การเข ยนคำท ม ต วการ นต โดยใช แบบฝ กท กษะ

รายงานวจิ ยั ในชั้นเรยี น

การจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทกั ษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตวั สะกด

กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3/2

นางสัญลกั ษณ์ ณ หนองคาย ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรยี นศรีแก้งครอ้ สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาชัยภูมิ เขต ๒ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

รายงานวจิ ยั ในชั้นเรยี น การจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝกึ ทักษะการอา่ นและการเขียนคำมาตราตวั สะกด กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3/2

ผู้วิจยั นางสัญลกั ษณ์ ณ หนองคาย ตำแหน่งครชู ำนาญการพเิ ศษ

ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนศรแี กง้ ครอ้ สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาชยั ภมู ิ เขต 2 สำนกั งานการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ

รายงานวจิ ัยในช้นั เรียน เร่ือง การใชแ้ บบฝึกทักษะทกั ษะการอ่านการเขยี นคำมาตราตัวสะกด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/2โรงเรียนศรีแก้งคร้อ เล่มนี้ มี จุดมุ่งหมายเพื่อได้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการฝึกทักษะการอ่านการเขียนอคำมาตราตัวสะกด ซึ่งเป็น วิธีการใช้สื่อการเรียนรู้ประเภทหนึ่งที่จะทำให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การใช้ภาษาอย่าง ถูกต้องแม่นยำ สามารถเขียนคำได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว เพื่อนำไปสู่การพัฒนาทักษะด้านอื่นต่อไปและยังทำให้ ผู้เรียนมีความสุขสนุกสนาน เพลิดเพลินในการฝึกทักษะ ตลอดจนมีความชำนาญในการเรียนและผู้เรียนเกิด ความภมู ใิ จในผลงานของตนเองและเกิดเจตคติท่ีดีต่อการเรยี นภาษาไทย โดยใหน้ ักเรียนทดสอบก่อนเรยี น และ เรียนซ่อมเสริมจากนั้นทำแบบฝึกท่ีครูสรา้ งข้ึน จากนนั้ ทำการทดสอบหลังเรียน และวิเคราะห์ผลคะแนนโดยใช้ วธิ ีการหาคา่ เฉลีย่ และค่าร้อยละผลการศึกษาปรากฏว่า การใช้กิจกรรมต่าง ๆ และการใช้แบบฝึกทำให้นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถทำแบบทดสอบหลังเรียนได้คะแนนเพิ่มข้นจากเดิม ดังจะเห็นได้จากการ เปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนและหลังเรียนและผู้วิจัยได้แสวงหาข้อมูลและ วิธีการที่คาดว่าจะแก้ปัญหาที่ เกดิ ขึ้นชั้นเรยี น อีกทั้งสามารถช่วยพฒั นาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพได้และยังช่วยพัฒนาวิชาชีพครูให้ มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น ตามมาตรฐานด้านการจัดการศึกษา ข้อ 7.7 ของมาตรฐานและการประกันคุณภาพ การศกึ ษาทว่ี า่ ครูมีการศกึ ษา วจิ ยั และพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ในวชิ าท่ีตนรับผิดชอบและใชผ้ ลในการปรับการ สอนของครู

ผวู้ จิ ัยขอขอบพระคณุ ดร.ประภาส กองจันทร์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนศรีแกง้ ครอ้ และนายประยูร ศิรคิ ณุ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นศรีแก้งคร้อ ทสี่ ่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้ครูได้จัดทำวิจยั ในชั้นเรียน คณะครปู ระจำสายชนั้ คณะครกู ลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทยทกี่ รณุ าใหค้ วามอนเุ คราะห์ ให้คำแนะนำ ให้ ความรู้ ขอ้ คดิ เห็นท่ีมีประโยชน์ตอ่ การศกึ ษาวจิ ัยในครงั้ น้เี ป็นอยา่ งดี และขอขอบใจนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3/2 ของโรงเรียนศรีแกง้ คร้อทุกคน ท่ีให้ความร่วมมือเป็นอยา่ งดีในการวจิ ัยและเกบ็ ขอ้ มูลทใ่ี ช้ในการศึกษาวิจัย ครัง้ น้ี จนกระทั่งการศึกษาวจิ ัยคร้งั น้ีเสรจ็ สมบูรณ์

. นางสัญลกั ษณ์ ณ หนองคาย ผวู้ ิจัย

สารบัญ ข

เร่อื ง หนา้

คำนำ ก สารบญั ข

๑. ชอ่ื เรือ่ งวิจัย 1 ๒. ชอื่ ผู้วจิ ยั 1 ๓. ปที ค่ี ำการวจิ ยั 1 ๔. ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา 1 ๕. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั 3 ๖. สมตุ ฐิ านของการวิจัย 3 7. ตัวแปรทีศ่ กึ ษา 3 8. ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ บั 4 9. ขอบเขตของการศึกษา 4 10. ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการศึกษาค้นควา้ 4 ๑1. วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย 5 12. เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในงานวจิ ัย 5 ๑3. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 5 ๑4. ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู 5 ๑5. สรปุ และอภิปรายผล 6 16. ขอ้ เสนอแนะ 7

บรรณานุกรม ภาคผนวก

- แบบทดสอบ - แผนการจดั การเรียนรู้ - แบบฝึกเสรมิ ทักษะ

1

1.ชื่อเร่ืองวจิ ัย : การจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกพฒั นาทกั ษะการอา่ น และการเขียนคำมาตราตวั สะกด สำหรับ นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3/2

