การสอนอ านแผนท ภ ม ศาสตร สำหร บผ เร ยนในศตวรรษท ๒๑

๙๒ แนวทางการการคาดการณ์อุปสรรค ผลกระทบเชิงลบตอ่ การดาเนินงาน เชน่ (๑) โรคระบาดที่เกิดผลกระทบตอ่ การจดั การศึกษาของสถานศึกษา (๒) อตั ราการเกดิ ของประชากรที่ลดลง (๓) นโยบายการจดั การศกึ ษาทเี่ ปลย่ี นแปลงบอ่ ย ตำรำงท่ี ๑ แสดงกำรวเิ ครำะหข์ ้อมูลดว้ ย SWOT Analysis SWOT Analysis สภำพแวดล้อมภำยใน Strength: S Weaknesses: W จดุ แขง็ จดุ เด่น จดุ ออ่ น จุดด้อย ข้อไดเ้ ปรยี บ ขอ้ เสียเปรยี บ สภำพแวดล้อมภำยนอก Opportunities: O Threats: T โอกาส ส่งิ เกื้อกูลท่ีทาให้ อุปสรรค ภาวะคุกคาม งานประสบความสาเร็จ ทขี่ ัดขวางการทางาน TOWS Matrix เป็นเทคนิคการวิเคราะห์เพ่ือกาหนดกลยุทธ์หรือกลยุทธ์ริเร่ิมหลังจากที่มีการประเมินสภาพแวดล้อม โดยการวิเคราะห์ให้เห็นถึงจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค/ภาวะคุกคามแล้วจะนามาข้อมูลทั้งหมดมา วิเคราะห์ในรูปแบบความสัมพันธ์แบบแมทริกซ์โดยใช้ตารางท่ีเรียกว่า TOWS Matrix เพื่อกาหนดออกมาเป็น ยุทธศาสตร์หรือกลยุทธป์ ระเภทต่าง ๆ มีขนั้ ตอนการดาเนินงาน ดงั นี้ ๑. ระบุจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค โดยประเมินสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาระบุถึง จุดแข็งและจุดอ่อน และประเมินสภาพแวดล้อมภายนอกท่ีเป็นโอกาสและอุปสรรคซ่ึงต้องมีการวิเคราะห์ ให้ละเอียดทุกแง่มุมและตรงตามความเป็นจริงหรือบริบทของสถานศึกษาให้ได้มากท่ีสุด อันจะส่งผลต่อ ประสิทธิผลของการกาหนดกลยุทธ์ท่ีใช้เทคนิค TOWS Matrix ให้มีความแหลมคมและนาไปใช้กาหนด ทิศทางการพฒั นาสถานศกึ ษาได้อยา่ งดี ๒. วเิ คราะหค์ วามสมั พันธ์ระหวา่ งจุดแข็งกับโอกาส จุดแขง็ กบั อุปสรรค จดุ อ่อนกบั โอกาส และจดุ อ่อน กบั อปุ สรรค ซึง่ ผลของการวเิ คราะห์ความสัมพนั ธด์ ังกล่าวทาใหเ้ กิดกลยุทธ์ ๔ ประเภท คือ (๑) กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมท่ีเป็น จดุ แขง็ และโอกาสมาพจิ ารณารว่ มกัน เพ่อื ทจ่ี ะนามากาหนดเปน็ กลยทุ ธใ์ นเชิงรกุ (๒) กลยุทธ์เชิงป้องกัน (ST Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่ เป็นจุดแข็งและอุปสรรคมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อท่ีจะนามากาหนดเป็นกลยุทธ์ในเชิงป้องกัน แม้ว่าสถานศึกษา

๙๓ จะมีมีจุดแข็งแต่ในขณะเดียวกันก็ประสบกับสภาพแวดล้อมที่เป็นอุปสรรคจากภายนอกที่ควบคุมไม่ได้เช่นกัน แตส่ ามารถใช้จุดแขง็ ท่มี อี ยปู่ อ้ งกันอปุ สรรคทม่ี าจากภายนอกได้ (๓) กลยุทธเ์ ชิงแกไ้ ข (WO Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็น จุดอ่อนและโอกาสมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนามากาหนดเป็นกลยุทธ์ในเชิงแก้ไข เน่ืองจากสถานศึกษามี โอกาสท่ีจะนาแนวคิด วิธีใหม่ ๆ หรือโอกาสท่ีในเชิงบวกจากสภาพแวดล้อมภายนอกนอกท่ีเกิดข้ึนมาใช้ในการ แก้ไขจดุ ออ่ นทม่ี ีอยูไ่ ด้ (๔) กลยุทธ์เชิงรับ (WT Strategy) ได้มาจากการนาข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมท่ีเป็น จดุ อ่อนและอุปสรรคมาพิจารณาร่วมกัน เพอื่ ท่จี ะนามากาหนดเป็นกลยุทธ์ในเชิงรับ เนือ่ งจากสถานศึกษามีการ เผชิญกับท้งั จุดอ่อนและอปุ สรรคจากภายนอกท่ีไมส่ ามารถควบคุมได้ ตำรำงท่ี ๒ แสดงกำรวเิ ครำะห์ข้อมลู ดว้ ยวิธี TOWS Matrix ปจั จยั ภำยใน จุดแขง็ (Strategy: S) จุดอ่อน (Weaknesses: W) W1………………………… S1………………………… W2………………………… W3………………………… S2………………………… ปจั จัยภำยนอก S3………………………… โอกำส (Opportunities: O) SO Strategy WO Strategy O1………………………… กลยุทธเ์ ชงิ รุก กลยทุ ธ์เชิงแกไ้ ข O2………………………… ใชจ้ ดุ แข็งร่วมกับโอกาส ใช้โอกาสลดจดุ อ่อน O3………………………… อุปสรรค (Threats: T) ST Strategy WT Strategy T1………………………… กลยุทธเ์ ชงิ ป้องกัน กลยทุ ธเ์ ชิงรับ T2………………………… ใชจ้ ุดแขง็ รับมืออุปสรรค แก้ไขจดุ อ่อนเลี่ยงอุปสรรค T3…………………………

๙๔ ตำรำงท่ี ๓ แสดงตวั อย่ำงกำรวเิ ครำะห์ขอ้ มูลด้วยวธิ ี TOWS Matrix (อ้างอิงจาก สานักทดสอบทาง การศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน, ๒๕๖๓) ปัจจัยภายใน จดุ แขง็ (Strategy: S) จุดอ่อน (Weaknesses: W) ปจั จัยภายนอก S1 ผู้เรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะท่ี W1 ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธิ์ต่ากว่าเกณฑ์ทีก่ ่าหนด โอกาส (Opportunities: O) พงึ ประสงคต์ ามหลกั สูตร W2 ผเู้ รยี นขาดทักษะการเรียนทสี่ า่ คัญใน O1 ต้นสังกดั และหน่วยงานเอกชนให้ S2 ผเู้ รยี นสขุ ภาพกาย สุขภาพจิตดี ศตวรรษท่ี ๒๑ โดยเฉพาะทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การสนับสนุนการศกึ ษา การสอื่ สาร การคดิ ค่านวณ S3 สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาทเี่ หมาะสม O2 ชมุ ชนมีเอกลักษณ์ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี กบั ผู้เรียนสอดคลอ้ งกับท้องถน่ิ W3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนยงั ไมใ่ ช้ ทีเ่ ด่นชัด รปู แบบท่ีหลากหลาย SO Strategy O3 เทคโนโลยีส่งเสรมิ การแสวงหาความรแู้ ละ กลยทุ ธเ์ ชิงรกุ WO Strategy การเรียนรู้ได้ด้วยตนเองแก่ผู้เรยี น ใช้จดุ แขง็ ร่วมกบั โอกาส กลยทุ ธเ์ ชงิ แก้ไข ใช้โอกาสลดจุดอ่อน O4 ชมุ ชน อปท. หนว่ ยงานภาครฐั สถาบัน SO1 ปลกู ฝงั ผ้เู รียนให้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและ ศาสนามสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจดั การศึกษาที่ คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคโ์ ดยใช้เอกลกั ษณ์ WO1 เร่งยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของ เข้มแขง็ ขนบธรรมเนียม ประเพณีและเครือข่าย ผเู้ รยี นใหส้ งู ขึ้นโดยน่าเทคโนโลยีท่ที นั สมยั มาเพ่ิม ความร่วมมอื กับชมุ ชน สถาบนั ทางศาสนาอยา่ ง ประสทิ ธภิ าพในการเรียนรู้ O5 มีแหล่งเรยี นรู้และภมู ิปัญญาภายนอกให้ ใกล้ชิด ศึกษาอย่างหลากหลาย WO2 พัฒนาผู้เรยี นให้มีทักษะการเรยี นรูท้ ส่ี ่าคัญ SO2 เสรมิ สรา้ งผู้เรยี นให้มสี ขุ ภาพกาย สุขภาพจิต ในศตวรรษท่ี ๒๑ โดยเฉพาะทักษะการคดิ อุปสรรค (Threats: T) ทดี่ ีร่วมมอื กบ้ หน่วยสาธารณสุขในพ้นื ที่ วิเคราะห์การสื่อสารและการคดิ คา่ นวณ T1 นโยบายการจ่ากัดอัตราก่าลัง SO3 พัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาให้สอดคล้องกับ WO3 ปรบั ปรุงการจดั กระบวนการเรียน ท้องถน่ิ และความตอ้ งการ ความถนัดของผูเ้ รยี น การสอนและกิจกรรมการเรยี นรดู้ ว้ ยรปู แบบที่ T2 นโยบายการศึกษาท่มี ีการเปลยี่ นแปลงบ่อย โดยใชแ้ หล่งเรยี นรู้และภูมปิ ญั ญาภายนอกให้ หลากหลายด้วยเทคโนโลยที ท่ี นั สมยั และใช้แหลง่ สง่ ผลต่อ การบริหารจดั การสถานศกึ ษาทย่ี ุ่งยาก ศกึ ษาอย่างหลากหลาย เรียนรู้ในชมุ ชน T3 ปฏสิ มั พันธ์ระหว่างบา้ น วัด โรงเรียน ST Strategy WT Strategy ไม่ต่อเนอ่ื งส่งผลตอ่ พฤตกิ รรมของนักเรยี น กลยุทธเ์ ชิงปอ้ งกนั กลยุทธ์เชิงรับ ใชจ้ ุดแขง็ รบั มืออุปสรรค แกไ้ ขจุดอ่อนเลย่ี งอุปสรรค T4 อัตราการหย่ารา้ งของผปู้ กครองมีแนวโนม้ สูงขน้ึ ทา่ ให้เดก็ อาศัยกบั บคุ คลอืน่ สง่ ผลตอ่ ความ ST1 เสรมิ ความร่วมมือระหวา่ งบา้ น วดั โรงเรียน WT1 พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใน พร้อมในการเรยี นรู้ของนกั เรยี น อย่างใกล้ชดิ ในการดแู ลนักเรยี น สถานศึกษาทีเ่ ขม้ แขง็ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ค้นหำใหพ้ บ นำมำวิเครำะห์ เอำไปใชป้ ระโยชนใ์ นกำรกำหนดกลยุทธ์

๙๕ เทคนิคส่คู วำมสำเรจ็ ๑. สถานศึกษาต้องมีการจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ ๓ - ๕ ปี ให้เป็นปัจจุบันเพ่ือเป็น แนวทางในการปฏบัตงิ านแก่สมาชิกทุกคน ๒. สถานศึกษาและสมาชิกทุกฝ่ายควรมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ควรมี ส่วนร่วมตั้งแต่การการวิเคราะห์และประเมินศักยภาพของสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการทบทวนทิศทางการ ดาเนินงานการจดั การศกึ ษาสคู่ วามสาเรจ็ ด้วยกัน ๓. สถานศึกษาต้องมีการตรวจสอบองค์ประกอบของแผนพัฒนาการจัดการศึกษาให้มีการเขียนอย่าง ครบถ้วน มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันและกันและมุ่งสู่ปลายทางตามมาตรฐานและเป้าหมายของสถานศึกษา ท่กี าหนดไว้ ๔. แผนพัฒนาการจัดการศึกษาสิ่งสาคัญต้องสนองต่อตัวตนตามบริบทของสถานศึกษาและขับเคล่ือน งานใหบ้ รรลุตามเป้าหมายที่กาหนดในมาตรฐานการศึกษาครบทุกด้านทงั้ ๓ ดา้ น ๕. สถานศึกษาควรมีการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ของสถานศึกษาด้วยเทคนิคต่างๆ เพ่ือนามาสู่การ วางแผนพัฒนาสถานศึกษา อาทิ SWOT Analysis และ TOWS Matrix หรืออื่น ๆ เป็นเครื่องมือหรือเทคนิคที่ นามาใช้ในการประเมินสถานการณ์และศักยภาพของสถานศึกษาเพ่ือให้ทราบจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและ อุปสรรคของสถานศึกษาแตล่ ะแหง่ เพื่อนามาสู่การวางกลยุทธ์ท่เี หมาะสมกับบรบิ ทตามจริง ๑.๓ ปรบั ปรงุ หรอื แก้ไขแผนพฒั นำคุณภำพกำรศกึ ษำให้เป็นไปตำม “เปำ้ หมำยทพ่ี งึ ประสงค์” สถานศึกษาทบทวน ปรับปรุง แก้ไข แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและเป้าหมายท่ีพึงประสงค์ที่ได้กาหนดและทาให้เป็นปัจจุบัน หาก องค์ประกอบใดของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษามีความล้าสมัย ไม่สอดคล้องกับเป้าหมายการจัดการศึกษา ท่ีกาหนด จะตอ้ งมีการทบทวนร่วมกนั แล้วดาเนนิ การปรับปรงุ หรือเปลยี่ นแปลงได้ หากไม่มีการดาเนินการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เป็นแผนระยะยาว นี้แล้ว สถานศึกษาสามารถดาเนินการพัฒนาการดาเนินงานให้มีความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาท่ี พึงประสงคไ์ ดผ้ า่ นทางแผนการปฏบิ ัตกิ ารประจาปไี ด้อีกทางหนง่ึ ด้วย

๙๖ ภำพที่ ๒ แสดงควำมสัมพันธข์ องมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ แผนพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำและ แผนปฏบิ ัติกำรประจำปีของสถำนศกึ ษำ กบั คุณภำพมำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศึกษำ มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ โครงการ แผนพฒั นำกำรจัดกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำ โครงการ แผนปฏบิ ัตกิ ำรประจำปีของสถำนศึกษำ กระบวนกำกบั ติดตำม ตรวจสอบและประเมนิ ผลกำรปฏิบตั กิ ำร ประจำปขี องสถำนศกึ ษำ รำยงำนผลกำรปฏบิ ตั กิ ำรประจำปีของสถำนศึกษำ คณุ ภำพมำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศึกษำ ด้ำนผู้เรยี น ดำ้ นกำรบริหำร จดั กำร ดำ้ นกำรจัดกำร เรียนกำรสอน

๙๗ ขัน้ ตอนที่ ๒ นำสูก่ ำรปฏิบัติผ่ำนแผนปฏิบตั กิ ำรประจำปี แผนปฏิบัติการประจาปเี ป็นเคร่ืองมือในการนากลยทุ ธ์ไปสกู่ ารปฏิบัติใช้เปน็ แนวทางในการดาเนนิ งาน ส่วนต่าง ๆ ให้เป็นไปอย่างสอดประสานกันทาให้เกิดความสาเร็จและมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา วัตถุประสงค์และเป้าหมายพึงประสงค์ตามท่ีกาหนด ในแผนปฏิบัติการประจาปีควรมีระบบ การทางานท่ีชัดเจนและเป็นขั้นตอน มีการนาเสนอการใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่าและมีการตรวจสอบผลการ ดาเนินงาน สถานศึกษาสามารถจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษาท่ีมีความสอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาของชาติและแผนพัฒนาการจัดการศึกษา โดยมีแนวทางการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีของ สถานศกึ ษาเพอ่ื จดั การศึกษาบรรลตุ ามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาดงั น้ี ๒.๑ สถานศึกษาและสมาชิกทุกฝ่ายรว่ มกันตั้งเป้าหมายที่พึงประสงค์ของสถานศึกษาและรว่ มกันจัดทา แผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษาท่ีประกอบด้วยผู้เก่ียวข้องหลาย ๆ ฝ่ายท่ีถูกแต่งต้ังเป็นคณะทางาน จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี ๒.๒ ทุกฝ่ายร่วมกันวิเคราะห์แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (ระยะ ๓-๕ ปี) ศึกษาและ วิเคราะห์ยืนยันทิศทางการจัดการศึกษาจากแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาระยะ ๓ -๕ ปี วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายของระยะ ๓ - ๕ ปี เพื่อนามากาหนดทิศทาง และกรอบกลยทุ ธก์ ารพฒั นาประจาปี ๒.๓ ทุกฝ่ายร่วมกันวิเคราะห์ประมาณการงบประมาณรายรับและรายจ่ายของสถานศึกษา ประมาณ การรายรบั จากวงเงนิ ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับเพ่ือใชเ้ ป็นกรอบในการกาหนดวงเงินรายจา่ ยท่ีจะเกดิ ขึ้นในปีงบประมาณ น้ัน ๆ ให้ใกล้เคียงกับวงเงินท่ีประมาณการไว้ จากนั้นประมาณการรายจ่ายท่ีเกิดขึ้นจากการพัฒนาและ ดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาในปีน้นั ๆ โดยสามารถแบง่ รายจา่ ยของสถานศกึ ษาได้ ออกเป็น ๓ กลุ่ม ไดแ้ ก่ ๑) งานประจาตามโครงสร้าง (กลุ่มวิชาการ กลุ่มบริหารทั่วไป กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่ม บรหิ ารบคุ คล) ๒) โครงการตามกลยุทธ์ ๓) งบกลางสารองจา่ ย (สารองจ่ายกรณมี ีงาน/กิจกรรมเกดิ ข้นึ ระหวา่ งปี) ๒.๔ กาหนดโครงการตามแผนกลยุทธ์ เป็นการวิเคราะห์และคัดเลือกโครงการบรรจุในแผนปฏบิ ัติการ ประจาปี เพ่ือนาสู่การปฏิบัติในช่วงปีนั้น เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายถึงประสงค์ที่วางไว้มีกระบวนการในการ คัดเลือกโครงการดงั นี้ ๑) วเิ คราะหแ์ ละคัดเลือกโครงการทกี่ าหนดไว้ในแผนพฒั นาการจดั การศึกษา ระยะ ๓ - ๕ ปี ๒) วิเคราะห์และคัดเลือกโครงการจากแผนปฏิบัติการประจาปีที่ผ่านมาท่ีประสบความสาเร็จ หรือหากโครงการใดไม่ประสบความสาเร็จ/มีปัญหา/ไม่ตอบโจทย์การพัฒนา อาจจะเปล่ียนแปลงโครงการใหม่ มาแทนที่ สถานศึกษาส่วนใหญ่มักจะทาโครงการเดิมท่ีเคยปฏิบัติในช่วงปีท่ีผ่านมา ซ่ึงควรพิจารณาเลือก โครงการให้เหมาะสมกบั สภาพปจั จบุ นั และเป็นไปตามเป้าหมายท่กี าหนดไว้ ๓) จดั ทาโครงการ จัดลาดบั ความสาคญั ของโครงการ พร้อมกับจัดทารายละเอยี ดของโครงการ กจิ กรรมทีค่ รอบคลมุ มาตรฐานของสถานศึกษาทงั้ ๓ ด้าน คือ

๙๘ (๑) คณุ ภาพผู้เรียนหรอื คณุ ภาพของผู้สาเร็จการศึกษา (๒) คณุ ภาพการบริหารและการจัดการ (๓) คณุ ภาพการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ๒.๕ พิจารณาความครอบคลุมของนโยบายและจุดเน้นของหน่วยงานต้นสังกัด เพ่ือให้การดาเนินงาน ของสถานศึกษาบรรลุตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและเป้าหมายท่ีต้องการพัฒนาและตรงตาม นโยบายของต้นสังกัดและเพือ่ แก้ไขปัญหาหรือปรบั ปรุงจุดอ่อนของสถานศกึ ษาให้ดยี ิง่ ขึน้ ๒.๖ จัดทาแผนปฏบิ ัติการประจาปี กาหนดโครงการและกาหนดการตรวจสอบความครอบคลุมของการ จัดทาโครงการในแผนปฏิบัติการประจาปี ซ่ึงสะดวกต่อการตรวจสอบ กากับ ติดตามผลการดาเนินงานของ โครงการเพื่อนาสู่การรายงานผลการปฏิบัติงานประจาปีและรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ขอ้ มลู สารสนเทศทจ่ี าเป็นที่บรรจใุ นแผนฎิบตั ิการประจาปี ได้แก่ ๑) ขอ้ มูลอตั รากาลังครู บุคลากรท่ปี ฏบิ ตั งิ านของสถานศึกษาและความต้องการบคุ ลากรสาขา ท่ีขาดแคลน ๒) ข้อมูลอาคารและสถานทแี่ สดงถงึ สภาพการใช้ประโยชน์และความตอ้ งการหรือความขาดแคลน ๓) ข้อมูลแสดงลกั ษณะ จานวนของนักเรียนและการจัดการห้องเรียนท่ีแสดงสภาพความพร้อม หรอื ปญั หาความขาดแคลนในเร่ืองตา่ ง ๔) ข้อมูลแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนซึ่ง เปน็ ภารกจิ หลักของสถานศกึ ษา ๕) ขอ้ มลู แสดงจุดเด่นของสถานศกึ ษาทีม่ ีบริบทเฉพาะตัวตน ๖) สภาพปัญหาและความตอ้ งการในการพัฒนาเรยี งตามลาดับความสาคัญ ๗) แนวทางในการพัฒนาและแก้ไขปญั หาซึง่ กค็ ือการกาหนดกลยทุ ธ์เพอื่ การดาเนนิ งาน ๘) ข้อมูลแสดงรายละเอียดของงบประมาณ รายรับ-รายจ่ายประจาปีของสถานศึกษา ระบุ แหล่งท่ีมา จานวนเงิน ประมาณการรายรับ-รายจ่ายประจาปีของสถานศึกษาเพ่ือคานวณต้นทุนในการบริหาร สถานศึกษา ๙) โครงการประจาปีของสถานศึกษาควรระบุงบประมาณดาเนินการ ท่ีมาของงบประมาณ มาจากท่ีใด จานวนเท่าใด ในประเด็นนี้สถานศึกษาจะต้องระบุที่มาของงบประมาณ หรือที่เรียกว่า “ประมาณ การรายรับ” เชน่ เงินอุดหนุนรายหวั ของผเู้ รียน เงนิ สนับสนนุ จากหน่วยงานอ่ืน และเงนิ บรจิ าคอนื่ ๆ และทุก ๆ โครงการควรระบผุ รู้ บั ผดิ ชอบโครงการโดยควรมลี ายมือช่ือของผู้เสนอโครงการ ผู้เห็นชอบโครงการ และผูอ้ นุมัติ โครงการเพื่อเป็นการยืนยันว่าโครงการนี้ได้ผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องและมี ความ เหมาะสมตอ่ การนาสู่การปฏิบตั ิงานในห้วงปนี ้นั ๒.๗ นาแผนปฏิบัติการประจาปีเสนอขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษาก่อนนาไปสู่การ ปฏิบัติและแนบหลักฐานปรากฏทา้ ยเลม่ ๒.๘ ดาเนนิ การตามแผนปฏิบตั ิการประจาปแี ละโครงการที่ไดก้ าหนดไว้

