การเล อกใช ประเภทซอฟต แวร เพ อนำมาใช งาน ม ก ประเภท

Protocol คืออะไร

โปรโตคอล คือ ข้อกำหนดหรือข้อตกลงในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ หรือภาษาสื่อสารที่ใช้เป็น ภาษา กลางในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน การที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกเชื่อมโยงกันไว้ในระบบจะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้นั้น จำเป็นจะต้องมีการสื่อสารที่เรียกว่า โปรโตคอล (Protocol) เช่นเดียวกับคนเราที่ต้องมีภาษาพูดเพื่อให้สื่อสารเข้าใจกันได้ โปรโตคอลช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์สองระบบ ที่แตกต่างกันสามารถสื่อสารกันอย่างเข้าใจได้ คือข้อตกลงที่กำหนดเกี่ยว กับการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ทั้งวิธีการส่งและรับข้อมูล วิธีการตรวจสอบข้อผิดพลาดของการส่งและรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลเมื่อส่งและรับกันระหว่างเครื่องสองเครื่อง ดังนั้นจะเห็นได้ว่าโปรโตคอลมีความสำคัญมากในการสื่อสารบนเครือข่าย หากไม่มีโปรโตคอลแล้ว การสื่อสารบนเครือข่ายจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้

การเล อกใช ประเภทซอฟต แวร เพ อนำมาใช งาน ม ก ประเภท

Protocol คืออะไร

ประเภทของ Network Protocols

  1. Communication Protocol (โปรโตคอลด้านการสื่อสาร) : ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลขั้นพื้นฐาน เช่น TCP/IP และ HTTP
  2. Management Protocol (โปรโตคอลด้านการจัดการ) : มีหน้าที่ดูแลรักษา และบริหารเครือข่ายผ่านโปรโตคอล เช่น ICMP และ SNMP
  3. Security Protocol (โปรโตคอลด้านความปลอดภัย) : ช่วยปกป้องข้อมูลจากการถูกโจมตีจากอาชญากรไซเบอร์ เช่น HTTPS, SFTP และ SSL

ตัวอย่างของ Communication Protocol (โปรโตคอลด้านการสื่อสาร)

  1. โปรโตคอล HTTP หรือ Hypertext Transfer Protocol จะใช้เมื่อเรียกโปรแกรมบราวเซอร์ (Browser)
  2. โปรโตคอล TCP/IP หรือ Transfer Control Protocol/Internet Protocolคือเครือข่ายโปรโตคอลทีสำคัญมากที่สุด เนื่องจากเป็นโปรโตคอลที่ใช้ในระบบเครือข่าย Internet รวมทั้ง Intranet ซึ่งประกอบด้วย 2 โปรโตคอลคือ TCP และ IP
  3. โปรโตคอล SMTP หรือ Simple Mail Transfer Protocol คือ โปรโตคอล ที่ใช้ในการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต นอกจากโปรโตคอลที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีโปรโตคอลต่างๆอีกมากมาย เช่น การโอนย้ายข่าวสารระหว่างกันก็ใช้โปรโตคอลชื่อ NNP หรือ Network News Transfer Protocol และยังมีโปรโตคอลที่สำคัญสำหรับการสอบถามข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน ซึ่งเป็นโปรโตคอลที่มีประโยชน์มาก โปรโตคอลนี้มีชอว่า ICMP หรือ Internet Control Message Protocol เป็นต้น
  4. โปรโตคอล FTP, SFTP หรือ File Transfer Protocol

ตัวอย่างของ Management Protocol (โปรโตคอลด้านการจัดการ)

  1. โปรโตคอล SNMP : ย่อมาจากคำว่า Simple Network Management Protocol ใช้ในการตรวจสอบ และบริหารจัดการอุปกรณ์เครือข่าย มันสามารถแก้ไขข้อมูล และตั้งค่าการทำงานของอุปกรณ์ที่เป็น Endpoint ภายในเครือข่ายได้
  2. โปรโตคอล ICMP : ย่อมาจากคำว่า Internet Control Message Protocol คือใช้ในการวินิจฉัยปัญหา โดยใช้โปรโตคอลเพื่อเรียกดูข้อมูลข้อผิดพลาด และข้อมูลปัญหาการเชื่อมต่อที่เกิดขึ้นในการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์

ตัวอย่างของ Security Protocol (โปรโตคอลด้านความปลอดภัย)