2. ผูวจิ ัย : นางสญั ลักษณ์ ณ หนองคาย

3. ปีการศกึ ษา : 2564

ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา

ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา หลกั สตู รแกนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มุ่งพัฒนา นกั เรยี นให้เปน็ มนุษย์ท่ีมีความสมดลุ ท้ังด้าน รา่ งกาย ความรู้คณุ ธรรม มีจิตสำนึกในความเปน็ พลเมืองไทยและ พลโลกยึดมนั่ ในการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตย มีความรู้มีทักษะพืน้ ฐานและมีเจตคตทิ ่ดี ตี ่อการศกึ ษา มเี ปา้ หมายและกรอบทิศทางในการ พฒั นาคุณภาพผเู้ รียนให้เป็นคนดมี ีปัญญามีคุณภาพชวี ติ ท่ีดีและมขี ีด ความสามารถในการแขง่ ขันในเวทีระดบั โลก เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั บนพ้ืนฐานความเชอื่ ที่ว่า ทกุ คนสามารถ เรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองได้ศักยภาพ เนน้ ความเปน็ เอกภาพของชาติม่งุ พฒั นาเด็กและเยาวชนให้เปน็ ผมู้ ีความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณธรรมบน พื้นฐานของความเปน็ ไทยควบคู่กบั ความเป็นสากล มีคุณภาพในการใช้ ภาษาไทย มโี ครงสรา้ งยืดหยุ่นทง้ั ดา้ น สาระการเรยี นรเู้ วลาและการจัดการเรยี นรูใ้ ห้เหมาะสมกบั ผ้เู รียน สง่ เสริมทักษะการอ่าน การเขียน การคดิ วิเคราะห์การคิดเชิงสร้างสรรคเ์ นน้ การมีส่วนรว่ มของสังคมในการจัด การศกึ ษาเพ่ือใหส้ อดคล้องกับความ ต้องการของผเู้ รียน ท้องถนิ่ และชุมชนสามารถนำความรู้ไปใช้ใน ชวี ิตประจำวัน เรียนรอู้ ยา่ งมีความสุข มี ศกั ยภาพในการศกึ ษาต่อและการประกอบอาชพี มีความสามารถใน การสือ่ สาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจและทัศนะของตนเองเพือ่ แลกเปลยี่ นข้อมลู ข่าวสารและประสบการณ์มี วจิ ารณญาณและการคิดอยา่ งเป็นระบบ สามารถแกป้ ัญหาและ อุปสรรคต่าง ๆ ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม บน พน้ื ฐานของหลกั เหตุผลคณุ ธรรม และขอ้ มูลสารสนเทศ สามารถ เลอื กและใชเ้ ทคโนโลยีด้านต่าง ๆ มที ักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยเี พ่ือการพฒั นาตนเองและสงั คม แก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ถูกต้องเหมาะสม และมี คุณธรรม (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 3 – 4) การ จัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นมี ส่วนร่วมในชน้ั เรียน สรา้ งปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างครผู ู้สอนกบั ผู้เรียน มงุ่ ให้ผู้เรยี นลงมือปฏิบตั ิ โดยมคี รเู ปน็ ผู้ อำนวยความสะดวก สร้าง แรงบนั ดาลใจ ใหค้ ำปรึกษา ดูแล แนะนำ จัดวธิ กี ารเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ท่ี หลากหลาย ให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้ อยา่ งมีความหมาย สรา้ งองค์ความร้ไู ด้ มีความเข้าใจในตนเอง ใช้ สตปิ ัญญา คดิ วิเคราะห์ สร้างสรรค์ผลงาน มี สมรรถนะสำคัญ มที ักษะวิชาการ ทกั ษะชีวิต บรรลุ เปา้ หมายการเรียนร้ตู ามระดบั ช่วงวัย (สำนกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน. 2562 : 4) ลักษณะของการจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning มีดงั นี้ 1. เปน็ การพฒั นาศักยภาพการคิด การแกป้ ญั หา และการนำความรไู้ ปประยุกต์ใช้ 2. ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการ จัดระบบการเรยี นรู้ และสรา้ งองค์ความรู้โดยมีปฏสิ มั พันธ์ร่วมกนั ใน รปู แบบของความรว่ มมอื 3. เปดิ โอกาสให้ ผู้เรยี นมีส่วนรว่ มในกระบวนการเรียนรสู้ ูงสดุ 4. เปน็ กิจกรรมที่ให้ผเู้ รยี นบูรณาการข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ ส่ทู กั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 5. ผเู้ รยี นได้เรยี นรคู้ วามมีวนิ ัยในการทำงานร่วมกบั ผู้อ่นื 6. ความรูเ้ กิดจาก ประสบการณ์ และการสรปุ ของผเู้ รียน 7. ผูส้ อนเปน็ ผูอ้ ำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รยี น

2

เป็นผปู้ ฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน. 2562 : 5)ตัวอยา่ งเทคนิค การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning การจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning สามารถสรา้ งใหเ้ กิดข้นึ ได้ ทงั้ ในหอ้ งเรยี นและนอก ห้องเรยี น รวมทั้งสามารถใช้ได้กบั นกั เรยี นทกุ ระดบั ทั้งการเรียนรู้เป็นรายบคุ คล การ เรยี นรแู้ บบกลมุ่ เล็ก และการเรียนรแู้ บบกลุ่มใหญ่ ตัวอย่างรูปแบบหรอื เทคนิค การจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ จี่ ะ ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรแู้ บบ Active Learning ได้ดี ไดแ้ ก่ 1. การเรียนรู้แบบแลกเปลี่ยนความคดิ (Think-Pair-Share) คือการจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่ให้ ผู้เรียนคดิ เกีย่ วกับประเดน็ ที่กำหนดแต่ละคน ประมาณ 2-3 นาที (Think) จากนัน้ ให้แลกเปลีย่ นความคิดกับ เพือ่ นอีกคน 3-5 นาที (Pair) และนำเสนอความคดิ เห็น ต่อผู้เรียนท้ังหมด (Share) 2. การเรียนรแู้ บบร่วมมือ (Collaborative learning group) คอื การจดั กิจกรรม การเรียนร้ทู ี่ ใหผ้ ู้เรียนได้ทำงานร่วมกบั ผูอ้ น่ื โดยจัดเปน็ กลุ่มๆ ละ 3-6 คน 3. การเรยี นรู้แบบทบทวนโดย ผ้เู รียน (Student-led review sessions) คอื การจดั กิจกรรม การเรยี นรู้ท่เี ปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนได้ทบทวน ความร้แู ละพิจารณาขอ้ สงสยั ต่าง ๆ ในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการ เรียนรู้ โดยครจู ะคอยชว่ ยเหลอื กรณีท่ีมีปญั หา 4. การเรียนรู้แบบใชเ้ กม (Games) คือการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ผี่ สู้ อนนำเกมเข้าบรู ณาการ ในการเรยี นการ สอน ซึ่งใชไ้ ด้ทัง้ ในขัน้ การนำเขา้ สบู่ ทเรียน การสอน การมอบหมายงาน และหรือขน้ั การ ประเมินผล 5. การ เรียนรูแ้ บบวเิ คราะหว์ ีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คือการจัดกจิ กรรม การเรียนรู้ทีใ่ ห้ผเู้ รียนไดด้ ู วดี โี อ 5-20 นาที แล้วใหผ้ เู้ รยี นแสดงความคิดเหน็ หรือสะท้อนความคดิ เกีย่ วกบั สิ่ง ที่ได้ดู อาจโดยวธิ กี ารพูด โต้ตอบกัน การเขียน หรอื การรว่ มกันสรปุ เป็นรายกลมุ่ 6. การเรียนรูแ้ บบโตว้ าที (Student debates) คือ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ที่จัดให้ผ้เู รียนได้ นำเสนอขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากประสบการณแ์ ละการเรียนรู้ เพ่อื ยนื ยัน แนวคิดของตนเองหรือกลุม่ 7. การเรยี นรแู้ บบผเู้ รียนสรา้ งแบบทดสอบ (Student generated exam questions) คอื การจดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ให้ผเู้ รยี นสร้างแบบทดสอบจากส่งิ ที่ไดเ้ รียนร้มู าแลว้ 8. การเรยี นรู้ แบบกระบวนการวิจยั (Mini-research proposals or project) คือการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ทู อี่ งิ กระบวนการวจิ ยั โดยใหผ้ เู้ รียนกำหนดหวั ขอ้ ท่ตี อ้ งการเรยี นรู้ วางแผนการเรยี น เรยี นรู้ตามแผน สรปุ ความรู้ หรอื สรา้ งผลงาน และสะทอ้ นความคิดในสง่ิ ทไี่ ด้เรยี นรู้ หรืออาจเรยี กว่าการสอน แบบโครงงาน(project- based learning) หรอื การสอนแบบใชป้ ัญหาเป็นฐาน (problem-based learning) 9. การเรยี นร้แู บบ กรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ทใ่ี ห้ ผูเ้ รียนได้อ่านกรณตี วั อย่างท่ีตอ้ งการ ศกึ ษา จากนัน้ ใหผ้ ้เู รยี นวเิ คราะห์และแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นหรือ แนวทางแกป้ ัญหาภายในกลุ่ม แลว้ นำเสนอ ความคดิ เหน็ ต่อผ้เู รียนทั้งหมด 10. การเรียนร้แู บบการเขยี นบันทกึ (Keeping journals or logs) คอื การจดั กิจกรรม การเรยี นรู้ทีผ่ ู้เรียนจด บันทกึ เรือ่ งราวต่าง ๆ ท่ีได้พบเห็น หรือเหตุการณ์ท่เี กดิ ขึ้นในแต่ละวนั รวมท้ังเสนอ ความคิดเพ่มิ เติมเกยี่ วกบั บนั ทึกทเ่ี ขยี น 11. การเรยี นรู้แบบการเขยี นจดหมายข่าว (Write and produce a newsletter) คอื การจัด กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนร่วมกนั ผลิตจดหมายขา่ ว อนั ประกอบด้วย บทความ ข้อมูลสารสนเทศ ข่าวสาร และเหตุการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ แจกจ่ายไปยงั บุคคลอนื่ ๆ 12. การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิด (Concept mapping) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ใ่ี ห้ ผู้เรยี นออกแบบแผนผังความคดิ เพื่อนำเสนอความคิดรวบยอด และความเชื่อมโยงกนั ของกรอบความคิด โดยการใชเ้ สน้ เป็นตวั เช่อื มโยง อาจจดั ทำเปน็ รายบุคคลหรืองานกลมุ่ แลว้ นำเสนอผลงานต่อผ้เู รียนอน่ื ๆ จากนนั้ เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนคนอื่นได้ซักถามและแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม (สถาพร พฤฑฒิกุล, 2558) บทบาทของครูในการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ตู ามแนวทางของ Active Learning