๙๙ ๒.๙ สรุปผลการดาเนินงานในรอบปีท่ีผ่านมาซึ่งจะสะท้อนให้เห็นจุดเด่น จุดด้อยของสถานศึกษา เป็น ขอ้ มลู แสดงประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของสถานศึกษา ประเดน็ ท่คี วรสรปุ ไดแ้ ก่ ๑) จานวนผู้เรียนทั้งหมดท่ีได้รับการจัดการศึกษารวมเท่าใด เพ่ิมขึ้นหรือลดลง มีผู้เรียนซ้าชน้ั หรอื ไม่ อัตราของผสู้ าเร็จการศึกษาในแตล่ ะปี จานวนผูเ้ รียนท่ีขาดหายไประหวา่ งปี ๒) ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของผู้เรยี นโดยรวม ๓) โครงการเด่นที่เปน็ The best practices ประจาปี ๔) ผลงานของผู้สอนและผูเ้ รียนท่นี า่ ภาคภมู ใิ จ ๕) จดุ ดอ้ ยของสถานศึกษาทค่ี วรไดร้ บั การพฒั นา เทคนคิ สู่ควำมสำเร็จ ๑. สถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษาควรศึกษาความสัมพันธ์ ความเชื่อมโยงและความเป็นเหตุ เป็นผลของการนาแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาและแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปขี องสถานศกึ ษา ๒. สถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษาควรมีส่วนร่วมและรับรู้ในการจัดทาแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี แล้วร่วมดาเนินการวางแผนและดาเนินงานต่าง ๆ ด้วยกัน เพ่อื ให้มองไปในทิศทางเดียวกัน ๓. สถานศึกษาต้องมีการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีทุก ๆ ปี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการ แก่ทกุ ฝ่ายและสามารถกากับ ติดตาม และประเมินความสาเร็จงานแต่ละฝา่ ยได้ ๔. สถานศึกษาตอ้ งมีการวเิ คราะห์หรอื สะท้อนตวั ตนตามบรบิ ทของสถานศึกษาในแต่ละปี โดยนาข้อมูล สารสนเทศด้านต่าง ๆ ท่ีเป็นผลจากการปฏิบัติงานในช่วงปีที่ผ่านมา รวมทั้งสถานการณ์ความเปล่ียนแปลง รอบด้านที่เป็นปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกท่ีเป็นปัจจุบันมาร่วมพิจารณาเพ่ือกาหนดแนวทาง ในการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีและโครงการให้มีความทันสมัย ทันต่อสภาพการณ์ มีความสมบูรณ์และ สนบั สนุนกระบวนการขับเคลอ่ื นงานให้บรรลุตามเป้าหมายตามท่ีวางมาตรฐานไว้ ขนั้ ตอนท่ี ๓ สร้ำงโครงกำรดขี บั เคล่ือนงำนสู่เป้ำหมำย โครงกำร หมายถึง กลุ่มกิจกรรมท่ีจัดให้มีขึ้นอย่างเป็นระบบ แสดงกรอบงานที่ชัดเจน มีแผนการ ทางาน วิธีการตรวจสอบ ความก้าวหน้า ความสาเร็จและข้อตกลงเบือ้ งต้น โครงงานบอกให้ทราบวา่ จะทาอะไร และสอดคล้องกับกิจกรรมที่ทา โดยการเขียนต้องสั้น กะทัดรัด ชัดเจน เร้าใจ และควรมีความทันสมัย ทันต่อ การเปลย่ี นแปลง โครงการจะบรรจุอยใู่ นแผนการจดั การศกึ ษาและแผนปฏิบัตกิ ารประจาปีของสถานศกี ษา โครงการของสถานศึกษา จะถูกบรรจุอยู่ ๒ ส่วน ได้แก่ ส่วนแรกอยู่ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษาซึ่งเป็นแผนกลยุทธ์ระยะยาวท่ีนาเสนอโครงการในภาพรวมที่ตอบสนองยุทธศาสตร์หรือกลยทุ ธ์ ในชว่ ง ๓ - ๕ ปี มีความเชอื่ มโยงและสามารถดาเนนิ การเพื่อให้เกดิ คุณภาพภายในองค์รวมระยะยาว และส่วนที่ สองอยู่ในแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศีกษาเป็นตัวขับเคลื่อนการดาเนิ นงานจัดกิจกรรมพัฒ น า สถานศกึ ษาประจาปีจนกระทง่ั บรรลเุ ปา้ หมายคณุ ภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษาทก่ี าหนดไว้

๑๐๐ แนวทำงกำรจัดทำโครงกำรเพ่ือจัดกำรศึกษำบรรลุตำมมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ มีการ ดาเนินการ ดงั น้ี ๓.๑ สถานศกึ ษาและสมาชกิ มีส่วนรว่ มในการคัดเลอื ก กาหนด เขียนโครงการ กิจกรรมดาเนนิ งาน และ ร่วมเป็นผู้รับผิดชอบโครงการต่าง ๆ ของสถานศึกษา ทั้งโครงการที่อยู่ในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ ๓ - ๕ ปีและในแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและการรับรู้ร่วมกันในการ ขบั เคลือ่ นงานของสถานศกึ ษา ๓.๒ วิเคราะห์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ เป้าหมายของการจัดการศึกษาตามแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาเพื่อนาไปสกู่ ารกาหนดโครงการตามกลยทุ ธใ์ นแผนระยะ ๓ - ๕ ปี ๓.๓ วิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและค่าเป้าหมายของสถานศึกษา โดยส่วนมาก สถานศึกษามักจะยึดตามมาตรฐานของต้นสังกัดมากาหนดเป็นมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตนเอง แต่อาจมีเพิ่มเติมตัวบ่งชี้ย่อย เพ่ือตรวจสอบความครอบคลุมของการวางทิศทางการบริหารของสถานศึกษา ทั้งวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ เป้าหมาย ท่ีจะนาไปสู่การกาหนดโครงการ สถานศึกษาควรนามาตรฐานการศึกษามาร่วม พิจารณาโครงการที่จะจัดทาว่าส่งเสริมคุณภาพงานท้ัง ๓ ด้าน ท้ังในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและการศึกษา ระดับอาชีวศึกษา ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์มาตรฐานการศึกษา คือ ได้แนวทางการกาหนดโครงการท่ีดี ทส่ี อดคลอ้ งตามเปา้ หมายมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีพึงประสงค์ พจิ ารณาได้จากมาตรฐานแต่ละด้าน จะมีตัวชี้วัดหรือประเด็นการพิจารณาย่อยในแต่ละมาตรฐาน ที่จะสามารถนาไปสู่กิจกรรมที่จะดาเนินงานจัด การศึกษาหรือโครงการในแต่ละปีเพ่ือให้บรรลุผลลัพธ์ตามเป้าหมายของมาตรฐาน การศึกษาและมีผลการ ดาเนินงานให้ได้ตรงตามค่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ ดังนั้น โครงการจะเป็นเคร่ืองมือขับเคลื่อนการพัฒนาการจัด การศกึ ษาให้บรรลุผลลพั ธท์ ่ีพงึ ประสงค์ของมาตรฐานการศึกษาน่นั เอง มาตรฐานการศึกษาทงั้ ในระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานและการศึกษาระดบั อาชวี ศกึ ษา มดี ังน้ี มำตรฐำนกำรศกึ ษำระดับกำรศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำน มีจานวน ๓ มาตรฐาน มำตรฐำนที่ ๑ คุณภำพของผ้เู รียน ๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผู้เรยี น ๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอื่ สาร และการคดิ คานวณ ๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคดิ เห็น และแกป้ ัญหา ๓) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ๔) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ๕) มีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ๖) มีความรูท้ ักษะพ้นื ฐาน และเจตคติทดี่ ีต่องานอาชีพ ๑.๒ คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรยี น ๑) การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มทีด่ ตี ามทีส่ ถานศึกษากาหนด ๒) ความภมู ใิ จในทอ้ งถ่ินและความเปน็ ไทย ๓) การยอมรบั ท่ีจะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย

๑๐๑ ๔) สุขภาวะทางรา่ งกายและจติ สังคม มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร ๒.๑ มีเปา้ หมายวสิ ัยทศั นแ์ ละพันธกิจที่สถานศกึ ษากาหนดชดั เจน ๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ๒.๓ ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการท่เี นน้ คณุ ภาพผูเ้ รยี นรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศึกษา และทกุ กลุ่มเป้าหมาย ๒.๔ พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเอ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการบริหารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ มำตรฐำนที่ ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัติจรงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ได้ ๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ่เี อื้อตอ่ การเรยี นรู้ ๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการช้ันเรยี นเชิงบวก ๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบและนาผลมาพฒั นาผู้เรยี น ๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมลู สะท้อนกลับเพ่ือพฒั นาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ ลกั ษณะของโครงกำรท่ดี ีที่สอดคล้องกับมำตรฐำนกำรศกึ ษำสถำนศกึ ษำ ระดับกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน ๑. โครงกำรดีมุง่ เปำ้ พฒั นำมำตรฐำนที่ ๑ คณุ ภำพของผเู้ รยี น: ผลสมั ฤทธิท์ ำงวิชำกำรของผู้เรียน ลักษณะของโครงการเน้นการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เป็นผู้ท่ีมีความสามารถทางด้าน วิชาการส่งเสริมการพัฒนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ เจตคติ และศักยภาพของผู้เรียนสอดรับกับความ ต้องการของผู้เรียน ชุมชน นโยบายต่าง ๆ และสัมพันธ์กับความต้องการของประเทศไทยและคุณลักษณะ คนไทย ๔.๐ มุ่งสูก่ ารเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลกท่ีเขม้ แขง็ ลกั ษณะของโครงการดีมุ่งเป้าพัฒนาตามมาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผ้เู รียน ดา้ นผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการ ของผูเ้ รยี น มีดังนี้ ๑) เป็นโครงการท่ีมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ที่จาเป็นของ ผู้เรียนซึ่งเป็นผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการที่ต้องเกิดข้ึนแก่ผู้เรียนของตนเองให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา ท่ีกาหนดและตรงตามเปา้ หมายที่พึงประสงค์ทส่ี ถานศึกษาแต่ละแห่งได้ต้ังไว้ ๒) เป็นโครงการท่ีพัฒนาหรือส่งเสริมความสามารถของผู้เรียนให้อ่านออก เขียนได้ สื่อสารได้ มีทักษะทางด้านภาษา มที ักษะด้านการคดิ คานวณ ความสามารถดา้ นตวั เลข ตัวอยา่ ง - โครงการภาษาไทยเพือ่ การสื่อสารและการเรยี นรู้ - โครงการภาษาตา่ งประเทศเพื่อการพฒั นาคุณภาพชวี ิต - โครงการพฒั นาทักษะการคิดคานวณดว้ ยเทคนคิ การคดิ เลขเรว็ แบบอนิ เดีย(เวทคณิต)

๑๐๒ ๓) เป็นโครงการท่ีพัฒนาหรือส่งเสริมความสามารถ ทักษะในการคิดของผู้เรียน ตามรูปแบบ การคิดแบบต่าง ๆ (การคิดอย่างมีวิจารญาณ การคิดแก้ปัญหา การคิดเชิงระบบ) และการฝึกฝนการอภิปราย แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นร่วมกบั ผอู้ ื่นและการแก้ปญั หาที่พบได้ ตัวอยา่ ง - โครงการพฒั นาทักษะการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ / การคิดแก้ปญั หาและการตัดสนิ ใจ / การ คดิ เชงิ ระบบ / การคิดวเิ คราะห์ / การคิดเชงิ บวก เปน็ ตน้ - โครงการพฒั นาทักษะการคิดสาหรบั ผ้เู รยี นในศตวรรษที่ ๒๑ - โครงการส่งเสริมทักษะการคิดดว้ ยเทคนิคการเรยี นเชิงรุก (Active Learning) ๔) เป็นโครงการท่ีพัฒนาหรือส่งเสรมิ ความสามารถในการสร้างนวตั กรรมการพัฒนาผเู้ รียนให้ เป็นนวัตกร ความรู้หรือทักษะที่จาเป็นในกระบวนการสร้างนวัตกรรม การสร้างแรงบันดาลใจและเปิดพ้ืนที่ แสดงผลงานนวัตกรรมฝีมือของผู้เรียน การผลิตนวัตกรรมที่เหมาะกับความต้องการและบริบทของชุมชนและ สงั คม ตวั อยา่ ง - โครงการประกวดโครงงาน สง่ิ ประดษิ ฐ์ พฒั นานวัตกรรุ่นใหม่ - โครงการพัฒนาเยาวชนนักคิดส่งิ ประดษิ ฐส์ ร้างสรรค์ - โครงการสง่ เสรมิ ผเู้ รียนใหม้ ีความรู้และทกั ษะสร้างสรรค์นวัตกรรม - โครงการบูรณาการเรียนร้ดู ้วยชมุ ชนเพอื่ สรา้ งนวตั กรรมสู่ชุมชนยง่ั ยนื ๕) เป็นโครงการที่พัฒนาหรือส่งเสริมความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ฝึกทักษะ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการทางานหรือแสวงหาความรู้ การสร้างนวัตกรรมหรือผลงานอย่างสรา้ งสรรค์ การใช้งานอยา่ งปลอดภัยมีการรู้ (Literacy) มคี ุณธรรมจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และพัฒนาหรือ ส่งเสริมความสามารถการส่ือสารในรูปแบบการส่อื สารทุกแพลตฟอร์ม (Platform) การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ท้งั ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ ตวั อย่าง - โครงการพฒั นาทกั ษะการใชส้ ารเทศและเทคโนโลยเี พื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต - โครงการสง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยีอย่างปลอดภัย - โครงการ Stop Online Bullying รกั ใครอยา่ รงั แกกันในโลกออนไลน์ - โครงการพฒั นาและสง่ เสริมการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ๖) เป็นโครงการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาที่กาหนด เสริมความรู้ความเข้าใจเนื้อหาสาระในรายวิชาท่ีผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่าไม่ถึงเป้าหมาย พัฒนา ความก้าวหน้าในผลสอบระดับชาติหรือสากล ตัวอย่าง - โครงการยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น - โครงการยกระดับคณุ ภาพผ้เู รยี นเพ่ือการทดสอบระดับชาติ / ระดับสากล - โครงการเตรยี มความพรอ้ มการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ

๑๐๓ ๗) เป็นโครงการพัฒนาหรือส่งเสริมความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่อการทางาน การประกอบงานอาชีพหรือการศึกษาต่อ โดยควรพัฒนาทักษะใหต้ รงตามความต้องการของตลาดแรงงานในยุค ปัจจบุ ันและอนาคต ตรงตามความต้องการของชุมชนทอ้ งถิน่ ความต้องการและความถนัดของผเู้ รยี น ตวั อย่าง - โครงการแนะแนวอาชีพ / แนะแนวการศกึ ษาตอ่ - โครงการพัฒนาการเรียนรู้และพัฒนาทักษะการประกอบอาชีพงานในท้อ งถ่ิน อาทิ การเกษตร การประมง การค้าขาย การค้าข้ามชายแดน งานบริการ งานหตั ถกรรม - โครงการส่งเสริมทกั ษะชวี ติ และทักษะอาชีพเพื่อสร้างรายไดร้ ะหว่างเรียน - โครงการส่งเสรมิ ทักษะการเปน็ ผปู้ ระกอบการรุ่นเยาว์ - โครงการสง่ เสริมทกั ษะอาชีพใหมแ่ ละอาชีพทางเลือกในยุคดิจทิ ลั ๔.๐ ๒. โครงกำรดมี ุ่งเปำ้ พัฒนำมำตรฐำนท่ี ๑ คุณภำพของผเู้ รยี น: คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผูเ้ รียน ลักษณะของโครงการเน้นการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้เป็นผู้ที่มีคุณลักษณะท่ีดีที่พึงประสงค์ ท้ังใน ด้านพฤติกรรม คุณธรรม จริยธรรม ทัศนคติ ค่านิยม สุขภาวะครบด้าน เพื่อจะได้เป็นบุคคลที่ดี เข้มแข็งและมี ความสขุ บนบรรทดั ฐานและความตอ้ งการของสถานศกึ ษา ชมุ ชน ท้องถ่ิน สงั คม ประเทศชาตแิ ละโลก ลักษณะของโครงการดีมงุ่ เปา้ พัฒนาตามมาตรฐานที่ ๑ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผูเ้ รียน มดี งั น้ี ๑) เป็นโครงการพัฒนาหรือส่งเสริมพฤติกรรมของผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มี คณุ ลักษณะและคา่ นยิ มทดี่ ีตามทสี่ ถานศึกษากาหนด ไมข่ ดั กบั วฒั นธรรมและกฎหมายของสังคม โดยอาจจะยึด ตามค่านยิ มร่วมและคุณธรรมตามทม่ี าตรฐานการศกึ ษาชาตไิ ดก้ าหนดไว้ ตวั อยา่ ง - โครงการพัฒนาคนดีตามวิถีประชาธิปไตย - โครงการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตตามวิถเี ศรษฐกิจพอเพียง - โครงการจติ อาสารว่ มพัฒนาสถานศกึ ษา ๒) เป็นโครงการพัฒนาหรือส่งเสริมพฤติกรรมหรือทัศนะคติของความภูมิใจในท้องถ่ิน เห็น คุณค่าของความเป็นไทย สร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ รักษาวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมท้องถิ่น ประเพณี และภูมิปญั ญาในท้องถิ่น ตัวอยา่ ง - โครงการรักษถ์ นิ่ เกดิ และความเปน็ ไทย - โครงการวันสาคญั ทางศาสนา ประเพณแี ละวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ตามภูมภิ าค - โครงการอนรุ กั ษแ์ ละสง่ เสริมภมู ิปัญญาท้องถิ่น - โครงการส่งเสริมแต่งกายและภาคภมู ิใจใชภ้ าษาท้องถิ่นในสถานศึกษา - โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ หรือโครงการอนุรักษ์ ส่งเสิรม ตามพระราชดาริฯ อ่ืน ๆ

๑๐๔ ๓) เป็นโครงการพัฒนาหรือส่งเสริมพฤติกรรมหรือทัศนะคติของการอยู่ร่วมกับผู้อื่นท่ีมีความ แตกตา่ งกนั อยา่ งหลากหลายทัง้ ดา้ นเพศ วัย เชอื้ ชาติ ศาสนา วฒั นธรรมและประเพณี หรือความคิด ตัวอย่าง - โครงการส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลก - โครงการส่งเสรมิ การอยรู่ ่วมกันบนวัฒนธรรมท่หี ลากหลาย ๔) เป็นโครงการทสี่ ่งเสรมิ ความแข็งแรงสขุ ภาพกาย สขุ ภาวะทางกาย สขุ ภาวะทางจิต อารมณ์ และสงั คม สง่ เสรมิ การอย่รู ว่ มกับผอู้ ืน่ การทางานเป็นทมี เขา้ ใจและไม่ขัดแยง้ กบั ผ้อู น่ื ตัวอย่าง - โครงการสง่ เสริมสขุ ภาพจติ ดชี ีวิตมคี วามสุข - โครงการส่งเสรมิ สุขภาวะทางกายดแี ละสขุ ภาวะจิตให้เข้มแขง็ - โครงการส่งเสรมิ สขุ ภาพด้วยการออกกาลงั กาย ๓. โครงกำรดมี ุ่งเปำ้ พัฒนำมำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร ลักษณะของโครงการท่ีเกิดขึ้นตามมาตรฐานการศึกษาที่ ๒ น้ีจะเป็นกระบวนการท่ีสนับสนุน ส่งเสริม พฒั นาและดาเนนิ การในการจดั การศกึ ษา การบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ของสถานศึกษาเพ่ือมุง่ สูเ่ ปา้ หมายการ ทางานที่สามารถพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้ตรงตามเป้าหมายที่พึงประสงค์ท่ีได้กาหนดไว้ ลักษณะของ โครงการตามมาตรฐานนเี้ นน้ การพฒั นาหรือส่งเสริมงานคุณภาพการจัดระบบบริหารจัดการ การพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษา การกาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน การดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้น คุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาในทุกกลุ่มเป้าหมาย การพัฒนาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา การพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ และการจัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ รวมท้ังจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ที่เออื้ ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ ลักษณะของโครงการดมี ่งุ เปา้ พัฒนาตามมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ มีดงั น้ี ๑) เป็นโครงการพัฒนาทิศทางการทางานขององค์กร สร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิก ชุมชน ภาคีเครือข่ายในการกาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์ พันธกิจ แนวทางการจัดสถานศึกษาของสถานศึกษาให้ ตอบสนองความต้องการและตรงตามบรบิ ทของสังคม ตัวอยา่ ง - โครงการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาและภาคเี ครือข่ายเพื่อส่งเสรมิ การพฒั นาสถานศึกษา - โครงการสานความสมั พนั ธแ์ ละสรา้ งความรว่ มมือระหวา่ งสถานศึกษาและชมุ ชน ๒) เป็นโครงการพัฒนาหรือส่งเสริมการบริหารจัดการสถานศึกษา การทางานอย่างเป็นระบบ และมีคุณภาพ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิกของสถานศึกษา วางแผนและพัฒนาแผนคุณภาพการจัด การศึกษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี โครงการ การประกนั คณุ ภาพการศึกษา การจดั สรรทรัพยากรทางการศึกษา ระบบตดิ ตามตรวจสอบและปรับปรุงงานอยา่ งตอ่ เนื่อง ระบบช่วยเหลือดแู ลนักเรยี น ระบบนิเทศภายใน

