การจ ดการการบ นเทคโนโลย การบ น ม.เกษตร หล กส ตร

วิศวกรรมศาสตร์

10 ภาควิชา

มาร่วมกันปฏิวัติการเรียนรู้ ควบคู่ไปกับพลวัตทางเทคโนโลยี

อัลบั้มภาพคณะวิศวกรรมศาสตร์

หน่วยงาน

  • สำนักงานเลขานุการ
  • สถาบันวิศวกรรมป้องกันอัคคีภัย
  • สถาบันวิศวกรรมพลังงาน
  • สถาบันค้นคว้าและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม
  • ศูนย์นวัตกรรมวัสดุ
  • ศูนย์ฝึกอบรมระบบอุตสาหกรรมอัตโนมัติ
  • ศูนย์วิจัยวิศวกรรมปฐพีและธรณีภัย
  • ศูนย์วิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม บางเขน
  • ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางแม่พิมพ์ผลิตภัณฑ์ยาง
  • ศูนย์เทคโนโลยีความปลอดภัยสำหรับอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม
  • สถานีดาวเทียมจุฬาภรณ์

Email

สมัครเรียน

  • ปฏิทินรับสมัครนิสิต
  • หลักสูตรปริญญาตรี
  • หลักสูตรปริญญาโท
  • หลักสูตรปริญญาเอก

เกี่ยวกับคณะ

  • แนะนำคณะ
  • คณะผู้บริหาร
  • โครงสร้างองค์กร
  • ภาควิชา / หน่วยงาน
  • สมาคมนิสิตเก่าวิศวกรรมศาสตร์ มก.
  • สำหรับผู้ดูแลระบบ

ติดต่อคณะ

  • สมัครงาน
  • คณาจารย์ / บุคลากร
  • เบอร์ติดต่อหน่วยงาน

ติดตามข่าวสาร

Facebook Twitter

คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เลขที่ 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพ ฯ 10900

(02) 797-0999

(02) 579-2775

[email protected]

© 2019 — ENG.KU.AC.TH All rights reserved.

คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา

หลักสูตรปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

คณะวิศวกรรมศาสตร์

หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์และความรู้ (นานาชาติ) หลักสูตรปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสําหรับระบบฝังตัว (นานาชาติ)

คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา

หลักสูตรปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

คณะวิศวกรรมศาสตร์

หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์และความรู้ (นานาชาติ) หลักสูตรปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสําหรับระบบฝังตัว (นานาชาติ)

นิเทศศาสตร์เกษตร เป็นสาขาวิชาที่เป็นตัวกลางนำความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการเกษตรส่งสารไปสู่เกษตรกร ชุมชน และกลุ่มเป้าหมายอื่น ๆ ผ่านสื่อและช่องทางต่าง ๆ ที่ทันสมัย เป็นการผสมผสานระหว่างศาสตร์ทางด้านวิทย์และศิลป์เข้าด้วยกัน บัณฑิตที่จบออกไปจึงเป็นนักนิเทศศาสตร์ที่มีพื้นความรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ ทำให้เข้าใจเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นเรื่องยากให้สามารถเผยแพร่หรือถ่ายทอดเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ออกมาให้เข้าใจได้ง่าย รวดเร็ว ถูกต้อง และชัดเจนกว่านักนิเทศศาสตร์ทั่วไป

ทำไมต้องเรียน วท.บ. นิเทศศาสตร์เกษตร ที่ สจล. ?

เป็นหลักสูตรเดียวในประเทศไทยที่ใช้ชื่อ “นิเทศศาสตร์เกษตร” โดยไม่ได้รวมกับหลักสูตรส่งเสริมหรือพัฒนาการเกษตรเหมือนที่อื่น เนื่องจากที่นี่ต้องการเน้นการเรียนการสอนด้านการสื่อสารทางการเกษตรโดยเฉพาะ ที่ครอบคลุมกระบวนการทางการเกษตรตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ สามารถประยุกต์ใช้การสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การแปรรูป การให้บริการ และการจัดจำหน่าย โดยมีคณาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละด้านคอยให้ความรู้และคำปรึกษา รวมทั้งอุปกรณ์และห้องปฏิบัติการทางนิเทศศาสตร์อย่างครบวงจรไว้รองรับ

โอกาสในการหางาน

  • ผู้ผลิตสื่อทางการเกษตร / นักส่งเสริมการเกษตร
  • ผู้ผลิตรายการวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์
  • ช่างภาพ / นักออกแบบกราฟิก (Graphic Designer)
  • ผู้ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อดิจิทัล (Print Media & Digital Media Creator)
  • นักออกแบบเว็บ (Web Master) นักพัฒนาพาณิชอิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce Front/Back End Developer : Web/Mobile)
  • นักโฆษณาประชาสัมพันธ์ / ครีเอทีฟ (Creative)
  • นักวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planner) / นักวางแผนสื่อ (Media Planner)
  • นักสื่อสารองค์กร / นักสื่อสารการตลาด / นักบริหารงานลูกค้า (Account Executive)
  • อินฟลูเอนเซอร์ (Influencer) / ผู้ผลิตคอนเทนต์ออนไลน์
  • นักแสดง / พิธีกร / ผู้ดำเนินรายการ (MC)
  • อีเว้นท์ ออแกไนเซอร์ (Event Organizer)
  • เจ้าหน้าที่สนับสนุนฝ่ายไอที (IT Support) ฯ

อัตราการได้งานทำ/การศึกษาต่อ/การเป็นผู้ประกอบการในระยะเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 99.33 รวบรวมจากสำนักงานบริหารยุทธศาสตร์ สจล. (ข้อมูลปี 2562)

โดยร้อยละ 80 มีงานทำภายใน 3 เดือนหลังจบการศึกษา เงินเดือนเริ่มต้นเฉลี่ย 18,200 บาท เงินเดือนปัจจุบัน เฉลี่ย 28,500 บาท (จากข้อมูลสำรวจบัณฑิตย้อนหลัง 5 ปี เมื่อเดือน มิ.ย. 2562)