3

ดงั น้ี 1. จัดใหผ้ เู้ รียนเปน็ ศูนย์กลางของการเรียนการสอน นำไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตจรงิ ของผูเ้ รยี น 2. สร้าง บรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริมให้ผ้เู รียนมีปฏสิ มั พันธ์ทดี่ ี กบั ผู้สอนและเพ่ือนใน ช้ันเรยี น 3. จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นมีส่วนรว่ มในทุกกิจกรรม รวมทั้งกระตนุ้ ให้ ผู้เรียน ความสำเร็จในการเรียนรู้ 4. จดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือ สง่ เสรมิ ให้เกิดการร่วมมือในกลุ่มผ้เู รียน 5. จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนให้ทา้ ทาย และให้โอกาสผูเ้ รยี นไดร้ บั วิธีการสอนท่หี ลากหลาย 6. วางแผน เกยี่ วกับเวลาในการจัดการเรียนการสอนอย่างชดั เจน ทั้งในส่วนของเนื้อหาและ กจิ กรรม 7. ครูผ้สู อนตอ้ งใจ กว้าง ยอมรับความสามารถในการแสดงออก และความคดิ ของผู้เรยี น (ณัชนัน แก้วชยั เจริญกิจ, 2550) การ อา่ นและการเขยี นเปน็ ทกั ษะที่มีความสำคญั ในชวี ติ ประจำวนั เพราะเม่ืออ่านออกเขยี นไดก้ จ็ ะ เกิดความรู้ความ เขา้ ใจ นำไปสู่การสร้างความคิด การตดั สินใจแกป้ ญั หา และกา้ วทนั ต่อเหตุการณข์ องโลก ในยคุ ปจั จบุ ัน การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทยในระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรยี นศรีแก้งคร้อ พบว่า นกั เรยี นส่วนใหญ่นกั เรยี นอ่านและเขยี นสะกดคำไม่ถกู ต้อง โดยเฉพาะ คำท่ีมตี วั สะกดทั้งตรงตามมาตราและไม่ ตรงตามมาตรา จากปัญหาดังกลา่ วในฐานะของครผู สู้ อนจงึ ไดศ้ ึกษาเทคนิควิธกี ารสอนตา่ ง ๆ ท่ีเหมาะสมกับวัย ของ นกั เรยี น การจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกทกั ษะพฒั นาการอา่ นและการเขยี นเปน็ หน่ึงที่นา่ สนใจและเหมาะสมกบั วยั ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3/2 ทำให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้อยา่ ง สนกุ สนาน ไม่เบื่อหนา่ ยในการเรยี น ชว่ ยให้นกั เรียนจดจำเนอ้ื หาได้อยา่ งแมน่ ยำและคงทนเปน็ เวลานาน ดังนั้น ผ้สู อนจงึ ได้นำนวัตกรรม “การจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะการอ่าน และการ เขียนคำมาตราตัวสะกด” มาใช้ประกอบการเรียนการสอน เร่อื งการอ่านและการเขียนสะกดคำมาตราตัวสะกด เพอื่ ใหน้ ักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียนศรแี กง้ คร้อ เกิดการเรยี นรู้และมี ความเข้าใจในเรื่อง การอา่ น และ การเขยี นสะกดคำตาม มาตาตัวสะกดได้อย่างถกู ต้องและคลอ่ งแคล่ว นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ภาษาไทยในระดับทีส่ งู ข้ึน และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจำวัน ไดจ้ ริง

5. วตั ถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพอื่ พฒั นาทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตวั สะกด ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3/2 2. เพ่อื ศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน เร่ือง การอา่ นและการเขียนคำมาตราตวั สะกดก่อนและหลงั

การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกพัฒนาทักษะการอา่ นและการเขียนคำมาตราตัวสะกด สำหรับนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3/2

6. สมมติฐานการวจิ ัย การใช้แบบฝกึ ทักษะพฒั นาการอา่ นการเขียนคำควบอกั ษรนำ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย สำหรับ

นกั เรยี น ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3/2 สามารถพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรยี นสงู ข้ึน

7. ตัวแปรทศ่ี กึ ษา

ตวั แปรอสิ ระ ได้แก่ การจดั การเรยี นรูแ้ บบ Active Learning โดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะการอ่านและ การ เขยี นคำมาตราตัวสะกด สำหรับนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3/2

4

ตวั แปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี น สมมติฐานของการศึกษา นกั เรียนชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 3/2 ที่เรียนด้วยการจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบ ฝกึ ทักษะการอ่านและ การเขียนคำมาตราตวั สะกดกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3/2 มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน หลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียน

8. ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 1. นกั เรียนมีทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตวั สะกดไดถ้ ูกตอ้ งคลอ่ งแคล่ว 2. เปน็ แนวทางสำหรบั ครูผูส้ อนภาษาไทยในการเลือกกจิ กรรมการเรียนการสอน 3. เป็นแนวทางในการปรบั ปรุงและพฒั นาการเรยี นการสอนการอา่ นและการเขยี นคำมาตรา ตัวสะกด

ในสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3/2

9. ขอบเขตของการศึกษา 1. ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรท่ใี ช้ในการศกึ ษาครั้งนี้ ไดแ้ ก่ นกั เรียนชน้ั

ประถมศกึ ษาปที ี่ 3/2 โรงเรยี นศรีแก้งครอ้ สังกดั สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต 2 ปกี ารศึกษา 2564 จำนวนทง้ั ส้ิน 21 คน