  1. โปรโตคอล SSL : ย่อมาจากคำว่า Secure Socket Layer เป็นโปรโตคอลหลักที่นิยมใช้ในการปกป้องข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตที่ต้องการความปลอดภัยสูง ไม่สามารถอ่านได้โดยบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง สามารถใช้งานได้ทั้งการเชื่อมต่อระหว่างเซิร์ฟเวอร์ กับไคลเอนท์, เซิร์ฟเวอร์ กับเซิร์ฟเวอร์
  2. โปรโตคอล HTTPS : ย่อมาจากคำว่า Secure Hypertext Transfer Protocol เป็นโปรโตคอล HTTP ที่ได้รับการเพิ่มระบบรักษาความปลอดภัยเข้าไป
  3. โปรโตคอล SFTP : ย่อมาจากคำว่า Secure File Transfer Protocol ใช้ในการปกป้องไฟล์ที่ส่งผ่านระบบเครือข่าย

และ Secured File Transfer Protocol สำหรับย้ายไฟล์จากเครื่องหนึ่งไปเครื่องหนึ่ง ผั่งหนึ่งจะทำหน้าที่เป็น FTP Server อีก ผั่งจะเป็น FTP Client โดยเข้าไปที่ วิธีใช้โปรแกรม Filezilla โปรแกรม FTP Protocol ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อเพิ่มความปลอดภัย ไม่ให้ถูกดักขโมยข้อมูลจากผู้ประสงค์ร้าย ต้องมั่นใจว่าผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาตจะสามารถล่วงรู้ข้อมูลสำคัญที่คุณส่งผ่านเครือข่ายได้ดั่งมาตรฐานของ Protocolการสื่อสารที่มีกระบวนการพิสูจน์ตัวตน

นอกจากนี้แล้ว ยังมี Protocal อื่นๆ ที่เกี่ยวกับ IOT - Internet of things ลองดูได้ตามลิงค์

ข้อมูลอ้างอิง

Protocol คืออะไร มีกี่ประเภท ประโยชน์ของ Protocol มีอะไรบ้าง, [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก https://www.xn--12cg1cxchd0a2gzc1c5d5a.net/protocol/

บทที่ 3 โพรโตคอลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Protocol), [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก https://www.sites.google.com/site/kuakaycom/phortokhxl-ni-rabb-kherux-khay-khxmphiwtexr-protocol

Page 42 - การวางแผน การออกแบบ และการผลิตสื่อชุมชน

  1. 42

` 11-32 การวางแผน การออกแบบและการผลิตส่ือชมุ ชน

  1. รูปแบบของโปรแกรมซอฟต์แวร์ (Software) อาทิ โซเชียลมีเดีย เกมออนไลน์ รวมทง้ั แอป พลเิ คชนั ต่างๆ ทีใ่ ช้งานในอปุ กรณ์สมารท์ โฟนและคอมพิวเตอรแ์ ท็ปเล็ต
  2. รปู แบบของเครือขา่ ยการส่ือสาร (Communication Network) อาทิ ระบบสื่อสารดาวเทยี ม เคเบลิ ใยแกว้ เครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ โทรคมนาคม
       ซง่ึ หากพจิ ารณาถงึ ประเภทของสอื่ ใหมท่ ป่ี ระชาชนทว่ั ไปสามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื่ การพฒั นา
    
    ชุมชนคงเป็นรูปแบบซอฟต์แวร์ท่ีสามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับการด�ำเนินงานได้ ในส่วนนี้จึงขอยก ตัวอย่างส่ือใหม่ในรูปแบบของโปรแกรมซอฟต์แวร์ท่ีได้รวบรวมจากนักวิชาการหลากหลายท่าน อาทิ นักวชิ าการจากมหาวทิ ยาลยั เซาท์อีสเทริ ์น ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ไบรอนั นีส (Brian Neese, 2016) ได้ กลา่ วถงึ ประเภทของสอื่ ใหมไ่ วใ้ นเนอ้ื หาการเรยี นออนไลนข์ องหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ ในสอื่ ดจิ ทิ ลั และ การออกแบบ (Science in Digital Media and Design) ทีม่ ีการเผยแพรบ่ ทความเรอ่ื ง “5 ประเภท ของส่ือใหม่” เลฝ มาโนวิค (Lev Manovich) นักวิชาการผู้เช่ียวชาญด้านส่ือใหม่ งานวิจัยของลินดา ไวเซอร์ ฟรีดแมน และเฮอร์ชีย์ เอช. ฟรีดแมน (Linda Weiser Friedman and Hershey H. Friedman) จากเดอะซิตี้ยูนิเวอร์ซิต้ีออฟนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกาที่ได้ท�ำการศึกษาเร่ืองภาพรวม และกรอบการวิจัยของเทคโนโลยีสอ่ื ใหม่ วิกิพเี ดีย (2013) กรมประชาสมั พนั ธ์ (2554) และรชั นีกร ทรพั ย์ ชื่นสขุ (2556) ดังนี้
  3. เวบ็ ไซต์ (Web site) คาํ วา่ “เวบ็ ไซต์ (Web site)” มผี ใู้ หค้ วามหมายไวม้ ากมาย อาทิ กฤษณะ

