กอ งปฏ บ ต การทางทหารท ม ใช สงคราม ยก.ทหาร

- ใช้เพ่ือการศึกษาใน สจว.สปท.เท่านั้น - พงึ ชนะคนพดู ปด ด้วยความจรงิ

- ใช้เพ่ือการศึกษาใน สจว.สปท.เท่านัน้ – คำนำ คู่มือพ้ืนฐานทางทหารฉบับน้ี สถาบันจิตวิทยาความม่ันคง สถาบัน วิชาการป้องกนั ประเทศ ได้เล็งเหน็ ความสำคัญถงึ การใหค้ วามรู้พื้นฐานทางทหาร แก่ผู้เขา้ รับการศึกษาหลักสูตรจิตวิทยาความม่ันคง ซึง่ ได้มีการปรับปรุงหลักสูตร ขึ้นใหม่ และเริ่มใช้ในปีการศึกษา 2557 เป็นต้นไป ในส่วนของข้าราชการพลเรอื น และเอกชนจึงไดจ้ ัดตั้งคณะกรรมการฯ เพอื่ จัดทำเอกสารแจกจ่ายให้กบั นักศกึ ษา ในลักษณะของสรุปเอกสาร เพอื่ เปน็ แนวทางในการปรบั พ้ืนฐานความรู้ทางทหาร เบ้ืองต้น โดยค้นคว้ารวบรวมมาจาก เอกสารทเ่ี กี่ยวข้องต่างๆ เช่น หลักนิยมการ ปฏิบัติการร่วมกองทัพไทย พ.ศ.2550 คู่มือปฏิบัติงานฝ่ายเสนาธิการร่วม วสท.สปท. คู่มือผู้บังคับหน่วย และฝ่ายอำนวยการโรงเรียนเสนาธิการทหารบก และข้อมูลจาก Internet เป็นต้น เพ่อื ทน่ี ักศกึ ษาจะได้มีความรู้เกี่ยวกับทางทหาร สามารถนำไปใชใ้ นการศึกษาและการฝกึ รว่ มทก่ี ำหนดไว้ การจัดทำเอกสารนมี้ ีระยะเวลาในการดำเนินการคอ่ นขา้ งจำกดั ขอ้ มลู บางส่วนอาจขาดความสมบูรณ์หรือคลาดเคลือ่ นไปบา้ ง สถาบันจิตวทิ ยาความมั่นคง หวังเป็นอย่างย่ิงวา่ จะไดร้ ับความกรุณาจากท่านผู้มคี วามรู้ให้คำแนะนำเพื่อเป็น แนวทางในการพัฒนาคู่มือพ้ืนฐานทางทหาร ให้มีความสมบู รณ์ถูกต้อง และทนั สมยั ยิ่งขึ้นในโอกาสตอ่ ไป หา ก ท่า น มีข้อ คิดเห็นแล ะ ข้อ เส น อ แน ะ ป ระ ก าร ใด ก รุณ า ส่งข้อ มู ล ของท่านมายัง กองวิทยาการ สถาบันจิตวิทยาความม่ันคง สถาบันวิชาการป้องกัน ประเทศ 62 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2276-4637 จกั ขอบพระคณุ ยง่ิ (ลงช่ือ) พลตรี ก้องเกยี รติ พลขนั ธ์ (กอ้ งเกียรติ พลขนั ธ์) ผอู้ ำนวยการสถาบนั จิตวิทยาความมน่ั คง สถาบันวิชาการปอ้ งกนั ประเทศ

สารบญั คำนำ หนา้ บทท่ี 1 โครงสรา้ งการจัดกองทัพไทย (กห. บก.ทท. ทบ. ทร. ทอ.) 1 บทท่ี 2 ฝา่ ยอำนวยการ/ฝ่ายเสนาธิการ 6 บทท่ี 3 ยทุ ธศาสตร์ 15 บทที่ 4 หลักพ้ืนฐานการสงคราม 19 บทท่ี 5 การยุทธรว่ ม 22 บทที่ 6 แผนที่ทางทหาร 27 บทท่ี 7 เทคนิคการเขยี นแผน่ บริวาร 31 บทท่ี 8 สญั ลกั ษณท์ างทหาร 34 บทที่ 9 เครอื่ งหมายยศทหาร 42 บทที่ 10 คำยอ่ 44 บรรณานกุ รม 57 คณะกรรมการ 58

-ใชเ้ พ่ือการศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านน้ั - 1 บทที่ 1 การจดั ส่วนราชการของกองทพั ไทย การปฏิบัติการร่วม จำเป็นอย่างย่ิงที่นักศึกษาจะต้องมีความรู้ความ เข้าใจใน ภารกิจ การจัด และการดำเนินงานของส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้อง คือ กองบัญชาการกองทพั ไทย และเหล่าทพั เพ่ือเปน็ พน้ื ฐานในการวางแผน ใช้กำลังและยทุ โธปกรณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบรรลุภารกิจท่ีได้รับมอบ โดยทกี่ ารจดั ส่วนราชการ ภารกิจของกองทัพไทยมีหน้าท่ีเตรียมกำลังกองทัพไทย การป้องกัน ราชอาณาจักรและดำเนินการเกย่ี วกับการใช้กำลังทหารตามอำนาจหน้าท่ี ของกระทรวงกลาโหม มีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บังคับบัญชา รบั ผิดชอบ การจัดส่วนราชการแสดงตามแผนผงั ได้ดังน้ี กระทรวงกลาโหม สำนกั งานรฐั มนตรี สำนกั งานปลัดกระทรวง กรมราชองครักษ์ กองทัพไทย ปลัดกระทรวง บก.กองทพั ไทย ทบ. ทร. ทอ. ส่วนราชการอน่ื ตามทก่ี ำหนดโดยพระราชกฤษฎกี า -ใชเ้ พอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้ัน-

2 -ใชเ้ พื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นั้น- โครงสรางการจัดกองทัพไทย กองบั ชาการกองทพั ไทย กองทัพบก กองทพั รือ กองทัพอากา ส่วนราชการอื่นตามที่กาหนด ส่วนบังคับบั ชา โดยพระราชกฤษฎกี า สานัก บั ชาการทหารสงสด สน.บก.บก.ทท สลก.บก.ทท. สจร.ทหาร สตน.ทหาร น ปภ.รอ. ส น.ทหาร สสก.ทหาร สยย.ทหาร ส่วน สนา ิการรว่ ม กรมกาลงั พลทหาร กรมข่าวทหาร กรมยท การทหาร กรมสง่ กาลังบารงทหาร กรมกจิ การพล รอื นทหาร กรมการส่อื สารทหาร สานกั งานปลัดบั ชที หาร สว่ นป บิ ตั กิ าร หน่วยบั ชาการ นย์รักษาความปลอดภยั นย์ป บิ ตั ิการตอ่ ตานการกอ่ การรายสากล ทหารพั นา ส่วนกิจการพิ ษ กรมการ งนิ ทหาร กรม นทที่ หาร กรมยท บริการทหาร กรมกิจการชาย ดนทหาร กรมสารบรร ทหาร สว่ นการ กษา ส าบนั วชิ าการปองกนั ประ ท กองบั ชาการ วิทยาลัย สนา ิการทหาร นย์ กษายท าสตร์ รร.ช่าง มอื ทหาร วิทยาลัยปองกนั ราชอา าจกั ร ส าบันจติ วทิ ยาความม่นั คง รร. ตรยี มทหาร -ใชเ้ พื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นนั้ -

-ใชเ้ พือ่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านัน้ - 3 โครงสรางการจดั สว่ นราชการกองทัพบก กองทัพบก ว ั ก ร ตามอตั รา ทบ. สสน.บก.ทบ. สลก.ทบ. กพ.ทบ. ขว.ทบ. ยก.ทบ. กบ.ทบ. กร.ทบ. สปช.ทบ. ส น.ทบ. นรด. สบ.ทบ. กง.ทบ. สห.ทบ. สก.ทบ. จบ. สวพ.ทบ. สตน.ทบ. กช. สพ.ทบ. พบ. สส. ขส.ทบ. พ .ทบ. กส.ทบ. ว .ทบ. ยย.ทบ. นส . พล.ม. รอ. พล.ร. พล.ร. ว ก ลงั ร ช.พนั พนั .บ. พนั .ปฐบ. รอย.ว . ทภ. . ทภ. ทภ. ทภ. มทบ. มทบ. มทบ. . ว ั ก รร นปอ. พล.ป. พล.ช. ขกท. ส. ว งก ลัง รง หน่วยป ิบตั ิ ละคลงั ของกรม ายยท บรกิ ารทงั หนว่ ย ว มทบ. มทบ. มทบ. มทบ. มทบ. มทบ. มทบ. มทบ. มทบ. มทบ. มทบ. . ว กรก รร.จปร. ย .ทบ. นย์การกาลังสารอง สพ. บบ. โรง รยี นหน่วย หล่าสายวทิ ยาการต่าง ว ั ประท พล.พั นา พล.พั นา พล.พั นา พล.พั นา พล.ช. -ใชเ้ พื่อการศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ น้ัน-

4 -ใช้เพ่อื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านั้น- โครงสรางกาตราจมดัอสัต่วรนารทารช.การกองทพั รือ กองทพั รือ ส่วนบั ชาการ สลก.ทร. กพ.ทร. ยก.ทร. สสท.ทร. สปช.ทร. จร.ทร. สยป.ทร. กพร.ทร. กง.ทร. สตน.ทร. ส น.ทร. สบ.ทร. ขว.ทร. กบ.ทร. สว่ นกาลงั รบ กร. ทรภ. ทรภ. ทรภ. นย. สอ.ร . ฐท.สส. ฐท.กท. สห.ทร. บก. ก . ก . กบ . กทบ. กย . กสน. นสร. กตอ. ก . ก . กดน. กยบ. ก ร. กลน. สว่ นยท บรกิ าร อร. อล.ทร. ชย.ทร. สพ.ทร. พ .ทร. พร. ขส.ทร. อ . สก.ทร. ว .ทร. กรม นการชา่ ง อ่ นบรี อร่ าชนาวี กรมพั นาการชา่ ง อ่ จปร. ย .ทร. รร.นร. สวพ.ทร. ส่วนการ กษา วิจยั ละพั นา รร.ส .ทร. วทร. ยร. -ใชเ้ พอื่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านั้น-

-ใช้เพอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ น้ัน- 5 โครงสรางการจดั ส่วนราชการกองทพั อากา กองทัพอากา พ. กอ. สพร.ทอ. ตามอตั รา ทอ. กองบั ชาการ ส่วนบั ชาการ นน. บพ. สลก.ทอ. กพ.ทอ. ยก.ทอ. กร.ทอ. สปช.ทอ. จร.ทอ. สนภ.ทอ. สบ.ทอ. ขว.ทอ. กบ.ทอ. ทสส.ทอ. กง.ทอ. สตน.ทอ. ส น.ทอ. สว่ นกาลังรบ บน. บน. คปอ. บน. บน. บน. บน. บน. รร.การบิน อย. บน. บน. บน. บน. ส่วนส่งกาลังบารง พอ. พ .ทอ. ชย.ทอ. ขส.ทอ. ชอ. สอ.ทอ. สพ.ทอ. ส่วนการ กษา ย .ทอ. รร.นอ. สวบ.ทอ. สน. บ.ดม. ส่วนกจิ การพิ ษ วอ.ทอ. สก.ทอ. -ใชเ้ พอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เท่านน้ั -

6 -ใช้เพือ่ การศึกษาใน สจว.สปท. เท่านนั้ - บทท่ี 2 หนาท่ีของ ายอำนวยการ าย สนา กิ าร ในการปฏิบัติการทางทหาร จำเป็นต้องมีการทำงานร่วมกันใน หน้าที่ของฝา่ ยอำนวยการ/ฝ่ายเสนาธิการ และการเป็นผู้บังคับบัญชา การ จัด ท ำข้อ พิ จาร ณ าฝ่ าย อำน ว ย ก าร จะ เป็ น เค รื่อ งช่ ว ย ใน ผู้บั ง คั บ บั ญ ช า สามารถตกลงใจได้ถูกต้อง และรวดเร็ว 1. ความสัมพนั ธ์ระหว่างผบู้ ังคับบญั ชา และฝา่ ยอำนวยการ 1.1 ประสิทธิภาพสูงสุดจะบังเกิดขึ้นได้เม่ือผู้บังคับบัญชา และ ฝ่ายอำนวยการมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีความเช่ือม่ันและนับถือซึ่งกัน และกนั 1.2 สำหรับความสัมพันธ์กับผู้บังคับหน่วยรองทั้งหลายฝ่าย อำนวยการปฏิบัติต่อหน่วยรอง ด้วยจิตใจที่ช่วยเหลือ และให้ความร่วมมือ ฝ่าย อำนวยการจะต้องถ่ายทอดการตกลงใจของผู้บังคับบัญชาไปให้หน่วยรองในรูป คำสั่งที่รัดกมุ เข้าใจงา่ ยและทันเวลา 1.3 ความสัมพันธ์อันเหมาะสมระหว่างฝ่ายอำนวยการกับ กองบัญชาการหน่วยเหนือและหน่วยข้างเคียงจะช่วยให้เกิดประสิทธิภาพ ในการดำเนินงานขึ้นการพบปะกันบ่อยๆ และการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ระหว่างฝ่ายอำนวยการจะช่วยให้เกิด ความเข้าใจซึ่งกันและกัน เป็นการ ชว่ ยให้ผูบ้ ังคบั บัญชาสามารถติดตามสถานการณ์สว่ นรวมได้ตลอดเวลา 1.4 ในหน่วยที่มีผู้บัญชาการ รอง และผู้ช่วย จะต้องถือ เสมอื นว่าเปน็ บุคคลเดียวกนั คือ เปน็ ผบู้ งั คับบัญชาของหนว่ ย แม้ว่าอำนาจ หน้าท่จี ะไม่เทา่ กนั -ใช้เพอื่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านนั้ -