๑๐๕ ตัวอยา่ ง - โครงการเวทีแลกเปลย่ี นเรียนรกู้ ารทางานแบบมอื อาชีพของครูในสถานศึกษา - โครงการนิเทศการสอนเพ่อื พฒั นาศกั ยภาพครู - โครงการพัฒนาระบบงานบรหิ ารคุณภาพแบบเนน้ การมสี ่วนรว่ ม - โครงการพฒั นาแผนคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา หรอื แผนปฏิบตั กิ ารประจาปขี องสถานศึกษา - โครงการสง่ เสิรมการทางานเชงิ คุณภาพเพ่ือรองรับการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ๓) เป็นโครงการพัฒนาหรือส่งเสริมการบริหารจัดการงานวิชาการท้ังการพัฒนาหลักสูตรของ สถานศึกษาและเน้นการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้าน ตามเป้าหมายท่ี พงึ ประสงคข์ องสถานศกึ ษาแกผ่ ู้เรียนครอบคลมุ ทุกกลุ่มเป้าหมาย ตวั อยา่ ง - โครงการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา หรือ โครงการพัฒนาหลกั สูตรทอ้ งถิ่น - โครงการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ - โครงการพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาสมู่ าตรฐานสากล - โครงการจัดการเรยี นการสอนและการบูรณาการเพ่ือพัฒนาผเู้ รียนรอบร้รู อบด้าน ๔) เป็นโครงการพัฒนาหรือส่งเสริมศักยภาพของครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทาง วิชาชีพ สถานศึกษาอาจเป็นผู้จัดกิจกรรมเองหรือเปิดโอกาสให้ของครูและบุคลากรไปพัฒนาตนเองจากนอก สถานศึกษา เป็นโครงการท่ีพัฒนาความรู้ใหม่ ทักษะใหม่ท่ีเกี่ยวข้องในการทางานและการสอน และมีโครงการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ชุมชนทางวชิ าชพี ขยายผลการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนางาน พัฒนาตนเองและพฒั นาการจัดการ เรียนรู้ของผู้เรยี น ตัวอยา่ ง - โครงการอบรม สมั มนาวชิ าการแบบออนไลนห์ รอื แบบปกติ (ตามประเด็นทีน่ า่ สนใจใหม่ ๆ) - โครงการศึกษาดงู าน (จากตัวอย่างที่ดีในประเด็นทนี่ ่าสนใจใหม่ ๆ) - โครงการแลกเปล่ยี นเรียนรูข้ องชมุ ชนนักปฏิบัตคิ รูและบุคลากรภายในสถานศึกษา - โครงการเวทีนาเสนอและประกวดผลงานวิชาการและนวัตกรรมการศึกษาของครูและ บุคลากรภายในสถานศึกษา ๕) เป็นโครงการที่มีการพัฒนา ปรับปรุง จัดหา จัดซื้อ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ทาง การศึกษาท่ีครอบคลุมทุกงานและกลุ่มสาระวิชาต่าง ๆ เป็นโครงการท่ีส่งเสริมการสร้างสภาพแวดล้อมทาง กายภาพของสถานศกึ ษาท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน ภมู ทิ ศั น์ โครงสร้างพน้ื ฐาน สภาพแวดล้อมทางสังคม ท่ีเออื้ ต่อการจดั การเรยี นรูอ้ ย่างมคี ุณภาพ ตวั อยา่ ง - โครงการจัดซ้อื และพฒั นาสือ่ วสั ดุ อปุ กรณ์และนวตั กรกรรมการเรียนการสอน - โครงการพัฒนาอาคาร ภมู ทิ ัศน์ และสภาพแวดลอ้ มภายในสถานศกึ ษา - โครงการสรา้ งห้องสตูดิโอเพอ่ื การสอนออนไลน์

๑๐๖ ๖) เป็นโครงการทีม่ ุ่งการพัฒนา ปรับปรุง จัดหา การบริการ การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอื่ นาไปใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรยี นรตู้ ามสภาพการศึกษาและตามบริบทของสถานศึกษา การ ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการออกแบบการเรียนการสอนของครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันที่มีการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ในรปู แบบออนไลน์ทาใหส้ ถานศึกษาต้องมีการจัดซ้ือจัดหา บริหารจัดการเคร่ืองมือดจิ ิทลั ทัง้ ส่วนทเี่ ปน็ อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์หรือแอพพลิเคชัน สัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ให้มีจานวนและปริมาณท่ีเพียงพอเพื่อ รองรับการใช้งานภายในสถานศึกษา นอกจากนี้ ยังต้องพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทุกฝา่ ย ท้ังผู้บริหาร ผู้สอน ผู้เรียน ผู้สนับสนุน ทุกคนให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะที่ดีเพ่ือสนับสนุนการใช้งานในทุกกิจกรรม ท่ดี าเนินการในรูปแบบออนไลน์หรือแบบผสมผสานแบบออนไลนแ์ ละออฟไลนด์ ้วย ตวั อยา่ ง - โครงการจดั ทาระบบฐานข้อมลู ออนไลนเ์ พ่อื การประกันคุณภาพการศึกษา - โครงการปรบั ปรงุ เทคโนโลยสี ารสนเทศและเครือข่ายอินเทอร์เนต็ - โครงการยกระดับศักยภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการจัดการเรียนการสอนสาหรับ ผูส้ อนและผเู้ รียน - โครงการอบรมการออกแบบการสอนและการประเมินผลแบบออนไลน์สาหรับครูผู้สอนและ บคุ ลากรทางการศึกษา ๔. โครงกำรดมี ุ่งเปำ้ พัฒนำมำตรฐำนท่ี ๓ กระบวนกำรจดั กำรเรียนกำรสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ลักษณะของโครงการที่เกิดข้ึนตามมาตรฐานการศึกษาที่ ๓ น้ีจะเป็นกระบวนการท่ีดาเนินการจัดการ เรียนการสอน การวัดประเมินผล สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาผู้เรียน ผ่านกิจกรรมและดาเนินการของครูผู้สอน ลักษณะของโครงการตามมาตรฐานนี้เน้นการพัฒนาหรือส่งเสริมงานคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษา การสร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและการปฏิบัติจริง การบริหารจัดการ ชน้ั เรยี นเชิงบวกท่ีเน้นการสร้างปฏิสมั พนั ธ์ท่ีดี การรจู้ กั ผเู้ รียนรายบุคคล การตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่าง เป็นระบบ รวมท้งั การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้ ลักษณะของโครงการดีมุ่งเป้าพัฒนาตามมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียน เป็นสาคญั มดี ังนี้ ๑) เป็นโครงการพัฒนาหรือส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของ หลักสูตรสถานศึกษาสาหรบั ผสู้ อน ตัวอย่าง - โครงการพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา - โครงการสง่ เสรมิ ความรู้ความเขา้ ใจมาตรฐาน ตัวชว้ี ัด ของหลกั สตู รสถานศกึ ษา อาจแบง่ ตาม ตามสาระวชิ าแตล่ ะวชิ ากไ็ ด้

๑๐๗ ๒) เป็นโครงการที่ส่งเสริม การพัฒนาความสามารถของผู้สอนในการจัดทาแผนการจัดการ เรยี นรู้ทล่ี งสูก่ ารปฏิบัติได้จริง รูปแบบการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญทนั สมยั และเหมาะสมกับผ้เู รียน ตัวอยา่ ง - โครงการพัฒนาโครงการสอนและแผนการจดั การเรยี นรสู้ ่กู ารปฏิบตั จิ ริง - โครงการวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการเรียนร้ขู องผู้เรยี น - โครงการวิจัยเพ่ือพฒั นาการสอน / โครงการวจิ ยั ปฏิบตั ิการในช้ันเรียน - โครงการพฒั นากระบวนการเรยี นการสอนแบบเน้นการเรียนเชงิ รุกและเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ - โครงการพัฒนาทักษะการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพสาหรับผู้สอน อาทิ แผนแบบบรู ณาการ แผนแบบการจดั การศกึ ษาองคร์ วม แผนการสอนเชงิ รุก ๓) เป็นโครงการที่สนับสนุน ส่งเสริม ลงมือปฏิบัติจริงในงานการสอนของผู้สอนให้มีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและการลงมือมือปฏิบัติจริงท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิด การสรปุ องค์ความรู้ การแสดงออก การนาเสนอผลงานและการนาความรไู้ ปใชจ้ รงิ ตวั อย่าง - โครงการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนเพ่อื พัฒนาทักษะการคดิ ในศตวรรษที่ ๒๑ ของผเู้ รียน - โครงการจัดนทิ รรศการและแสดงผลการเรียนรู้ประจาปีการศึกษา ๔) เป็นโครงการที่สนับสนุน ส่งเสริม ลงมือปฏิบัติจริงให้ผู้สอนได้ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหลง่ เรยี นรทู้ เ่ี อื้อต่อการเรียนรู้ ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ มาบูรณาการในการสอนของตน มกี ารออกแบบกิจกรรมการ เรยี นทีส่ ง่ เสริมให้ผูเ้ รียนไดม้ ีโอกาสหาความรูด้ ว้ ยตนเองผ่านสอ่ื ทห่ี ลากหลาย ตวั อยา่ ง - โครงการจัดการเรียนการสอนท่ียดึ โยงกบั บรบิ ทของชมุ ชนและท้องถิ่น - โครงการบูรณาการสอนโดยใช้ชมุ ชนเป็นฐานหรือใช้แหลง่ เรยี นรจู้ ากทอ้ งถน่ิ - โครงการสอนแบบโครงงานเป็นฐานเพ่ือพัฒนานวตั กรรมสู่ชมุ ชนท้องถิ่น - โครงการยกระดับการสอนดว้ ยการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศตามสาระวชิ า ๕) เป็นโครงการท่ีมีการส่งเสริม พัฒนาความรู้ ทักษะหรือการลงมือปฏิบัติจริง ในการบริหาร จดั การชั้นเรยี นของผ้สู อน การสร้างปฏสิ มั พนั ธเ์ ชิงบวกระหว่างผู้เรยี นและผู้สอน การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทดี่ ีให้ ผู้เรียนมีความรัก ความพร้อม ความสุขที่จะอยู่ร่วมกันกับครูผู้สอน โครงการนี้อาจเป็นโครงการท่ีอยู่ภายใต้การ พัฒนาศักยภาพผู้สอนตามวิชาชีพในมาตรฐานท่ี ๒ ใช้โครงการเดียวกันเพื่อพัฒนาพัฒนาความรู้ ทักษะ ศกั ยภาพของผสู้ อนในการบริหารจดั การ ช้ันเรยี นเชงิ บวก แต่โครงการในมาตราฐานที่ ๓ นจี้ ะเป็นโครงการหรือ การนาไปใชจ้ ริงในการบรหิ ารจดั การชนั้ เรียนตามสถานการณ์จรงิ ตวั อย่าง - โครงการสรา้ งสายสมั พันธ์เดก็ รักครู - ครูรักเดก็ - โครงการพอ่ ครูแมค่ รพู ร้อมให้คาปรึกษาและพาชวี ติ สุขสันต์ - โครงการสอนแบบกระบวนการกลุ่ม / การทางานเป็นทีม / การสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกันทั้ง แบบออนไลน์และในชั้นเรยี นปกติ

๑๐๘ ๖) เป็นโครงการท่ีมีการส่งเสริม พัฒนาความรู้ ทักษะหรือการลงมือปฏิบัติจริงในการวัดและ ประเมินผลผู้เรียนอย่างเป็นระบบ อาจเริ่มต้นเป็นโครงการท่ีส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ การออกแบบ การวัด การประเมินผล วิธีการวัด เครื่องมือการวัด และการประเมินผลที่เหมาะสมกับวิธีการสอน เนื้อหาวิชา ผู้เรียน และเทคโนโลยีที่สามารถนาเข้ามาใชใ้ นการการวดั และการประเมินผลทั้งในรูปแบบการสอนในช้ันเรียน และการสอนแบบออนไลน์ หลังจากโครงการเพ่ิมพูนความรู้แล้วควรมีโครงการส่งเสริมการนาไปใช้และปฏิบัติจริงใน การวัด ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบที่เหมาะสมกับบริบทการเรียนการสอน และการนาผลมา พฒั นาผู้เรียน ปรบั ปรุง แกไ้ ขให้ผเู้ รยี นประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายการเรียนร้ทู ี่ต้ังไว้ ตวั อย่าง - โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการออกแบบวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลผเู้ รียนแบบออนไลน์ - โครงการพฒั นาทกั ษะการใช้เครือ่ งมือวดั ผลแบบออนไลนส์ าหรบั ผู้สอน - โครงการพฒั นาความรแู้ ละทกั ษะการประเมินผเู้ รยี นตามสภาพจรงิ ๗) เป็นโครงการท่ีมีการสนับสนุนให้ผู้สอน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องนาผลการจัดการเรียนการสอน และประสบการณ์มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เพ่ือศึกษาปัญหา ทบทวนการทางาน การสอน ตรวจสอบ ผลการเรียนของผู้เรียน แนวทางการแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอนของผู้สอนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง อาทิ ผู้สอนในระดับชั้นเดียวกัน ผู้สอนในกลุ่มสาระวิชาเดียวกัน ครูประจาช้ัน หัวหน้ากลุ่มสาระหรือสายชั้น เปน็ ต้น ตวั อยา่ ง - โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนของสถานศึกษา หรือหรือของสาย ชน้ั เรยี น หรอื ของกลุ่มสาระ - โครงการแลกเปล่ียนเรียนรู้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพระดับเครือข่าย ระดับชาติ หรือระดับ นานาชาติ - โครงการจัดการและแก้ไขปัญหาการเรียนของผู้เรียนอย่างมีส่วนร่วมของผู้สอน ผู้เรียนและ ผู้ปกครอง มำตรฐำนกำรอำชวี ศกึ ษำ มีจานวน ๓ มาตรฐาน มำตรฐำนท่ี ๑ คุณลักษณะของผสู้ ำเรจ็ กำรศึกษำอำชวี ศกึ ษำทีพ่ งึ ประสงค์ ๑.๑ ด้านความรู้ ๑.๒ ดา้ นทกั ษะและการประยุกต์ใช้ ๑.๓ ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ มำตรฐำนที่ ๒ กำรจดั กำรอำชวี ศึกษำ ๒.๑ ดา้ นหลกั สตู รอาชวี ศกึ ษา ๒.๒ ดา้ นการจดั การเรียนการสอนอาชีวศึกษา ๒.๓ ด้านการบริหารจดั การ

๑๐๙ ๒.๔ ดา้ นการนานโยบายสูก่ ารปฏิบัติ มำตรฐำนท่ี ๓ กำรสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรว่ มมอื ในการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ ๓.๒ ดา้ นนวัตกรรม สิง่ ประดษิ ฐ์งานสร้างสรรค์ งานวจิ ัย ลักษณะของโครงกำรท่ดี ที ี่สอดคลอ้ งกับมำตรฐำนกำรศึกษำสถำนศึกษำระดบั กำรอำชวี ศกึ ษำ ๑. โครงกำรดีมงุ่ เป้ำพัฒนำมำตรฐำนที่ ๑ คณุ ลักษณะของผู้สำเรจ็ กำรศกึ ษำอำชีวศกึ ษำทพ่ี งึ ประสงค์ ลักษณะของโครงการเน้นการพัฒนาคุณภาพการของผู้เรียนหรือผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาท่ี พึงประสงค์ ให้เป็นผู้ที่มีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการประยุกต์ใช้ตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา แต่ละระดับ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ท่ีสอดคล้องกับความต้องการ ของตลาดแรงงาน ชุมชน สังคม ประเทศ ความถนัดของผู้เรียน นโยบายต่าง ๆ และสัมพันธ์กับความต้องการ ของประเทศไทยและคุณลักษณะคนไทย ๔.๐ ลักษณะของโครงการดีมุ่งเป้าพัฒนาตามมาตรฐานท่ี ๑ คุณลักษณะของผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ทพ่ี ึงประสงค์ มีดังน้ี ๑.๑ ดำ้ นควำมรู้ เป็นโครงการที่มีเป้าหมายเพื่อพัฒนา ส่งเสริม ความรู้เชิงทฤษฎีและหรือข้อเท็จจริงตาม หลักการ ทฤษฎีและแนวปฏิบัติต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาท่ีเรียนหรือการปฏิบัติงานตามสาขาวิชานั้น หรือ เป็นโครงการที่ส่งเสริมความรู้เชิงทฤษฎีและหรือข้อเท็จจริงตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ การศึกษา ส่งเสริมความรู้ตามการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดด้าน อาชวี ศึกษา (V-NET) ตัวอย่าง - โครงการเตรยี มความพรอ้ มสอบวดั มาตรฐานคณุ วฒุ อิ าชีวศึกษา - โครงการพัฒนาความรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชวี ศึกษาตามระดับการศึกษา หรอื ตามศาสตร์ สาขาวชิ านั้น - โครงการแนะแนวการเรยี นและอาชพี ของผู้เรยี น - โครงการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ตามศาสตรส์ าขาวิชาทางอาชวี ศกึ ษา ๑.๒ ดำ้ นทักษะและกำรประยกุ ต์ใช้ เป็นโครงการที่มีเป้าหมายเพ่ือพัฒนา ส่งเสริม ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวติ เพ่อื นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการประกอบอาชีพตามวิชาชีพและการดาเนินชวี ติ (๑) โครงการทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ สถานศึกษาสามารถเลือกโครงการที่ พัฒนาผู้เรียนให้มีลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามเป้าหมายของสถานศึกษาและตามความต้องการของสังคม เช่น การเป็นผู้ประกอบการ ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ในรูปแบบต่าง ๆ การประกอบอาชพี ตามสาขาวิชาชพี ต่างๆ

๑๑๐ (๒) โครงการท่ีส่งเสริมทักษะวิชาชีพและทักษะชีวิตเพ่ือให้เป็นไปตามมาตรฐาน คณุ วฒุ อิ าชวี ศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏบิ ัตงิ านและการดารงชีวิตอยรู่ ่วมกับผู้อื่น ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและมีสุขภาวะที่ดี ตัวอยา่ ง - โครงการยกระดับพัฒนาศกั ยภาพฝีมือแรงงานยุคดจิ ิทลั - โครงการอาชวี ะแปรผนั ส่กู ารเป็นผูป้ ระกอบการใหม่ - โครงการพัฒนาผูเ้ รยี นอาชีวะ สรา้ งส่งิ ประดิษฐ์ สรา้ งรายได้ - โครงการพฒั นาทกั ษะการปฏิบตั ิงานอยา่ งปลอดภัย - โครงการพัฒนาทักษะการคิดสาหรับชาวอาชวี ะ อาทิ ทักษะการคดิ อย่างมวี จิ ารญาณ การคดิ แกป้ ัญหา การคดิ เชิงระบบ การคิดแบบสรา้ งสรรค์ - โครงการสง่ เสริมความฉลาดทางดิจิทัล - โครงการพัฒนาทักษะวชิ าชพี และทักษะชีวติ ตามมาตรฐานคณุ วุฒิอาชีวศกึ ษา ๑.๓ ดำ้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ เป็นโครงการพัฒนาหรือส่งเสริมพฤติกรรมของผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ ค่านิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติ และกิจนิสัยที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด หรือต้นสังกัดได้กาหนด คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ไว้ เชน่ มีภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสทิ ธิของผู้อ่ืน มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าท่ีของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะและมีจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม เป็นต้น โดยไม่ขัดกับวัฒนธรรมและกฎหมายของสังคม หรืออาจ เป็นโครงการตามเกณฑ์ของกิจกรรมองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) หรือองค์การ เกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.) ที่ได้กาหนดลักษณะของกิจกรรมและการประกวดกิจกรรมท่ีดีสาหรับการอาชีวศึกษา นอกจากน้ีอาจ กาหนดโครงการเพ่ือพฒั นาคณุ ธรรม ค่านยิ มร่วมตามที่มาตรฐานชาตกิ าหนดไวก้ ็ได้ ตัวอยา่ ง - โครงการการพัฒนาภาวะผนู้ าทางอาชวี ศึกษา - โครงการอาชวี ภมู ิใจและรกั ษ์ท้องถ่นิ - โครงการการประกวดนวัตกรรม หรือ ผลลงานของผู้เรียนอาชีวศึกษาระดับสถานศึกษา ระดบั เครอื ข่าย ระดบั ภูมภิ าค ระดับประเทศ หรือระดบั สากล - โครงการสร้างค่านยิ มการอย่รู วมกนั อยา่ งสงบสขุ ภายใต้สงั คมทแี่ ตกตา่ ง - โครงการอาชีวจติ อาสา ปันน้าใจสู่สังคมง - โครงการอนรุ กั ษพ์ ันธกุ รรมพชื อันเน่อื งมาจากมพระราชดาริ

๑๑๑ ๒. โครงกำรดีมุ่งเป้ำพฒั นำมำตรฐำนที่ ๒ กำรจัดกำรอำชวี ศกึ ษำ ลักษณะของโครงการตามมาตรฐานการศึกษาท่ี ๒ นี้จะเป็นกระบวนการที่สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนา และดาเนินการบริหารการจัดการสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการดาเนินงานท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนหรือผู้สาเร็จการศึกษาตามมาตรฐานท่ี ๑ และรองรับเป้าหมายท่ีพึงประสงค์ ที่ได้กาหนดไว้ ลักษณะของโครงการตามมาตรฐานนี้เน้นการพัฒนา ส่งเสริมและการบริหารจัดการ หลักสูตร รายวิชา การจดั การเรียนการสอน ผู้สอน และทรัพยากรของสถานศึกษา ลกั ษณะของโครงการดมี ุง่ เป้าพฒั นาตามมาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มดี ังน้ี ๑) เป็นโครงการพัฒนาหรือส่งเสริมให้เกิดหรือมีหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ และตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับ สถานประกอบการหรือหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่าง - โครงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศกึ ษา - โครงการศึกษาความต้องการจาเปน็ ของผมู้ ีสว่ นเกีย่ วข้องกับการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา ๒) เป็นโครงการส่งเสริมการปรับปรุง กาหนดรายวิชาให้มีความทันต่อการเปล่ียนแปลงของ เทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้อง โดยกาหนดเป็นรายวิชาใหม่หรือปรับปรุงรายวิชาเดิมที่มีให้ทันสมัย ความสอดคล้องกับความ ต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ และตลาดแรงงานโดยผสานความร่วมมือกับสถานประกอบการ หรือหน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้อง ตวั อยา่ ง - โครงการปรบั ปรงุ รายวชิ าของหลักสตู ร - โครงการพัฒนารายวิชาประจาหลักสูตร - โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรกู้ ารจัดการเรียนการสอนในยคุ ดจิ ทิ ัล - โครงการฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี - โครงการแสวงหาความร่วมมือเพ่อื พฒั นาผู้เรียนสตู่ ลาดแรงงาน ๓) เป็นโครงการที่พัฒนา ส่งเสริมศักยภาพทั้งด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถตามวิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรม สร้างความก้าวหน้าทางวิชาชีพและความเข้มแข็งทางวิชาการให้มีคุณวุฒิ คุณภาพและ จานวนผู้สอนครบถ้วนตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนของ แต่ละหลักสูตร แตล่ ะระดับการศกึ ษา ตัวอยา่ ง - โครงการจดั หาอัตรากาลงั และครผู สู้ อนของหลักสตู ร/สถานศกึ ษา - โครงการพฒั นาสมรรถนะการสอนตามหลกั สตู รฐานสมรรถนะ - โครงการยกระดบั คุณภาพการจัดการเรยี นการสอนตามวถิ ปี กติใหมข่ องผสู้ อนอาชีวศึกษา - โครงการพัฒนาความกา้ วหนา้ ทางวิชาชพี ของผสู้ อนอาชีวศกึ ษา