2. ขอบเขตด้านเนื้อหา เนือ้ หาทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาครง้ั นี้ได้แก่ คำมาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไมต่ รงตามมาตรา สำหรับชน้ั ประถมศึกษาปที ี่3 ตามหลกั สตู รสถานศึกษาของโรงเรยี นศรแี ก้งครอ้ พุทธศกั ราช 2551 กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ซึ่งเป็นไปตามหลกั สตู รการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีเนอ้ื หารายละเอยี ดเก่ียวกับการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด นำมา จัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning โดยใช้แบบฝกึ พัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตรา ตวั สะกด สำหรบั นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3/2 โรงเรียนศรีแก้งคร้อ สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ประถมศกึ ษาชัยภูมิ เขต 2

3. กรอบแนวคิดของการศึกษา ผ้ศู ึกษาไดว้ างกรอบแนวคิดในการเรยี นการสอนภาษาไทย โดยการ จดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning ดว้ ยแบบฝึกพัฒนาทกั ษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกดกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ัน ประถมศกึ ษาปีท่ี 3/2 ประกอบการสอน ดงั น้ี

10.ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาคน้ ควา้

ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการศึกษา ดำเนนิ การทดลองในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

5

11. วธิ ีดำเนนิ การวิจยั 1. ประชากร ประชากรเปน็ นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรยี นศรีแก้งคร้อ สังกดั สำนกั งาน

เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาชยั ภูมิ เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 2. เคร่อื งมือที่ใช้ในการวิจัย 2.1 แบบประเมนิ ผลการอ่านกอ่ นเรียนและหลังเรยี น 2.2 แบบฝึกพฒั นาทกั ษะการอา่ นและการเขยี นคำมาตราตัวสะกด สำหรบั นกั เรียน

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 3. ขน้ั ตอนการสรา้ งเครื่องมือ 3.1 ศกึ ษาเอกสารหลักสูตรสถานศึกษา แนวคดิ ทฤษฎีการเรยี นการสอน 3.2 ศกึ ษาปญั หาของนักเรยี น วเิ คราะห์ข้อมูลท่ีพบในการจดั การเรยี นการสอน 3.3 ศึกษาเทคนิควิธีการจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning 3.4 ศึกษาเทคนิคการสรา้ งแบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขียน เพื่อให้เหมาะสมกับ

เนือ้ หาและผู้เรียน 3.5 สร้างแบบประเมินผลการอา่ นก่อนเรยี น - หลงั เรยี น 3.6 ประเมินผลการอา่ นก่อนใช้แบบฝึกพฒั นาทักษะการอ่านและการเขยี นคำมาตราตัวสะกด

สำหรบั นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3/2 3.7 ดำเนินการจดั กจิ กรรมประจำวัน โดยใช้แบบฝกึ ทักษะการอา่ นและการเขียนคำมาตรา

ตัวสะกด สำหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3/2 3.8 ประเมินผลการอา่ นหลังใช้แบบฝึกพฒั นาทักษะการอ่านและการเขยี นคำมาตราตัวสะกด

สำหรบั นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3/2 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ใชก้ ารเกบ็ รวบรวมข้อมูลในสถานการณ์จริง ในชัน้ เรียน โดยใช้แบบประเมินผลการอ่าน และการเขยี นก่อนและหลังการจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning ดว้ ยแบบฝึกทกั ษะการอ่านและการ เขยี นคำมาตราตัวสะกด สำหรับนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษา ปที ่ี 3/2 และสังเกตพฤติกรรมของผเู้ รยี นระหว่างจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน

12. เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการวิจัย 1. แบบประเมินผลการอ่านก่อนเรยี นและหลังเรยี น 2. แบบฝกึ พฒั นาทกั ษะการอ่านและการเขยี นคำมาตราตัวสะกด สำหรบั นกั เรียน

ช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 3

13. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และการวเิ คราะห์ข้อมูล 1. การเก็บรวบรวมข้อมลู ใช้การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในสถานการณ์จรงิ ในชนั้ เรียน โดยใชแ้ บบประเมนิ ผลการอา่ น และการ

เขียนก่อนและหลังการจัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning ด้วยแบบฝกึ ทักษะการอา่ นและการ เขยี นคำ มาตราตัวสะกด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3/2 และสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนระหวา่ งจดั กจิ กรรม การเรยี นการสอน

6

2. การวิเคราะห์ข้อมูล ขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้จากแบบทดสอบอ่านคำพืน้ ฐานก่อนเรยี นและหลังเรยี น นำมาวิเคราะห์

หาคา่ เฉล่ยี (  ) และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วเปรยี บเทยี บคะแนนความกา้ วหนา้ ของนักเรยี น แตล่ ะคน

14. ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู

ข้อมูลท่ัวไปของกลุ่มทศ่ี ึกษา คือ นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3/2 โรงเรียนศรแี ก้งคร้อ ทัง้ หมดรวม 21 คน มีการทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์กิ ่อนเรยี น แล้วจึงดำเนินการสอนตามแผนการจัดการ เรียนรูโ้ ดยใช้แบบฝกึ พัฒนาทักษะการอา่ นและการเขยี นคำมาตราตวั สะกด สำหรบั นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3/2 หลังจากน้ันจงึ ทำการทดสอบวัดผลสมั ฤทธิห์ ลังเรยี น แล้วจึงนำผลมาเก็บรวบรวม ข้อมลู ก่อนเรียนและหลัง เรยี นทีร่ วบรวมได้ จากเคร่ืองมือท่ีผวู้ จิ ัยสร้างขนึ้ มาจำแนกผลการเรียนรู้ ดังนี้

สรุปได้วา่ นักเรยี นทัง้ 21 คน มีความก้าวหนา้ ในการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning ดว้ ยแบบ ฝกึ พัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตวั สะกด สำหรบั นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3/2 ประกอบการเรยี นรู้ เร่ืองคำมาตราตัวสะกดท่ีตรงตามมาตราและไมต่ รงตามมาตรา

คา่ เฉลยี่ และค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐานของนักเรียนในการใชส้ ่ือการสอน แบบฝกึ พัฒนาทักษะการอา่ นและการเขียนคำมาตราตัวสะกด สำหรบั นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3/2

การฝกึ จำนวน

นกั เรียน X X ร้อยละ คา่ S.D

กอ่ นเรียน 21 คน 10.71 225 46.88 3.38

หลงั เรยี น 21 คน 23.76 499 79.21 2.21

จากตารางสรุปไดว้ า่ การจัดการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านและการ เขียนคำมาตราตัวสะกดสำหรับนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3/2 ก่อนเรียนมคี ่าเฉลย่ี เท่ากับ 10.71 หลังเรียน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 23.76 จะเห็นได้ว่าคะแนนของค่าเฉลี่ยหลงั เรียนมีคา่ มากกว่าคะแนนเฉล่ีย กอ่ นเรียน

และค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานของก่อนเรียนมีคา่ เท่ากบั 3.38 ส่วนคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐานหลัง เรียนมคี ่า เท่ากับ 2.21แสดงว่าข้อมลู มีคา่ คะแนนใกลเ้ คียงกนั