-ใชเ้ พอื่ การศึกษาใน สจว.สปท. เท่านั้น- 7 1.5 ตามธรรมดา รอง และผู้ช่วย ไม่เป็นส่วนหนึ่งของสาย บังคบั บัญชาระหวา่ งฝ่ายอำนวยการของตน ดงั นนั้ เม่อื รอง หรอื ผู้ช่วยมีความรับผิดชอบโดยเฉพาะข้ึนแล้ว อาจจัดฝ่ายอำนวยการ ประสานงาน หรือฝ่ายกิจการพิเศษของหน่วย หรือนายทหารจากหน่วย ตา่ งๆ มาช่วยเหลือการปฏิบัตงิ านตามความเหมาะสม 1.6 เพื่อให้ฝ่ายอำนวยการทำงานอย่างมีประสทิ ธิภาพ ผู้ บงั คบั หน่วยจะตอ้ งกำหนดนโยบายในการกำกับดแู ล และการประสานงาน ของฝ่ายอำนวยการขึ้น และต้องระบุความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับหน่วย และรอง โดยแนช่ ดั 2. ประเภทและบทบาทของฝ่ายอำนวยการ 2.1 ประเภทของฝา่ ยอำนวยการ 2.1.1 ฝ่ายอำนวยการประสานงาน/ฝ่ายเสนาธิการ เป็น ผู้ช่วยหลักของผู้บังคับบัญชา แต่ละคนเก่ียวข้องกับสายงานที่เก่ียวข้อง อย่างกว้างๆ ฝ่ายอำนวยการประสานงานช่วยเหลือผู้บังคับบัญชาโดยการ ประสานแผนหน้าท่ี และการปฏิบัติของส่วนต่างๆ ของหน่วย และยัง ประสานบรรดากิจกรรมทั้งปวงของหนว่ ย เพ่ือให้มั่นใจว่าการปฏิบัติภารกิจ ไดผ้ ลดที ่ีสดุ เปน็ สว่ นรวม 2.1.2 ฝ่ายกิจการพิเศษ และฝ่ายยุทธบริการ ช่วยเหลือ ผู้บังคบั บัญชาสำหรับงานในหน้าที่ที่เป็นวชิ าชพี เทคนิค และงานในหน้าท่ี อืน่ ๆ ซงึ่ มวี งแคบกว่าสายงานท่ีเก่ียวข้องของฝ่ายอำนวยการประสาน และ มีความสัมพันธ์อย่างกว้างขวางในเร่ืองเทคนิค ธุรการ และงานในหน้าท่ี พเิ ศษอืน่ ๆ ภานในหนว่ ย -ใช้เพอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เท่านัน้ -

8 -ใชเ้ พอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เท่านน้ั - 2 .1 .3 ฝ่ าย อ ำน ว ย ก าร ป ร ะ จ ำตั ว ช่ ว ย เห ลื อ ผู้บังคับบัญชาในเรื่องส่วนตัวหรืองานในหน้าท่ีเฉพาะ นายทหารฝ่าย อำนวยการประจำตัว คือนายทหารซึ่งผู้บังคับบัญชาได้เลือกให้ทำหน้าที่ เช่นนายทหารคนสนิท และผู้บังคบั บัญชาต้องการประสานและดำเนินงาน กจิ กรรมของฝา่ ยอำนวยการแต่ละคนโดยตรงแทนท่ีจะผ่านไปยังเสนาธิการ นายทหารฝ่ายอำนวยการประจำตัวเหล่านี้รายงานเรื่องราวต่างๆ ตาม หน้าที่ของตนไปยังผู้บังคับบัญชาโดยตรงแทนที่จะผ่านไปตามสายฝ่าย อำนวยการปกติภายในหนว่ ย 2.2 ความม่งุ หมายในการจดั ฝ่ายอำนวยการ 2.2.1 เปน็ ทีป่ รกึ ษาและผชู้ ว่ ยเหลอื ผู้บังคับบัญชาในการ บริหารงานของหน่วย 2.2.2 สนองความต้องการของผู้บังคับบัญชา และ หน่วยรอง ได้ทนั ที 2.2.3 ใหผ้ ู้บงั คับบัญชาทราบสถานการณอ์ ยู่เสมอ 2.2.4 ลดเวลาท่ีจำเป็นต้องใช้ในการควบคุม และการ ประสานงาน 2.2.5 ลดโอกาสที่จะเกิดความผดิ พลาดลง 2.3 หนา้ ทขี่ องฝา่ ยอำนวยการ 2.3.1 ตัวฝา่ ยอำนวยการเองนั้นไม่มีอำนาจในการบังคับ บัญชา เพราะอำนาจหน้าท่ีต่างๆ จะต้องมาจากผู้บังคับบัญชาและการใช้ อำนาจหนา้ ที่จะตอ้ งกระทำในนามของผบู้ งั คับบญั ชา 2.3.2 การทำงานในรายละเอียดเป็นหน้าที่ของฝ่าย อำนวยการ ผู้บังคับบัญชาย่อมเพ่งเล็งและสนใจเฉพาะเรื่องสำคัญๆ -ใช้เพ่อื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั -

-ใช้เพอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านัน้ - 9 เก่ี ย ว กั บ ปั ญ ห า ท่ี เผ ชิ ญ ห น้ า ใน ข ณ ะ นั้ น ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า ต้ อ ง อ า ศั ย ฝ่ า ย อำนวยการของตน เป็นผู้พิจารณารายละเอียดในการประมาณการทำแผน และคำส่ัง 2.3.3 ฝ่ายอำนวยการปฏิบัติงานภายในขอบเขตของ นโยบายและแนวคิดท่ีผู้บังคับบัญชาได้กำหนดไว้ ในกรณีที่มิได้มีนโยบาย กำหนดไว้ ฝ่ายอำนวยการควรจะขอทราบแนวทางจากผู้บังคับบัญชา ถ้า ผู้บังคับบัญชาไมม่ ีโอกาสท่ีจะใหแ้ นวทางได้ฝ่ายอำนวยการก็จะต้องคิดเอา เองว่าอะไรน่าจะเปน็ นโยบายของผ้บู ังคบั บญั ชา 2.3.4 ข้อเสนอแนะของฝ่ายอำนวยการที่ให้แก่ ผู้บังคับบัญชาน้ัน ต้องมุ่งท่ีจะให้บังเกิดผลในอันที่จะบรรลุภารกิจเป็น ประการสำคัญ การแถลงความคิดออกมาด้วยความซื่อสัตย์และ ตรงไปตรงมาย่อมเป็นส่ิงพึงประสงค์ ฝ่ายอำนวยการต้องให้ขอ้ เสนอโดยยึด มั่นในความคิดเห็นของตนจนกว่าผู้บังคับบัญชาจะตัดสินใจ แต่เมื่อ ผู้บังคับบัญชาได้ตัดสินใจลงไปแล้ว ฝ่ายอำนวยการตะต้องดำเนินการทุก วถิ ีทางเพื่อสนบั สนนุ ขอ้ ตกลงใจนนั้ 2.4 การในหน้าทข่ี องฝา่ ยอำนวยการ 2.4.1 การให้ขา่ วสาร 2.4.2 การทำประมาณการ 2.4.3 การทำขอ้ เสนอแนะ 2.4.4 การทำแผนและคำสงั่ 2.4.5 การกำกับดูแลการดำเนนิ การตามแผนและคำสงั่ 2.5 ความรบั ผดิ ชอบของฝา่ ยอำนวยการ -ใช้เพอื่ การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้ัน-

10 -ใช้เพือ่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านนั้ - ฝ่ายอำน วยก ารจะต้องให้คำปรึก ษาและช่วยเหลือ ผู้บงั คับบญั ชาตามขอบเขตในหนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบ ทำใหม้ ่ันใจว่าคำสั่งคำ ช้ีแจงและนโยบายของผู้บังคับบัญชาได้รับการปฏิบัติตาม มีการ ประสานการทำงานระหวา่ งฝ่ายอำนวยการและเจ้าหน้าท่ีอนื่ ๆ เพ่อื เปน็ การ แบ่งเบาภาระของผู้บังคับบัญชา ทำให้ผู้บังคับบัญชามีเวลามากข้ึนในการ พิจารณาแก้ปญั หาเรื่องสำคญั 2.6 หลกั การทำงานของฝ่ายอำนวยการ 2.6.1 ออ่ นตัวแต่ยดึ หลักการ 2.6.2 ประสานการทานร่วมกันเพอื่ ปอ้ งกนั การขดั แย้ง 2.6.3 ให้ขอ้ เสนอแนะ ไม่ใชส่ ่ังการ 2.6.4 ทำงานในหน้าท่ใี ห้สมบรู ณ์ 2.6.5 กระจายและแลกเปลีย่ นข่าวสาร 2.6.6 0 ไม่ใช่สร้างปัญหา 2.6.7 มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 2.6.8 กำกับดูแล 2.7 คณุ สมบัติของฝา่ ยอำนวยการ 2.7.1 มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ งานในหน้าท่ี 2.7.2 มคี วามจงรักภกั ดีตอ่ ผูบ้ งั คบั บญั ชา 2.7.3 มปี ระสบการณ์ในการทำงาน 2.7.4 มคี วามสามารถปฏบิ ตั ิงานรว่ มกับผ้อู ืน่ ไดด้ ี 2.7.5 มีจิตใจตื่นตัวและช่างคิด สามารถวางแผนลว่ ง หน้า ไว้รับกับเหตกุ ารณใ์ นอนาคตรเู้ ทา่ ทนั เหตุการณ์ และพรอ้ มท่แี ก้ปัญหานน้ั 2.7.6 มีความสามารถถ่ายทอดความคิดเห็นของตนท้ังใน การเขียนและพูด 2.8 เคร่ืองมอื ในการปฏิบตั ิงานของฝ่ายอำนวยการ -ใชเ้ พือ่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านั้น-

-ใชเ้ พอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ น้ัน- 11 2.8.1 แฟม้ นโยบาย 2.8.2 บนั ทกึ 2.8.3 บนั ทึกประจำวนั 2.8.4 เอกสารแยกเร่อื ง 2.8.5 แผนที่สถานการณ์ 2.8.6 บญั ชหี นว่ ยทหาร 2.8.7 ระเบียบปฏบิ ตั ปิ ระจำ การ ขียนขอพิจาร า ายอำนวยการท่ีไม่มีความซับซ้อนและ ง่ายต่อการส่ังการจะจัดทำในรูปแบบของ “บันทึกความเห็น” ซ่ึงมี 4 หัวขอ้ คอื 1 ปัญหา 2 ข้อเทจ็ จรงิ 3 ขอ้ พจิ ารณา 4 ข้อเสนอ ขอ้ พจิ ารณา ฝอ. การแกป้ ัญหา บันทึกความเหน็ 1. ปญั หา สงั เกตปัญหา 1. ปญั หา -ใชเ้ พอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เท่าน้ัน-

12 -ใช้เพือ่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านั้น- 2. สมมุติฐาน การรวบรวมขา่ วสาร 3. ข้อเทจ็ จริง 4. ขอ้ พจิ ารณา ทีจ่ ำเป็น 2. ขอ้ เทจ็ จริง 5. ขอ้ สรปุ การพัฒนาคำตอบที่ 3. ข้อพจิ ารณา เป็นไปได้ การวิเคราะหแ์ ละ เปรียบเทยี บคำตอบ 6. ขอ้ เสนอ เลือกคำตอบที่ดีทสี่ ุด 4. ข้อเสนอ หัวขอตรวจสอบการจัดทำขอพจิ าร าของ ายอำนวยการ ขอ้ พิจารณาของฝ่ายอำนวยการเป็นเครื่องมือซ่ึงช่วยให้สามารถ แก้ปัญหาต่างๆ ได้ดีขึ้น ทำให้แก้ปัญหาที่สำคัญของหน่วยได้อย่างถูกต้อง และชดั เจนมากที่สุดจึงควรตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อความตามหัวข้อ ต่างๆ ของข้อพจิ ารณาของฝ่ายอำนวยการ หรอื บนั ทึกความเห็นดงั น้ี บบ อร์ม - ถกู ตอ้ งตามหลกั การแบบธรรมเนียมและระเบยี บที่กำหนดไว้ - เทคนคิ ในการจดั ทำเอกสารถูกตอ้ ง -ใช้เพอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้นั -