๑๑๒ ๔) เปน็ โครงการท่สี ง่ เสริม สนบั สนุน ติดตาม กากับ ดแู ลใหผ้ สู้ อนจดั การเรียนการสอนรายวชิ า ใหถ้ ูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ตามหลกั สูตรแต่ละระดบั ตวั อย่าง - โครงการพฒั นาสมรรถนะการสอนตามหลักสตู รฐานสมรรถนะ - โครงการพัฒนาทักษะการตัดกระบวนการเรยี นการสอนและการประเมินผู้เรียนตามสภาพจรงิ - โครงการยกระดบั คุณภาพผ้สู อนอาชีวยคุ ไทยแลนด์ ๔.๐ - โครงการยกระดับคุณภาพผสู้ อนอาชวี ยุคดจิ ทิ ัล - โครงการอบรมการจัดการเรยี นการสอนออนไลนส์ าหรับผูส้ อนอาชวี ศกึ ษา - โครงการนิเทศการสอนภายในสถานศึกษา ๕) เป็นโครงการพัฒนา ส่งเสริม การแผนการจัดการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน ด้วยเทคนิค วธิ กี ารสอน ทห่ี ลากหลาย มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ ตัวอย่าง - โครงการพฒั นาโครงการสอนและแผนการจดั การเรียนรู้ประจาภาคเรยี นหรือปีการศึกษา - โครงการส่งเสรมิ การวดั และประเมินผลผู้เรยี นตามสภาพจรงิ ด้วยเครื่องมอื วดั ทีผ่ ลมีคุณภาพ ๖) เป็นโครงการที่ส่งเสริมครูผู้สอนให้ทาการสอนที่ใช้สอ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งเรยี นรูใ้ นการจดั การเรยี นการสอน ตัวอย่าง - โครงการสง่ เสริมการสอนดว้ ยการบูรณาการเทคโนโลยสี ารสนเทศและนวตั กรรม - โครงการการจัดการสอนด้วยการปฏิบัติจริงร่วมกับการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชน หรือแหล่ง เรียนรอู้ อนไลน์ หรือเครื่องมอื ดจิ ิทลั เพื่อการเรียนรู้ ๗) เป็นโครงการที่ส่งเสริมครูผู้สอนให้มีความรู้และทาวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพจัดการเรียนรู้ และแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ ซึ่งผู้สอนสามารถนาเอาข้อมูล ผลของการปฏิบัติงานการจัดการเรียนการสอน มาใช้ในการทาวิจยั ไดเ้ ชน่ กัน ตวั อย่าง - โครงการส่งเสริมการวิจัยปฏิบัติการในช้ันเรียน หรือ การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน อาชวี ศึกษาของครูอาชีวะ ๘) เป็นโครงการที่เน้นการบริหาร การพัฒนา ปรับปรุง จัดหา จัดซื้อ จัดสรร บุคลากร วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ทางการศึกษา ปรับปรุง ภูมิทัศน์ สภาพแวดล้อม อาคารสถานท่ี ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสิ่งอานวยความสะดวก ให้มีความเพียงพอต่อความต้องการ เหมาะสมกับสถานการณ์ พร้อมสู่โลกความเป็นโลกดิจิทัลและเป็นไปตาม งบประมาณของสถานศกึ ษาทีม่ ีอยู่อย่างเต็มศักยภาพและมปี ระสิทธภิ าพ ตัวอย่าง - โครงการจัดซอื้ วัสดุ-อปุ กรณ์ ครภุ ัณฑ์เพอ่ื การฝึกทกั ษะตามมาตรฐานวิชาชพี - โครงการกอ่ สรา้ งและปรับปรุงภมู ทิ ัศน์ อาคาร สถานที่ โรงฝึกงานภายในสถานศึกษา

๑๑๓ - โครงการสร้างสื่อ แหลง่ เรียนรแู้ ละสถานฝกึ ปฏิบตั ิสาหรบั ผเู้ รยี นอาชีวศกึ ษา - โครงการพฒั นาส่ือ ฐานขอ้ มูล แหลง่ ทรพั ยากรออนไลนเ์ พือ่ ยกระดบั การเรียนการสอน - โครงการพฒั นาศักยภาพการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศของผูส้ อนอาชีวศกึ ษา ๙) เปน็ โครงการที่เน้นการบรหิ าร การพฒั นา ปรับปรงุ จดั หา จัดซ้อื จดั สรร แหลง่ เรียนรู้และ ศูนย์วิทยบริการหรือห้องสมุดให้มีความพร้อมและเพียงพอสาหรับให้ครูผู้สอน บุคลากรทางการศึกษา และ ผูเ้ รียน หรือผสู้ นใจ ใชบ้ รกิ ารคนคว้าหาความรู้เพื่อสง่ เสรมิ การเรียนรู้ ตัวอย่าง - โครงการพฒั นาสอ่ื ฐานข้อมูล แหลง่ เรียนร้สู าหรบั บคุ ลากรภายในภายนอกสถาบันการศกึ ษา - โครงการบริหารและจัดการแหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการหรือห้องสมุดของสถานบัน การศกึ ษา - โครงการสรา้ งความร่วมมือการใชแ้ หล่งเรยี นรูร้ ่วมกนั ระหว่างเครอื ขา่ ยสถาบัน ๙) เป็นโครงการท่ีเน้นการบริหาร การพัฒนา ปรับปรุง ดูแล จัดหา จัดซื้อ จัดสรร ระบบ เครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต ผรู้ บั ผิดชอบดูแล เพ่ือใช้ในการบริหารจัดการข้อมลู การเขา้ ถึงข้อมลู ระบบความปลอดภัย การจัดเกบ็ ระบบการเชอื่ มโยงการ อัตราความเรว็ ที่มีประสิทธภิ าพเหมาะสมกับการใช้งาน และครอบคลุมพ้ืนที่ การใชง้ านภายในสถานศึกษาและเช่ือมต่อสภู่ ายนอกสถานศึกษาได้ดี ซง่ึ มคี วามจาเปน็ อย่างยิ่งต่อท่ีสถานศึกษา ต้องมีการจัดหา พัฒนา ดูแล ปรับปรุงอยู่เสมอ เพื่อรองรับสถานการณ์การปฏิบัติงานแบบออนไลน์ของ สถานศึกษา ตัวอยา่ ง - โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตความเรว็ สงู ของสถาบันการศึกษา - โครงการพัฒนาสถาการณจ์ าลองแบบออนไลน์เพ่ือสง่ เสรมิ การฝึกทักษะอาชีพ ๑๐) เป็นโครงการสร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการเพื่อการจัดการอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคี เพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ตั้งแต่การเตรียมความพร้อมในการจัดการศึกษา การวางแผน การจัดการเรียนการสอน การติดตามตรวจสอบคุณภาพและรายงานผลการจัดการอาชีวศึกษา ระบบทวภิ าคี ตัวอย่าง - โครงการสารวจความพร้อมและลงนามความร่วมมือกับสถานประกอบการ เพื่อการจัดการ อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี - โครงการจัดทาแผนงานและแผนงานจัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีร่วมกับสถาน ประกอบการ - โครงการเตรียมความพร้อมฝึกงานในสถานประกอบการ - โครงการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ นิเทศการจัดการการศึกษาหรือการฝึกอาชีพในสถาน ประกอบการ - โครงการตดิ ตามผลผสู้ าเร็จการศึกษาอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี

๑๑๔ ๑๑) เป็นโครงการบริการวิชาการและ/หรือจิตอาสาโดยนาวชิ าชีพไปสร้างประโยชนต์ ามความ ร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครอง ชุมชน สถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องท้ังภาครัฐและ ภาคเอกชนส่กู ารบริการสงั คมและชุมชน ๓. โครงกำรดมี งุ่ เปำ้ พฒั นำมำตรฐำนท่ี ๓ กำรสรำ้ งสงั คมแห่งกำรเรียนรู้ ลักษณะของโครงการตามมาตรฐานการศึกษาท่ี ๓ น้ีจะเป็นการสร้างความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา กับบุคคล ชุมชน องค์กร เพื่อสร้างสังคมห่งการเรียนรู้ มีการจัดทาและนาเอานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจยั ของสถานศกึ ษาถ่ายทอดไปสู่ชมุ ชนและสงั คม ลักษณะของโครงการดมี ุง่ เปา้ พฒั นาตามมาตรฐานท่ี ๓ การสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้ มีดงั นี้ ๑) เป็นโครงการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน การผลิต จัดทา นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์งาน สรา้ งสรรค์ งานวิจัย ของสมาชกิ ในสถานศึกษาทั้งผเู้ รียนและผ้สู อน ทีเ่ กดิ จากความรว่ มมอื จากทุกภาคสว่ น และ สามารถนานวัตกรรมถา่ ยทอดสู่ชุมชนและสังคมได้ ตัวอยา่ ง - โครงการประกวดสงิ่ ประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรมอจั ฉรยิ ะตามความรว่ มมือกบั ภาคีเครือขา่ ยระดับ สถานศกึ ษา / ระดับภูมภิ าค / ระดับชาติ - โครงการ Open House เปิดบ้านแสดงผลงานทักษะวิชาชีพประจาปีของสถานศึกษา ๒) เป็นโครงการแสวงหาความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ท้ังในประเทศและ ต่างประเทศในการบริการทางวิชาการและวิชาชีพโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาผู้เรียนและคนใน ชุมชนส่สู งั คมแห่งการเรียนร้รู ่วมกนั อย่างตอ่ เน่อื งและยัง่ ย่นื ตัวอยา่ ง - โครงการสร้างความสมั พนั ธ์เพ่ือสบื ทอดศลิ ปวัฒนธรรมอนั ดีงามของชุมชนและสถานศึกษา - โครงการสร้างความรว่ มมอื เพ่ือยกระดับวิชาชพี ในอนาคตกับภาคีเครือข่ายภาคอตุ สาหกรรม - โครงการอบรมการใชง้ านเรือชูชพี และอปุ กรณช์ กั หย่อน ๓) เป็นโครงการแสวงหาความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ท้ังในประเทศและ ตา่ งประเทศ เพือ่ จัดหาทรัพยากรการศึกษา ทงั้ ทเี่ ป็นวสั ดุ อปุ กรณ์ สถานท่ี ความรู้ ทักษะการฝกึ งาน/ฝีมือ และ กระบวนการเรียนรู้ใหม่ ๆ ตามสายวิชาชาชีพจากบุคคล ชุมชน องค์กรอันจะนามาสู่การพัฒนาความรู้ ทักษะ ประสบการณข์ องผูเ้ รยี น ตวั อย่าง - โครงการแลกเปล่ียนด้านการศึกษาและการพัฒนาทักษะอาชีพสาหรับอาชีว ยุคใหม่ระหว่าง สถานศึกษาระดับอาชีวศึกษาทั้งในประเทศเทศและตา่ งประเทศ - โครงการแสวงหาความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาทักษะวชิ าชีพกับบุคคล ชุมชน องค์กรท้ังในประเทศและต่างประเทศ ๔) เป็นโครงการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน การผลิต จัดทา นวัตกรรม การบริการชุมชน วิชาการ วิชาชพี และจติ อาสาของสถานศกึ ษา

๑๑๕ ตวั อย่าง - โครงการบริการชมุ ชนส่ิงใดพังเรา (ช่วย) ซอ่ มได้ - โครงการนวตั กรรมดมี ีคณุ ภาพเพื่อชุมชนแข็งแรงและเปีย่ มสขุ - โครงการผลติ เรอื ไฟเบอรก์ ลาสเพอ่ื ชาวชมุ ชนปากพนัง ๕) เป็นโครงการเนน้ การบริการวชิ าการและวิชาชีพแก่ชุมชนและสังคม โดยเน้นการมีสว่ นร่วม ของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมและเป็นจิตอาสานาเสนอนวัตกรรม วชิ าการ วชิ าชพี ถา่ ยทอดและบริการสชู่ ุมชนและสังคม ตัวอยา่ ง - โครงการอาชวี อาสาพาอาชีพสชู่ ุมชน - โครงการสอนอาชีพแก่ชาวบา้ นในชมุ ชนท้องถิ่น - โครงการอบรมอาชพี ระยะสนั้ (๑๐๘ อาชพี ) สรา้ งงานสูส่ งั คม ๖) โครงการส่งเสริมการประกวดและแสดงผลงานนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร์างสรรค์ งานวิจัยท่ีใช้ประโยชน์ได้จริงภายในสถานศึกษาและภายนอกสถานศึกษาท้ังในระดับชุมชน ระดับจังหวัด ระดบั ชาติ ตัวอยา่ ง - โครงการแข่งขนั ทกั ษะวชิ าชีพระดับสถานศึกษา / ระดบั ภูมภิ าค / ระดบั ชาติ - โครงการประกวดโครงงานวิชาชีพระดับสถานศึกษา / ระดบั ภูมภิ าค / ระดับชาติ - โครงการประกวดส่ิงประดิษฐ์และนวัตกรรมของนักคิดอาชีศึกษา ระดับสถานศึกษา / ระดับ ภูมิภาค / ระดบั ชาติ - โครงการประชุมวิชาการนาเสนองานวิจัยของผู้เรียน-ผู้สอนอาชีวศึษา ระดับสถานศึกษา / ระดบั ภมู ภิ าค / ระดับชาติ ๓.๔ วิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาของชาติ ซ่ึงเป็นข้อกาหนดเก่ียวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ ของคนไทย ที่สถานศึกษาทุกแห่งต้องยึดเป็นกรอบสาหรับสร้างคนไทย ๔.๐ ตามบริบทของท้องถ่ินและบริบท ของสถานศึกษา โดยคุณลักษณะที่กาหนดนี้เป็นผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน ตามช่วงวัย ท่ีมีความต่อเน่ือง เช่ือมโยงและสะสมตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน และระดับการ อาชีวศึกษา ศึกษาเป้าหมายและคุณลักษณะผู้เรียนตามที่มาตรฐานการศึกษาของชาติท้ัง ๓ ด้าน คือ ผู้เรียนรู้ ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวตั กรรม ความเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง ที่มุ่งเน้นการสร้างคุณลักษณะของคนไทย ๔.๐ อันเป็น คุณลักษณะขั้นพ้ืนฐานท่ีจาเป็นต้องมี รวมท้ังในมาตรฐานการศึกษาของชาติยังมีการกาหนดค่านิยมร่วมและ คณุ ธรรมไว้อีกดว้ ย สถานศึกษาพิจารณาทบทวนว่า โครงการท่ีกาหนดตามมาตรฐานสถานศึกษามาแล้วนนั้ มีวัตถุประสงค์ และผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กับการสร้างคุณลักษณะผู้เรียนครบตามมาตรฐานการศึกษาของชาติท้ัง ๓ ด้านหรือไม่ มีการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามค่านิยมร่วมและคุณธรรมหากไม่ครอบคลุมหรือยังขาดการพัฒนา คณุ ลกั ษณะใดกจ็ ดั เปน็ โครงการเพมิ่ เติมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะน้นั

๑๑๖ ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาของชาติ คือ ได้แนวทางการเลือก จัดทาโครงการที่ดี ที่สอดคล้องตามเป้าหมายการจัดการศึกษาของชาติที่มุ่งเน้นการสร้างคุณลักษณะของผู้เรียนท่ีเหมาะสมกับ สถานการณ์ปัจจบุ ันในยุคดิจิทัลและพัฒนาให้ผู้เรยี นเป็นคนไทย ๔.๐ ท่ีสนองตอ่ การพัฒนาประเทศ ดารงความ เป็นไทยและแข็งขันในเวทีสากลได้ โดยการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพของสถานศึกษานั่นก็คือ การพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะข้ันต่าทั้ง ๓ ด้าน แต่ละด้านจะมีผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเป็นคานิยามและการ อธิบายคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ไว้ สถานศึกษาสามารถนาไปจัดเป็นกิจกรรมหรือโครงการพัฒนาผู้เรียนใน แต่ละปีหรือวางแผนการพัฒนาระยะยาว เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์ตามเป้าหมายของมาตรฐานการศึกษาและมีผล การดาเนินงานให้ได้ตรงตามค่าเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ อีกทั้งยังตอบสนองต่อเป้าหมายการจัดการศึกษาของชาติ ดังนั้น โครงการจะเป็นเครื่องมือขับเคลื่อน การพัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของ มาตรฐานการศึกษานั่นเอง มาตรฐานการศึกษาของชาติในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการศึกษาระดับ อาชวี ศึกษา มดี งั นี้ ๑. ผเู้ รยี นรู้ เปน็ ผ้ทู ่มี ีความเพยี ร ใฝ่เรยี นรแู้ ละมที กั ษะการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตท่ีก้าวทันโลกดิจิทลั และโลก อนาคต มีสมรรถนะทเี่ กดิ จากความรดู้ า้ นต่าง ๆ อยา่ งมีสนุ ทรียะ รกั ษาและใชภ้ ูมปิ ญั ญาไทย มีทกั ษะชวี ิตทใ่ี ช้ใน การสรา้ งงานบนพนื้ ฐานของความพอเพียง ความม่นั คงในชีวิตและคุณภาพชวี ิตท่ีดีข้ึนต่อตนเอง ครอบครัว และ สงั คม ๒. ผู้ร่วมสร้ำงสรรค์นวัตกรรม เป็นผู้มีทักษะทางปัญญาทักษะศตวรรษท่ี ๒๑ ความฉลาดดิจิทัล ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะข้ามวัฒนธรรม สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ และมีคุณลักษณะการเป็น ผู้ประกอบการ เพ่ือร่วมสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีหรือสังคม เป็นการสร้างโอกาส เพ่ิมมูลคา่ ให้กับตนเองและสังคม ๓. ควำมเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง เป็นผู้มีความรักชาติ รักท้องถิ่น รู้ถูกผิด มีจิตสานึก เป็นพลเมืองไทย และพลเมืองโลก มีจิตอาสา มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติบนฐานของประชาธิปไตย ความ ยุติธรรม ความเท่าเทียม และเสมอภาคเพื่อจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ียั่งยืนและอยู่ร่วมกัน ในสงั คมไทยและประชาคมโลกอย่างสันติ คำ่ นยิ มรว่ ม ๑. ความเพียรอนั บริสุทธิ์ ผเู้ รียนมีความอดทน มุ่งมน่ั ทาส่งิ ใดๆ ให้เกดิ ผลสาเรจ็ อยา่ งไมย่ ่อท้อต่อความ ลาบาก เพ่ือให้เกดิ ประโยชน์แก่ตนเอง ส่วนรวม ชุมชน สงั คมและประเทศชาติ ๒. ความพอเพียง ผู้เรียนมีความสมดุลรอบด้านทั้งความรู้คุณธรรมและทักษะที่เกี่ยวข้อง โดยคานึงถึง ความสมดลุ ทัง้ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง ชุมชนและสงั คม ๓. วิถีประชาธิปไตย ผู้เรียนยึดมั่นในการมีส่วนร่วม การเคารพ กติกา สิทธิหน้าท่ี ความรับผิดชอบ การรบั ฟังความคิดเห็นทแ่ี ตกตา่ งและสามารถอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมพหุวัฒนธรรมได้อย่างมีความสขุ ๔. ความเท่าเทียมเสมอภาค ผู้เรียนเคารพความแตกต่างและให้ความสาคัญแก่ผู้อ่ืนโดยปราศจากอคติ แม้มสี ถานภาพแตกตา่ งกนั ทางเศรษฐกิจ สงั คม เชอื้ ชาติ ถ่ินที่อยู่ วฒั นธรรมและความสามารถ

๑๑๗ คุณธรรม คือ ลักษณะนิสัยที่ดีและคุณลักษณะที่ดีด้านคุณธรรมพ้ืนฐาน การรู้ถูกผิด ความดีงาม จริยธรรม จรรยาบรรณในการเป็นสมาชิกของสังคม เช่น ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความขยัน หมั่นเพียร ความซื่อสัตย์ เป็นต้น ลักษณะของโครงกำรที่ดีที่สอดคล้องตำมมำตรฐำนกำรศึกษำของชำติทั้งในระดับกำรศึกษำ ข้ันพนื้ ฐำนและระดบั อำชีวศกึ ษำ ตามมาตรฐานทงั้ ๓ ด้าน คา่ นิยมร่วมและคณุ ธรรม ได้แก่ ๑) โครงการท่ีมุ่งพัฒนาคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้และทักษะชีวิต ทักษะที่จาเป็นสาหรับการ เรียนรู้เพ่ือโลกดิจิทัลและโลกในอนาคต เช่น การรู้วิธีเรียน ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีสมรรถนะท่ีเกิดจาก ความรูด้ า้ นตา่ ง ๆ ซ่ึงความรู้และความรอบรู้ คอื ชดุ ความรทู้ ี่จาเปน็ สาหรับการเรยี นรูอ้ ย่างต่อเนอื่ งเพ่อื ให้ตนเอง รูเ้ ท่าทนั การเปลีย่ นแปลงได้ ไดแ้ ก่ ๑.๑) ความรู้พ้ืนฐาน (ภาษา การคานวณ การใชเ้ หตุผล) และความรู้ตามหลักสูตร ๑.๒) การรู้จักตนเอง ๑.๓) ความรเู้ รอ่ื งภูมิปญั ญาไทยท้องถ่ิน ชมุ ชน สภาพภมู ิสังคม ภูมอิ ากาศ ประเทศชาติ ประชาคมโลก ๑.๔) ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ การเงินสารสนเทศ ๑.๕) ความรเู้ รื่องการงานอาชีพ มีสมรรถนะท่ีเกิดจากความรูด้ ้านต่าง ๆ อยา่ งมสี ุนทรียะ รวมทง้ั การพัฒนาทักษะชวี ิตและทกั ษะการจดั การตนเอง ความสามารถในการปรบั ตัว ยดื หยุน่ พร้อมเผชิญความเปล่ียนแปลงบนพ้ืนฐานของความพอเพียง ความมั่นคงในชีวิตและคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนต่อ ตนเอง ครอบครัว และสังคม ๒) โครงการที่มุ่งพัฒนาคุณลักษณะและทักษะท่ีเกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์นวัตกรรมและการเป็น ผู้ประกอบการ ทักษะทางปัญญา การคิดสร้างสรรค์ การคิดวิจารญาณ การคิดเชิงวิพากษ์ การสะท้อนคิด การแก้ปัญหา ทักษะการส่ือสาร การใช้ภาษาอังกฤษ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัลอย่างชาญฉลาด การทางานร่วมกับผู้อื่น ความสามารถในการบูรณาการข้ามศาสตร์ การสร้างสรรค์นวัตกรรมและมีคุณลักษณะ ของความเป็นผู้ประกอบการที่เท่าทัน การเปล่ียนแปลงของสังคมและโลกยุคดิจิทัล ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ทีส่ ถานศึกษาพิจารณาวา่ มคี วามจาเปน็ ที่ต้องพัฒนาผเู้ รยี นของตนเอง ๓) โครงการท่ีม่งุ พัฒนาคุณลักษณะของผู้เรยี นให้เกิดความรักชาติ รักท้องถ่นิ รู้จกั แยกแยะถูกผิด สรา้ ง การมีจิตสานึกความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ส่งเสริมการมีจิตอาสา สร้างความรู้สึกมการมีส่วนร่วมใน การพัฒนาชาติบนฐานของประชาธปิ ไตย ส่งเสริมการรู้จักหน้าที่และปฏิบัตติ ามหน้าทีข่ องตนโดยไม่ละเมดิ สิทธิ ของผู้อื่น สร้างความเชื่อม่ันในการรักษาความยุติธรรม ความเท่าเทียมและเสมอภาคเพื่อจัดการทรัพยากร ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มทยี่ ่งั ยนื และอย่รู ่วมกนั ในสงั คมไทยและประชาคมโลกอยา่ งสันติ ๔) โครงการที่มุ่งพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามท่ีสถานศึกษากาหนด ซ่ึงสามารถนาเอาค่านิยมร่วม หรือคุณธรรมตามกรอบที่มาตรฐานการศึกษาชาติได้กาหนดไว้ มากาหนดเป็นส่วนหนึ่งของคุณลักษณะและ คุณธรรมที่พึงประสงค์ที่ต้องการสร้างให้เกิดข้ึนกับผู้เรียนให้เหมาะกับการเป็นคนไทย ๔.๐ ประกอบด้วย ค่านิยมร่วม ๔ ประการ ความเพียรอันบริสุทธ์ิ ความพอเพียง ความเท่าเทียมเสมอภาค และคุณธรรม อันเป็น ลกั ษณะนสิ ยั ท่ดี ีและคณุ ลกั ษณะท่ีดีด้านคุณธรรมพืน้ ฐาน การรู้ถกู ผิด ความดีงาม จริยธรรม จรรยาบรรณในการ เป็นสมาชกิ ของสังคม

