มาลัยสลักเป็นป็นาคหลายเศียร และนาค ก็คายลายก้านต่อดอกเหนือนืแนวท่อน พวงมาลัยมีลมีายลูกลูประคำ คั่นคั่เป็นป็ภาพ สลักเป็นป็ภาพฤกษี 5 ตน นั่งนั่ชันชัเข่าข่พนม มือมือยู่ใยู่นซุ้มซุ้เรือรืนแก้วประดับดัด้วด้ยลาย ใบไม้ ระหว่าว่งซุ้มซุ้มีลมีายบัวบัขาบคั่นคั่และมี ประติมากรรมรูปรูบุคคลและสัตสัว์ ได้แด้ก่ พระกฤษณะ ฤาษี สิงสิห์ และช้าช้ง นางอัปสร ภาพแกะสลักหินหิทราย อยู่ หน้าน้กรอบประตูปตูราสาทปรางค์ประธาน นางอัปสรด้าด้นซ้าซ้ยประตูมืตูอมืซ้าซ้ยถือ ดอกบัวบัตูมตูส่วส่นมือมืขวาชักชัชายผ้าผ้สีหสีน้าน้ มีลัมี ลักษณะยิ้มยิ้แย้มย้สวมชฎา 1) นาคปัก 2) พระวรุณรุทรงหงส์ 3) กลีบ ขนุนนุจำ หลักภาพฤาษี 4) พระยมทรง กระบือบื 5) ท้าวกุเกุวรทรงคชสีห์สีศิห์ ศิลปะ ขอมแบบนครวัดวัมีอมีายุราวพุทธ ศตวรรษที่ 17 ได้จด้ากการบูรณะปราสาท ศีขรภูมิภูมิเมื่อมื่ปี พ.ศ. 2534 เสากรอบประตูปตูราสาทปรางค์ ประธาน มีลัมี ลักษณะเป็นป็เสารูปรูแปด เหลี่ยม สลักจากหินหิทรายสีชสีมพู มี 2 ชิ้นชิ้ สลักเป็นป็ลายลูกลูประคำ สวยงานจากล่าง ขึ้นขึ้บน ทับหลังแผ่นผ่ที่ 3 พระกฤษณา อวตารประลองกำ ลังกับคชสีห์สี ห์2 ตัว พระกฤษณะจับจัสิงสิห์ทั้ห์ ทั้งทั้สองตัวฟาดลง กับพื้นพื้ ใช้พช้ระชงค์รัดรัลำ ตัว ของสิงสิห์ทั้ห์ ทั้งทั้ สองตัวไว้ พระหัตหัถ์ทั้งทั้สองข้าข้งจับจัขา หลังของสิงสิห์เห์อาไว้ข้ว้าข้งละตัว สิงสิห์ทั้ห์ ทั้งทั้ สองคายท่อนพวงมาลัยออกมา มี ลักษณะโค้งขึ้นขึ้ โค้งลง ปลายท่อนพวง มาลัยสลักเป็นป็รูปรูมกรคายสิงสิห์มีห์ ปีมีกปี และสิงสิห์คห์ายลายก้านต่อดอกออกมา เหนือนืรูปรูพระกฤษณะมีแมีนวเส้นส้แบ่งบ่ เหนือนืแนวเส้นส้ขึ้นขึ้ ไปเป็นป็รูปรูบุคคล ภายในซุ้มซุ้เรือรืนแก้วจำ นวน 2 ซุ้มซุ้ ระหว่าว่งซุ้มซุ้แต่ละซุ้มซุ้จะมีลมีายบัวบัขาบคั้นคั้ ไว้ ประติมากรรมที่พบ ได้แด้ก่ พระ กฤษณะ เทพรำ เทพธิดธิา และสิงสิห์ ทวารบาล ภาพแกะสลักลัทวารบาล 2 ตน มีลัมีกลัษณะแตกต่าต่งกันกัคือคืทวาราล ด้าด้นขวา มีใมีบหน้าน้ยิ้มยิ้และสุขุสุมขุสวมเครื่อรื่ง ประดับดัและนุ่งนุ่ โจงกระเบนมือมืทั้งทั้ 2 ข้าข้ง กุมกุกระบอง มีชื่มีชื่อชื่ว่าว่นนทิ ทวาราลด้าด้น ซ้าซ้ย ใบหน้าน้มีลัมีกลัษณะเกรี้ย รี้ วกราดและ ดุร้ดุาร้ย สวมเครื่อรื่งประดับดัและนุ่งนุ่ โจง กระเบน มือมืทั้งทั้ 2 ข้าข้งกุมกุกระบอง เช่นช่กันกั มีชื่มีชื่อชื่ว่าว่มหากาล นาคปัก สูงสู 102 เซนติเมตร บันบัแถลงจำ หลักภาพ พระวรุณทรงหงส์ สูงสู 87 เซนติเมตร กลีบขนุนนุจำ หลักภาพ พระยมทรงกระบือบื สูงสู 61 เซนติเมตร กลีบขนุนนุจำ หลักภาพ ท้าวกุเกุวรทรงคชสีห์สี ห์ สูงสู 83 เซนติเมตร บัวบักลุ่มลุ่ยอดปราสาท กลีบลีขนุนนุจำ หลักลัภาพฤาษี สูงสู 88 เซนติเติมตร