-ใช้เพอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นั้น- 13 หวั รอื่ ง - หัวเร่อื งสมบรู ณก์ ะทัดรัดตามระเบียบงานสารบรรณหรอื ไม่ - ช่ือเร่ืองกะทดั รดั เป็นเรือ่ งเฉพาะเจาะจงหรือไม่ 1. ปญั หา 1.1 มคี วามชัดเจนและสมบูรณห์ รือไม่ 1.2 จำกดั เฉพาะเร่อื งใดเร่อื งหนึง่ หรือไม่ 2. สมมตุ ฐิ าน 2.1 เปน็ ไปได้และถูกตอ้ งหรือไม่ 2.2 กระจา่ งชัดและเหมาะสมหรอื ไม่ 2.3 มีความสมจริง และมีสาระสำคัญต่างคำแก้ปัญหา หรอื ไม่ 2.4ขอ้ เทจ็ จรงิ และสมมตุ ิฐานสอดคลอ้ งกันหรอื ไม่ 3. ขอ้ เท็จจริง 3.1 เป็นความจริงหรือไม่ สามารถพิสูจน์ได้หรือไม่ และมี หลกั ฐานเอกสารยนื ยันหรอื ไม่ 3.2 เข้าเร่อื งหรือไม่ 3.3 ควรจะมีขอ้ เท็จจริงอื่นๆ มาเพมิ่ เติมหรอื ไม่ 3.4 ต้องเป็นความจริงโดยแท้ มิใช่เป็นความคิดเห็นหรือ การคาดคิดของตนเอง 4. ข้อพิจารณา -ใช้เพอื่ การศึกษาใน สจว.สปท. เท่านน้ั -

14 -ใชเ้ พอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ น้ัน- 4.1 มคี วามรัดกุมหรือไม่ 4.2 ใช้ขอ้ คดิ เห็นของตนเองในการพจิ ารณาหรอื ไม่ 4.3 ได้พัฒนาไปตามขั้นตอนท่ีกำหนดไว้ และได้เร่ืองราว เพียงใด 4.4 ไดม้ ีการพิจารณากนั ทกุ หนทางปฏิบัตหิ รอื ไม่ 4.5 ได้นำข้อดี และข้อเสียของแต่ละหนทางปฏิบัติมา พจิ ารณาเปรยี บเทียบกนั อย่างถ่องแท้หรอื ไม่ 4.6 ถ้าต้องการตารางหรือกราฟมาประกอบการพิจารณา ดว้ ยจะหาได้หรอื ไม่ 4.7 ส่ิงที่อ้างถึงในข้อพิจารณาน้ันสอดคล้องกับข้อปัญหา หรอื ไม่ 5. ขอ้ สรุป 5.1 ครอบคลุมทกุ แงม่ ุมของปัญหาหรือไม่ 5.2 เห็นเพียงหนทางที่จะให้แก้ปัญหาต่างๆ ได้ดีที่สุด หรอื ไม่ 5.3 มุ่งเฉพาะเรื่องที่จะเกิดขึ้นนั้นเป็นประการสำคัญไม่ ออกนอกเร่อื งหรอื กลา่ วถึงเรื่องอนื่ ท่ีไม่เกย่ี วขอ้ งหรือไม่ 6. ขอ้ เสนอ 6.1 ตอบปัญหาทุกแงม่ ุมแลว้ หรือไม่ 6.2 แจ่มแจ้งชดั เจนและสมเหตผุ ลพอหรอื ไม่ 6.3 เป็นหนทางปฏิบัติที่เหมาะสมที่สุดเป็นไปได้และฝ่าย อำนวยการอืน่ ๆ เห็นพ้องหรือไม่ -ใช้เพอื่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ น้นั -

-ใช้เพอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั - 15 6.4 มีข้อเสนอแนะในรายละเอียดที่ช้ีทางปฏิบัติมาก เพยี งพอหรอื ไม่ บทท่ี 3 -ใชเ้ พอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เท่านั้น-

16 -ใช้เพื่อการศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านั้น- ยท าสตร์ 1. ยท าสตร์ หมายถงึ การใช้พลงั อำนาจของชาติเพ่อื ให้บรรลุวัตถุประสงค์ ของชาติ 2. องค์ประกอบของยท าสตร์ 2.1 เครอ่ื งมอื (MEANS) 2.2 วิธีการ (WAYS) 2.3 เปา้ หมาย (ENDS) 3. พลังอำนาจของชาติ NATIONAL POWER คือ ความสามารถของ ชาติในการกระทำใด ๆ เพ่ือผลักดันโน้มน้าวให้การดำเนินงานของชาติ บรรลุสปู่ ลายทางที่ตอ้ งการ 3.1 พลังอำนาจของชาติ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ 3.1.1. พลังอำนาจด้านสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ซ่ึง สามารถพิจารณาได้จาก – ขนาด & รูปร่าง, ดิน & พืชพันธ์ุ, รูปพรรณ สณั ฐาน, ภูมิอากาศ, แร่ & ทรัพยากรธรรมชาติ, ท่ีต้ัง,ประชากร, ลักษณะ ประชากร 3.1.2. พลังอำนาจด้านการเมอื ง พิจารณาจาก 3.1.2.1 ระบบการเมือง 3.1.2.2 กลไกทางการเมือง 3.1.2.3 อุดมการณ์ทางการเมือง 3.1.2.4 ภาวะผู้นำทางการเมือง 3.1.3 พลงั อำนาจทางเศรษฐกิจ พิจารณาจาก 3.1.3.1 โครงสร้างของระบบเศรษฐกิจ -ใช้เพอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เท่านัน้ -

-ใชเ้ พือ่ การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั - 17 3.1.3.2 สภาพเศรษฐกิจทั่วไป 3.1.3.3 ศักยภาพในการระดมสรรพกำลัง 3.1.3.4 ทรัพยากรของชาติ 3.1.3.5 การเงินและการคลัง 3.1.3.6 การค้ากับต่างประเทศ 3.1.3.7 ฐานะทางการเงนิ ระหว่างประเทศ 3.1.4 พลงั อำนาจทางดา้ นสังคมจิตวทิ ยา พิจารณาจาก 3.1.4.1 ความเช่ือมนั่ ทัศนคติ ค่านยิ ม 3.1.4.2 ครอบครัว 3.1.4.3 ศาสนา 3.1.4.4 การศกึ ษา 3.1.4.5 ชนกลุ่มนอ้ ย 3.1.4.6 การสาธารณสุข 3.1.4.7 มาตรฐานการครองชีพ 3.1.4.8 ภาวะผู้นำ 3.1.4.9 ขวัญและลักษณะประจำชาติ 3.1.4.10 ถิ่นที่อยู่อาศัย 3.1.5 พลงั อำนาจทางการทหาร พิจารณาจาก 3.1.5.1 หลักนิยมทางทหาร 3.1.5.2 โครงสร้างควบคุม บังคับบญั ชา 3.1.5.3 กำลัง,ประกอบกำลัง 3.1.5.4 ที่ตั้งและการวางกำลัง 3.1.5.5 มิตรประเทศ -ใช้เพอื่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั -

18 -ใชเ้ พ่อื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นนั้ - 3.1.5.6 การส่งกำลังบำรุง 3.1.5.7 ความสามารถในการระดมสรรพกำลัง 3.1.6 พลงั อำนาจทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3.1.6.1 โครงสร้างการศกึ ษา 3.1.6.2 เคร่อื งมือ/ยุทโธปกรณ์ 3.1.6.3 ระบบการดำเนินงาน 3.1.6.4 บุคลากรทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. ปาหมายของชาติ พจิ าร าไดจาก 4.1 ความม่งุ ประสงค์ของชาติ 4.1.1 ความต้องการพ้ืนฐานของมนุษย์ เช่น การกินดีอย่ดู ี มคี วามสขุ สนกุ สบาย และการมีเอกราชอธปิ ไตย ฯลฯ 4.1.2 ความต้องการทเ่ี กดิ จากประวตั ิศาสตร์ ธรรมเนยี มประเพณี และวัฒนธรรมของชาติน้ัน ๆ 4.2 ผลประโยชน์ของชาติ : ความต้องการและความปรารถนา อันต่อเนอ่ื งของรฐั บาลและราษฎรในอนั ที่จะบรรลุความมุง่ ประสงคข์ องตน ปกติผลประโยชน์ของชาตกิ ำหนดโดย คณะรัฐมนตรีท่กี ำลงั บริหารประเทศ ในขณะน้นั โดยสอดคล้องกับความเห็นของประชาชนส่วนใหญ่ ซึง่ สามารถ เปลย่ี นแปลงไดต้ ามกาลเวลาสถานการณ์ ทัศนคตขิ องผมู้ อี ำนาจตดั สนิ ใจ 4.3 วัตถุประสงค์แห่งชาติ : จุดมุ่งหมายหรอื เป้าหมายสำคัญที่ ชาติมุ่งบรรลุด้วยการใช้พลังอำนาจทั้งมวลของชาติ สามารถแบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ คอื -ใช้เพอื่ การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั -

-ใช้เพ่ือการศึกษาใน สจว.สปท. เท่านน้ั - 19 4.3.1 วตั ถปุ ระสงค์มูลฐานของชาติ : เป็นเป้าหมายกวา้ ง ๆ และถาวร 4.3.2 วัตถุประสงค์เฉพาะของชาติ : เป็นเป้าหมายท่ีมี ลกั ษณะเฉพาะไม่ถาวร เปล่ียนแปลงได้ตามกาลเวลากำหนดไว้ในห้วงเวลา หนึง่ 5. นโยบายของชาติ : เป็นหนทางปฏิบัติอย่างกว้าง ๆ ในระดับชาติท่ี รัฐบาลกำหนดขน้ึ ไวโ้ ดยแน่ชัดเปน็ แนวทางดำเนนิ การ แนวทางควบคุมและ กำหนดขอบเขตปฏิบัติการต่าง ๆ เพอื่ บรรลวุ ตั ถุประสงค์ (เฉพาะ) ของชาติ แบ่งออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คือ 5.1 นโยบายของชาติในส่วนท่ีไมเ่ ปดิ เผยได้ ได้แก่ นโยบายของ รฐั บาลที่แถลงใหท้ ราบทางรฐั สภา 5.2. นโยบายของชาติในส่วนท่ีไม่เปดิ เผย ไดแ้ ก่ นโยบายความ ม่ันคงแหง่ ชาติในบางเรอ่ื ง ซ่ึงสภาความมนั่ คงแห่งชาตพิ ิจารณาแลว้ เห็นว่า ไมส่ มควรเปดิ เผย -ใชเ้ พอื่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั -

20 -ใชเ้ พอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่าน้นั - บทท่ี 4 หลกั พืนฐานการสงคราม สงคราม เป็นการต่อสู้ ท่ีเอาชนะกันด้วยการใช้พลังอำนาจทาง ทหารและพลังอำนาจอื่น ๆ เพ่ือรักษาผลประโยชน์ของชาติ หรือเพื่อขยาย อิทธพิ ลของประเทศเปน็ เรื่องระดับชาติ จงึ ต้องมีความสอดคล้องกันตัง้ แต่ระดับ ผ้กู ำหนดนโยบายสงู สดุ จนถึงผปู้ ฏิบตั ิระดบั ลา่ ง 1. ระดบั ของสงคราม -ใช้เพือ่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านน้ั -