๑๑๘ ๓.๕ วิเคราะห์และคัดเลือกโครงการที่กาหนดไว้ในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ ๓ - ๕ ปี ของ แต่ละปีการศึกษามาจัดทารายละเอียดลงสู่การปฏิบัติในรูปแบบของโครงการในแผนปฏิบัติการประจาปี และ ตรวจสอบความสอดคล้องของโครงการกับมาตรฐานการศึกษาของชาตแิ ละมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา พิจารณาทบทวนในแต่ละโครงการว่ามีวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กับการสร้างคุณลักษณะผู้เรียนตาม มาตรฐานการศึกษาของชาติทั้ง ๓ ด้านครบถ้วนหรือไม่ แล้วจัดทารายละเอียดแต่ละโครงการว่าตอบสนองกับ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตแิ ละเปา้ หมายที่พึงประสงค์ต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โครงการและกิจกรรมท่ีกาหนด ควรสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาและเป้าหมายที่พึงประสงค์ของ การพัฒนาสถานศกึ ษา ตามมาตรฐานทัง้ ๓ ด้าน ได้แก่ ๑) โครงการและกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนหรือคุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษาให้มี ความรู้ ทกั ษะ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ตามที่สถานศึกษามุ่งหวัง ๒) โครงการและกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาคุณภาพการบริหารและการจัดการสถานศึกษาให้มีส่ิง ส่งเสรมิ สนบั สนุนและการบริหารจดั การเพอื่ ใหส้ าเรจ็ ผลตามเป้าหมายพึงประสงคท์ ี่วางไว้ ๓) โครงการและกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หรือการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้สอนพัฒนาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และ สร้างสรรค์ให้ผู้เรียนและผู้สอนแลกเปลียนเรียนรู้ สร้างสรรค์นวัตกรรม และการวิจัยท่ีขยายผลสู่ชุมชน สังคม และภาคีเครอื ข่ายต่าง ๆ ได้ ๓.๖ คัดเลือกและกาหนดโครงการท่ีรองรับกลยุทธ์การพัฒนาสถานศึกษาและควรตอบสนอง สถานการณ์ปัจจุบัน อาทิ ประเทศไทยและคนไทย ๔.๐ การแพร่ระบาดของ COVID -๑๙ การดารงชีวิตและ เศรษฐกิจบนฐานดิจิทัล กิจกรรมการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ ๓.๗ พิจารณาภาพรวมของโครงการ ก่อนเขียนหรือทาโครงการ สถานศึกษาหรือผู้รับผิดชอบโครงการ ลองตอบคาถามภาพรวมของการทาโครงการต่อไปนี้ ✓ โครงการน้คี าดหวงั อะไร (ถ้าดาเนนิ การเสร็จในระยะเวลาท่กี าหนด) ✓ โครงการนีม้ ีเหตผุ ลอะไร (ภายใตห้ ลักการอะไร) ✓ โครงการนีจ้ ะนาไปปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งไร (งานที่จาเปน็ เพือ่ ให้บรรลวุ ตั ถุประสงค)์ ✓ โครงการนี้กล่มุ เป้าหมายคือใคร (ใครเปน็ ผู้ทไ่ี ดร้ บั ประโยชน์) ✓ โครงการนี้ดาเนินการในชว่ งเวลาใด (ระยะเวลาดาเนินการเทา่ ใด) ✓ โครงการนใ้ี ครเป็นผ้รู บั ผดิ ชอบในการนาไปปฏบิ ัติ ✓ โครงการนีต้ ้องใชท้ รัพยากรอะไรบ้าง ✓ โครงการนดี้ ผู ลสาเร็จของโครงการอย่างไร ✓ โครงการนีต้ ้องได้รับความร่วมมือจากองค์กรใดบา้ ง ✓ โครงการนี้เสร็จแล้วจะไดอ้ ะไร (ประโยชนท์ ี่เปน็ ผลพลอยได)้

๑๑๙ ๓.๘ เขียนโครงการตามองค์ประกอบของหัวข้อและเน้ือหาโครงการ ซึ่งสามารถเปล่ียนแปลงหรือ เพิ่มเติมองค์ประกอบได้ สถานศึกษาควรกาหนดหัวข้อและเนื้อหาโครงการให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้ง สถานศึกษาหรืออาจใช้รปู แบบตามท่ตี น้ สงั กัดกาหนดก็ได้ หวั ข้อและเนอ้ื หาในโครงการ มีดงั นี้ ๑) ชือ่ โครงการ ๒) ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการและสถานะของโครงการ ๓) ความสอดคล้องกับกลยุทธแ์ ละการตอบสนองต่อมาตรฐานสถานศึกษาและ/หรือมาตรฐาน การศึกษาของชาติ ๔) หลกั การและเหตุผล ๕) วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ ๖) ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ และเป้าหมาย ๗) กลุ่มเปา้ หมาย ๘) ระยะเวลาดาเนนิ งานและสถานที่ดาเนินโครงการ ๙) วิธกี ารและแผนการดาเนินงาน ๑๐) แผนงบประมาณ ๑๑) การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ ๑๒) องค์กรรว่ มดาเนินงานหรือภาคเี ครือข่ายดาเนนิ งาน (ถา้ ม)ี ๑๓) ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ หมำยเหตุ หวั ข้อและเนอ้ื หาโครงการอาจปรบั เปลีย่ นได้ตามความเหมาะสม สว่ นประกอบของกำรเขยี นโครงกำร ในการเขียนโครงการจาเป็นต้องเข้าใจส่วนประกอบต่าง ๆ ทั้งน้ี เพื่อให้การเขียนโครงการเป็นไป ตามลาดับข้ันตอน มีเหตุผลน่าเชื่อถือและการเขียนส่วนประกอบของโครงการครบถ้วนช่วยให้การลงมือปฏิบัติ ตามโครงการเปน็ ไปโดยราบรน่ื รวดเร็ว และสมบูรณ์ ส่วนประกอบของโครงการ จาแนกได้ 3 สว่ น และมหี วั ข้อ และเนอ้ื หาในแตล่ ะส่วนดังต่อไปนี้ ๑. สว่ นนำ หมายถึง สว่ นที่ให้ขอ้ มูลเบ้ืองตน้ เกีย่ วกบั โครงการน้ัน ๆ สว่ นนาของโครงการประกอบด้วย ๑) ช่ือโครงการ ๒) ผู้รับผิดชอบโครงการและสถานะของโครงการ ๓) ความสอดคล้องกับกลยุทธ์และการ ตอบสนองต่อมาตรฐานสถานศึกษาและ/หรือมาตรฐานการศึกษาของชาติ ๔) หลักการและเหตุผล และ ๕) วตั ถุประสงค์ของโครงการ ๒. ส่วนเนื้อควำม หมายถึง ส่วนท่ีเป็นสาระสาคัญของโครงการ วิธีดาเนินการลาดับขั้นตอนต่าง ๆ ใน การปฏิบัตงิ าน รวมทง้ั พ้ืนทก่ี ารปฏิบัตงิ าน ซ่งึ ครอบคลุมเชิงปรมิ าณและคุณภาพ ตลอดจนวัน เวลา และสถานท่ี ส่วนเนอื้ ความของโครงการประกอบดว้ ย ๑) ตัวช้ีวดั ความสาเรจ็ และเปา้ หมาย ๒) กลุม่ เป้าหมาย ๓) ระยะเวลา ดาเนนิ งานและสถานทีด่ าเนนิ โครงการ และ ๔) วธิ กี ารและแผนการดาเนินงาน

๑๒๐ ๓. ส่วนขยำยควำม หมายถึง ส่วนประกอบท่ีให้รายละเอียดอ่ืน ๆ เกี่ยวกับโครงการ ส่วนขยาย เนื้อความของโครงการ ประกอบด้วย ๑) แผนงบประมาณ ๒) การติดตามและประเมินผลโครงการ ๓) องค์กร รว่ มดาเนินงานหรอื ภาคเี ครอื ข่ายดาเนินงาน (ถ้ามี) และ ๔) ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ บั ในส่วนขยายความ อาจจะเพิ่มเติมผู้เสนอโครงการไว้ในตอนท้ายของโครงการ กรณีที่เป็นโครงการท่ี ตอ้ งเสนอผ่านตามลาดับขั้นตอนและผอู้ นุมตั โิ ครงการลงนามในตอนทา้ ยสุดของโครงการ ๓.๘.๑ กำรเขียนส่วนประกอบของโครงกำรในส่วนนำ มดี งั นี้ ๑) ชื่อโครงกำร คอื สิง่ ทีบ่ ่งบอกใหท้ ราบในเบ้ืองต้นถงึ โครงการทีจ่ ัดทา วิธกี ารตั้งชอื่ โครงการ มีดังนี้ ๑.๑) ควรระบุให้ทราบถึงแนวทางปฏบิ ัติและความคาดหวังหรือผลตอบแทนจากการ ทาโครงการ (อา่ นแลว้ ร้วู ่าเกีย่ วกบั อะไร เหน็ ถงึ แนวทาง ทิศทางของโครงการ) ๑.๒) ควรเขียนให้สอดคล้องกับกลยุทธ์หรือนโยบายของสถานศึกษานั้น ๆ (ถ้าเป็น โครงการบนฐานนโยบายของสถานศกึ ษา) ๑.๓) ควรใช้ภาษาท่ีชัดเจน สละสลวย ดึงดูดความสนใจ เป็นชื่อที่สะท้อนกิจกรรมท่ี อยใู่ นโครงการนนั้ ตัวอย่าง - โครงการบริการสง่ เสรมิ วชิ าชพี แกช่ ุมชน........ - โครงการพฒั นาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับนักเรยี น - โครงการประกวดสง่ิ ประดษิ ฐ์สรา้ งสรรค์วันวิทยาศาสตร์ - โครงการเด็กรกั ครู ครูรักเดก็ ๒) ผรู้ ับผิดชอบโครงกำรและสถำนะของโครงกำร ผู้รับผิดชอบโครงการ เป็นการบ่งบอกหัวหน้าโครงการหรือผู้ที่รับผิดชอบโครงการควรจะระบุ ช่ือบุคคล รวมทง้ั ตาแหนง่ และหน้าท่ี หรอื อาจเปน็ กลุ่มงาน เชน่ งานวิชาการ เป็นตน้ สถานะของโครงการ เป็นการบ่งบอกสถานะของโครงการท่ีทาขึ้นว่าเป็นโครงการใหม่หรือ โครงการตอ่ เน่ือง ซง่ึ จะมผี ลตอ่ การดาเนนิ การ การวัดประเมินผลและงบประมาณ ตวั อยา่ ง สถานะของโครงการ  โครงการใหม่  โครงการเดมิ /ต่อเนื่อง ๓) ควำมสอดคล้องกับกลยุทธ์และกำรตอบสนองต่อมำตรฐำนสถำนศึกษำและ/หรือ มำตรฐำนกำรศึกษำของชำติ เป็นส่วนที่แสดงความสัมพนธข์ องโครงการทจ่ี ัดทารองรับกับกลยุทธ์และมาตรฐานสถานศึกษา ใด และอาจเพิ่มเติมการแสดงความสัมพันธ์กับมาตรฐานการศึกษาของชาติการระบุความสอดคล้องนี้ทาให้ สะดวกต่อการติดตาม ตรวจสอบและประกันคณุ ภาพการศึกษา ตวั อยา่ ง ควำมสอดคล้องกบั กลยุทธข์ องสถำนศึกษำ (แผนกลยุทธ์ ปี ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗)

๑๒๑  ๑. พฒั นาคุณภาพผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล  ๒. เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ระเบียบวินัย และมีจิตสานึกความเป็นพลเมืองไทยและ พลโลก  ๓. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาทั้งระบบ ใหเ้ ป็นมอื ครูอาชพี มีสมรรถนะเหมาะสม กับการจดั การศึกษาตามมาตรฐานสากล  ๔. บริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามหลักธรรมภิบาลด้วยระบบคุณภาพและยึด หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กำรตอบสนองตอ่ มำตรฐำนสถำนศกึ ษำ  มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รียน  มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ  มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ กำรตอบสนองกำรประกนั คุณภำพกำรศกึ ษำระดับสถำนศกึ ษำ ตวั บ่งชที้ ี่ ............................................................................................................... กำรตอบสนองต่อมำตรฐำนกำรศึกษำของชำติ  มาตรฐานชาตทิ ่ี ๑ ผูเ้ รยี นรู้  มาตรฐานชาติที่ ๒ ผู้ร่วมสร้างสรรคน์ วตั กรรม  มาตรฐานชาตทิ ่ี ๓ พลเมืองท่ีเขม้ แข็ง ๔) หลักกำรและเหตุผล เป็นข้อความที่อธิบายถึง ที่มา ปัญหาหรือสถานการณ์ที่เป็นมา แสดงให้เห็นประโยชน์และ ความสาคญั ของโครงการ การเขียนหลักการและเหตผุ ล แบ่งเปน็ ๓ ส่วน ได้แก่ ส่วนแรก เขียนใหผ้ อู้ ำ่ นเหน็ “วิธคี ิด”หรอื “กระบวนทัศน์” เขียนเกีย่ วกบั นโยบาย แผนยุทธศาสตร์ หรอื แผนกลยทุ ธข์ องหนว่ ยงาน ในทานองวา่ เป็นเหตผุ ลที่ทา ใหต้ อ้ งจัดทากิจกรรม/โครงการนีข้ ้ึน เห็นความเป็นมาของการทาโครงการ และแสดง “ทาไมตอ้ งทา” ส่วนทส่ี อง เขียนให้เห็น “วธิ กี ำร” หรือ “กระบวนกำร” เขยี นรายละเอียดพอสังเขปว่า จะทาอะไร ท่ใี หน อย่างไร ให้เข้าใจโดยสังเขป เขียนใหเ้ ห็นหลกั คดิ และหลกั ปฏบิ ัติ หรือเหน็ หลกั การ “ทาอยา่ งไร (ครา่ ว ๆ พอสังเขป)” สว่ นทส่ี ำม เขียนให้เหน็ “ผลลัพธ์” หรือ “ประโยชน์” ของโครงกำร เขียนถึงผลที่คิดว่าจะเกิดขึ้นจากโครงการ เช่น ผลผลิตหรือผลลัพธ์เชิงพฤติกรรม ที่จะเกิดขึ้น หัวข้อน้ีเสมือนการเอาหัวข้อ “วัตถุประสงค์” และ “ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ” มาเขียนเรียบเรียงเพ่ือ โน้มน้าวกระตุ้นความสนใจ ทาให้เห็นความสาคัญ เห็นภาพแห่งความสาเร็จที่จะเกิดขึ้น “ทาแล้วประโยชน์ ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั คืออะไร” หมายเหตุ สามารถเขียนเพิม่ เตมิ ขอ้ มูลเพื่อเน้นย้าให้น่าสนใจและนา่ เช่ือถือ

๑๒๒ ๕) วัตถปุ ระสงค์ของโครงกำร เป็นสิ่งที่คาดหวังให้เกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการ ลักษณะท่ีดีของวัตถุประสงค์ คือ ชัดเจน ทาไดจ้ รงิ วดั ประเมนิ ได้ สามารถบอกเป้าหมายหรือสิ่งที่จะเกิดขึ้นได้ชัดเจนเป็นรปู ธรรม หากเปน็ การพัฒนาคน ต้องระบุได้ว่าพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์คืออะไร “วัตถุประสงค์ทุกข้อ จะต้องวัดได้ ประเมินได้” การกาหนด วตั ถุประสงค์ทด่ี ีจะต้องมีคุณลกั ษณะท่ีมคี วามเฉพาะเจาะจงซึง่ ควรประกอบไปด้วย “SMART” คือ S = Specific คอื มีความชดั เจนเปน็ รปู ธรรม มคี วามเฉพาะเจาะจงลงประเดน็ เดียวในแตล่ ะขอ้ M = Measurable คือ สามารถวดั และประเมินผลสาเร็จได้ A = Attainable คอื สามารถปฏบิ ัตไิ ดท้ าให้บรรลไุ ด้ R = Realistic คือ มคี วามเป็นเหตเุ ป็นผลอยู่บนพนื้ ฐานความเป็นจรงิ T = Timely คอื มีการกาหนดกรอบเวลาความสาเร็จได้อยา่ งชัดเจนแน่นอน วัตถปุ ระสงคข์ องโครงกำร สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ ๔ ระดับ ได้แก่ ระดบั ท่ี ๑ เขียนถงึ \"ผลผลติ \" (Output) “ผลผลิต” (Output) คือ ส่ิงท่ีต้องการให้เกิดขึ้นทันทีหลังจบโครงการค่อนข้างมั่นใจวา่ เกิดข้ึน แน่นอน และต้องสามารถประเมินได้ทันทีหลังจบโครงการ เป็นส่ิงที่ผู้ทาโครงการมีความมั่นใจว่าเกิดข้ึนแน่ ๆ เพราะเปน็ วตั ถปุ ระสงค์หลกั ของโครงการ ระดับท่ี ๒ เขยี นถงึ “ผลลัพธ์” (Outcome) “ผลลัพธ์” (Outcome) คือ การเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรมท่ีเกิดข้ึนเป็นความคาดหวังของ โครงการท่ีอยากใหเ้ กดิ ขน้ึ เช่น ทกั ษะ ความสามารถ/ศักยภาพหรือเจตคติ ฯลฯ ระดบั ที่ ๓ เขยี นถงึ “ผลพลอยได้” (By-product) “ผลพลอยได้” (By-product) หรือประโยชน์ทางอ้อม ท่ีสาคัญและมีคุณค่าที่สุดที่จะเกิดข้ึน จากโครงการ ระดับท่ี ๔ เขียนถึง “ผลกระทบ” (Impact) “ผลกระทบ” (Impact) คือสิ่งที่จะเป็นผลตามมาจากโครงการ หรือผลท่ีเกิดขึ้นต่อจากการมี ผลผลติ นั้น ๆ หมายเหตุ วัตถุประสงค์จะเขียนก่ีระดับก็ได้ แต่ทุกข้อท่ีเขียนจะต้องวัดผลและประเมินผลได้ จานวนวตั ถุประสงคไ์ ม่มากเกินไป และไม่น้อยเกินไปจนทาให้ความสาคญั ของโครงการน้อย วัตถปุ ระสงคค์ วรจะ ครอบคลมุ สาระสาคัญของโครงการ

๑๒๓ ๓.๘.๒ กำรเขยี นส่วนประกอบของโครงกำรในสว่ นเนื้อควำม มีดังน้ี ๑) ตัวช้ีวัดหรอื ตวั ช้วี ัดควำมสำเร็จ ตัวชี้วัด คือ หลักฐานท่ีแสดงว่าโครงการได้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ตัวช้ีวัดความสาเร็จต้อง เขียนให้ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ สามารถบอกได้ว่าวัตถุประสงค์นั้นสาเร็จหรือไม่และต้องสามารถวัดได้ จรงิ ดว้ ยวธิ ีการใดวิธีการหนง่ึ หรือเครื่องมอื ใดเครอ่ื งมือหนึ่ง เป้าหมาย คอื เกณฑ์ทีก่ าหนดระดบั ความสาเรจ็ ของแต่ละวัตถุประสงค์ ตัวช้ีวดั สามารถแบ่งเปน็ ๒ ประเภท ได้แก่ ๑.๑) ตวั ชี้วัดเชิงปรมิ าณ คอื ตัวชวี้ ดั ที่แสดงผลเป็นตวั เลข เช่น จานวน ร้อยละ ระดับ ความสาเร็จ ระดับความพงึ พอใจ เปน็ ตน้ ตัวอย่าง ตัวชีว้ ัดความสาเรจ็ และเปา้ หมายเชิงปรมิ าณ - จานวนผู้เขา้ รว่ มโครงการ ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมาย - ระดบั ความพึงพอใจของกลมุ่ เป้าหมาย ไม่น่อยกวา่ ๓.๕๑ คะแนน (คะแนนเต็ม ๕.๐๐) - จานวนผูผ้ า่ นการทดสอบความรูค้ วามเขา้ ใจเรอ่ื ง....... ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ๑.๒) ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ คือ ตัวชี้วัดท่ีใช้การวัดเทียบกับค่าเป้าหมายท่ีเป็นเกณฑ์ ในลักษณะพรรณนา หรือเป็นคาอธิบายของเกณฑ์ท่ีบง่ บอกถึงคุณภาพและคุณค่าของส่ิงนั้น ๆ ซึ่งจะชว่ ยในการ ใช้วจิ ารณญาณของผปู้ ระเมิน เช่น การมคี ณุ ค่ากับสถาบัน ศักยภาพของผเู้ ขา้ อบรม ฯลฯ ตวั อยา่ ง ตัวชว้ี ดั ความสาเร็จและเป้าหมายเชิงคณุ ภาพ - กลุม่ เป้าหมายมเี จตคดีทดี่ ีต่อการ............... - ผู้เรียนสามารถออกแบบการสร้างนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ด้วยตนเอง - เกิดประโยชนท์ ่ีมีคุณค่าตอ่ ชุมชนหรอื ได้รบั การยอมรบั จากชมุ ชน ๒) กลุ่มเป้ำหมำย ระยะเวลำดำเนินโครงกำรและสถำนที่ดำเนินกำร กลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มคนผู้ได้รับประโยชน์จากโครงการ การเขียนต้องระบุประเภทของกลุ่มคนให้ ชัดเจน พร้อมระบุจานวนท่ีแน่นอน เนื่องจากข้อมูลน้ีจะถูกนาไปใช้ใน การคานวณในการทาแผนงบประมาณ โครงการ ตัวอย่าง กลุม่ เปา้ หมาย - นกั เรยี นโรงเรียนรักชาตไิ ทย จานวน ๑๐๐ คน - ครูโรงเรียนรักชาตไิ ทย จานวน ๒๐ คน - ชาวบ้านชมุ ชนหมทู่ ่ี 3 บา้ นรักชาตไิ ทย จานวน ๓๐ คน ๓) ระยะเวลำดำเนินโครงกำรและสถำนท่ีดำเนินโครงกำร คือ การระบุวันเริ่มต้นและวัน สิ้นสุดโครงการ ถ้าเปน็ โครงการระยะยาวตลอดปกี ารศึกษากต็ อ้ งมกี ารกาหนดให้ครอบคลุมวันทดี่ าเนินการ ตัวอยา่ ง ระยะเวลาดาเนินโครงการ วนั เริม่ โครงการ ๒๐ สิงหาคม ๒๔๖๔ วนั สิน้ สุดโครงการ ๓๐ กนั ยายน ๒๔๖๔