    สถิต (2549: 23) กลา่ ววา่ เว็บไซต์ คอื สถานทีส่ าํ หรบั เกบ็ เอกสารเอชทีเอ็มแอล (HTML) หรือเวบ็ เพจ สาํ หรบั การเผยแพร่ข่าวสารบนอนิ เทอรเ์ น็ต สำ� หรบั ดวงพร เกย๋ี งคํา (2549: 22) ไดก้ ล่าวว่า เว็บไซต์คือ กลมุ่ ของเวบ็ เพจทเ่ี กย่ี วขอ้ งสมั พนั ธก์ นั อาทิ กลมุ่ ของเวบ็ เพจทใี่ หข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั ประวตั ิ รวมทง้ั สนิ คา้ และ บริการของบริษัทหน่ึง โดยภายในเว็บไซต์นอกจากเว็บเพจหรือแฟ้มข้อมูลเอชทีเอ็มแอลแล้วยังประกอบ ด้วยแฟม้ ข้อมูลชนดิ อื่นๆ ท่ีจาํ เป็นสาํ หรบั สร้างเปน็ หนา้ เวบ็ เพจ อาทิ รูปภาพ สอ่ื ประสม (multimedia) แฟม้ ข้อมูลโปรแกรมภาษาสคริปต์ (script) และแฟม้ ข้อมูลสําหรับให้ดาวนโ์ หลด เปน็ ต้น โดยเว็บไซต์มี ความสำ� คญั ตอ่ การพฒั นาชมุ ชนทง้ั ในรปู แบบของการพฒั นาเวบ็ ไซตข์ น้ึ มาเพอื่ การพฒั นาหรอื สง่ เสรมิ ชมุ ชน และการนำ� ขอ้ มลู และขา่ วสารจากเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ มาเปน็ ขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณาเพอื่ การวางแผนในการ พัฒนาชุมชนไดอ้ ีกดว้ ย

       ดังนั้นหากพิจารณาประเภทของเว็บไซต์และการใช้งานเว็บไซต์เพ่ือการพัฒนาชุมชนจะสามารถ  
    
    จำ� แนกไดต้ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องการใชง้ านทแ่ี ตกตา่ งกนั ทจี่ ะนำ� ไปสกู่ ารออกแบบเวบ็ ไซตท์ แ่ี ตกตา่ งกนั ออก ไปดว้ ย โดยสมาน ลอยฟ้า (2544) และวเิ ศษศักด์ิ โคตรอาษา (2542) ได้แบ่งประเภทของเว็บไซตต์ าม ลกั ษณะการใช้งานออกเปน็ 5 ประเภท ได้แก่

    1. เว็บไซต์เพ่ือการประชาสัมพันธ์ โดยส่วนใหญจ่ ะเปน็ วัตถุประสงคใ์ นระดับเบื้องตน้ ของ

      การพฒั นาเวบ็ ไซตท์ จี่ ดั ทาํ โดยองคก์ รหรอื หนว่ ยงานตา่ งๆ เพอื่ การโฆษณาหรอื ประชาสมั พนั ธอ์ งคก์ รหรอื หนว่ ยงานใหเ้ ปน็ ทรี่ จู้ กั ในเวบ็ ไซตจ์ งึ นำ� เสนอขอ้ มลู พนื้ ฐานขององคก์ รหรอื หนว่ ยงาน อาทิ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั แนวคิดและภารกิจขององค์กร กิจกรรมขององค์กร ช่องทางการติดต่อองค์กร หรืออ่ืนๆ โดยในปัจจุบัน องคก์ รหรอื หนว่ ยงานของภาครฐั ระดบั พนื้ ทไี่ ดใ้ หค้ วามสำ� คญั ตอ่ การพฒั นาเวบ็ ไซตเ์ พอ่ื วตั ถปุ ระสงคใ์ นการ

      `