-ใชเ้ พือ่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านั้น- 21 1.1 แบ่งเป็นระดบั ยุทธวธิ ี ยทุ ธการ และยทุ ธศาสตร์ ซึ่งเป็นการ กำหนดถึงขอบเขตของการปฏิบัติการทางทหาร และการเช่ือมโยงระหว่าง การปฏบิ ัติทางยุทธวิธี และเปา้ หมายทางยุทธศาสตร์ 1.2 เป็นการกำหนดถึงผลท่ีได้รับ มากกว่ากำหนดถงึ ระดับของ หน่วยที่ปฏิบัติงานอยู่ ถึงแม้ว่าหน่วยระดับสูงจะอยู่ในระดับของสงครามท่ี สงู กว่าก็ตาม 1.3 ระดับของสงครามใช้ได้ทงั้ “สงคราม” และ “การปฏิบตั ิอ่ืน ๆ ทีไ่ ม่ใช่สงคราม” 1.4 ยุทธศาสตร์ เกยี่ วกบั ข้องวัตถุประสงค์ของชาตหิ รอื ของกลุ่ม 1.5 ยุทธการเป็นตัวเช่ือมที่สำคัญระหว่างเป้าหมายทาง ยทุ ธศาสตรแ์ ละการใช้กำลังทางยทุ ธวิธี 1.6 การรบและการรบปะทะของระดับยุทธวิธีจะทำเพื่อสำเร็จ ระดับยุทธการระดับยุทธวิธีจะเกี่ยวข้องกับการรบและการรบปะทะใน สนามรบ 1.7 ความสำเร็จและล้มเหลวของระดับยุทธวิธีที่กำหนดโดย ผู้บังคับบัญชาระดับยุทธการจะเป็นเง่ือนไขสำหรับการปฏิบัติในระดับ ยทุ ธการตอ่ ไป 2. ยท าสตร์ ละนโยบายการปองกันประ ท จัด ทำขึ้น เพ่ื อ ป ก ป้อ งผลปร ะ โย ชน์ ขอ งชาติ แ ละ ให้ บร รลุ ถึ ง วตั ถปุ ระสงค์ของชาติ โดยยึดถือการยับยั้งและการป้องกันตนเอง เป็นหลัก ให้สอดคล้องกับพลังอำนาจของชาติที่มีอยู่ การปฏิบัติการทางทหาร จะต้อง -ใช้เพอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นั้น-

22 -ใช้เพ่อื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นัน้ - เก้ือกูลต่อพลังอำนาจของชาติด้านอื่น ๆ เพื่อให้บรรลุซึ่งวัตถุประสงค์ทางการ เมือง นโยบายการป้องกันประเทศ จะก่อให้เกิดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ทางทหารสำหรับสถานการณเ์ ฉพาะนั้น ๆ 3. ยท าสตร์ทหาร มพี ื้นฐานมาจากยุทธศาสตร์การป้องกนั ประเทศ การทหารของ กองทัพไทยจะต้องสนับสนุนความต้องการของยุทธศาสตร์การป้องกัน ประเทศ ในแงข่ องการยับยง้ั และการปอ้ งกนั ตนเอง การแสดงกำลัง ในพื้นท่ีสำคัญและการตอบสน องอย่างรวดเร็วต่อเหตุการณ์วิกฤต ยุทธศาสตรท์ หารจะกำหนดแนวทางในการใชก้ ำลังทางทหาร 4. ปาหมาย ละการใชกำลงั ผู้บังคับบัญชาทางทหารจะต้องได้รับทราบจุดประสงค์และ เป้าหมายทางทหารท่ีชัดเจนในการใช้กำลังทหารให้เหมาะสม ตลอดจน ผลลพั ธส์ ดุ ทา้ ยท่ีต้องการดว้ ย 5. ลลัพ ์สดทายระดบั ยท าสตรท์ ต่ี องการ การปฏิบัติการระดับยุทธวิธีและการปฏิบัติการระดับยุทธการ จะถกู กำหนดขน้ึ เพ่อื สนับสนุนต่อผลลัพธส์ ุดทา้ ยทางยทุ ธศาสตร์ที่ตอ้ งการ หลักการสงคราม เป็นแนวทางในการทำสงครามระดับยุทธศาสตร์ ยทุ ธการ และยทุ ธวิธี ประกอบดว้ ย -ใช้เพือ่ การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นนั้ -

-ใชเ้ พ่ือการศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้นั - 23 1 หลักความม่งหมาย – การปฏิบัติทางทหารท้ังปวง ต้องมุ่ง ไปสู่เป้าหมายท่ีกำหนดไว้อย่างชัดเจน โดยเป็นเป้าหมายที่ให้ผลแตกหัก และสามารถบรรลไุ ด้ 2 หลักการรก – ชิงความริเริ่ม, รักษาความริเร่ิม, ขยายผลจาก ความริเรมิ่ 3 หลักการรวมกำลัง – รวมอำนาจกำลังรบ ณ ตำบล และ เวลาแตกหัก 4 หลักการออมกำลัง – ใช้อำนาจกำลังรบในด้านการ ปฏบิ ัตกิ ารรองนอ้ ยที่สดุ เทา่ ท่จี ำเปน็ 5 หลักการดำ นินกลยท ์ – ทำให้ข้าศึกตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ โดยการใชอ้ ำนาจกำลงั รบอยา่ งออ่ นตวั 6 อกภาพในการบังคับบั ชา – การมีเอกภาพในการปฏิบัติ ต่อทุก ๆ เปา้ หมาย ภายใตผ้ บู้ ังคับ-บัญชาทรี่ ับผดิ ชอบเพียงผูเ้ ดยี ว 7 การระวังปองกัน ละรกั ษาความปลอดภัย – จะต้องไม่ยอม ให้ขา้ ศกึ มคี วามได้เปรยี บโดยที่ไมค่ าดคิด 8 จ่โจม – โจมตี ขศ. ณ เวลา, ตำบลหรือรูปแบบท่ี ขศ. ไม่ เตรยี มการไว้ 9 ความง่าย – เตรียมแผนท่ีชัดเจน ไม่ยุ่งยาก และใช้คำส่ังท่ี ชัดเจน รดั กมุ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจอยา่ งถอ่ งแท้ 10 หลักการต่อส บ็ด สร็จ – การผสมผสานทรัพยากร ท่ีมี อยู่ เพื่อเอาชนะภยั คกุ คามทุกรปู แบบได้ตลอดหว้ งเวลาที่ต้องการ -ใชเ้ พอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่าน้ัน-

24 -ใช้เพื่อการศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ น้ัน- บทท่ี 5 การยท รว่ ม 1. การยท ร่วม เป็นการสนธิขีดความสามารถทั้งหมดของ กองทัพเข้าด้วยกันเม่ือจำเป็นต้องใช้กำลังทหารเข้าปฏิบัติการตั้งแต่สอง เหล่าทัพขึ้นไป เพื่อเสริมขีดความสามารถและคุณลักษณะของแต่ละเหล่า ทพั และลดจดุ อ่อนในบางเร่ืองลงเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางทหาร กอง กำลังรบร่วมทจ่ี ัดต้ังข้ึนจะมีฝา่ ยเสนาธิการร่วมเพื่อช่วยเหลือผู้บงั คับบัญชา ในการวางแผน การประมาณการ นอกจากนี้ยังได้จัดทำคำส่ังรวมท้ังการ กำกับดูแลการปฏิบัติในแต่ละข้ันตอน กำลังรบร่วมจะต้องปฏิบัติการอยู่ ภายใตว้ ตั ถปุ ระสงค์ทางทหารเดยี วกนั มิใชป่ ฏบิ ัติการโดยอสิ ระ การยทุ ธร่วม คอื .........การปฏิบัตกิ ารทางทหารของชาติเดยี วกันต้งั แต่สองเหล่าทพั ขึ้น ไปภายใต้การบังคับบัญชาของผู้บังคับบัญชาคนเดียวกัน กระทาการวาง แผนการยุทธร่วมกันโดยฝ่ ายเสนาธิการร่วมภายใน บก.เดียวกัน เพื่อ บรรลุวัตถุประสงค์ ทางทหารเดียวกัน โดยแต่ ละเหล่ าทัพใช้ ขีด ความสามารถพเิ ศษของตนเข้าปฏิบตั ิการร่วมและ/หรือให้การสนับสนุน ต่อกนั อย่างใกล้ชิด 2. บั ชาการกำลังรบร่วม เป็นผู้นำแผนการปฏิบัติการทาง บก ทางอากาศ ทางน้ำ และการปฏิบัติการพิเศษ มาใช้ให้สอดคล้องกัน -ใชเ้ พ่อื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้ัน-

-ใชเ้ พื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้ัน- 25 เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์ และทางยุทธการ ด้วยการ กำหนดแผนการทัพและการปฏิบัตกิ ารรว่ มที่สำคัญ ความมุ่งหมายคือการ เพ่ิมประสิทธิภาพกำลังรบร่วมทั้งหมด แต่มิได้หมายความว่าจะใช้กำลัง ทง้ั หมดทีม่ ีอยู่ หรือใช้กำลังของหนว่ ยตา่ ง ๆ ในสดั สว่ นที่เทา่ กัน ความสัมพัน ท์ างการบังคับบั ชาในการยท รว่ ม ในขอบเขต ของการยุทธร่วมมีทางเลือกหลายทางในการกำหนดความสมั พันธ์ทางการ บั ง คั บ บั ญ ช า ให้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ก า ร จั ด ห น่ ว ย แ ล ะ ส ถ า น ก า ร ณ์ ร ว ม ท้ั ง วตั ถปุ ระสงค์ทีต่ อ้ งการ 1 การควบคมทางยท การ Operational Control : OPCON เป็นการมอบหน่วยใดหน่วยหนึง่ ใหอ้ ยูใ่ นความควบคุมของอีก หน่วยหนง่ึ เพ่อื ให้มีอำนาจสงั่ การในการปฏิบัตภิ ารกิจตา่ ง ๆ ได้ หน่วย ควบคุมทางยทุ ธการไม่มคี วามรบั ผิดชอบและอำนาจหนา้ ทใี่ นเรอื่ งของการ สง่ กำลังบำรงุ ธุรการ วนิ ัย การจัดและการฝึกตอ่ หน่วยที่มาขน้ึ การควบคุม ทางยุทธการ 2 การควบคมทางยท วิ ี Tactical Control : TACON เป็นอำนาจการบังคับบญั ชาตอ่ กำลงั ทไ่ี ดร้ บั การแบง่ มอบหรือขนึ้ สมทบหรอื ต่อขีดความสามารถทางทหาร หรือกองกำลงั ท่พี รอ้ มปฏบิ ตั งิ านเฉพาะกจิ ซง่ึ อำนาจดงั กล่าวจะมีจำกัดเฉพาะและการสงั่ การระยะใกล้ (Local Direction) การควบคมุ การดำเนินกลยทุ ธ์ การเคล่ือนยา้ ย การดำเนินการ ยทุ ธท่ีจำเป็นเพื่อปฏิบตั ภิ ารกจิ ให้สำเร็จ การควบคมุ ทางยทุ ธวธิ สี ามารถใช้ โดยผู้บังคับบญั ชาทกุ ระดบั -ใช้เพ่อื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นนั้ -

26 -ใชเ้ พอื่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นัน้ - ตั้งแตผ่ บู้ ัญชาการรบลงไป การควบคมุ ทางยทุ ธวิธีไมร่ วมถึงอำนาจในการ จดั ทางธุรการและการสนับสนุนทางการส่งกำลงั บำรุง ซงึ่ ผบู้ ังคับบัญชา หน่วยตน้ สงั กดั ยังคงรับผดิ ชอบในเรื่องดังกล่าวอยนู่ อกจากจะมคี ำสั่งเปน็ อย่างอ่ืน 3 การสนบั สนนซง่ กนั ละกนั Mutual Support เป็นการ ปฏิบัติระหวา่ งหนว่ ย ความสัมพนั ธท์ างการสนบั สนนุ สามารถกำหนดขนึ้ โดยผ้บู งั คบั บัญชาของหนว่ ยเหนอื ระหว่างผ้บู งั คบั บญั ชาหนว่ ยรองสอง หนว่ ย เม่อื หนว่ ยใดหน่วยหนึ่งถูกกำหนดให้ชว่ ยเหลอื ป้องกันทำใหเ้ สร็จ ภารกจิ โดยสมบรู ณ์ หรอื ดำรงความตอ่ เน่อื งให้กับอีกหนว่ ยหน่ึง 4 การขนสมทบ Attach เป็นการมอบหน่วยหรือกำลังพล ให้กบั หน่วยหนึ่งเป็นการช่ัวคราว ผู้บงั คับบัญชาของหน่วยรบั การขน้ึ สมทบ จะควบคุมบงั คบั บัญชาหน่วยที่มาขึน้ สมทบเช่นเดยี วกับหน่วยในอัตราของ ตน โดยรับผดิ ชอบในดา้ นการส่งกำลังบำรุง ธุรการ การฝกึ การยทุ ธ เว้น การเลื่อน ลด ปลด ย้าย 5 การบรรจมอบ Assign เป็นมอบหน่วยหรือกำลังพลให้ไป อยใู่ นความควบคมุ ของอีกหน่วยหน่ึง ซึ่งการมอบดังกลา่ วจะเป็นการถาวร หรอื กึ่งถาวรก็ได้ หน่วยท่ีรับมอบจะควบคุมและดำเนินการต่อหน่วยหรือ กำลังพลทีม่ าบรรจุมอบใหเ้ ปน็ ไปตามพนั ธกิจหลกั สายการบังคับบั ชาของกองทัพไทย -ใช้เพื่อการศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ น้นั -

-ใช้เพอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้นั - 27 ก รป ั ก รรว งก งทั ท กรั ร ว ังง ะ ั ก รท ร รั รว ก รกระทรวงกล ก ง ั ก รก งทั ท ั ก รท งท ร ก งทั ก ก งทั ร ก งทั ก ว ร กร ร ปก ท ปก ทร ปก ท ก งก ลงั ะก รว -ใช้เพือ่ การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นั้น-