๑๒๔ สถำนทีด่ ำเนินโครงกำร เปน็ การระบุสถานที่ พน้ื ท่ี ทตี่ ัง้ หรือทีอ่ ยทู่ กี่ ระบวนการดาเนินโครงการจะเกิดขึน้ บางครั้งอาจ ระบุในแผนการดาเนนิ งาน ๔) วธิ กี ำรและแผนกำรดำเนินงำน เป็นภารกิจต่าง ๆ ท่ีต้องกระทาตามที่กาหนดไว้ในโครงการซ่ึงจะต้องระบุวิธีการและข้ันตอน การดาเนินงานให้ชัดเจน เพ่ือให้เกิดผลลัพธ์ท่ีต้องการ ควรเขียนจากเริ่มดาเนินโครงการจนสิ้นสุดโครงการ แบ่งเป็นข้ันตอนต่าง ๆ ให้ชัดเจน และกาหนดบทบาทหน้าท่ีของแต่ละคนแต่ละฝ่ายอย่างชัดเจน เช่น กาหนด ผู้รับผิดชอบหลักในแต่ละข้ันตอน เป็นต้น สามารถเขียนในรูปแบบตารางท่ีกาหนดกิจกรรมการดาเนินงาน ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาการดานินงานและกาหนดการแล้วเสร็จ หรืออาจระบุงบประมาณที่ใช้ดาเนินการใน แต่ละกิจกรรมร่วมดว้ ย วิธีการดาเนนิ งาน ต้องเลือกกิจกรรมและวิธีการที่สอดคล้องกับสถานการณ์ อย่างในปีปัจจบุ นั ๒๕๖๔ เป็นช่วงการแพร่ระบาดของไววรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ส่งผลให้กิจกรรมและวิธีการดาเนินงาน ในโครงการต่าง ๆ ตอ้ งปรับรูปแบบไปเปน็ แบบออนไลนห์ รอื แบบผสมผสานออนไลน์กับเผชิญหน้า แผนกำรดำเนินงำน การเขียนแผนการดาเนินงาน เป็นเหมือนการสรุปวิธีการดาเนินงานลงในตารางแสดงแผน การกาหนดระยะเวลาในการดาเนินการในแต่ละข้ันตอน โดยนาเอาขั้นตอนการทางานท่ีสาคัญ ๆ ท้ังหมด หัวเรื่อง วิธีการทางาน มาเขียนในคอลัมน์ แล้วใช้ลูกศรหรือเส้นสัญลักษณ์แสดงช่วงระยะเวลาท่ีจะดาเนินงาน ขั้นตอนนนั้ ๆ ๓.๘.๓ กำรเขยี นส่วนประกอบของโครงกำรในสว่ นขยำยควำม มดี ังน้ี ๑) แผนงบประมำณ เป็นการเขียนแผนงบประมาณท่ีจะใช้ในการดาเนินโครงการต้ังแต่เร่ิมต้นจนถึงส้ินสุดโครงการ ควรเขียนรายงานค่าใช้จ่ายประมาณการว่าต้องใช้จ่ายส่วนใดบ้างให้ละเอียด การต้ังงบประมาณระบบราชการ ในการจัดโครงการ จาเป็นต้องระบุว่า ต้องการจ่ายค่าอะไร วันท่ีเท่าใด ราคาต่อหน่วยเท่าไหร่ จานวนกี่คน (ซึ่งจาเป็นต้องสอดคล้องกับจานวนกลุ่มเป้าหมายของโครงการ) คิดเป็นงบประมาณรวมในแต่ละรายการเท่าใด รวมเป็นเงนิ ท้งั สนิ้ เท่าใดและควระบุทมี่ าของงบประมาณนน้ั ๆ วา่ ได้รบั และใช้งบประมาณจากสว่ นใด ๒) กำรตดิ ตำมและประเมินผลโครงกำร เป็นการประเมนิ เพอื่ สรุปผลหลังจากการดาเนนิ โครงการเสรจ็ สิน้ แลว้ ประเมนิ ความสาเร็จของ โครงการตามตัวชี้วัดหรือวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เช่น การประเมินผลผลิต (output) ผลลัพธ์ (Outcome) หรือ ผลกระทบ (Impact) อันเป็นผลมาจากโครงการเครื่องมือประเมินโครงการ คือ เครื่องมือในการศึกษา ค้นหา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ เพ่ือให้เป็นสารสนเทศในการตัดสินใจ ตัดสินคุณค่า ความคุ้มค่า หรือการ พัฒนาของโครงการ เช่น แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบวัดความ พงึ พอใจ การติดตามประเมินผลโครงการ หลังเร่ิมดาเนนิ โครงการควรมีการติดตามประเมินผลว่าแต่ละ กิจกรรมของโครงการก่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์หรือไม่ หากพบปัญหาก็จะสามารถแก้ไขได้ทันเวลา ดังน้ัน

๑๒๕ จึงต้องนาเสนอไว้ว่าจะติดตามประเมินด้วยวิธีใด ทั้งในข้ันตอนการดาเนินกิจกรรมและหลังจบโครงการแล้ว พร้อมทัง้ ระบตุ ัวชว้ี ดั ความสาเร็จทงั้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพว่าคืออะไรไว้ดว้ ย ๓) องค์กรร่วมดำเนนิ งำนหรือภำคเี ครอื ข่ำยดำเนินงำน ถ้าหากการทาโครงการมีองค์กรร่วมดาเนินโครงการต้ังแต่หน่ึงองค์กรขึ้นไป ต้องระบุช่ือ องค์กรหรือเครือข่ายร่วมดาเนินงานให้ครบถ้วน และแจกแจงให้ชัดเจนด้วยว่าองค์กรท่ีร่วมโครงการแต่ละฝ่าย จะเข้ามามสี ว่ นรว่ มโครงการในส่วนใด ซ่ึงจะเป็นข้อมูลสะท้อนใหเ้ หน็ ว่าโครงการจะประสบผลสาเรจ็ และเกิดผล ต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการจัดการศึกษาของ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั (กศน.) และระดบั อาชวี ศกึ ษาที่จะมคี วามรว่ มมือกบั ภาคเี ครือขา่ ยในการจัดการศึกษา ๔) ผลท่คี ำดวำ่ จะไดร้ ับ ความเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดขึ้นหลังจากโครงการจบลง โดยแยกให้เห็นชัดเจนระหวา่ งผลท่ีเกิด โดยตรงทันทีท่ีสิ้นสุดโครงการและผลท่ีจะเกิดตามมาในระยะยาว โดยผลที่เกิดอาจจะเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้และเขียนให้เห็นเป็นรูปธรรมที่สุด นอกจากน้ีสามารถเขียนให้เห็นถึงผลลัพธ์ของการพัฒนาท่ีนาไปสู่การ เปล่ยี นแปลงอย่างตอ่ เนื่องและย่งั ยนื ก็ยง่ิ ดี ๓.๙ ดาเนินงานตามโครงการท่ีได้เขียนไว้ สถานศึกษาดาเนินงานตามโครงการให้สาเร็จเสร็จส้ินตาม เป้าหมาย วธิ ีการที่ไดก้ าหนดไว้ และต้องมกี ารประเมนิ ผลโครงการเพือ่ นาข้อมูลมาพฒั นาการจดั การศกึ ษาต่อไป เทคนคิ ควำมสำเรจ็ ในกำรจัดทำโครงกำร ๑. สมาชิกทุกฝ่ายควรมีส่วนร่วมในการกาหนดโครงการ กิจกรรม และผู้รับผิดชอบโครงการควรเป็น ผเู้ ขียนโครงการเองดว้ ย ๒. สถานศึกษาต้องปรับโครงการให้เป็นปัจจุบัน หากนาเอาโครงการเดิมมาใช้ต้องพิจารณาวัตถุประสงค์ ตัวชว้ี ัดและรายละเอยี ดการดาเนนิ งานวา่ มีความเหมาะสมกบั สถานการณ์ปจั จุบัน มีความทันสมยั ๓. โครงการทีจ่ ดั ทาในแต่ละปคี วรสอดคล้องกบั เป้าหมายการจดั การศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาทก่ี าหนดขนึ้ ซ่งึ ต้องมวี ิธกี ารพัฒนาใหผ้ ู้เรยี นบรรลผุ ลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั ๔. โครงการที่จัดทาในแต่ละปีควรสอดคล้องและคานึงถึงมาตรฐานการศึกษาของชาติด้วย ที่จุดหมาย ปลายทางของการพัฒนา คือ “การพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน ให้เป็นคนไทย ๔.๐” ซ่ึงต้องมี วิธีการพฒั นาผ้เู รียนผา่ นโครงการต่าง ๆ ใหไ้ ด้ทากจิ กรรมตามสภาพแวดล้อมท่สี ถานศึกษากาหนดให้ นอกเหนือจาก ผลในสถานการณใ์ นปจั จุบันอยใู่ นยุคดิจิทัล กจิ กรรมต่าง ๆ ดาเนนิ การโดยใช้เทคโนโลยี เป็นฐานและตัวบุคลต้องเป็นผูม้ ีสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีอีกด้วย ซ่ึงสอดคล้องกับคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ของคนไทย ๔.๐ มุ่งเน้นการเป็นผู้สร้างนวัตกรรม ผู้ใช้เทคโนโลยี มีความเป็นพลเมืองดิจิทัล และมีคุณธรรม จริยธรรมเพือ่ การอยู่ร่วมกนั ไดใ้ นโลกดจิ ิทัลได้ ๕. โครงการและกิจกรรมพัฒนาสถานศึกษาต้องมีความเหมาะสมกับสถานการณ์ การดาเนินงานท้ังใน ด้านการเรยี นของผู้เรียน การสอนของผ้สู อน และการบรหิ ารจดั การงานด้านตา่ งๆ ของสถานศึกษาและผ้บู ริหาร อาทิ ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื่อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-19) ที่ส่งในวงกว้าง รวมทั้งมีผลต่อ การเปล่ียนแปลงการดารงชีวิต การทางาน การเรียนรู้ การเรียนการสอน การจัดกิจกรรมและการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาส่งผลให้ต้องดาเนนิ การจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาต้องอยู่ในรูปแบบออนไลน์ โครงการต่าง ๆ

๑๒๖ ของสถานศึกษาจงึ ต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธกี ารดาเนินงานและการประเมนิ ผลโครงการทีเ่ ปล่ียนไปอยใู่ นรูปแบบ ของออนไลน์หรอื วธิ อี น่ื ๆ ทเ่ี ป็นไปตามสถานการณ์ ๖. โครงการที่จัดทาแต่ละปีควรมีการประเมินผลและสรุปผลการดาเนินโครงการเพ่ือนาข้อมูลมา สะทอ้ นให้เห็นจุดเดน่ จุดดอ้ ยของสถานศกึ ษาเปน็ ขอ้ มลู แสดงประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลของสถานศึกษา ๔. ปัจจัยควำมสำเร็จในกำรดำเนินกำรพัฒนำสถำนศึกษำให้บรรลุผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ตำม มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำระดับกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำนและกำรอำชีวศึกษำ ในเขตพืน้ ท่ีจงั หวัดตำก และจงั หวดั นครศรธี รรมรำช ๑. สถานศึกษาต้องตระหนักถึงความสาคัญของมาตรฐานการศึกษาชาติและมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ๒. ภาวะผ้นู าของผูบ้ รหิ าร มคี วามตระหนกั รับรู้ ยอมรับและเข้าใจในบริบทและสภาพการเปลยี่ นแปลง ๓. สถานศกึ ษาต้องทางานอย่างเปน็ ระบบ มกี ระบวนการบริหารจดั การท่เี ปน็ ระบบ ๔. สถานศึกษาต้องนาแผนที่กาหนดไวไ้ ปสู่การปฏิบัติ และมีการกากับติดตามการดาเนนิ งานให้เปน็ ไป ตามแผน ๕. สถานศีกษามีการติดตาม ประเมนิ ผลและนาผลไปเปน็ ข้อมลู ในการปรับปรงุ และพฒั นาคุณภาพของ สถานศึกษา ๖. การมีส่วนร่วม สถานศึกษาต้องเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน ทุกฝ่ายต้องมี ส่วนร่วมและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในสถานศึกษา เพ่ือกาหนดเป้าหมาย แนวทางการพัฒนาและประเด็น การพฒั นาต่าง ๆ ระหวา่ งบุคลากรในสถานศึกษา ๗. เน้นกระบวนการรว่ มเรยี นรู้จากการปฏิบัติจริง หลังจากทีก่ าหนดแผนงานและโครงการแล้ว ทกุ ฝา่ ย ต้องลงมือปฏิบัติงานตามที่ได้วางแผนไว้ ขับเคล่ือนให้เกิดผลงานตามเป้าหมาย สร้างการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ให้ได้เรียนรู้งานต่าง ๆ ของสถานศึกษา เมื่อเสร็จส้ินการทางานแล้วจะต้องมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อ ถอดบทเรยี นความสาเร็จและหาแนวทางการปฎบิ ตั งิ านที่ดตี ่อไป ๘. การนาระบบเทคโนโลยมี าช่วยสนับสนุนการบริหารจดั การและสนับสนนุ การเรียนการสอนและการ บริหารงานของสถานศึกษา โดยเฉพาะในยุคสถานการณ์ปัจจุบันที่เป็นยุคดิจิทัลท่ีมีการดาเนินกิจกรรมและการ ดารงชีวิตโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานได้อย่างมีพลังและสะดวกรวดเร็วในการ เชอื่ มต่อ เกบ็ รวบรวม และประเมินผล ๙. การบริหารจัดการงบประมาณ สถานศึกษาสามารถบริหารงบประมาณในกรณีที่มีเงินหรืองบประมาณน้อย สามารถทาโครงการรวมกันได้อย่างผสมผสานแล้วตอบตัวชี้วัดหรือมาตรฐานสถานศึกษา (ทาหน่ึงโครงการ ตอบโจทย์มาตรฐานหลายตวั )

๑๒๗ บทสรุป หัวใจสาคัญของการดาเนินงานของสถานศึกษาอยู่ที่การใช้แผนเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ การจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี (Action Plan) ประเด็นสาคัญอยู่ท่ี การได้มาซึ่งความจาเป็นในการ จัดทาแผน และการวิเคราะห์โอกาสผลสาเร็จท่ีเกิดจากแผนที่มีต่อเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ ดังนั้น ในปีต่อไปท้ัง ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้ปฏิบัติงานในสายงานต่าง ๆ ควรจะมาน่ังพูดคุยกันก่อนว่าแนวทางในการจัดทา แผนปฏิบัติการควรจะเป็นอย่างไร จะได้ออกมาในแนวทางเดียวกัน รวมถึงทั้งสองฝ่ายต้องมาหาข้อสรุปร่วมกนั ว่าสิ่งท่ีคาดหวังจากการนาเสนอแผนปฏิบัติการนั้นคืออะไร ไม่ใช่แค่เพียงมีแผน ไม่ใช่แค่แผนดูดี นาเสนอเก่ง แต่จะตอ้ งมีสว่ นท่วี เิ คราะห์ผลกระทบของแผนที่มตี ่อเป้าหมายทเี่ กย่ี วข้องอีกดว้ ย การนาข้อมูล สารสนเทศมาใช้ ในการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีและการวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการพัฒนา จะทาให้ สถานศึกษาเกิดการพัฒนาตามทิศทางของวิสัยทัศน์ ถ้าสามารถทาได้ครบถ้วนกระบวนความตามที่นาเสนอมานี้ ผู้วิจัยรับรองได้ว่าจะเป็นโอกาสท่ีแผนปฏิบัติการจะเป็นเครื่องมืออันทรงประสิทธิภาพให้ท้ังกับผู้บริหารและ คนทางานในทกุ สายงานอยา่ งแท้จริง

๑๒๘ บทที่ ๕ บทสรุป การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการอาชีวศึกษา ในเขตพ้ืนที่จังหวัดตากและจังหวัดนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาความต้องการและบริบทของการพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและการอาชวี ศึกษา ในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดตากและ จังหวัดนครศรีธรรมราช และ ๒) เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการอาชีวศึกษา ในเขตพ้ืนที่จังหวัดตากและจังหวัด นครศรีธรรมราช สรุปผล ๑. ควำมตอ้ งกำรและบรบิ ทของกำรพัฒนำสถำนศึกษำให้บรรลุผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ตำมมำตรฐำน กำรศึกษำของสถำนศึกษำระดับกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำนและกำ รอำชีวศึกษำในเขตพ้ืนที่จังหวัดตำกและ จังหวดั นครศรีธรรมรำช พบวา่ ๑.๑ สถำนศึกษำระดับกำรศึกษำข้ันพื้นฐำนทุกแห่งทุกสังกัด ร้อยละ ๑๐๐ มีความต้องการ ที่สอดคล้องกันเก่ียวกับประเด็นท่ีต้องการพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ตามมาตรฐาน สถานศึกษา ประเด็นท่ีต้องการพัฒนาให้บรรลุผลลัพธ์ที่พึงประสงค์มากท่ีสุด ลาดับแรก คือ มาตรฐานด้านการ บริหารและการจดั การศกึ ษา รองลงมา คือ มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผ้เู รียนเป็นสาคญั มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มีประเด็นย่อยท่ี ต้องการพัฒนาสอดคล้องกันตามลาดบั ดงั นี้ ๑) อบรมให้ความรู้และฝึกปฎิบัติการเร่ืองการเขียนโครงการ การออกแบบวิธีการวัดและ ประเมินผลโครงการ การสรา้ งเครอ่ื งมอื วดั ทีม่ ีมาตรฐานในการประเมนิ ตวั ช้วี ัดความสาเร็จของโครงการ ๒) อบรมให้ความรู้และฝกึ ปฎิบัติการเกี่ยวกับการจดั ทาแผนการจัดการศึกษาแผนกลยุทธแ์ ละ แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีทถี่ ูกต้องและสอดคล้องกบั ระบบประกนั คุณภาพสถานศกึ ษา ๓) อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการเขียนเอกสารรายงานการดาเนินงานและหลักฐานการ ปฏิบัติงานเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพสถานศึกษาจากหน่วยงานภายนอก (สมศ.) รอบท่ี ๔ และรอบท่ี ๕ และการจดั ทารายงานผลการประเมนิ ตนเอง (SAR) ทีม่ ีคณุ ภาพ ๑.๒ สถำนศึกษำระดับกำรอำชีวศึกษำทุกแห่ง ร้อยละ ๑๐๐ ประเด็นที่ต้องการพัฒนาให้ บรรลผุ ลลพั ธ์ทพ่ี ึงประสงค์มากท่สี ดุ คือ มาตรฐานดา้ นการจัดการอาชวี ศกึ ษา มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาด้านการจัดการอาชีวศึกษา มีประเด็นย่อยท่ีต้องการ พัฒนาสอดคล้องกนั ตามลาดบั ดงั น้ี ๑) อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรอ่ื งการเขียนโครงการ การเขียนวัตถุประสงค์โครงการ การ ดาเนินงานโครงการ การออกแบบวิธีการวัดและประเมินผลความสาเร็จของโครงการ การสร้างเครื่องมือวัดที่มี

๑๒๙ มาตรฐานในการประเมินตัวช้ีวัดความสาเร็จของโครงการท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แกบ่ คุ ลากรทุกคน ๒) การให้ความรู้และฝึกปฎิบัติการเก่ียวกับการจัดทาแผนการจัดการศึกษา แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจาปีท่ีถูกต้องเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาและสอดคล้องกับมา ตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศกึ ษาชาติแก่บุคลากรทุกคนของสถานศึกษา ๓) สร้างความรูค้ วามเข้าใจและความตระหนกั ให้กับบคุ ลากรและทุกภาคส่วนเพ่ือให้มีส่วนร่วม มีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องในการจัดทาและการนามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปปฏิบัติและความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การประกนั คุณภาพของสถานศึกษาแก่บุคลากรทกุ คนของสถานศึกษา ๒. แนวทำงพัฒนำสถำนศึกษำให้บรรลุผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ตำมมำตรฐำนกำรศึกษำของ สถำนศึกษำระดับกำรศึกษำข้ันพื้นฐำนและกำรอำชีวศึกษำ ในเขตพื้นที่จังหวัดตำกและจังหวัด นครศรีธรรมรำช ภำพ 3 แสดงกระบวนกำรพัฒนำสถำนศึกษำใหบ้ รรลุผลลัพธ์ท่ีพงึ ประสงคต์ ำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำ ของสถำนศึกษำระดับกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำนและกำรอำชีวศกึ ษำ ในเขตพืน้ ท่จี ังหวดั ตำกและจังหวัดนครศรธี รรมรำช