15. สรปุ ผลการวิจยั และอภิปรายผล 1. สรปุ ผลการวจิ ัย การวิจยั ครัง้ น้ีมวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น เรอ่ื งคำมาตราตวั สะกด โดยการ

จัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning ด้วยแบบฝึกทกั ษะการอ่านและการเขยี นคำมาตราตัวสะกดสำหรับ

7

นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3/2 เพ่ือแกป้ ัญหาการอา่ นและการเขียนสะกดคำ สำหรับนักเรยี นชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 3/2 โรงเรยี นศรีแกง้ คร้อ พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น เร่ืองมาตราตัวสะกด ดีขน้ึ

2. อภปิ รายผล ผลการศึกษาค้นควา้ ในครงั้ นี้ปรากฏว่า ผลสมั ฤทธก์ิ ารเรียนรู้ของนักเรยี นหลงั การจัดการเรียนรู้

แบบ Active Learning ดว้ ยแบบฝึกทกั ษะการอา่ นและการเขียนคำมาตราตวั สะกด สำหรบั นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3/2 มีคุณภาพและประสทิ ธภิ าพอยา่ งดยี ่ิง ด้วยเหตุผลดังตอ่ ไปนี้ 1. แบบฝึกทักษะการอ่าน และการเขยี นคำมาตราตัวสะกด สำหรบั นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เป็นส่ือท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ตามผลของการวิเคราะห์ข้อมูลดังกลา่ ว 2. แบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขยี นคำมาตราตัวสะกด สำหรับ นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 ชุดน้ีสรา้ งขนึ้ อยา่ งถูกวธิ ี ได้ผ่านขัน้ ตอนการสรา้ งและพัฒนาอย่างเปน็ ระบบ เริ่มตัง้ แตเ่ อกสารหลักสตู ร และเอกสารทเี่ ก่ียวขอ้ งในการใช้หลักสตู ร และยังได้รบั การแนะนำ ข้อเสนอแนะจาก ผเู้ ชย่ี วชาญและมี ประสบการณด์ ้านเน้อื หาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ความเหมาะสมของเน้อื หา 3. การ จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ดว้ ยแบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและการเขยี นคำมาตรา ตวั สะกดสำหรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3/2นักเรยี นเกิดความสนุกสนานในการเรียนรู้ 4. การจัดการเรยี นรเู้ รอื่ งคำมาตรา ตัวสะกด โดยการจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning ดว้ ย แบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขยี นคำมาตรา ตัวสะกดสำหรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3/2 ไดเ้ รียงลำดบั ความยากง่ายสอดคล้องตามธรรมชาตกิ าร เรยี นรู้ ทำให้เรยี นรู้สกึ วา่ ตนเองประสบความสำเร็จในการ เรียนรู้ จงึ สรปุ ไดว้ า่ แบบฝึกทักษะการอ่านและการ เขยี นคำมาตราตัวสะกด สำหรบั นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3/2 มีประสทิ ธิภาพอย่างยิง่ สามารถนำไปใช้ใน การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ สง่ ผลใหผ้ ้เู รยี น มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นสงู ข้นึ

16. ข้อเสนอแนะ จากผลการศึกษาคน้ คว้าคร้ังนี้มขี ้อเสนอแนะเพ่ือประโยชนต์ ่อวงการศึกษาดังน้ี 1. ก่อนนำแบบฝึก

ทกั ษะการอา่ นและการเขยี นคำมาตราตวั สะกด สำหรบั นักเรยี นช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 3/2 ไปใช้ประกอบการ สอน ผู้สอนควรศกึ ษารายละเอยี ดของทุกกิจกรรมก่อนนำไปใช้ 2. แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขยี นคำ มาตราตัวสะกด สำหรบั นักเรียนชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 3/2 น้ี จะเกดิ ความสมบูรณ์ครผู ้สู อนตอ้ งใช้ควบคู่ไปกับ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ผู้วิจัยจัดทำขึ้น จดั กิจกรรมให้ครบทุกขนั้ ตอน ต้องตรวจแบบฝึกอย่างเป็นปจั จุบนั ให้ ผเู้ รยี นรู้ผลทันที พร้อมกบั เฉลย คำตอบท่ีถกู ต้องใหผ้ ูเ้ รยี นไดร้ ูท้ ุกครัง้

ภาคผนวก

แบบบนั ทกึ คะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอ่ นเรยี น - หลงั เรียน

เรอื่ ง การจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning โดยใช้แบบฝึกพัฒนาทกั ษะการอา่ น

และการเขียนคำมาตราตวั สะกด นกั เรียน สำหรับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียนศรแี กง้ คร้อ

กอ่ นเรยี น หลังเรียน สรุปผล

เลขที่ ชื่อ - นามสกลุ 30 30 ความกา้ วหนา้ ผา่ น / ไม่

คะแนน คะแนน ผ่าน

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

รวม

เฉล่ยี

รอ้ ยละ

ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน

แบบบันทึกคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนก่อนเรียน - หลังเรียน

เรอื่ ง การจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning โดยใชแ้ บบฝึกพัฒนาทกั ษะการอ่าน

และการเขยี นคำมาตราตัวสะกด นกั เรยี น สำหรบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรยี นศรีแกง้ คร้อ

เลขที่ ชื่อ - นามสกุล ก่อนเรียน หลังเรียน สรปุ ผล 30 30 ความกา้ วหนา้ ผ่าน / ไม่

คะแนน คะแนน ผ่าน

1 เดก็ ชายปณุ ณวชิ สอนนำ 10 22 12 ผ่าน

2 เด็กหญิงไอระดา มวนชยั ภมู ิ 5 20 15 ผ่าน

3 เด็กหญิงพรพิมล พิลาทอง 15 25 10 ผ่าน

4 เด็กชายภูวดล ดลประสทิ ธิ์ 9 23 14 ผา่ น

5 เด็กชายน้ำเหนือ มูลสวุ รรณ 8 24 16 ผา่ น

6 เดก็ ชายทนิ ภทั ร สอนจ้อย 15 27 12 ผ่าน

7 เดก็ ชายณฐั พงษ์ คมุ สุข 10 25 15 ผา่ น

8 เดก็ หญงิ ตตติ ราภรณ์ ไทยสวน 12 26 14 ผา่ น

9 เด็กชายพรพพิ ฒั น์ หสั จรรย์ 14 23 9 ผ่าน

10 เด็กชายจิรศกั ด์ิ สร้อยพาน 12 24 12 ผ่าน

11 เดก็ หญงิ พชิ ยภา สละ 10 25 15 ผา่ น

12 เดก็ หญิงสพุ ัฒตรา ชาวสำราญ 16 26 10 ผา่ น

13 เด็กชายเตชนิ หงสวรรณ์ 8 24 16 ผ่าน

14 เด็กชายรัชชานนท์ นิจประทมุ 12 25 13 ผ่าน

15 เด็กชายปองคณุ อกั ษรเสือ 5 18 13 ผ่าน

16 เดก็ ชายธนกฤต ไทยนาม 11 25 14 ผา่ น

17 เดก็ ชายภาคภูมิ บุญครอง 16 26 10 ผ่าน

18 เด็กหญงิ กมลชนก ง้าวชัยภูมิ 10 22 12 ผา่ น

19 เดก็ หญิงพชิ ามญช์ุ เบญจปรีชาสิทธ์ิ 10 25 15 ผ่าน

20 เดก็ หญงิ ดวงฤทยั เหมือนแซง 12 23 11 ผา่ น

21 เด็กชายธนานันต์ บำรงุ พิพฒั นพร 5 21 16 ผ่าน

รวม 225 499

เฉลยี่ 10.71 23.76

ร้อยละ 46.88 79.21

สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.38 2.21

แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น (กอ่ นเรยี น) เรอ่ื ง การอ่านการเขยี นคำมาตราตัวสะกด ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๓