28 -ใช้เพ่อื การศึกษาใน สจว.สปท. เท่านั้น- ระดั ว รั ด ก ร ว งั ั ั งท รฐั บาล กระทรวงอนื่ กห. สมช. บท.บก.ทท. ปก.ทบ. ปก.ทร. ปก.ทอ. กกล. ทบ. กกล. ก.ร่วม กกล.ทร. กกล.ทอ. กาลงั ทางบก ชดวาง นรว่ ม ทอ. ชดวาง นรว่ ม ทร. กกล.ปพ.ร่วม กาลงั อ่ืน จากการบรรยายของ พ.อ.อภิศกั ดิ์ สมบัตเิ จรญิ นนท์ ยก.ทหาร รป บบของการวาง นการป ิบตั ิการร่วม การวาง นการป ิบตั กิ ารรว่ ม (Joint Operation Planning) การวาง นการทพั (Campaign Planning) การวาง นประ ีต การวาง น ชิ ส านการ ์วกิ ฤติ (Deliberate Planning) (Crisis Action Planning) นยท การ น นวความคิดในการยท นตามพนั กิจ นการทัพ คาสง่ั ยท การ (OPLAN) (CONPLAN) (Functional Plan) (Campaign) (OPORD) -ใชเ้ พ่อื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่าน้นั -

-ใชเ้ พ่อื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั - 29 ระบบการวาง น ละป ิบัติการรว่ ม การวาง นปาร ีต การ การ น พั นา ทบทวน สนับสนน การ การพั นา นรองรบั รม่ิ ตน นวความคิด นน วว ด ทธก ร ทธ ร ท แผน ขดี ความสามารถ ยทุ ธศาสตร์ร่วม การวาง น ชิ ส านการ ว์ ิกฤต การ การ การ การ การ การ พั นา ประ มิน พั นา ลอื ก วาง น ป ิบัติ ส านการ ์ ส านการ ์ หนทาง หนทาง ป ิบตั ิ การยท วกิ ฤต ป บิ ัติ ป บิ ัติ การยท สถานการณ์ ก รทั วิกฤต ัง ทธก ร -ใชเ้ พอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เท่านั้น-

30 -ใชเ้ พื่อการศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ น้นั - บทที่ 6 นท่ีทางทหาร 1. กล่าวนำ แผนทีน่ ับว่าเป็นข่าวสารที่สำคญั ย่งิ ในการปฏิบัติการทางทหาร ไม่ ว่าจะเป็นการวางแผนหรือการปฏิบัติการในภูมิประเทศจริง การอ่าน รายละเอียดท่ขี อบระวางของแผนที่ จดั ว่าเป็นเร่อื งที่สำคัญอย่างยง่ิ เพราะ การใช้แผน่ ท่ีได้อย่างถกู ต้องนนั้ ผู้ใช้จะต้องทราบรายละเอียดท่ีขอบระวาง เป็นอย่างดแี ละสามารถนำ ไปใช้ประกอบการอา่ นแผน่ ท่ีได้อย่างถกู ตอ้ ง 2. คำจำกัดความ ละความสำคั ของ นท่ี แผนทค่ี ือภาพเขียนลายเส้นท่ีกำหนดขึ้น แทนส่วนใดสว่ นหนึ่งของ ผวิ พิภพ ดว้ ยระบบการกรุยลงบนพ้ืนราบตามมาตราสว่ น ลกั ษณะที่มนุษย์ สร้างข้ึนหรือ ลักษณะของส่ิงท่ีอยู่ตามธรรมชาติ จะแสดงด้วยสัญลักษณ์ เส้น สี และรปู รา่ ง 3. ความสำคั ของ นท่ี แผนทจ่ี ะให้ข่าวสาร ข้อมลู เก่ยี วกับสิง่ ตา่ ง ๆ ดงั นี้.- 3.1 ตำบลทตี่ ้งั 3.2 ระยะทาง 3.3 ความสูง -ใช้เพื่อการศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นั้น-

-ใชเ้ พือ่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นัน้ - 31 3.4 เส้นทางที่ดที ีส่ ุด 3.5 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศที่สำคญั 3.6 การปกปิดและการซอ่ นเรน้ 4. การรกั ษา นท่ี เน่ืองจากแผนท่ีสว่ นมากพิมพ์ดว้ ยกระดาษ ดังน้ันผูใ้ ช้ตอ้ งใช้แผนที่ ด้วยความระมัดระวัง เพื่อให้มีอายุการใช้ได้นานๆ ในการใช้จึงต้องระวัง รักษาแผนท่ี อยา่ ใหแ้ ผนท่ถี กู น้าํ เพราะอาจฉีกขาดได้ง่าย ไม่ควรขีดเขียนใด ๆลงบนแผนที่ ควรจะขีดเขียนลงในแผ่นบริวารแล้วนำ มาวางทับบนแผนที่ แตถ่ ้าไม่สามารถหาแผน่ บริวารได้ จำเป็นต้องขีดเขียน ลงบนแผนที่จริง ๆ ต้องเขียนเบา ๆ พอมองเห็น และสามารถลบออกได้ งา่ ย 5. การ บ่งประ ภท นท่ี 5.1 บ่งตามมาตราส่วน ( SCALE ) 5.1.1 มาตราส่วน ล็ก ( SMALL SCALE ) ได้แก่ แผนท่ีมี มาตราส่วน 1: 600,000 และเล็กกว่า ใช้ในการวางแผนและการยุทธ โดยท่ัวไป และการศึกษายุทธศาสตร์ของหน่วยระดับสูง ๆ มาตราส่วน มาตรฐาน คือ 1 : 1,000,000 5.1.2 มาตราส่วนปานกลาง( MEDIUM SCALE ) ได้แก่ แผนทท่ี ่ีมีมาตราสว่ นใหญก่ ว่า 1 : 600,000 แต่เล็กกว่า 1 : 75 ,000 ใช้ในการวางแผนการยุทธรวมถึงการเคลื่อนย้าย การรวมกำ ลัง หน่วย ทหาร และยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ มาตราส่วนที่เป็นมาตรฐาน คือ 1 : 250,000 -ใช้เพอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่าน้ัน-

32 -ใช้เพ่อื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั - 5.1.3 มาตราส่วนให ่ ( LARGE SCALE ) ได้แก่ แผนท่ีมี มาตราส่วน 1 : 75,000 และใหญ่กว่า ใช้ในทางยุทธวิธี ทางเทคนิคและ ทางธุรการ ตามความต้องการของหน่วยต่าง ๆ ในสนาม มาตราส่วนที่เป็น มาตรฐาน คือ 1: 50,000 5.2 การ บง่ ตามลักษ ะของ นท่ี 5.1 นที่ บบ บน ( PLANIMETRIC MAP ) คือ แผนที่ ที่แสดงลักษณะทตี่ ้ังตา่ ง ๆ ในทางระดับ (ทางราบ) เท่านั้น 5.2 นท่ีภมิประ ท ( TOPOGRAPHIC MAP ) คือ แผนท่ีสองมิติท่ีแสดงลักษณะท่ีตั้งต่าง ๆ ในทางระดับ (ทางราบ) และ ในทางดง่ิ (ทางสงู ) 5.3 นที่ทรวดทรงพลาสติก ( PLASTIC RELIEF MAP ) คอื แผนท่ีภูมปิ ระเทศทีพ่ ิมพ์ลงบนแผ่นพลาสติก แล้วตัดใหน้ ูนขน้ึ มาเป็นรูป สามมิติ 5.4 น่ ท่ีภาพ ่ายขาวดำ ( PHOTOMAP ) คอื ผลผลิตที่ ทำ จากภาพถ่ายทางอากาศหลาย ๆ ภาพ แล้วทำให้มีเส้นตาราง กริด มาตรา ส่วน รายละเอียดท่ีขอบระวาง และอาจมีเส้นแบ่งการปกครองไว้ ด้วยก็ได้ 5.5 น ที่ภาพ ่ายทรวดทรงพ ลาสติก ( PLASTIC RELIEF PHOTOMAP ) คือ แผนที่ภาพถ่ายซ่ึงพิมพ์ลงบนแผ่นพลาสติก แล้วอดั ใหน้ ูนขึน้ มาเปน็ รปู สามมติ ิ 5.6 นท่ีภาพ ่าย ( PHOTOMOSAIC ) คือ ผลิตผลท่ีทำ จากภาพถ่ายหลาย ๆ ภาพมาผสมเป็นเพียงแผ่นเดียวแตไ่ ม่มรี ายละเอียดท่ี ขอบระวางบนแผนท่ีภาพถ่าย -ใช้เพอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เท่าน้ัน-

-ใชเ้ พื่อการศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านนั้ - 33 5.7 นท่ีภาพ ่ายสี ( COLOUR PHOTOMAP ) คือ แผนที่ภาพถ่ายท่ีแก้ไขเพิ่มเติมให้มีสีเพื่อเน้นถึงความชัดเจนในลักษณะ ความสงู 5.8 น ั ง ก า ร ร บ ร่ ว ม ( JOINT OPERATIONS GRAPHICS ) คือ แผนท่ีทางทหารที่พิมพ์รายละเอียดท้ังทางพื้นดิน และทางอากาศ เพื่อการร่วมรบ ( ทางพ้ืนดินพิมพ์ระยะเป็นเมตร ทาง อากาศพมิ พ์ระยะเป็นฟตุ ) 5.9 นท่ี ัง มืองทางทหาร ( MILITARY CITY MAP ) คือ แผนทท่ี ี่แสดงถึงลักษณะท่ีต้ังเมอื ง ซึ่งมีมาตราส่วนใหญ่ ปกติใช้ 1 : 25 ,000 5.10 นที่พิ ษ ( SPECIAL MAP ) คือ แผนที่ที่ทำ ขึ้น เพ่ือความมุ่งหมายพิเศษ เช่น แผนที่จราจร การขนส่ง และแสดงเส้นแบ่ง เขต 5.11 บบจำ ลองภมิประ ท ( TERRAIN MODEL ) คือ ภาพจำ ลองภูมิประเทศที่ทำ เป็นรูปสามมิติ ซ่ึงจำ ลองแบบของภูมิ ประเทศออกมาดว้ ย ปูนพลาสเตอร์ ยาง หรอื วัสดุอื่น ๆ 6. สที ่ีใชกบั นท่ี 6.1 สดี ำ ( BLACK ) ใช้กับลกั ษณะภูมิประเทศท่ีสำ คัญทาง วัฒนธรรมหรือท่ีมนษุ ยส์ รา้ งขน้ึ 6.2 สีนา งิน ( BLUE )ใช้กับลักษณะภูมิประเทศที่เป็นน้ํา เช่นทะเลสาป แมน่ ํา้ และหนองบึง 6.3 สี ขียว ( GREEN ) ใช้กับพืชพันธ์ไม้ต่าง ๆ เช่น ป่า สวน และไร่ -ใชเ้ พอื่ การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นัน้ -

34 -ใช้เพอื่ การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้นั - 6.4 สีนาตาล ( BROWN ) ใช้กับลักษณะของภูมิประเทศที่ เป็นทรวงทรงทั้งหมด เช่น เสน้ ชน้ั ความสูง 6.5 สี ดง ( RED ) ใช้กับถนนสายหลัก พื้นท่ีที่มีการ กอ่ สร้างหนาแนน่ และลกั ษณะพิเศษตา่ ง ๆ 6.6 สีอื่น ( OTHER COLORS ) ในบางครั้งอาจใช้สีอื่น ๆ แสดงข่าวสารพิเศษ ตามหลกั การ แลว้ การใช้สอี ืน่ ๆ นตี้ ้องแสดงรายละเอียดไว้ที่ขอบของระวางด้วย บทท่ี 7 ทคนคิ การ ขยี น น่ บรวิ าร 1. กลา่ วนำ \"แผ่นบริวาร\" หรือ \" แผ่นทาบ\" หมายถึงแผ่นวัสดุใสที่ใช้แสดง ข้อมูลหรือข่าวพิเศษและจะมีสภาพ เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและ สถานการณ์ แผ่นบริวารจะตอ้ งใช้แผนท่ีหรือรปู ถ่ายทางอากาศเปน็ พื้นฐาน -ใช้เพอื่ การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นนั้ -