๑๓๐ การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดั บ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการอาชีวศึกษาในเขตพื้นท่ีจังหวดั ตากและจังหวัดนครศรธี รรมราช มุ่งเน้นท่ีการสรา้ ง พื้นฐานที่แข็งแกร่งและการมีส่วนร่วมของสมาชิก สถานศีกษาต้องกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และจะตอ้ งมีการสรา้ งแนวทางการจัดการศึกษานั้นใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานท่ีกาหนดข้นึ โดยมีเครอ่ื งมือท่ีจาเป็น ในการขับเคล่ือนกระบวนการดาเนินงานและส่ือสารของสถานศึกษา แก่บุคลากรภายในสถานศึกษาซึ่งก็คือ “แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา” ที่เป็นการขับเคล่ือนกระบวนการดาเนินงานตามวิสัยทัศน์ พันธกิจและมาตรฐานของสถานศึกษา นาไปสู่การจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี เพื่อการดาเนินการตาม โครงการ กิจกรรมและวัตถุประสงค์ประจาปี จนได้ข้อมูลสารสนเทศในการจัดทารายงานผลการปฏิบัติงาน ประจาปีของสถานศึกษา ดังน้ัน บุคลากรทุกฝ่ายของสถานศึกษาจึงจาเป็นที่จะต้องมีความเข้าใจความสัมพันธ์ ระหว่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี โครงการ เพ่ือนาไปสู่การดาเนินงานที่มี ประสิทธิภาพ จนสามารถนาข้อมูลสารสนเทศจากการประเมินผลการปฏิบัติประจาปีไปประยุกต์ใช้สาหรบั การ พัฒนาคุณภาพการศึกษา จากน้ันสถานศึกษาจัดทาเป็นเอกสารสรุปผลการดาเนินการเป็นรายงานผลการ ปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา และจัดทารายงานผลการประเมินตนเองได้ต่อไปซ่ึงถือเป็นการดาเนินงาน ตามระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาน่นั เอง แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและการอาชีวศึกษา ในเขตพื้นที่จังหวัดตากแล ะจังหวัดนครศรีธรรมราช มีกระบวนการการดาเนนิ งาน ๓ ข้ันตอน ไดแ้ ก่ ๑. ทบทวนแผนพัฒนำกำรจดั กำรศกึ ษำ เปน็ ข้ันตอนทสี่ ถานศึกษาและสมาชิกต้องศึกษามาตรฐานการศึกษาและค่าเปา้ หมายของสถานศกึ ษาซ่ึง เป็นเคร่ืองมือสะท้อนคุณภาพการจัดการศึกษา เป้าหมายหลักของการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา คือ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สถานศกึ ษาต้องทบทวนทิศทางและองค์ประกอบแผนพฒั นาการจัด การศึกษาว่ามีความสัมพันธ์ ความสอดคล้องกับการขับเคล่ือนงานให้ไปสู่เป้าหมายที่พึงประสงค์ อันได้แก่ วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการและการถ่ายทอดกลยุทธ์สกู่ ารปฏิบตั ิ หากพิจารณาแลว้ ส่วนใด ยังบกพร่องสถานศึกษาควรปรับปรุงหรือแก้ไขแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้รองรับการจัดการศึกษาให้เป็น ไปตาม “เปา้ หมายทพ่ี งึ ประสงค”์ ของสถานศึกษาทีต่ ัง้ ไว้ มขี ัน้ ตอนยอ่ ย ๓ ประการคือ ๑.๑ ศึกษามาตรฐานการศกึ ษาและคา่ เป้าหมายของสถานศึกษา ๑.๒ ทบทวนทิศทางและองคป์ ระกอบแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษา ๑.๓ ปรับปรุงหรือแก้ไขแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาให้เปน็ ไปตาม “เปา้ หมายที่พึงประสงค”์ เทคนคิ สู่ควำมสำเร็จ ๑. สมาชิกทุกฝ่ายต้องมีส่วนร่วมในการกาหนดและสร้างความเข้าใจต่อมาตรฐานการศึกษา และค่าเป้าหมายของสถานศกึ ษา ๒. สมาชิกทุกฝ่ายต้องมีส่วนร่วมในการกาหนด “เป้ำหมำยท่ีพึงประสงค์” ของสถานศึกษาท่ี ต้องการพัฒนา ให้ครอบคลุม ๓ ด้านคือ ๑) ด้านคุณภาพผู้เรียนหรือคุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษา ๒) ด้าน

๑๓๑ คุณภาพการบรหิ ารและการจัดการ ๓) ด้านคณุ ภาพการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั โดยผลลพั ธ์ ที่สาคัญจะเกดิ ขนึ้ ที่ “ตวั ผู้เรยี น” ๓. สถานศกึ ษาตอ้ งมีการจดั ทาแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา ระยะ ๓ - ๕ ปี ให้เปน็ ปจั จุบัน ๔. สถานศึกษาและสมาชิกทุกฝ่ายควรมสี ่วนร่วมในการจดั ทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาและ มีสว่ นรว่ มในการการทบทวนทิศทางการดาเนนิ งานการจัดการศึกษาสคู่ วามสาเรจ็ ๕. สถานศึกษาต้องมีการตรวจสอบองค์ประกอบของแผนพัฒนาการจัดการศึกษาให้มีการ เขียนอย่างครบถ้วน มีความสัมพันธ์เช่ือมโยงกันและกันและมุ่งสู่ปลายทางตามมาตรฐานและเป้าหมายของ สถานศกึ ษาทีก่ าหนดไว้ ๖. สถานศึกษากาหนดแผนพัฒนาการจัดการศึกษาและส่ิงสาคญั ต้องสนองต่อตัวตนตามบริบท ของสถานศึกษาและขับเคลื่อนงานใหบ้ รรลตุ ามเป้าหมายทก่ี าหนดในมาตรฐานการศึกษาครบทกุ ดา้ น ๗. สถานศึกษาควรมีการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ของสถานศึกษาด้วยเทคนิคต่าง ๆ เพื่อ นามาสู่การวางแผนพัฒนาสถานศึกษา อาทิ SWOT Analysis และ TOWS Matrix หรืออ่ืน ๆ เป็นเครื่องมือ หรือเทคนิคท่ีนามาใช้ในการประเมินสถานการณ์และศักยภาพของสถานศึกษาเพื่อให้ทราบจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคของสถานศกึ ษาแตล่ ะแห่งเพอื่ นามาส่กู ารวางกลยุทธ์ทเี่ หมาะสมกับบริบทตามจริง ๒. นำสกู่ ำรปฏบิ ัติผ่ำนแผนปฏิบัตกิ ำรประจำปี เป็นข้ันตอนที่สถานศึกษากาหนดทิศทางการดาเนินงานขององค์กรด้วยการถ่ายทอดกลยุทธ์สู่การ ปฏิบัติ กาหนดระบบการทางานที่ชดั เจนและเป็นขั้นตอน มกี ารนาเสนอการใช้งบประมาณอยา่ งคุ้มค่าและมีการ ตรวจสอบผลการดาเนินงาน แผนที่ทาขึ้นน้ีสาหรับใช้ในการบริหารสถานศึกษาให้เกิดความสาเร็จและ มีประสิทธิภาพ เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานประจาปีของสถานศึกษาตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายตามที่ สถานศกึ ษากาหนด มีแนวทางและกระบวนการทางานท่ีชัดเจนท่ีจะมงุ่ ไปสู้เปา้ หมายความสาเรจ็ ท่ีพงึ ประสงค์ มี วางแผนการใชง้ บประมาณอยา่ งคมุ้ คา่ และตรวจสอบผลการทางานอยา่ งเป็นระบบ มขี ัน้ ตอนย่อย ๖ ประการคอื ๒.๑ สถานศกึ ษาและสมาชกิ ทุกฝา่ ยรว่ มกนั ต้งั เป้าหมายท่ีพงึ ประสงค์ ๒.๒ ทกุ ฝา่ ยรว่ มกันวิเคราะหแ์ ผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา ๒.๓ ทุกฝ่ายร่วมกนั วเิ คราะหป์ ระมาณการงบประมาณรายรบั และรายจ่ายของสถานศึกษา ๒.๔ กาหนดโครงการตามแผนกลยทุ ธ์ ๒.๕ พจิ ารณาความครอบคลุมของนโยบายและจดุ เนน้ ของหน่วยงานตน้ สงั กดั ๒.๖ จดั ทาแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี ๒.๗ นาแผนปฏิบัติการประจาปีเสนอขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษาก่อน นาไปสกู่ ารปฏิบัตแิ ละแนบหลักฐานปรากฏท้ายเลม่ ๒.๘ ดาเนินการตามแผนปฏิบตั กิ ารประจาปีและโครงการทไี่ ดก้ าหนดไว้ ๒.๙ เม่อื สน้ิ สดุ ปีมีการสรุปผลการดาเนินงานในรอบปที ่ผี า่ นมาของสถานศึกษา

๑๓๒ เทคนิคสู่ควำมสำเร็จ ๑. สถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษาควรศึกษาความสัมพันธ์ ความเช่ือมโยงและความ เป็นเหตุเป็นผลของการนาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปีขอ ง สถานศึกษา ๒. สถานศกึ ษาและบุคลากรในสถานศึกษาควรมีสว่ นร่วมและรับรู้ในการจัดทาแผนพฒั นาการ จัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี แล้วร่วมดาเนินการ วางแผนและดาเนินงานต่าง ๆ ด้วยกันเพอื่ ใหม้ องไปในทิศทางเดยี วกัน ๓. สถานศึกษาต้องมีการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีทุก ๆ ปี เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการ ดาเนินการแกท่ กุ ฝ่ายและสามารถกากบั ตดิ ตาม และประเมนิ ความสาเร็จงานแตล่ ะฝา่ ยได้ ๔. สถานศึกษาต้องมีการวิเคราะห์ตัวตนตามบริบทของสถานศึกษาในแต่ละปี โดยนาข้อมูล สารสนเทศที่เป็นปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในมาพิจารณาเพื่อกาหนดแนวทางในการจัดทาแผนปฏิบัติการ ประจาปีและโครงการให้มีความทันสมัย ทันต่อสภาพการณ์ และสนับสนุนกระบวนการขับเคลื่อนงานให้บรรลุ ตามเปา้ หมายตามทีว่ างมาตรฐานไว้ ๓. สรำ้ งโครงกำรดีขบั เคลื่อนงำนส่เู ป้ำหมำย เป็นข้ันตอนท่ีสถานศึกษากาหนดกิจกรรม วิธีการดาเนินงาน โดยการนาเอาแผนกลยุทธ์หรือ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาลงสู่การปฏิบัติงานในลักษณะของโครงการ แล้วมีกระบวนการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล โดยกาหนดเป็นโครงการที่อยู่ในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีท่ีมี กิจกรรมมุ่งเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนหรือผู้สาเร็จการศึกษา พัฒนาคุณภาพการบริหารการศึกษาและพัฒนา คุณภาพด้านการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญหรือเพ่ือสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ โครงการที่ดีมีคุณภาพ ตอ้ งทาให้สถานศึกษาบรรลุเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อใหบ้ รรลุผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ตามทีส่ ถานศึกษาตงั้ ไว้ มขี ้นั ตอนย่อย ๙ ประการคือ ๓.๑ สถานศกึ ษาและบคุ ลากรรว่ มกันกาหนดโครงการและผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ ๓.๒ วิเคราะห์วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย การจัดการศึกษาตามแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัตกิ ารประจาปขี องสถานศึกษา ๓.๓ วิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและค่าเป้าหมายของสถานศึกษาเพ่ือ กาหนดลักษณะของโครงการที่ดีที่สอดคล้องตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในระดับการศึกษา ขน้ั พ้ืนฐานและระดับอาชวี ศกึ ษา ลักษณะของโครงการท่ดี ที สี่ อดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ๑) โครงการดมี ุ่งเป้าพัฒนามาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู้ รียน แบ่งออกเป็น ๒ สว่ น ไดแ้ ก่ ลักษณะของโครงการเน้นการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เป็นผู้ท่ีมีความสามารถ ทางด้านวิชาการส่งเสริมการพัฒนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ เจตคติ และศักยภาพของผู้เรียนสอดรับกับ ความต้องการของผู้เรียน ชุมชน นโยบายต่างๆ และสัมพันธ์กับความต้องการของประเทศไทยและคุณลักษณะ คนไทย ๔.๐ มุง่ สูก่ ารเปน็ พลเมืองไทยและพลเมอื งโลกที่เขม้ แขง็

๑๓๓ ลักษณะของโครงการเน้นการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้เป็นผู้ท่ีมีคุณลักษณะท่ีดี ท่ีพึงประสงค์ ท้ังในด้านพฤติกรรม คุณธรรม จริยธรรม ทัศนคติ ค่านิยม สุขภาวะครบด้าน เพ่ือจะได้เป็นบคุ คล ที่ดี เข้มแข็งและมีความสุขบนบรรทัดฐานและความตอ้ งการของสถานศึกษา ชุมชน ท้องถ่ิน สงั คม ประเทศชาติ และโลก ๒) โครงการดีมงุ่ เป้าพัฒนามาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ลักษณะของโครงการจะเป็นกระบวนการที่สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาและดาเนินการในการ จัดการศึกษา การบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ของสถานศึกษาเพ่ือมุ่งสู่เป้าหมายการทางานท่ีสามารถพัฒนา คุณภาพของผู้เรียนได้ตรงตามเป้าหมายที่พึงประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ ลักษณะของโครงการตามมาตรฐานนี้เน้น การพฒั นาหรือส่งเสริมงานคุณภาพการจัดระบบบริหารจดั การ การพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษา การกาหนด เป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน การดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม หลกั สูตรสถานศกึ ษาในทุกกลุ่มเป้าหมาย การพฒั นาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา การพฒั นาครู และบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ และการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหาร จัดการและการเรียนรู้ รวมทงั้ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่เี อื้อตอ่ การจัดการเรียนรู้ ๓) โครงการดีมงุ่ เปา้ พัฒนามาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ ลักษณะของโครงการจะเป็นกระบวนการท่ีดาเนินการจัดการเรียนการสอน การวั ด ประเมินผล สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาผู้เรียน ผ่านกิจกรรมและดาเนินการของครูผู้สอน ลักษณะของโครงการ ตามมาตรฐานน้ีเน้นการพัฒนาหรือส่งเสริมงานคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา การสร้างโอกาสให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและการปฏบิ ัติจริง การบริหารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวกท่ีเน้น การสรา้ งปฏสิ มั พันธ์ทดี่ ี การร้จู กั ผู้เรียนรายบคุ คล การตรวจสอบและประเมินผูเ้ รียนอย่างเปน็ ระบบ รวมทัง้ การ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ เพื่อพัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ ระดับการอาชวี ศกึ ษา ๑) โครงการดีมุ่งเป้าพัฒนามาตรฐานท่ี ๑ คุณลักษณะของผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่ พงึ ประสงค์ ลักษณะของโครงการเน้นการพัฒนาคุณภาพการของผู้เรียนหรอื ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ที่พึงประสงค์ ให้เป็นผู้ท่ีมีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการประยุกต์ใช้ตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา แต่ละระดับ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ท่ีสอดคล้องกับความต้องการ ของตลาดแรงงาน ชุมชน สังคม ประเทศ ความถนัดของผู้เรียน นโยบายต่าง ๆ และสัมพันธ์กับความต้องการ ของประเทศไทยและคณุ ลกั ษณะคนไทย ๔.๐ ๒) โครงการดมี ุ่งเป้าพัฒนามาตรฐานท่ี ๒ การจดั การอาชวี ศึกษา ลักษณะของโครงการจะเป็นกระบวนการท่ีสนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาและดาเนินการบริหาร การจัดการสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพ่ือมุ่งสู่เป้าหมายการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาคุณภาพ ของผู้เรียนหรือผู้สาเร็จการศึกษาตามมาตรฐานท่ี ๑ และรองรับเป้าหมายที่พึงประสงค์ท่ีได้กาหนดไว้ ลักษณะ

๑๓๔ ของโครงการตามมาตรฐานน้ีเน้นการพัฒนา ส่งเสริมและการบริหารจัดการ หลักสูตร รายวิชา การจัดการเรยี น การสอน ผสู้ อน และทรัพยากรของสถานศกึ ษา ๓) โครงการดมี ่งุ เปา้ พฒั นามาตรฐานที่ ๓ การสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ ลักษณะของโครงการจะเป็นการสร้างความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับบุคคล ชุมชน องคก์ ร เพ่อื สร้างสังคมหง่ การเรียนรู้ มกี ารจัดทาและนาเอานวตั กรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวจิ ยั ของ สถานศึกษาถา่ ยทอดไปสชู่ มุ ชนและสังคม ๓.๔ วิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาของชาติ เพื่อกาหนดลักษณะของโครงการที่ดีที่สอดคล้อง ตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติทงั้ ในระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐานและระดับอาชวี ศึกษา ลักษณะของโครงการท่ีดี ท่ีสอดคล้องตามมาตรฐานการศึกษาของชาติทั้งในระดับการศึกษา ข้นั พน้ื ฐานและระดับอาชวี ศึกษา ตามมาตรฐานทง้ั ๓ ด้าน รวมท้ังคา่ นยิ มรว่ มและคณุ ธรรม ได้แก่ ๑) โครงการที่มุ่งพัฒนาคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้และทักษะชีวิต ทักษะ ที่จาเป็นสาหรับการเรียนรู้เพ่ือโลกดิจิทัลและโลกในอนาคต เช่น การรู้วิธีเรียน ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีสมรรถนะที่เกิดจากความรู้ดา้ นต่าง ๆ ซ่งึ ความรู้และความรอบรู้ คือ ชดุ ความรู้ทจี่ าเป็นสาหรับการเรยี นรูอ้ ย่าง ต่อเน่ืองเพื่อให้ตนเองรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงได้ ได้แก่ (๑.๑) ความรู้พ้ืนฐาน (ภาษา การคานวณ การใช้ เหตุผล) และความรู้ตามหลักสูตร (๑.๒) การรู้จักตนเอง (๑.๓) ความรู้เรื่องภูมิปญั ญาไทยท้องถิ่น ชุมชน สภาพ ภูมิสังคม ภูมิอากาศ ประเทศชาติ ประชาคมโลก (๑.๔) ความรอบรู้ด้านต่างๆ ได้แก่ ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ การเงินสารสนเทศ (๑.๕) ความรู้เรื่องการงานอาชีพ มีสมรรถนะที่เกิดจากความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างมีสุนทรียะ (๑.๖) การพัฒนาทกั ษะชวี ิตและทกั ษะการจัดการตนเอง ๒) โครงการที่มุ่งพัฒนาคุณลักษณะและทักษะที่เกย่ี วข้องกับการสร้างสรรคน์ วตั กรรม และการเป็นผู้ประกอบการ ทักษะทางปัญญา การคิดสร้างสรรค์ การคิดวิจารญาณ การคิดเชิงวิพากษ์ การสะท้อนคิด การแก้ปัญหา ทักษะการสื่อสาร การใช้ภาษาอังกฤษ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล อย่างชาญฉลาด การทางานร่วมกับผู้อ่ืน ความสามารถในการบูรณาการข้ามศาสตร์ การสร้างสรรค์นวัตกรรม และมีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการท่ีเท่าทัน การเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกยุคดิจิทัล ทักษะ ศตวรรษที่ ๒๑ ทสี่ ถานศึกษาพิจารณาวา่ มคี วามจาเป็นทตี่ อ้ งพฒั นาผเู้ รียนของตนเอง ๓) โครงการที่มุ่งพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนให้เกิดความรักชาติ รักท้องถ่ิน รู้จัก แยกแยะถูกผิด สร้างการมีจิตสานึกความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ส่งเสริมการมีจิตอาสา สร้าง ความรู้สึกมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติบนฐานของประชาธิปไตย ส่งเสริมการรู้จักหน้าที่และปฏิบัติตาม หน้าทขี่ องตนโดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อนื่ สร้างความเช่ือมั่นในการรักษาความยุติธรรม ความเทา่ เทียมและเสมอ ภาคเพ่ือจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ียั่งยืนและอยูร่ ่วมกันในสงั คมไทยและประชาคมโลกอย่าง สนั ติ ๔) โครงการที่มุ่งพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามท่ีสถานศึกษากาหนด ซึ่งสามารถนาเอาค่านิยมร่วมหรือคุณธรรมตามกรอบที่มาตรฐานการศึกษาชาติได้กาหนดไว้ มากาหนดเป็น ส่วนหน่ึงของคุณลักษณะและคุณธรรมท่ีพึงประสงค์ท่ีต้องการสร้างให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนให้เหมาะกับการเป็น คนไทย ๔.๐ ประกอบด้วย ค่านิยมร่วม ๔ ประการ ความเพียรอันบริสุทธิ์ ความพอเพียง ความเท่าเทียมเสมอภาค

๑๓๕ และคุณธรรม อันเป็นลักษณะนิสัยที่ดีและคุณลักษณะท่ีดีด้านคุณธรรมพื้นฐาน การรู้ถูกผิด ความดีงาม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณในการเปน็ สมาชิกของสงั คม ๓.๕ วิเคราะห์และคัดเลือกโครงการท่ีกาหนดไว้ในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ ๓ - ๕ ปขี องแต่ละปกี ารศกึ ษา มาจดั ทารายละเอียดลงสูก่ ารปฏิบตั ใิ นรปู แบบของโครงการ โครงการและกิจกรรมท่ีกาหนด ควรสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาและเป้าหมายท่ี พึงประสงค์ของการพัฒนาสถานศึกษา ครอบคลุมตามมาตรฐานและสองต่อคุณภาพการจัดการศึกษา ทั้ง ๓ ดา้ น ไดแ้ ก่ ๑) โครงการและกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนหรือคุณภาพของผู้สาเร็จ การศึกษาให้มีความรู้ ทกั ษะ คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ตามทีส่ ถานศกึ ษาต้งั เปา้ หมายไว้ ๒) โครงการและกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาคุณภาพการบริหารและการจัดการสถานศึกษา ให้มสี ่งิ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และการบรหิ ารจดั การเพอื่ ใหส้ าเร็จผลตามเปา้ หมายพงึ ประสงค์ท่ีวางไว้ ๓) โครงการและกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ หรือการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้สอนพัฒนาการเรียนการสอนที่เน้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ และสรา้ งสรรคใ์ ห้ผเู้ รยี นและผู้สอนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรา้ งสรรค์นวตั กรรมและการวิจัยท่ีขยายผลสชู่ มุ ชน สังคม และภาคีเครือขา่ ยต่าง ๆ สูก่ ารเป็นสงั คมแห่งการเรยี นรู้ ๓.๖ คัดเลือกและกาหนดโครงการท่ีรองรับกลยุทธ์การพัฒนาสถานศึกษาและควรตอบสนอง สถานการณ์ปัจจุบัน อาทิ ประเทศไทยและคนไทย ๔.๐ การรองรับการจัดการศึกษาช่วงการแพร่ระบาดของ COVID - ๑๙ การดารงชีวติ และเศรษฐกิจบนฐานดิจทิ ลั ๓.๗ พิจารณาภาพรวมของโครงการ เพื่อพิจารณาคัดเลือกโครงการที่เหมาะสมที่จะจัดเป็น โครงการทีอ่ ย่ใู นแผนปฏิบัตกิ ารประจาปีและดาเนนิ การจดั โครงการในปีน้นั ๆ ๓.๘ เขียนโครงการตามองค์ประกอบของหัวข้อและเน้ือหาของโครงการ ๓.๙ ดาเนนิ งานตามโครงการในแต่ละปีการศึกษาที่ได้วางแผนไว้ เทคนิคสู่ควำมสำเรจ็ ๑. สมาชิกทุกฝ่ายควรมีส่วนร่วมในการกาหนดโครงการ กิจกรรม และผู้รับผิดชอบโครงการ ควรเปน็ ผูเ้ ขียนโครงการดว้ ยตนเอง ๒. สถานศึกษาต้องปรับโครงการให้เป็นปัจจุบัน หากนาเอาโครงการเดิมมาใช้ต้องพิจารณา วตั ถุประสงค์ ตวั ชีว้ ัดและรายละเอยี ดการดาเนินงานว่ามคี วามเหมาะสมกับสถานการณป์ จั จุบัน มคี วามทันสมัย ๓. โครงการท่ีจัดทาในแต่ละปีควรสอดคล้องกับเป้าหมายการจัดการศึกษาตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศกึ ษาที่กาหนดขึ้น ซึง่ ต้องมีวธิ กี ารพัฒนาใหผ้ ู้เรยี นบรรลผุ ลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง ๔. โครงการที่จัดทาในแต่ละปีควรสอดคล้องและคานึงถึงมาตรฐานการศึกษาของชาติ ด้วยจุดหมายปลายทางของการพัฒนา คือ “การพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ให้เป็นคนไทย ๔.๐” ซ่ึงต้องมีวิธีการพัฒนาผู้เรียนผ่านโครงการต่าง ๆ ให้ได้ทากิจกรรมตามสภาพแวดล้อมที่สถานศึกษา กาหนดให้