ภาคเรียนท่ี ๑ ข้อสอบ จำนวน ๓๐ ขอ้ ๓๐ คะแนน

ชือ่ ________________________________ช้ัน_________ เลขท่ี______

คำช้ีแจง ๑. แบบวัดผลสมั ฤทธ์มิ ีทงั้ หมด ๒ ตอน ๓๐ ขอ้ ดงั น้ี ตอนที่ ๑ ขอ้ สอบวดั ทกั ษะการอา่ นโดยให้นกั เรยี นอา่ นคำ จำนวน ๑๕ คำ ตอนที่ ๒ ขอ้ สอบวัดทกั ษะการเขียนโดยให้นักเรียนเขยี นตามคำบอก จำนวน ๑๕ คำ ๒. ไมค่ วรขดี เขียนหรอื ทำเครอื่ งหมายใด ๆ ลงในแบบทดสอบนี้

ตอนที่ ๑ ขอ้ สอบวดั ทกั ษะการอ่านมีจานวน ๑๕ ขอ้ คะแนนเตม็ ๑๕ คะแนน

คำชี้แจง นกั เรียนอ่านออกเสยี งคำต่อไปน้ใี ห้ถกู ต้อง วิธกี ารประเมนิ อา่ นถกู ต้องไดค้ ะแนนข้อละ ๑ คะแนน

๑. สมอง อ่านได้ ๙. แมวเหมียว อ่านได้ อ่านไม่ได้ อ่านไม่ได้

๒. จริงจงั อ่านได้ ๑๐. บริจาค อ่านได้ อ่านไม่ได้ อ่านไม่ได้

๓. ซ่อมแซม อ่านได้ ๑๑. สุนขั อ่านได้ อ่านไม่ได้ อ่านไม่ได้

๔. สนาม อ่านได้ ๑๒. ชีวิต อ่านได้ อ่านไม่ได้ อ่านไม่ได้

๕. การคูณ อ่านได้ ๑๓. สาเร็จ อ่านได้ อ่านไม่ได้ อ่านไม่ได้

๖. บาเพญ็ อ่านได้ ๑๔. รูปภาพ อ่านได้ อ่านไม่ได้ อ่านไม่ได้

๗. ขโมย อ่านได้ ๑๕. สรุป อ่านได้ อ่านไม่ได้ อ่านไม่ได้

๘. อร่อย อ่านได้ อ่านไม่ได้

ตอนที่ ๒ ขอ้ สอบวดั ทกั ษะการเขียนมีจานวน ๑๕ ขอ้ คะแนนเตม็ ๑๕ คะแนน

คำชแ้ี จง นกั เรยี นเขยี นตามคำบอกของครใู หถ้ กู ต้อง วิธีการประเมิน เขยี นถกู ตอ้ งไดค้ ะแนนข้อละ ๑ คะแนน

๑. ๙.

๒. ๑๐.

๓. ๑๑.

๔. ๑๒ ๕. . ๖. ๑๓ ๗. . ๑๔ ๘. . ๑๕ .

แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น (หลังเรยี น) เรือ่ ง การอ่านการเขียนคำมาตราตัวสะกด ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๒ ข้อสอบ จำนวน ๓๐ ขอ้ ๓๐

คะแนน

ชอื่ ________________________________ ชั้น_________เลขท่ี______

คำชี้แจง ๓. แบบวัดผลสมั ฤทธิม์ ีทง้ั หมด ๒ ตอน ๓๐ ข้อ ดังนี้ ตอนท่ี ๑ ข้อสอบวดั ทักษะการอา่ นโดยใหน้ กั เรียนอ่านคำ จำนวน ๑๕ คำ ตอนท่ี ๒ ข้อสอบวดั ทกั ษะการเขียนโดยให้นกั เรียนเขยี นตามคำบอก จำนวน ๑๕ คำ ๔. ไม่ควรขีดเขียนหรอื ทำเครอื่ งหมายใด ๆ ลงในแบบทดสอบน้ี

ตอนที่ ๑ ขอ้ สอบวดั ทกั ษะการอ่านมีจานวน ๑๕ ขอ้ คะแนนเตม็ ๑๕ คะแนน

คำช้แี จง นักเรียนอา่ นออกเสยี งคำต่อไปนี้ใหถ้ ูกตอ้ ง วธิ ีการประเมนิ อ่านถกู ตอ้ งไดค้ ะแนนขอ้ ละ ๑ คะแนน

๑. สมอง อ่านได้ ๙. แมวเหมยี ว อา่ นได้ อ่านไมไ่ ด้ อา่ นไมไ่ ด้ อ่านได้ ๒. จรงิ จงั อา่ นได้ ๑๐. บรจิ าค อ่านไม่ได้ อ่านไมไ่ ด้ อา่ นได้ อา่ นได้ ๓. ซ่อมแซม อ่านไม่ได้ ๑๑. สนุ ขั อ่านไมไ่ ด้

๔. สนาม อ่านได้ ๑๒. ชีวติ อา่ นได้ อา่ นไม่ได้ อา่ นไมไ่ ด้ อา่ นได้ ๕. การคณู อ่านได้ ๑๓. สาเรจ็ อ่านไม่ได้ อ่านไม่ได้ อา่ นได้ อ่านได้ ๖. บาเพ็ญ อา่ นไม่ได้ ๑๔. รูปภาพ อ่านไม่ได้

๗. ขโมย อา่ นได้ ๑๕. สรุป อา่ นได้ อา่ นไมไ่ ด้ อา่ นไม่ได้

๘. อรอ่ ย อา่ นได้ อา่ นไมไ่ ด้

ตอนที่ ๒ ขอ้ สอบวดั ทกั ษะการเขียนมจี านวน ๑๕ ขอ้ คะแนนเตม็ ๑๕ คะแนน

คำชแ้ี จง นกั เรยี นเขยี นตามคำบอกของครใู ห้ถูกตอ้ ง วธิ กี ารประเมิน เขยี นถูกต้องไดค้ ะแนนข้อละ ๑ คะแนน

๑. ๙.

๒. ๑๐ ๓. ๑.๑ ๔. ๑.๒ ๕. ๑.๓ ๖. ๑.๔ ๗. ๑.๕

๘. .

เฉลยแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น (กอ่ นเ-หลงั รยี น) ***************************************

ตอนที่ ๑ แบบทดสอบวัดทักษะการอ่าน

๑. สมอง ๙. แมวเหมียว ๒. จริงจงั ๑๐. บริจาค ๓. ซอ่ มแซม ๑๑. สุนขั ๔. สนาม ๑๒. ชีวติ ๕. การคูณ ๑๓. สำเร็จ ๖. บำเพ็ญ ๑๔. รูปภาพ ๗. ขโมย ๑๕. สรุป ๘. อร่อย

ตอนท่ี ๒ แบบทดสอบวดั ทกั ษะการเขยี น

๑. แขง็ แรง ๙. ประมุข ๒. สเ่ี หล่ียม ๑๐. โอกาส ๓. ขนม ๔. พยาบาล ๑๑. พเิ ศษ ๕. ปลาวาฬ ๑๒. มะพรา้ ว ๖. เหน่อื ย ๑๓. เกย่ี วข้าว ๗. เฉลย ๑๔. เคารพ ๘. สมคั ร ๑๕. บปุ ผา

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ / ....................

หน่วยที่ ๑ การอ่านการเขยี นคามาตราตวั สะกด เวลาเรียนรวม ๑๘ ช่ัวโมง

เรื่อง มาตราตวั สะกดแม่กง เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง

สอนวันท่ี ....................................................

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้ความคดิ เพือ่ นาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหา ในการดาเนินชีวิตและมีนิสยั รักการอา่ น

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลงั ของภาษา ภมู ิปัญญาของภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ

ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ป๓/๑ อ่านออกเสียงคาขอ้ ความเร่ืองส้นั ๆและบทร้อยกรองง่ายๆ ไดถ้ กู ตอ้ งคล่องแคล่ว ท ๔.๑ ป๓/๑ เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา

สาระสาคัญ มาตราตวั สะกดแมก่ ง คอื คาท่ีประสมกบั สระตา่ งๆ และมี ง เป็นตวั สะกด การอ่านและการเขียน

คาในมาตราแมก่ งใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องภาษา จะส่งผลใหเ้ กิดทกั ษะการอ่านไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและ ถูกตอ้ ง ซ่ึงจะเป็นพ้นื ฐานท่ีดีในการเรียนรู้ในระดบั สูงต่อไป

จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. อา่ นออกเสียงคาในมาตราตวั สะกดแม่กงไดถ้ กู ตอ้ ง ๒. บอกความหมายของคาในมาตราตวั สะกดแม่กงไดถ้ ูกตอ้ ง ๓. จาแนกคาในมาตราตวั สะกดแม่กงไดถ้ ูกตอ้ ง

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. นกั เรียนมีวินยั

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการส่ือสาร

สาระการเรียนรู้ ๑. การอา่ นออกเสียงคาในมาตราตวั สะกดแม่กง ๒. ความหมายของคาในมาตราตวั สะกดแมก่ ง ๓. การจาแนกคาในมาตราตวั สะกดแมก่ ง

กจิ กรรมการเรียนรู้

ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน ๑. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เร่ือง มาตราตวั สะกดแม่กง จานวน ๑๐ ขอ้ ๒. นกั เรียนร่วมกนั ร้องเพลงมาตราตวั สะกดแมก่ ง โดยร้องตามครูทีละวรรคพร้อมกบั ทาทา่ ทางประกอบเพลง ๑ – ๒ รอบ ดงั น้ี

เพลงมาตราแม่กง

ทานอง : เพลงเจด็ วนั ท่ีฉนั เหงา

มาซิเชิญออกมา หาตวั สะกดแมก่ ง

จง ดารง มนั่ คง ยนื ตรง ธงชาติไทย

จูง นกยงู บินสูง ฝงู ปลาร่าเริงใจ

ลงลาคลองวอ่ งไว กางใบเรือไม่โคลง

ดูซิดู ง งู อยทู่ า้ ย ใคร ๆ ก็มอง

หนูๆ จงกู่ร้อง หาตวั สะกดแม่กง

ท่ีมา : http://www.kroobannok.com/blog/28414

ข้นั สอน ๓. นกั เรียนร่วมกนั ตอบคาถามจากการร้องเพลง ดงั น้ี

คาถามที่ ๑ เพลงน้ีช่ือวา่ เพลงอะไร (เพลงมาตราแมก่ ง) คาถามที่ ๒ มาตราแมก่ งมีพยญั ชนะใดเป็นตวั สะกด ( ง เป็นตวั สะกด) คาถามท่ี ๓ ในเน้ือเพลงมีคาใดบา้ งเป็นคาในมาตราแมก่ ง

(จง ดารง คง ตรง ธง จูง นกยงู สูง ฝงู โคลง มอง)

๔. นกั เรียนร่วมกนั ศึกษาใบความรู้ที่ ๑ “มาตราตวั สะกดแม่กง” หนา้ ที่ ๘ ในแบบฝึก ทกั ษะพฒั นาการอา่ นการเขียนคามาตราตวั สะกด จากน้นั อ่านตวั อยา่ งคาพร้อม ๆกนั ในหนา้ ๑๐

๕. แบ่งนกั เรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม โดยใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ มีนกั เรียนเก่ง กลาง และอ่อน คละกนั ตามความเหมาะสม จากน้นั ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั ยกตวั อยา่ งคาในมาตราตวั สะกดแม่กง ท่ี นกั เรียนรู้จกั ในชีวิตประจาวนั กลุ่มละ ๕ คา โดยเขียนในกระดาษท่ีครูแจกให้ จากน้นั ฝึกอ่านคาให้ คลอ่ งแคลว่

๖. นกั เรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน โดยนากระดาษผลงานออกมา ติดบนกระดาน แลว้ ใหน้ กั เรียนทุกคนในกลมุ่ อ่านออกเสียงคาพร้อมๆกนั นกั เรียนและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง

๗. ขณะท่ีนกั เรียนปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่มครูสังเกตพฤติกรรมคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคด์ า้ น ความมีวินยั และสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียนดา้ นความสามารถในการสื่อสารแลว้ บนั ทึกผล

๘. นกั เรียนฝึกอ่านออกเสียงคาในแบบฝึกทกั ษะที่ ๑ “อ่านคากนั เถอะ” จากน้นั ครูนดั หมายใหน้ กั เรียนแต่ละคนนาแบบฝึกมาอ่านออกเสียงใหค้ รูฟังในช่วงเวลาวา่ ง

๑๐. นกั เรียนทาแบบฝึกทกั ษะท่ี ๒ “ชวนเขียนคา” โดยใหน้ กั เรียนนาคาในมาเติมแลว้ ระบายสี ๑๑. นกั เรียนทาแบบฝึกทกั ษะที่ ๓ “ประโยคของฉนั ” จานวน 5 ขอ้ ข้ันสรุป ๑๒. นกั เรียนร่วมกนั ร้องเพลงมาตราแม่กงพร้อมกนั จากน้นั ร่วมกนั สรุปความรู้วา่ คาในมาตรา ตวั สะกดแม่กง คือ คาท่ีประสมกบั สระตา่ งๆ และมี ง เป็นตวั สะกด พร้อมกบั ยกตวั อยา่ งคาในมาตราแม่ กงจากเพลง เช่น จง ดารง คง ตรง ธง จูง นกยงู สูง ฝงู โคลง มอง เป็นตน้

ภาระงาน ผลงานกลมุ่ ยกตวั อยา่ งคาในมาตราแมก่ งในชีวิตประจาวนั

สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน ๒. เพลงมาตราแมก่ ง ๓. ใบความรู้ท่ี ๑ “มาตราตวั สะกดแมก่ ง” ๔. แบบฝึกทกั ษะท่ี ๑ “อ่านคากนั เถอะ”