-ใช้เพื่อการศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั - 35 สำหรับอ้างอิง และจะต้องมีมาตราส่วนเท่ากับแผนท่ี หรือรูปถ่ายทาง อากาศท่ใี ชเ้ ป็นพื้นฐานนน้ั ด้วย เมื่อวางแผน่ บริวารทาบลงบนแผนที่หรือรูป ถ่ายทางอากาศท่ีใช้เป็นพื้นฐาน รายละเอียดบนแผ่นบริวารจะต้องมี ตำแหน่งตรงกับตำแหน่งจริงบนแผนที่หรือรูปถ่ายทางอากาศท่ีใช้เป็น พ้ืนฐาน การคิดแผ่นบริวารขึ้นใช้ก็เพ่ือ ประหยัดแผนท่ีหรือรูปถ่ายทาง อากาศ ซึ่งผลิตยากและมีราคาแพงแต่ท่ีสำคัญก็คือการจะแสดงข่าวสาร หรือ ข้อมูลพิเศษลงในแผนท่ีหรือรปู ถา่ ยทางอากาศซงึ่ มขี ่าวสารและข้อมูล เดมิ มากอยแู่ ล้ว ทำใหส้ บั สนยุ่งเหยงิ ยากแก่การอา่ นและทำความเข้าใจ 2. น่ บรวิ ารคอื อะไร แผ่นบรวิ ารคอื เอกสารท่ีใช้ประกอบแผนทห่ี รอื รูปถา่ ยทางอากาศ ลักษณะเป็นกระดาษแก้วหรือวัสดุโปร่งใสอย่างอื่นๆ เช่นแผ่นอาซีเตท ซึ่งใช้แสดงข้อมูลข่าวสารหรือสถานการณ์ท่ีไม่มีในแผนท่ีลงในประกอบ รายงาน ยงั ผลให้ผู้ใชเ้ ขา้ ใจความหมายของรายงานดยี งิ่ ข้ึน 3. ประโยชน์ของ ่นบรวิ าร 3.1 ใช้เป็นเอกสารประกอบคำส่ังและแผนยุทธการ เพ่ือแสดง ขา่ วสารและข้อมูลท่ีเกี่ยวกับการปฏิบัติการทางทหารแสดงที่ต้ังและความ เคลื่อนไหวของกำลังท้งั ของฝา่ ยขา้ ศกึ และฝา่ ยเรา 3.2 เป็นเอกสารประกอบคำสั่งที่จะช่วยให้หน่วยปฏิบัติ สามารถ เขา้ ใจคำสงั่ ได้ถอ่ งแทแ้ ละชดั เจนยงิ่ ขนึ้ 3.3 เป็นเอกสารประกอบรายงานเป็นเร่ืองราวหรือสถานการณ์ท่ี ยากจะบรรยายใหเ้ ข้าใจดว้ ยรายลักษณ์อกั ษรได้ -ใช้เพ่อื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั -

36 -ใชเ้ พอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั - 3.4 ไม่เปลืองแผนท่ี เพราะไม่ต้องเขียนอะไรยุ่งเลอะเทอะในแผน ทต่ี น้ ฉบับซ้าอย่เู รื่อย ๆ จึงสามารถใชแ้ ทนที่ตน้ ฉบบั ในกิจการอย่างอน่ื ๆ ได้ อีกนาน 3.5 ไมเ่ สยี เวลาคดั ลอกแผนท่ีหลายฉบบั ถ้าจะใชแ้ ผ่นบริวารหลาย ฉบับการคัดลอกแผ่นบริวารทำได้ง่ายและรวดเร็วกว่าการคัดลอกแผนท่ี มาก 3.6 สามารถแยกเร่ืองที่ต่างกิจการกันออกมาเป็นแผ่นบริวาร หลายๆ แผ่นเพ่ือใช้ตามความมุ่งหมายต่างๆ โดยใช้แผนที่ฉบับเดียวก็ได้ เช่น แผ่นที่ 1 แสดงการเคลือ่ นที่ แผ่นที่ 2 แสดงทีห่ มายท่จี ะเข้าตีและยึด แผน่ ท่ี 3 แสดงท่ีตั้งอาวธุ หนกั ตา่ งๆ 3.7 การรักษาความลับ กระทำได้ดีเพราะแผ่นบริวารไม่ปรากฏ รายละเอียดมากนกั หากแผ่นบรวิ ารน้นั ๆ ตกไปถงึ มือขา้ ศกึ ดว้ ยประการใดก็ ตาม ถ้าไมม่ ีแผนทม่ี าประกอบกับแผ่นบรวิ ารนัน้ ๆ การพจิ ารณาใชห้ ลักฐาน ในแผ่นบริวารนั้นให้เป็นประโยชนย์ ่อมทำไดย้ ากและไม่ถกู ต้องแน่นอน 4. คร่ืองหมายท่ีใช สดงบน น่ บริวาร แบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท คอื สี และสญั ลักษณ์ 4.1 สีท่ใี ช ขียนสั ลกั ษ ท์ างทหาร มี 5 สี คอื 4.1.1 สีทใี่ ชเ้ ขียนสญั ลักษณท์ างทหารมี 5 สี คือ สีน้ำเงิน ใช้แทนที่ตั้งกำลังและกิจกรรมของฝ่ายเรา และ ใช้แรเงาการยงิ ป.หรอื ค. ของฝา่ ยเรา สแี ดง ใช้แทนที่ต้ังกำลังและกิจกรรมของฝ่ายข้าศึก และ ใชแ้ รเงาการยิง ป.หรอื ค. ของฝ่ายข้าศึก -ใชเ้ พ่อื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ น้นั -

-ใช้เพ่อื การศึกษาใน สจว.สปท. เท่านั้น- 37 สีเขยี ว ใช้แสดงแทนพ้ืนท่ีดงระเบิด, เคร่ืองกีดขวาง, การ ทำลายสิ่งปรักหักพังทั้งของฝ่ายเราและฝ่ายข้าศึกถ้าใช้สีอ่ืนเขียนจะต้อง อธิบายไวท้ ข่ี องระวางของแผ่นบริวารนนั้ ๆ สีเหลือง ใช้เขียนแทนพ้ืนท่ีเป็นพิษจากการปฏิบัติการ ปฏบิ ัติทางสงคราม คชร. ท้ังฝ่ายเราและฝ่ายขา้ ศึก (C B R. = CHEMICAL, BIOLOGICAL,RADIOLGICAL CONTAMINATION) สีดำ ใช้ในกรณีท่ีไม่มีสีน้ำเงินและสีแดง ให้ใช้สีดำเส้น เดียวแทนที่ตง้ั กำลังและกิจกรรมของฝา่ ยเรา และเสน้ สีดำสองเสน้ แทนทตี่ ้ัง กำลังและกิจกรรมของฝ่ายข้าศกึ 4.1.2 สีท่ใี ช ขียนสั ลกั ษ ท์ างภมิ าสตร์ มี 5 สี คือ สีน้ำเงิน ใช้แทนแม่น้ำลำธาร,แหล่งน้ำ,พ้ืนที่ขังน้ำท้ังที่ เกิดขน้ึ ตามธรรมชาติ และท่มี นุษย์ทำขนึ้ สีแดง ใชแ้ ทนถนนเสน้ ใหญ่ๆ สีเขียว ใช้แทนบริเวณท่ีเป็นป่าไม้, พ้ืนที่เพราะปลูกพืช พนั ธธ์ุ ัญญาหาร สีน้ำตาล ใช้แทนพื้นที่ท่ีมีความสูง บริเวณท่ีเป็นเนินหรือ ภูเขา สีดำ ใช้แทนสิ่งที่มนุษย์สร้างข้ึน เชน่ หมู่บา้ น ทางรถไฟ ฯ 4.2 สญั ลักษณ์ จะช่วยแสดงรายการต่างๆ อย่างถูกตอ้ งที่เก่ียวกับ การปฏบิ ตั ิการทางทหาร การเขยี นควรพยายามใช้สญั ลักษณ์ทเ่ี ราทราบกัน อยู่แล้วโดย ท่ัวๆไป ถ้าเป็นสัญลักษณ์ท่ีเขียนข้ึนเพื่อใช้ของเราเอง จะต้อง ทำหลกั ฐานใหค้ ำอธิบายความหมายไวด้ ว้ ยทุกคร้ัง -ใชเ้ พอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เท่านนั้ -

38 -ใช้เพอื่ การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้ัน- บทที่ 8 สั ลกั ษ ์ทางทหาร คำจำกัดความ : เปนสัญลักษณทางทหารอยางหนึ่ง ประกอบ ดวย แผนผัง, ตัวเลข, ตัวอักษร, คำยอ, สีหรือส่ิงที่กลาวมาแลวผสมกัน เพื่อ แสดงถึงหนวยทหาร – กำลงั – ท่ีตั้ง – กิจกรรมใดๆ อันเกี่ยวกับกิจกรรม ของทหาร สั ลักษ ทางทหาร : ควรเขียนเก่ียวกับปฏิบัติการทางทหาร พยายาม ใชเครื่องหมายท่ีทราบกันดีอยแู ลว โดยทั่วไปสัญลักษณที่เขยี นข้ึนเพ่ือใช เอง จะตองมคี ำอธิบาย ความหมายไวดวยทกุ ครั้ง หลกั นยิ ม ในการเขยี นสัญลักษณทางทหารที่ดคี อื • ใหมคี วามงาย • เปนแบบเดียวกนั • มีความชดั เจน การใชสั ลักษ ทางทหาร : ปกตจิ ะใชเขียนกับ ส่ิงตอไปนี้ • แผนท่ีสถานการณ์ • แผนท่ีสงั เขป และแผนบริวาร • ภาพถายทางอากาศ • แผนผงั การจดั กำลงั -ใช้เพอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นัน้ -

-ใช้เพือ่ การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้ัน- 39 สั ลักษ ทางทหาร จะไมเกดิ คุณประโยชนเลย หากมรี ายละเอียดปลกี ย อยทไ่ี มจำเปนมาแทรก หรือยุงเหยิงมากเกินไป องคป์ ระกอบของสั ลกั ษ ท์ หาร 1. สั ลักษ ์หลัก 2. สั ลักษ ์ขนาดหน่วย 3. สั ลกั ษ ์ หลา่ -ใชเ้ พื่อการศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่าน้ัน-

40 -ใช้เพือ่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านัน้ - 4. ตำบลส่งกำลัง ละกิจกรรมอื่น @ หลกั การประกอบสั ลกั ษ ์ @ - ังการประกอบสั ลักษ ์ -ใชเ้ พอ่ื การศึกษาใน สจว.สขปนทา.ดเทหา่นนว่ ั้นย-

-ใช้เพื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เท่าน้นั - 41 หนว่ ยท่ีระบุถึง สัญลกั ษณ์เหล่า อาวธุ ประจำ หน่วยเหนือ หรอื อกั ษร หน่วย - หลักท่ัวไปในการประกอบสั ลกั ษ ์ หนว่ ยท่ีระบ ง : หน่วยเล็กทส่ี ุดท่ตี อ้ งเขยี น ขนาดหน่วย : แสดงขนาดของหนว่ ยทรี่ ะบุถึง สั ลกั ษ ์ หลา่ อกั ษร : แสดงเหลา่ ของหนว่ ยทรี่ ะบุถึง (ถ้าไม่มีใหใ้ ชอ้ กั ษรยอ่ แทน) อาว ประจำหนว่ ย : สำหรับหนว่ ยท่มี ีอาวุธประจำหนว่ ยเทา่ น้นั หนว่ ย หนอื : หน่วยบังคับบัญชาตามลำดบั ของหน่วยท่ีระบุถงึ - กร ีท่ีหน่วย หนือไม่ ป็นไปตามลำดบั ขันของหน่วยที่ระบ ง : ให้เขยี น สัญลักษณ์ “ขนาดหน่วย” ไวส้ ่วนบนของ “ตัวเลขหนว่ ย” น้ันด้วย - กร ีที่ตอง ขียนหน่วยหน่งหน่วยใด พียงหน่วย ดียวโดยไม่ตอง ขียน หนว่ ย หนอื : ใหเ้ ขยี นหนว่ ยนน้ั ไว้ “ทางขวา” ของสัญลักษณ์หนว่ ยทหาร -ใช้เพื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้นั -

42 -ใช้เพ่ือการศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้นั - ตวั อยา่ งสั ลักษ ์ทางทหาร 1.สั ลกั ษ ์อาว 2.สั ลกั ษ ห์ น่วยทหาร -ใชเ้ พ่ือการศึกษาใน สจว.สปท. เท่านั้น-

-ใชเ้ พอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นั้น- 43 3.สั ลกั ษ ์ท่ีตงั กิจการ 4.สั ลกั ษ ป์ อมสนาม -ใชเ้ พ่ือการศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั -

44 -ใช้เพ่อื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นนั้ - 5.สั ลักษ ์สนามท่นระ บิด 6.สั ลกั ษ ์ท่นระ บดิ สั ลักษ ์ ความหมาย ทุ่นระเบิดไม่ทราบชนิด ทุ่นระเบดิ สังหาร(เมือ่ ถูกแลว้ ทำใหไ้ รส้ มรรถภาพ) ทุ่นระเบิดดักรถถัง ทุ่นระเบดิ ดกั รถถังแบบกับระเบิด -ใชเ้ พ่อื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านนั้ -