๑๓๖ ๕. โครงการและกิจกรรมพัฒนาสถานศึกษาต้องมีความเหมาะสมกับสถานการณ์ การดาเนินงานทั้งในด้านการเรียนของผู้เรียน การสอนของผู้สอน และการบริหารจัดการงานด้านต่าง ๆ ของ สถานศกึ ษาและผู้บรหิ าร อาทิ การทางานบนฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ การทางานระหว่างการแพร่ระบาดของ เช่อื ไวรัส โคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-19) การอยใู่ นโลกดจิ ทิ ลั และเน้นการมสี ่วนร่วม การเป็นพลเมอื งโลก ๓. ปัจจัยควำมสำเร็จในกำรดำเนินกำรพัฒนำสถำนศึกษำให้บรรลุผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ตำม มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำระดับกำรศึกษำ ขั้นพื้นฐำนและกำรอำชีวศึกษำ ในเขตพื้นที่จังหวัด ตำกและจงั หวดั นครศรธี รรมรำช พบว่ำ ๑) สถานศึกษาต้องตระหนักถึงความสาคัญของมาตรฐานการศึกษาชาติและมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา ๒) ภาวะผู้นาของผู้บริหาร มีความตระหนัก รับรู้ ยอมรับและเข้าใจในบริบทและสภาพการ เปลย่ี นแปลง ๓) สถานศึกษาตอ้ งทางานอย่างเป็นระบบ มีกระบวนการบริหารจัดการท่เี ป็นระบบ ๔) สถานศึกษาต้องนาแผนท่ีกาหนดไวไ้ ปสกู่ ารปฏบิ ัติ และมีการกากับติดตาม การดาเนินงาน ให้เปน็ ไปตามแผน ๕) สถานศีกษามีการติดตาม ประเมินผลและนาผลไปเป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษา ๖) การมีส่วนร่วม สถานศึกษาต้องเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน ทุกฝ่าย ต้องมีส่วนร่วมและร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ภายในสถานศึกษา เพ่ือกาหนดเป้าหมายแนวทางการพัฒนาและ ประเดน็ การพฒั นาตา่ ง ๆ ระหว่างบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ๗) เน้นกระบวนการร่วมเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง หลังจากที่กาหนดแผนงานและโครงการ แลว้ ทุกฝา่ ยต้องลงมือปฏบิ ัตงิ านตามที่ไดว้ างแผนไว้ ขบั เคล่อื นให้เกิดผลงานตามเป้าหมาย สร้างการมีสว่ นร่วม ของทุกฝ่ายให้ได้เรียนรู้งานต่าง ๆ ของสถานศึกษา เมื่อเสร็จสิ้นการทางานแล้วจะต้องมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รว่ มกัน เพือ่ ถอดบทเรยี นความสาเรจ็ และหาแนวทางการปฎิบตั ิงานทดี่ ีต่อไป ๘) การนาระบบเทคโนโลยมี าช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการและสนับสนุนการเรยี นการสอน และการบริหารงานของสถานศึกษา โดยเฉพาะในยุคสถานการณ์ปัจจบุ ันที่เป็นยุคดิจิทัลที่มีการดาเนินกิจกรรม และการดารงชีวิตโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานได้อย่างมีพลังและส ะดวกรวดเร็ว ในการเช่ือมต่อ เก็บรวบรวม และประเมนิ ผล ๙) การบริหารจัดการงบประมาณ สถานศึกษาสามารถบริหารงบประมาณในกรณีท่ีมีเงินหรอื งบประมาณน้อย สามารถทาโครงการรวมกันได้อยา่ งผสมผสานแล้วตอบตวั ชี้วดั หรอื มาตรฐานสถานศกึ ษา

๑๓๗ อภิปรำยผลกำรวิจัย การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการอาชีวศึกษา ในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดตากและจังหวัดนครศรีธรรมราช มีประเด็นท่ี นา่ สนใจท่คี วรนามาอภปิ รายไดด้ งั นี้ ๑. ประเด็นความต้องการของสถานศึกษา ในการต้องการพัฒนาในด้านการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา การจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี การเขียนและการประเมินโครงการ เพ่ือให้การดาเนินงานของ สถานศึกษาบรรลผุ ลลพั ธ์ที่พงึ ประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ทั้งนีอ้ าจเปน็ เพราะผู้บรหิ ารและ บุคลากรในสถานศึกษาตระหนักถึงความสาคัญว่าองค์กรที่จะประสบความสาเร็จได้น้ัน จาเป็นต้องมีการ วางแผนยุทธศาสตร์ (Strategic planning) ท้ังน้ีเน่ืองจากแผนกลยุทธ์จะเป็นแนวทางท่ีให้ผู้บริหารองค์กร ดาเนินการได้อย่างมีทิศทาง คือ มุ่งสู่ความสาเร็จขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ส่วนแผน ปฏิบัติการประจาปีและโครงการ จะเป็นเครื่องมือสาคัญที่จะนาแผนไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งสถานศึกษาท่ีเข้าร่วม โครงการได้ให้ข้อมูลท่ีสะท้อนว่า มีการดาเนินการจัดทาแผนท้ังแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ แต่แผนการจัด การศึกษาท้ังสองที่ได้น้ันยังขาดความชัดเจนและมีส่วนประกอบไม่ครบและไม่ถูกต้องตามหลักการ สถานศึกษา บางแห่งนาแผนปฏิบัติการท่ีเคยทาในปีที่ผ่านมา นามาใช้โดยไม่ได้มีการปรับเปลี่ยน แผนงาน โครงการและ กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีปรากฏจึงเปรียบเสมือนเป็นงานประจา และยังขาดการวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่าง โครงการ/กิจกรรมในแผนกับมาตรฐานการศึกษาชาติ อีกท้ังการดาเนินการจัดทาแผนไม่เป็นไปตามข้ันตอน ทั้งนี้สืบเน่ืองมาจากบุคลากรที่รับผิดชอบยังขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดทาแผนปฏิบัติการ การเขียน โครงการและการประเมินโครงการและขาดทักษะในการทาแผนปฏิบัติการแต่ละขั้นตอน ซ่ึงสอดคล้องกับ ผลงานวิจัยของ สงบุญ เถาโคตรศรี (๒๕๖๑) ที่ศึกษาสภาพและปัญหาในการจัดทาแผนปฏบิ ัติการของโรงเรียน บา้ นดงเสียว สังกดั สานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ ทพ่ี บวา่ โรงเรียนมีการดาเนินการ จัดทาแผนปฏบิ ัติการทุกปีการศึกษา แผนในการดาเนินงานในการจัดทาแผนปฏิบัติการไมช่ ัดเจน ทงั้ นี้เนื่องจาก ครูและบุคลากรยังขาดความรู้ ความเข้าใจในการจัดทาแผนปฏิบัติการนั่นเอง ซึ่งจากปัญหาที่พบดังกล่าว ทาง คณะผ้วู จิ ยั จึงไดน้ ามาเปน็ ข้อมลุ ในการวางแผนและกาหนดแนวทางการพฒั นาสถานศึกษาใหบ้ รรลผุ ลลัพธ์ท่ีพึง ประสงค์ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ๒. การพัฒนาสถานศึกษาใหบ้ รรลุผลลัพธ์ที่พึงประสงค์นั้น จากการวจิ ยั ครัง้ นีจ้ ะ พบวา่ มีองคป์ ระกอบ ที่สาคัญอยู่ ๘ ประการ องค์ประกอบแรก สถานศึกษาต้องตระหนกั ถึงความสาคัญของมาตรฐานการศึกษาชาติ และมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ซ่งึ เป็นสิ่งทีส่ ถานศกึ ษากาหนดเป้าหมายไวแ้ ละตอ้ งมองภาพตลอดแนว ในกระบวนการทางานที่จะทาให้บรรลุเป้าหมายตามมาตรฐานสถานศึกษา และมาตรฐานชาติ และกาหนด ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนเป็นจุดเริ่มต้นของการกาหนดนโยบายและแผนการดาเนินงานของ สถานศึกษา องค์ประกอบท่ี ๒ ภาวะผู้นาของผู้บริหาร ผู้บริหารต้องมคี วามตระหนัก รับรู้ ยอมรับและเข้าใจใน บริบทและสภาพการเปลี่ยนแปลง พร้อมเป็นผู้นาการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนมีความสามารถในการประสานงาน ข้ามหน่วยงานและสร้างเครือข่ายในการทางาน มีวิสัยทัศน์ก้าวไกล คิดนอกกรอบ ตลอดจนสามารถส่ือสาร ทาความเข้าใจให้เกิดการยอมรับได้ทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัยเข้าใจในข้ันตอนและกระบวนการนโยบาย รวมถึงสามารถกาหนดและผลักดัน

๑๓๘ ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติได้สาเร็จอยา่ งเป็นรูปธรรมและที่สาคัญ คือ เป็นผู้นาที่มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถ บูรณาการการทางานอย่างเป็นระบบเพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายสุดท้าย คือ เพื่อประโยชน์ของผู้เรียนและประเด็นที่ สาคัญอีกประการหนึ่งคือ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดทาแผนพัฒนา การศึกษา และเห็นความสาคัญของการบริหารงานโดยใช้แผนเป็นเคร่ืองมือในการบริหารงานของสถานศึกษา องค์ประกอบท่ี ๓ สถานศึกษาต้องทางานอย่างเป็นระบบ มีกระบวนการบริหารจัดการที่เป็นระบบ โดยเร่ิม ต้ังแต่การมีการวางแผน การนาแผนไปปฏิบัติ การติดตามประเมินผลการดาเนินงานตามแผน การนาผลการ ประเมินมาพัฒนาและปรับปรุง รวมทั้งการนาเสนอผลการดาเนินงานกับผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบ ตามกระบวนการประกนั คุณภาพ การดาเนินกจิ กรรมตามโครงการวิจยั นี้ คณะผู้วจิ ยั มงุ่ ใหเ้ นน้ ให้สถานศกึ ษาเกิด การพัฒนาระบบการทางานใหเ้ ป็นระบบยิ่งข้ึน และส่งเสริมให้สถานศึกษาที่เข้าร่วมคงการบริหารจัดการโดยใช้ แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ในการวางแผนพัฒนาสถานศึกษาที่มุ่งสู่เป้าหมายท่ีวางไว้ จึงเริ่มต้นโดยการให้ สถานศึกษาทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา ที่สถานศึกษาได้จัดทา แลว้ ดาเนนิ การปรับปรงุ ใหช้ ดั เจนและเหมาะสมและสอดคล้องกับมาตรฐานสถานศึกษา กาหนดเปน็ แผนกลยุทธ์ ของสถานศึกษาท่ีสามารถนาพาสถานศึกษาไปสู่การบรรลุตามวิสัยทัศน์และมาตรฐานสถานศึกษา ตาม เป้าหมายที่สถานศึกษากาหนดไว้และนาไปสู่การจัดทาแผนปฏิบัติการและโครงการต่าง ๆ องค์ประกอบท่ี ๔ สถานศึกษาต้องนาแผนท่ีกาหนดไว้ไปสู่การปฏิบัติ และมีการกากับติดตามการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผน มีการเก็บหลักฐานร่องรอย การทางานว่ามีการดาเนินโครงการ/กิจกรรมเม่ือไร เป็นไปตามระยะเวลาที่กาหนด ไว้ในแผนหรือไม่อย่างไร องค์ประกอบที่ ๕ การติดตามประเมินผลและนาผลไปเป็นข้อมูลในการปรับปรุงและ พัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ต้องมีการติดตามการดาเนินงานในทุกขั้นตอน เพื่อให้ได้ข้อมูลย้อนกลับ และ วิเคราะห์จุดเด่นและจุดท่ีควรพัฒนาของสถานศึกษาและนากลับมาศึกษา วิจัยและพัฒนาสถานศึกษาต่อไป องค์ประกอบที่ ๖ การมีส่วนร่วม สถานศึกษาต้องเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานและเปิด โอกาสให้ตัดสินใจได้อย่างอิสระทั้งในการกาหนดนโยบาย แผน การนาแผนไปปฏิบัติ องค์ประกอบท่ี ๗ เน้น กระบวนการร่วมเรียนรู้จากการปฏบิ ตั ิจริง ตอ้ งมีการสง่ เสรมิ ให้เกดิ กระบวนการเรียนรู้ทเี่ กดิ จากการแลกเปล่ียน ประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง (Action Learning) ผนวกกับการมีเพ่ือนร่วมเรียนรู้ และพ่ีเลี้ยงที่คอย ช่วยเหลืออย่างต่อเน่ือง เพื่อให้เกิดความเข้าใจและการเปล่ียนแปลงอย่างยั่งยืน คณะผู้วิจัยได้ร่วมทางานแบบ มีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติจริงทุกข้ันตอน จนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีปฏิสัมพันธ์ ได้เรียนรู้ร่วมกัน ได้แลกเปล่ียนข้อมูล ความรู้ ความคิด มีกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้และสะท้อนผลการดาเนนิ งานทั้งภายใน สถานศึกษาและระหว่างสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการวิจัย ซ่ึงองค์ประกอบน้ีนับเป็นองค์ประกอบสาคัญ ที่ทา ให้เกิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จากการปฏิบัติ ของผู้รับผิดชอบโครงการ / กิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษา ว่าในการดาเนินโครงการ /กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีมุ่งพัฒนาผู้เรียนและการ ดาเนินงานภายในสถานศึกษาให้บรรลุผลลัพธน์ ั้น ตนได้มีส่วนรับผิดชอบในด้านใดบ้าง ผลการดาเนินงานบรรลุ ตามเป้าหมายหรือไม่ มีปัญหาอุปสรรคในการทางานอย่างไร และสามารถท่ีจะแก้ไขปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรค เหลา่ น้ันได้อย่าไร ซ่ึงกระบวนการแลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละสะท้อนผลการดาเนินงานนจ้ี ะเป็นองค์ประกอบสาคัญท่ี ทาให้เกิดวัฒนธรรมองค์กรท่ีดีและทาให้สถานศึกษาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และเป็นแนวทางในการสร้าง มาตรฐานในการปฏิบัติงานที่ทุกคนเข้าใจตรงกันและยึดถือเป็นแนวปฏิบัติเดียวกัน และองค์ประกอบที่ ๘

๑๓๙ การนาระบบเทคโนโลยีมาช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการ และสนับสนุนการเรียนการสอน โดยเฉพาะในยุค สถานการณ์โรคระบาดโควิดในขณะนี้ คงปฏิเสธไม่ได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ รูปแบบการเรียนออนไลน์ และ การเรียนทางไกลในรูปแบบต่าง ๆ ได้ถูกนามาใช้ในการบริหารจดั การและการจัดการเรียนการสอน รวมท้ังการ พฒั นาบคุ ลากรของสถานศกึ ษาท่เี ข้าร่วมโครงการ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในกำรนำผลกำรวิจัยไปใช้ ๑. ผู้บริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและการอาชีวศึกษาสามารถนาแนวทางพัฒนา สถานศึกษาให้บรรลุผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และการอาชวี ศึกษา ในพืน้ ท่ีจงั หวดั ตากและจังหวัดนครศรีธรรมราชไปใช้เปน็ แนวทางในการกาหนดแผนพัฒนา การจัดการศกึ ษา แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีและโครงการของสถานศึกษาที่จะสอดคลอ้ งกบั ผลลัพธ์ทพ่ี ึงประสงค์ ๒. ผู้ปฏิบตั ิการ ผ้สู อน หรือบคุ ลากรสายสนบั สนุนของสถานศึกษาได้ใช้แนวทางการพฒั นาสถานศึกษา ให้บรรลุผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึ กษาข้ันพื้นฐานและการ อาชีวศึกษาในพ้ืนท่ีจังหวัดตากและจังหวดั นครศรีธรรมราช ไปใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานพัฒนา ทบทวน ปรับปรุงแผนพัฒนาการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี และมีแนวทางในการคัดเลือกจัดทาโครงการที่ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติและมาตรฐานการศึกษาของต้นสังกัดทั้งระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการอาชวี ศกึ ษา ๓. สถานศึกษาและบุคลากรทุกฝ่าย สามารถศึกษาข้ันตอนและวิธีการดาเนินงาน การเขียนโครงการที่ สนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปีท่ีส่งเสริมให้บรรลุผลลัพธ์ท่ี พึงประสงคต์ ามมาตรฐานการศกึ ษา ๔. สถานศึกษาสามารถศึกษาลักษณะของโครงการท่ีดีท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาสถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษาของชาติ เพื่อนาไปเป็นแนวทางในการกาหนดโครงการท่ีสอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษาต่าง ๆ ที่ครอบคลุมคุณภาพการจัดการศึกษาทั้ง ๓ ด้าน คือ ผู้เรียน การบริหารจัดการและการ จดั การเรยี นการสอน

๑๔๐ ข้อเสนอแนะในกำรวจิ ยั ครง้ั ต่อไป ๑. ควรมกี ารวิจัยเพอื่ ศกึ ษาบทเรยี นหรือถอดบทเรยี นผลการปฏบิ ัติงานท่ีดีเลศิ (Best Practice) ในการ พัฒนาโครงการท่ีดีเลิศท่ีบรรลุผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและมาตรฐาน การศึกษาชาติตามระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานและการอาชวี ศึกษา ๒. ควรมีการวิจัยในรูปแบบการวิจัยปฏบิ ัติการอย่างมีส่วนร่วมในการพัฒนาแนวทางการพัฒนาการจัด การศึกษา (แผนพัฒนาการจัดการศึกษาระยะยาวหรือแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจาปี และโครงการของ สถานศึกษา) ให้บรรลุผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน และการอาชีวศึกษาที่กาหนดกลุ่มเป้าหมายตามสังกัดของสถานศึกษา เช่น สังกัดรัฐบาล สังกัดเอกชน สังกัด การกุศล เป็นต้น เน่อื งจากในแตล่ ะสงั กัดจะมีคุณลกั ษณะหรือมีเง่ือนไขในการบริหารจดั การศึกษาท่แี ตกตา่ งกัน ๓. ควรมีการวิจัยเชิงพัฒนากลยุทธ์ในการปฏบัติงานเพื่อสอดคล้องกับการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาทุกด้าน เช่น กลยุทธ์การจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การพัฒนาการปฏิบัติงานและ การวจิ ัยของครูผสู้ อน กลยทุ ธก์ ารพฒั นาภาวะผ้นู าการเปลี่ยนแปลง เป็นต้น

๑๔๑ เอกสำรอำ้ งองิ กมล สุดประเสริฐ. (2537 ). กำรวิจัยเชิงปฏิบัติกำรแบบมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงำน. กรุงเทพฯ : สานักงานโครงการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ กระทรวงศกึ ษาธิการ. กลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัด การศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1. (2561). รำยงำนวิจัยเร่ือง ผลกำร ประเมินคุณภำพกำรศึกษำของสถำนศึกษำ สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำกำฬสินธ์ุ เขต 1 ปี กำรศกึ ษำ 2561. เอกสารอัดสาเนา. ขนิษฐา กาญจนารงั สี. (2547). กำรวิจยั เชงิ ปฏิบัตกิ ำรแบบมสี ่วนร่วม. WWW.rajabhat.ac.th. จุฑาทิพย์ ภัทราวาท. (2553). คู่มือกำรวิจัยปฏิบัติกำรแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บัณฑิตย.์ เจนจบ หาญกลบั . (2559). ปัจจยั ทีส่ ง่ ผลใหก้ ำรดำเนินกำรประกันคุณภำพภำยในตำมกฎกระทรวง ของโรงเรียนเอกชนเขตกรุงเทพมหำนครประสบควำมสำเร็จ. วทิ ยานิพนธห์ ลักสูตรปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต สาขา การบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั สยาม. ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์. (2527). กำรมีส่วนร่วมของประชำชน. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษานโยบาย สาธารณสขุ มหาวทิ ยาลัยมหิดล ไพโรจน์ ชลารักษ์. (2548). “กำรวิจัยเชิงปฏิบัติกำรแบบมีส่วนร่วม” วารสารราชภัฎตะวันตก 1 : 1 (กรกฎาคม-ธนั วาคม, 2548) มยุรี ธานีโต. (2561). ปญั หำและแนวทำงพัฒนำกำรดำเนินกำรประกนั คุณภำพภำยในของโรงเรียน กลุ่มเครือขำ่ ยที่ 39 สังกดั กรงุ เทพมหำนคร. วทิ ยานิพนธห์ ลกั สูตรการศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหาร การศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา. ณรงคว์ ทิ ย์ แสนทอง แหง่ HR center. กำรจดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ ำรประจำปี (Annual Action Plan) เอกสารอดั สาเนา. ภณฐั พงศ์ พลมุข และจกั รกฤษ โพดาพล. (2561). “สภำพและปญั หำกำรดำเนนิ งำนประกนั คุณภำพ ภำยในของโรงเรียนสังกัดสำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 19”. วารสาร มจร พุทธปัญญา ปริทรรศน์ ปที ่ี 3 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2561) วาลชิ ลีทา. (2560). สภำพ ปัญหำและแนวทำงกำรพัฒนำกำรประกันคุณภำพภำยในสถำนศกึ ษำ สังกดั สำนกั งำนเขตพืนทกี ำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 6. วิทยานิพนธห์ ลักสตู รการศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวิชา การบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา. วิทยาลยั สารพัดช่างลพบุร.ี (๒๕๖๑). แผนพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔. เอกสารอัดสาเนา. สภุ างค์ จันทวานิช.( 2547). กำรวิเครำะหข์ ้อมลู ในกำรวิจัยเชงิ คุณภำพ.กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย lmyour แปลภาษา ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง แปลภาษาเวียดนามเป็นไทยทั้งประโยค Google Translate การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 หยน อาจารย์ ตจต เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ app แปลภาษาไทยเป็นเวียดนาม การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 บบบย ศัพท์ทหารบก แปลภาษาจีน การประปาส่วนภูมิภาค การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ขุนแผนหลวงปู่ทิม มีกี่รุ่น ชขภใ ตม.เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล พจนานุกรมศัพท์ทหาร รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล รหัสประจำจังหวัด 77 จังหวัด สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม หนังสือราชการ ตัวอย่าง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด อเวนเจอร์ส ทั้งหมด แปลภาษา มาเลเซีย ไทย ไทยแปลอังกฤษ ประโยค ่้แปลภาษา Egp G no Reconguista Google map ขุนแผนหลวงปู่ทิมรุ่นแรก ข้อสอบภาษาไทยพร้อมเฉลย ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ค้นหา ประวัติ นามสกุล จองคิว ตม เชียงใหม่ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ดีแม็กมือสองราคาไม่เกิน350000 ตัวอย่างรายงานการประชุมสั้นๆ