๕. แบบฝึกทกั ษะท่ี ๒ “ชวนกนั เขียนคา” ๖. แบบฝึกทกั ษะที่ ๓ “ประโยคของฉนั ”

การวดั ผลและประเมินผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวดั เกณฑ์การประเมินผล ๑.อา่ นออกเสียงคาใน สังเกตการอ่าน แบบประเมินการอา่ น ผา่ นเกณฑก์ ารอ่าน มาตราตวั สะกดแมก่ งได้ แบบฝึกทกั ษะท่ี ๑ ร้อยละ ๘๐ ถกู ตอ้ ง “อ่านคากนั เถอะ”

๒.บอกความหมายของ ตรวจแบบฝึกทกั ษะที่ ๒ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑก์ ารทา คาในมาตราตวั สะกด “ค่ฉู นั อยไู่ หน” การตรวจแบบฝึ ก แบบฝึกทกั ษะ แม่กงไดถ้ ูกตอ้ ง ร้อยละ ๘๐ ๓.จาแนกคาในมาตรา ตรวจแบบฝึกทกั ษะที่ ๓ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑก์ ารทา ตวั สะกดแม่กงไดถ้ กู ตอ้ ง “ตามหาแมก่ ง” การตรวจแบบฝึ ก แบบฝึกทกั ษะ ร้อยละ ๘๐ ๔.คุณลกั ษณะ สังเกตพฤติกรรม แบบประเมินคุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน อนั พึงประสงค์ การร่วมกิจกรรม อนั พึงประสงค์ คุณลกั ษณะอนั พงึ - มีวินยั ของนกั เรียน ของนกั เรียน ประสงค์ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป ๕.สมรรถนะสาคญั ของ สังเกตพฤติกรรม แบบประเมินสมรรถนะ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ผเู้ รียน ความสามารถในการ สาคญั ของผเู้รียน ดา้ น สมรรถนะสาคญั ของ - ความสามารถใน ส่ือสารของนกั เรียน ความสามารถใน ผเู้ รียน ไดร้ ะดบั การส่ือสาร การสื่อสาร คุณภาพ ๒ ข้ึนไป

เกณฑ์การให้คะแนน

จุดประสงค์ข้อ ๑ อา่ นออกเสียงคาในมาตราตวั สะกดแม่กงไดถ้ ูกตอ้ ง นกั เรียนอ่านออกเสียงคาในมาตราตวั สะกดแมก่ งไดถ้ กู ตอ้ ง ร้อยละ ๘๐

จุดประสงค์ข้อ ๒ บอกความหมายของคาในมาตราตวั สะกดแมก่ งไดถ้ ูกตอ้ ง นกั เรียนบอกความหมายของคาในมาตราตวั สะกดแมก่ งไดถ้ ูกตอ้ ง ร้อยละ ๘๐

จุดประสงค์ข้อ ๓ จาแนกคาในมาตราตวั สะกดแมก่ งไดถ้ ูกตอ้ ง นกั เรียนจาแนกคาในมาตราตวั สะกดแม่กงไดถ้ ูกตอ้ ง ร้อยละ ๘๐

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ดา้ นความมีวินยั ระดบั คุณภาพ ๓ หมายถึง ดีเยยี่ ม ระดบั คุณภาพ ๒ หมายถึง ดี ระดบั คณุ ภาพ ๑ หมายถึง พอใช้

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ดา้ นความสามารถในการส่ือสาร ระดบั คณุ ภาพ ๓ หมายถึง ดีเยย่ี ม ระดบั คุณภาพ ๒ หมายถึง ดี ระดบั คณุ ภาพ ๑ หมายถึง พอใช้

เกณฑ์การตดั สิน ไดค้ ะแนน ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป ถือวา่ ผา่ น จุดประสงค์ข้อ ๑ - ๓ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๒ ข้ึนไป ถือวา่ ผา่ น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๒ ข้นึ ไป ถือวา่ ผา่ น สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารสถานศึกษาหรือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมาย ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................... ( นายประยรู ศิริคุณ )

รองผอู้ านวยการโรงเรียนศรีแกง้ คร้อ ................./............................./.................. บนั ทึกผลหลงั กระบวนการจดั การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ปัญหา/อปุ สรรค ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...................................................... ( นางสญั ลกั ษณ์ ณ หนองคาย )

ครู วทิ ยฐานครูชานาญการพิเศษ ................/............................./..................

แบบบนั ทกึ คะแนนทดสอบก่อนเรียน

เร่ือง มาตราตวั สะกด

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๓/๒

เลขท่ี ชื่อ - สกลุ ก่อนเรียน

๓๐ คะแนน ร้อยละ

ร้อยละ

แบบประเมินการตรวจแบบฝึ กทกั ษะของนักเรียน รายการประเมิน

เลขท่ี ชื่อ – สกุล รวมแบบ ึฝกทักษะ ่ีท ๑ แบบ ึฝกทักษะ ่ีท ๒ แบบ ึฝกทักษะ ี่ท ๓

ผลการตัด ิสน หมายเหตุ

๑๐ ๑๐ ๑๐ ๓๐

เกณฑ์การตดั สิน นกั เรียนตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมินร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป (คะแนน ๒๔ คะแนนข้ึนไป)

จุดประสงค์การเรียนรู้

๑. อา่ นออกเสียงคาในมาตราตวั สะกดไดถ้ กู ตอ้ ง ๒. บอกความหมายของคาในมาตราตวั สะกดไดถ้ ูกตอ้ ง ๓. จาแนกคาในมาตราตวั สะกดไดถ้ ูกตอ้ ง ๔. เขียนคาในมาตราตวั สะกดไดถ้ กู ตอ้ ง ๕. เติมคาในประโยคไดถ้ กู ตอ้ ง ๖. แตง่ ประโยคจากคาในมาตราตวั สะกดไดถ้ ูกตอ้ ง

บรรณานกุ รม

ไชยยศ เรืองสวุ รรณ. Active Learning. ขา่ วสารวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ประจำเดือนพฤศจิกายน, ๒๕๕๓.

ณัชนนั แก้วชยั เจรญิ กจิ . บทบาทของครผู ู้สอนในการจัดกจิ กรรมและวธิ กี ารปฏบิ ัติตาม แนวทางของ Active Learning. สืบคน้ จาก http//www.kroobannok.com เม่อื ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔.

ดวงมน ปรปิ ณุ ณะ. เทคนิคและวธิ สี อนในระดบั ประถมศึกษา. กรงุ เทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๔๗.

ปิตินันธ์ สุทธสาร. กิจกรรมการสอนภาษาไทยดว้ ยเพลง. พิมพ์ครัง้ ที่ ๘. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๔.

พรวไิ ล เลศิ วิชา. สอนภาษาไทยต้องเขา้ ใจสมองเด็ก. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพศ์ าลาแดง, ๒๕๕๐. วรรณี โสมประยูร. การสอนภาษาไทยระดบั ประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร, ๒๕๔๗. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน. คู่มือหลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย.

กรงุ เทพมหานคร : สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน, ๒๕๔๖. อจั ฉรา ชวี พนั ธ์. ศลิ ปะการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย ระดบั ประถมศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร :

เบ็นพับลซิ ชิง่ , ๒๕๔๖