-ใชเ้ พือ่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านั้น- 45 ทุ่นระเบดิ ดกั รถถังแบบ 2 ทุ่น ทุ่นระเบดิ ดกั รถถังแบบ 2 ทุ่นและกับระเบิด กบั ระเบดิ ทุ่นระเบดิ สงั หารโยงตอ่ ลวดสะดุด แนวทุ่นระเบิดดกั รถถัง แนวทุ่นระเบิดสงั หาร แนวทุ่นระเบดิ ดกั รถถงั ผสมทุ่นระเบดิ สังหาร ชดุ กลุ่มทุ่นระเบดิ -ใช้เพื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เท่าน้นั -

46 -ใชเ้ พือ่ การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นั้น- 7.สั ลกั ษ ์ ครอ่ื งกีดขวาง -ใช้เพือ่ การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้ัน-

-ใช้เพือ่ การศึกษาใน สจว.สปท. เท่านน้ั - 47 บทท่ี 9 คร่ืองหมายย ทหาร -ใชเ้ พือ่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านั้น-

48 -ใชเ้ พ่ือการศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่าน้ัน- -ใช้เพื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เท่านั้น-

-ใช้เพื่อการศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั - 49 -ใชเ้ พ่ือการศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นั้น-

50 -ใช้เพ่ือการศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นนั้ - บทท่ี 10 สลก.ทบ. คำย่อ กพ.ทบ. ขว.ทบ. (โดยสงั เขป) ยก.ทบ. คำยอ่ หนว่ ยทหาร กบ.ทบ. กองทัพบก กร.ทบ. สปช.ทบ. ส่วนบั ชาการ าย สนา กิ าร สำนกั งานเลขานกุ ารกองทพั บก กำลังพลทหารบก กรมขา่ วทหารบก กรมยุทธการทหารบก กรมส่งกำลงั บำรงุ ทหารบก กรมกจิ การพลเรือนทหารบก สำนกั งานปลดั บญั ชกี องทัพบก ส่วนบั ชาการ ายกิจการพิ ษ สบ.ทบ. กรมสารบรรณทหารบก กง.ทบ. กรมการเงินทหารบก สห.ทบ. กรมการสารวตั รทหารบก จบ. กรมจเรทหารบก สก.ทบ. กรมสวสั ดิการทหารบก นรด. หนว่ ยบญั ชาการรักษาดินแดน สวพ.ทบ. สำนกั งานวจิ ัยและพฒั นาการทางทหารกองทพั บก สตน.ทบ. สำนกั งานตรวจสอบภายในทหารบก -ใชเ้ พ่ือการศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ น้ัน-

-ใชเ้ พ่อื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นั้น- 51 ส่วนกำลงั รบ ทภ.1 กองทัพภาคที่ 1 ทภ.2 กองทัพภาคที่ 2 ทภ.3 กองทัพภาคที่ 3 ทภ.4 กองทัพภาคที่ 4 นสศ. หนว่ ยบัญชาการสงครามพิเศษ นปอ. ส่วนสนบั สนนการรบ พล.ป. หน่วยบัญชาการปอ้ งกันภยั ทางอากาศ พล.ช. กองพลทหารปนื ใหญ่ ช.พนั .51 กองพลทหารช่าง ส.1 กองพนั ทหารชา่ งที่ 51 พัน.บ. กรมทหารส่อื สารท่ี 1 ขกท. กองพนั บิน หน่วยข่าวกรองทหาร ส่วนส่งกำลังบำรง กรมการทหารช่าง กช. กรมการทหารสื่อสาร สส. กรมสรรพวธุ ทหารบก สพ.ทบ. กรมพลาธิการทหารบก พธ.ทบ. กรมแพทย์ทหารบก พบ. กรมการขนสง่ ทหารบก ขส.ทบ. กรมยุทธโยธาทหารบก ยย.ทบ. กรมการสัตวท์ หารบก กส.ทบ. กรมวทิ ยาศาสตร์ทหารบก วศ.ทบ. -ใช้เพ่ือการศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั -

52 -ใชเ้ พอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นนั้ - • ส่วนภมภิ าค มทบ.11 • มณฑลทหารบกท่ี 11 มทบ.12 • มณฑลทหารบกที่ 12 มทบ.13 • มณฑลทหารบกที่ 13 มทบ.14 • มณฑลทหารบกท่ี 14 มทบ.15 • มณฑลทหารบกท่ี 15 มทบ.21 • มณฑลทหารบกท่ี 21 มทบ.22 • มณฑลทหารบกที่ 22 มทบ.23 • มณฑลทหารบกที่ 23 มทบ.24 • มณฑลทหารบกท่ี 24 มทบ.31 • มณฑลทหารบกที่ 31 มทบ.32 • มณฑลทหารบกท่ี 32 มทบ.33 • มณฑลทหารบกท่ี 33 มทบ.41 • มณฑลทหารบกที่ 41 มทบ.42 • มณฑลทหารบกที่ 42 • • ยศ.ทบ. รร.จปร. สว่ นการ กษา วพม. กรมยุทธศกึ ษาทหารบก รร.นส.ทบ. โรงเรยี นนายรอ้ ยพระจลุ จอมเกลา้ ศบบ. วิทยาลยั แพทยศาสตรพ์ ระมงกุฎเกล้า ศสพ. โรงเรียนนายสบิ ทหารบก ศนู ยก์ ารบนิ ทหารบก ศนู ย์สงครามพิเศษ -ใชเ้ พือ่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นั้น-

-ใชเ้ พอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นัน้ - 53 สว่ นช่วยการพั นาประ ท พล.พฒั นา 1 กองพลพฒั นาที่ 1 พล.พฒั นา 2 กองพลพัฒนาท่ี 2 พล.พัฒนา 3 กองพลพัฒนาท่ี 3 พล.พฒั นา 4 กองพลพฒั นาที่ 4 พล.ช. กองพลทหารชา่ ง กองทัพ รือ สว่ นบั ชาการ • สำนกั งานเลขานกุ ารกองทัพเรอื สลก.ทร. • กรมสารบรรณทหารเรอื สบ.ทร. • กรมกำลังพลทหารเรอื กพ.ทร. • กรมข่าวทหารเรือ ขว.ทร. • กรมยทุ ธการทหารเรือ ยก.ทร. • กรมสง่ กำลงั บำรงุ ทหารเรอื กบ.ทร. • กรมการสือ่ สารและเทคโนโลยสี ารสนเทศทหารเรอื สสท.ทร. • กรมกจิ การพลเรอื นทหารเรือ กพร.ทร. • สำนกั งานปลัดบัญชีทหารเรอื สปช.ทร. • กรมการเงนิ ทหารเรือ กง.ทร. • กรมจเรทหารเรอื จร.ทร. • สำนักงานตรวจสอบภายในทหารเรอื สตน.ทร. • สำนกั งานพระธรรมนูญทหารเรอื สธน.ทร. • ส่วนกำลงั รบ กองเรอื ยทุ ธการ -ใช้เพ่ือการศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นก้ันร-.

54 -ใช้เพ่อื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั - กองเรอื บรรทุกเฮลคิ อปเตอร์ กบฮ. กองเรือฟรเิ กตท่ี 1 กฟ.1 กองเรอื ฟริเกตท่ี 2 กฟ.2 กองเรือฟริเกตที่ 3 กฟ.3 กองเรอื ฟรเิ กตที่ 4 กฟ.4 กองเรือตรวจอา่ ว กตอ. กองเรือยามฝง่ั กยฝ. กองเรือลำน้ำ กลน. กองเรือทนุ่ ระเบิด กทบ. สำนักงานกองเรือดำนำ้ สกด. กองการบินทหารเรือ กบร. หนว่ ยบญั ชาการสงครามพเิ ศษทางเรอื นสร. ทพั เรือภาคที่ 1 ทรภ.1 ทัพเรอื ภาคท่ี 2 ทรภ.2 ทัพเรอื ภาคท่ี 3 ทรภ.3 หนว่ ยบัญชาการนาวกิ โยธนิ นย. หนว่ ยบญั ชาการตอ่ สู้อากาศยานและรักษาฝ่ัง สอ.รฝ. ฐานทัพเรอื สตั หบี ฐท.สส. ฐานทพั เรือกรุงเทพ ฐท.กท. กรมสารวัตรทหารเรอื สห.ทร. สว่ นยท บรกิ าร กรมอู่ทหารเรอื อร. กรมอิเลก็ ทรอนิกส์ทหารเรือ อล.ทร. กรมชา่ งโยธาทหารเรอื ชย.ทร. กรมสรรพาวุธทหารเรือ สพ.ทร. กรมพลาธิการทหารเรอื พธ.ทร. -ใช้เพื่อการศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั -

-ใชเ้ พื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นัน้ - 55 กรมแพทย์ทหารเรือ พร. กรมการขนส่งทหารเรือ ขส.ทร. กรมอุทกศาสตร์ อศ. กรมสวสั ดกิ ารทหารเรือ สก.ทร. กรมวิทยาศาสตร์ทหารเรือ วศ.ทร. สว่ นการ กษาวิจัย ยศ.ทร. กรมยทุ ธศกึ ษาทหารเรอื วทร. วิทยาลยั การทพั เรอื รร.สธ.ทร. โรงเรยี นเสนาธิการทหารเรือ ศยร. ศูนยศ์ ึกษายทุ ธศาสตร์ทหารเรอื รร.นร. โรงเรียนนายเรอื สวพ.ทร. สำนักงานวิจยั และพัฒนาการทางทหารกองทัพเรอื ผนน. กองทัพอากา ศบพ. ศฮพ. กองบัญชาการกองทัพอากาศ ศกอ. แผนกสนับสนุนกองบญั ชาการกองทัพอากาศ สพร.ทอ. ศูนย์อำนวยการเคร่อื งบินพระราชพาหนะ ศนู ยอ์ ำนวยการเฮลคิ อปเตอร์พระราชพาหนะ ศนู ย์การสงครามทางอากาศ สำนักงานพฒั นาระบบราชการกองทัพอากาศ ส่วนบั ชาการ สลก.ทอ. สำนกั งานเลขานกุ ารกองทัพอากาศ กรมสารบรรณทหารอากาศ สบ.ทอ. กรมกำลังพลทหารอากาศ กพ.ทอ. กรมขา่ วทหารอากาศ ขว.ทอ. -ใชเ้ พอ่ื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั -

56 -ใชเ้ พื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เท่าน้นั - กรมยทุ ธการทหารอากาศ ยก.ทอ. กรมส่งกำลงั บำรงุ ทหารอากาศ กบ.ทอ. กรมกิจการพลเรอื นทหารอากาศ กร.ทอ. ทสส.ทอ. กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารทหารอากาศ สปช.ทอ. สำนกั งานปลดั บัญชีทหารอากาศ กง.ทอ. กรมการเงนิ ทหารอากาศ จร.ทอ. กรมจเรทหารอากาศ สตน.ทอ. สำนกั งานตรวจสอบภายในทหารอากาศ สนภ.ทอ. สำนักงานนริ ภัยทหารอากาศ สธน.ทอ. สำนักงานพระธรรมนญู ทหารอากาศ ส่วนกำลังรบ บน.1 กองบนิ 1 นครราชสมี า บน.2 กองบนิ 2 ลพบรุ ี บน.4 กองบิน 4 ตาคลี บน.5 กองบนิ 5 ประจวบครี ขี นั ธ์ บน.6 กองบิน 6 ดอนเมือง บน.7 กองบิน 7 สรุ าษฏรธ์ านี บน.21 กองบิน 21 อบุ ลราชธานี บน.23 กองบิน 23 อดุ รธานี บน.41 กองบนิ 41 เชยี งใหม่ บน.46 กองบนิ 46 พิษณโุ ลก บน.56 กองบนิ 56 หาดใหญ่ รร.การบนิ โรงเรียนการบนิ กำแพงแสน คปอ. กรมควบคุมการปฏบิ ัตทิ างอากาศ อย. หน่วยบญั ชาการอากาศโยธิน -ใชเ้ พอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นัน้ -

-ใชเ้ พื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั - 57 ส่วนส่งกำลังบำรง ชอ. กรมชา่ งอากาศ สอ.ทอ. กรมส่อื สารอเิ ลก็ ทรอนิกสท์ หารอากาศ สพ.ทอ กรมสรรพาวธุ ทหารอากาศ พอ. กรมแพทยท์ หารอากาศ พธ.ทอ. กรมพลาธิการทหารอากาศ ชย.ทอ. กรมช่างโยธาทหารอากาศ ขส.ทอ. กรมขนส่งทหารอากาศ ส่วนการ กษา ยศ.ทอ. กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ รร.นอ. โรงเรียนนายเรืออากาศ สว่ นกิจการพิ ษ ศนู ย์วจิ ยั พัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการบนิ และ อวกาศกองทัพอากาศ ศวอ.ทอ. กรมสวสั ดิการทหารอากาศ สก.ทอ. สำนักงานผู้บังคบั ทหารอากาศดอนเมือง สน.ผบ.ดม. สถาบันเวชศาสตร์การบินกองทัพอากาศ สวบ.ทอ. คำยอ่ ทางทหาร -ใช้เพื่อการศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่าน้ัน-

58 -ใช้เพ่อื การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นั้น- กกล.ฉก.รว่ ม/ผสม กองกำลงั เฉพาะกจิ ร่วมและผสม กขญ. กองทหารขนาดใหญ่ กทท. กำลังทดแทน กบ. การส่งกำลงั บำรุง กยล. กำลังทางยทุ ธวธิ ีปฏบิ ัตกิ ารในพ้ืนทสี่ ว่ นหลงั กร. กิจการพลเรือน กรม สน. กรมสนับสนุน กรม สน.สย.1 กรมสนบั สนนุ สว่ นแยกท่ี 1 ขกท. ขา่ วกรองทางทหาร ขนพร./ขนม. ขอบหน้าพื้นทกี่ ารรบ, ขอบหน้าทม่ี ั่น ขศ. ขา้ ศกึ ค. เครอ่ื งยิงลูกระเบดิ ค.ปลย. เครื่องยงิ ลูกระเบิดจากปนื เลก็ ยาว ค.หนัก เคร่ืองยิงลูกระเบิดขนาดหนกั คกข. เครื่องกดี ขวาง คจตถ. เคร่อื งยิงจรวดต่อสูร้ ถถงั คทอ. การเคลอ่ื นทท่ี างอากาศ คสห. ควบคุมความเสียหายเปน็ พืน้ ท่ี จย. จดุ แยก จล. จุดอ้างหลักฐานการยงิ จลก. จรวดหลายลำกลอ้ ง จลย. จำลองยุทธ จอ. จุดอ้าง ชคอย. ชุดควบคุมอากาศยุทธวธิ ี ชผคน. ชดุ ผู้ควบคุมอากาศยานส่วนหนา้ -ใชเ้ พอื่ การศึกษาใน สจว.สปท. เท่าน้นั -

-ใชเ้ พือ่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เทา่ นน้ั - 59 ชร. – พย. ชว่ ยส่วนรวม – เพม่ิ เตมิ กำลังยงิ ชศ. เชลยศกึ ท่ีฝา่ ยเราจับได้ ซบร. การซ่อมบำรุง ฐปร. ฐานปฏบิ ัตกิ ารรบพเิ ศษสำรอง ฐปรน. ฐานปฏบิ ตั ิการรบพเิ ศษหน้า ฐปรพ. ฐานปฏบิ ตั กิ ารรบพิเศษ ฐปรพ.ผสม ฐานปฏบิ ตั ิการรบพิเศษผสม ฐปรย. ฐานปฏิบตั ิการรบพเิ ศษแยก ดกย. ดำเนินกลยุทธ ตข. การตอ่ ต้านข่าวกรอง ตขอ. ความตอ้ งการขา่ วกรองอน่ื ๆ ตจ. ตำบลจา่ ย ตถ. ต่อสรู้ ถถงั ตส. ตำบลส่งกำลัง ตสข. การเตรยี มสนามรบดา้ นการขา่ ว ถ.เบา, ถ.หลกั รถถังเบา, รถถังหลกั ทก.หลัก ทบี่ งั คับการ/ท่ีบญั ชาการหลกั ทกร. ทำเนยี บกำลังรบ ทตย. ที่ตง้ั ยิง ทบ.ยธบ. กองทัพบกยทุ ธบริเวณ ทม. ทห่ี มาย ทรพ. ทร่ี วมพล นกฝ. แนวหน้าการวางกำลังทหารฝ่ายเดยี วกนั นข. แนวขน้ั นคอ. แนวทางเคล่ือนที่ทางอากาศ -ใช้เพื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เท่านน้ั -

60 -ใชเ้ พ่ือการศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่าน้นั - นจย. แนวจำกัดการยงิ นจร. แนวจำกดั การรุก นชค. นวิ เคลยี ร์, ชวี ภาพ, เคมี นต./นป. แนวออกตี คอื แนวปะทะ นตต. นายทหารตดิ ต่อ นทค. แนวทางการเคลอื่ นที่ นทล. หนว่ ยทหารขนาดเลก็ นปย. แนวประสานการยิง นปยส. แนวประสานการยิงสนบั สนุน นปส. คำแนะนำการปฏิบตั กิ ารสือ่ สาร นปสอ. คำแนะนำการปฏิบตั ิการสือ่ สาร – อิเลก็ ทรอนิกส์ นยส. แนวยิงสนับสนุน นสป. คำแนะนำการปฏบิ ตั กิ ารสอ่ื สารประจำ นอต. นายทหารอากาศตดิ ตอ่ นอร. แนวโอนการรบ บช.กบ.ทบ. กองบัญชาการส่งกำลังบำรงุ ทหารบก บชอพ. บัญชชี ้นิ สว่ นซอ่ มตามอัตราพกิ ัด บปว. บนั ทึกประจำวนั ป.ป.ส. การปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด ปกค. ปนื ใหญ่ขนาดกลางกระสนุ วถิ ีโค้ง ปกบ., ปกน. ปนื กลเบา, ปืนกลหนกั ปค. เป้าหมายท่ีคมุ้ ค่า ปจว. การปฏิบตั ิการจติ วทิ ยา ปชด. ปอ้ งกนั ชายแดน ปตอ. ปืนใหญ่ตอ่ สู้อากาศยาน ปท.นส. การปฏิบัติการทางทหารทีน่ อกเหนือการสงคราม -ใชเ้ พื่อการศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่าน้ัน-

-ใชเ้ พื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เท่านัน้ - 61 ปนร. ปืนใหญห่ นักกระสนุ วถิ ีราบ ปบค. ปนื ใหญข่ นาดเบากระสุนวิถโี คง้ ปปส. การปอ้ งกันและปราบปรามการกอ่ ความไมส่ งบ ปพ. ปืนพก, ปืนพกส้นั ปพร. การป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ปภอ. การปอ้ งกนั ภยั ทางอากาศ ปม. เปา้ หมาย ; เป้า ปมส. เปา้ หมายสนใจ ปร. ปืนใหญ่วิถรี าบ ปรส. ปนื ไรแ้ รงสะท้อนถอยหลงั ปลย. ปืนเลก็ ยาว ปส. เปา้ หมายท่ีมคี า่ สงู ผคน. ผู้ควบคมุ อากาศยานหนา้ ผตน. ผ้ตู รวจการณ์หนา้ ผท. แผนที่ ผปยส. ผู้ประสานการยิงสนับสนนุ ฝกศ. ฝา่ ยกิจการพิเศษ ฝตข. ฝ่ายตรงขา้ ม พจต. พน้ื ทโี่ จมตี พจย. พื้นท่จี ำกดั การยิง พปอ. พ้นื ท่ปี ระสานห้วงอากาศ พยร. พนื้ ท่กี ารยงิ เสรี พล. กองพล พล.น้อย กองพลนอ้ ย พสก. พน้ื ทส่ี นใจกำหนด -ใชเ้ พ่ือการศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นัน้ -

62 -ใช้เพื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เท่านัน้ - พหย. พืน้ ทหี่ า้ มยิง พัน. กองพนั พนั .ป.คปม. กองพันทหารปืนใหญ่ค้นหาเป้าหมาย พัน.ปล.ยน. กองพันปืนเลก็ ยานยนต์ พนั .ฮต. กองพนั เฮลคิ อปเตอรโ์ จมตี มตตอ. มาตราการตอบโต้การตอ่ ตา้ นทางอีเลก็ ทรอนกิ ส์ มตอ. มาตรการต่อต้านทางอเิ ล็กทรอนิกส์ มสอ. มาตราการสนับสนุนการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ ร.ยก. ทหารราบยานเกราะ ร.ยน. ทหารราบยานยนต์ รข. รายงานขา่ วกรอง รขพ. รายงานขา่ วกรองเพม่ิ เตมิ รปภ.ส. การรักษาความปลอดภยั ทางการส่อื สาร รยบ. รถยนต์บรรทุก รวป. ระวงั ป้องกัน รส. การรวบรวมขา่ วสาร , ค่มู อื ราชการสนาม รสพ. รถสายพานลำเลียงพล ร้อย.ปสอ. กองร้อยปฏิบตั กิ ารสงครามอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ร้อย.ลว.ไกล กองร้อยลาดตระเวนระยะไกล ลข. ลูกระเบดิ ขว้าง ลจ. ลากจงู ลว. ลาดตระเวน ศขร. ศนู ยข์ ่าวสารรว่ ม ศป.พล. ศนู ยป์ ฏบิ ัติการในพ้ืนท่สี ่วนหลัง ศปพล. ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารพทิ ักษพ์ ้นื ที่สว่ นหลัง (พลเรอื น) -ใชเ้ พ่ือการศึกษาใน สจว.สปท. เท่านน้ั -

-ใช้เพือ่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านนั้ - 63 ศปย.พล. ศูนยป์ ฏิบัตกิ ารทางยทุ ธวิธกี องพล ศสอต. ศูนยส์ นับสนุนทางอากาศโดยตรง ศอย. ศูนยอ์ ำนวยการยิง สขย. สรปุ ขา่ วกรองตามระยะเวลา สต./ชต. การสนบั สนุนโดยตรง ; การช่วยโดยตรง สธร. ฝ่ายอำนวยการ/เสนาธิการรว่ ม สนบ. สงครามนอกแบบ สบข. สถานบี งั คบั ขา่ ย สบร. ส่งกำลังและบรกิ าร สป. ส่ิงอุปกรณ์ สยส. สว่ นยงิ สนบั สนนุ สรข. สรปุ ข่าวกรอง สลก. เสน้ หลักการสง่ กำลงั สสก. การสนับสนุนการรบ สสช. การสนบั สนนุ ทางการช่วยรบ ส-อ การสงครามทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอ. หนว่ ยส่งทางอากาศ สอก. การสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด ห/ป หนทางปฏิบัติ หขส. หัวขอ้ ขา่ วสารสำคญั อกช. อัตรากระสุนทใ่ี ช้ได้ อกต. อัตรากระสนุ ท่ตี ้องการ อจ. อตั ตาจร อจย. อัตราการจัด และยทุ โธปกรณ์ อฉก. อตั ราเฉพาะกิจ -ใช้เพอื่ การศึกษาใน สจว.สปท. เท่าน้ัน-

64 -ใช้เพอื่ การศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นนั้ - อย. เอกสารแยกเรอ่ื ง อส. กองอาสารักษาดินแดน อสน. อาวุธยงิ สนับสนนุ อสอ. อตั ราสงิ่ อุปกรณ์ บรร านกรม หลักนยิ มการปฏบิ ัติการรว่ มกองทัพไทย พ.ศ.2550 คู่มอื ปฏิบัตงิ านฝ่ายเสนาธกิ ารรว่ ม วสท.สปท. คมู่ อื ผ้บู งั คบั หนว่ ยและฝา่ ยอำนวยการโรงเรยี นเสนาธกิ ารทหารบก -ใชเ้ พอื่ การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่าน้ัน-

-ใช้เพื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เทา่ นั้น- 65 คู่มอื นายทหารสัญญาบัตร พ.ศ.2550 การจดั สว่ นราชการกองบัญชาการกองทัพไทย กรมยทุ ธการทหาร ค ะกรรมการดำ นนิ การ จัดทำค่มอื ความรพืนฐานทางทหาร -ใช้เพอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่าน้ัน-

66 -ใชเ้ พอ่ื การศกึ ษาใน สจว.สปท. เท่านนั้ - 1. พ.อ.ขจรฤทธิ์ นลิ กำแหง รอง ผอ.สจว.สปท. (2) หวั หนา้ คณะทำงาน 2. พ.อ.ชาคร อุณหเลขกะ ผอ.กวก.สจว.สปท. รองหัวหน้าคณะทำงาน 3. น.อ.ณฏั ฐนันท์ ธนัญชัย ผอ.กศษ.สจว.สปท. คณะทำงาน 4. น.ท.ณัฐพล สำราญสขุ หน.ผอส.กวก.สจว.สปท. คณะทำงาน 5. น.ต.โชติ รงั ศาสตร์ ร.น. หน.กำลังพล กสน.สจว.สปท. คณะทำงาน 6. พ.ท.สุทัศน์ ครำ่ ในเมือง หน.ผวพ.กวก.สจว.สปท. คณะทำงาน/เลขานกุ าร 7. ร.ท.มนตรี เอี่ยมศรี ประจำผอส.กวก.สจว.สปท. คณะทำงาน/ผช.เลขานกุ าร 8. จ.ส.อ.ไสว เพ็ชรท์ ่าช้าง เสมียน ผอส.กวก.สจว.สปท. ผช.เลขานุการ -ใช้เพื่อการศึกษาใน สจว.สปท. เท่านนั้ -