การแข งข นศ ลปห ตถกรรม ซ โดก ม.ต น

โรงเรยี น........................................................... สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ..................................

รายงานฉบับน้ีเปน็ สว่ นประกอบของโครงงานคณิตศาสตร์

ประเภทสร้างทฤษฎีและคาอธิบายทางคณติ ศาสตร์ ระดับ………................

เน่อื งในงานศิลปหตั ถกรรมนักเรียนครง้ั ท่ี ๖๗ ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๐

งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น ครง้ั ท่ี 69 ปกี ารศึกษา ๒๕62 กลุม่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ หนา้ ๖

รายละเอียดในเล่มประกอบด้วย บทคดั ย่อ กิตตกิ รรมประกาศ สารบญั สารบัญตาราง สารบัญรปู ภาพ บทที่ 1 บทนา บทท่ี 2 เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง บทท่ี 3 วธิ กี ารดาเนินการ บทที่ 4 ผลการดาเนนิ การ บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก ไม่เกนิ 10 หนา้

หมายเหตุ 1. ขนาดของกระดาษเขียนรายงานให้ใช้กระดาษพิมพ์ ขนาด A4 ตวั อกั ษรไมต่ ่ากวา่ ๑๖ point

พิมพ์หน้าเดยี ว เฉพาะบทท่ี 1 - 5 มีความยาวไม่เกนิ ๓0 หนา้ ภาคผนวกมคี วามยาวไมเ่ กนิ 10 หนา้ รายงาน ฉบับใดท่ีมีความยาวเกนิ กวา่ ท่ีกาหนดจะถูกตัดคะแนน

2. ทารายงานสง่ ให้คณะกรรมการก่อนการแขง่ ขัน 2 สัปดาห์ จานวนชดุ ตามท่ีกาหนดในการแข่งขนั ในแตล่ ะระดับ (สาหรบั ระดบั ชาตจิ ะแจง้ ใหท้ ราบภายหลังจากการแข่งขันระดบั ภาคเสร็จสน้ิ ไปแล้ว)

3. นกั เรยี นท่เี ปน็ ตวั แทนเข้าร่วมแขง่ ขนั ระดับชาติ ตอ้ งเป็นบุคคลคนเดียวกบั ผูท้ ี่ไดร้ ับการคัดเลือก จากระดับภาค และ ระดับเขตพื้นท่ีการศกึ ษา

งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน คร้งั ที่ 69 ปีการศกึ ษา ๒๕62 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๗

(ตวั อยา่ ง) แบบประเมนิ โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสร้างทฤษฎีและคาอธิบายทางคณติ ศาสตร์ ระดับ ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สงั กดั สพป. ............................................................ สพม. .................................................... ชื่อโครงงาน........................................................................................................................ .......................... โรงเรยี น.......................................................................... จงั หวัด..............................................................

ข้อท่ี รายการ คะแนนเต็ม คะแนนทไี่ ด้

1. การกาหนดหัวข้อโครงงาน (5) - สอดคล้องกับเรือ่ งที่ศึกษา 1 - สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์/ปัญหาของโครงงาน 1 - สอดคลอ้ งกับเนอื้ หาและระดับช้นั ของผ้ทู ่ีทาโครงงาน 1 - มีความกะทัดรัด สอื่ ความหมายชัดเจน 1 - นา่ สนใจ กระตนุ้ ความคิดต่อผู้อนื่ อยา่ งหลากหลาย 1 (10) 2. ความสาคัญและความเป็นมาของโครงงาน 1 - มาจากปัญหาและความสนใจของผเู้ รียน 1 - เป็นปัญหาทีส่ ะท้อน/เกี่ยวข้องกับตวั เอง ชุมชน 1 - บอกความเปน็ มาหรือเหตผุ ลของการทาโครงงานไดช้ ดั เจน 1 - มีเหตผุ ลทด่ี เี พยี งพอท่นี าไปสกู่ ารทาโครงงาน 2 - ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนได้ใชค้ วามรคู้ วามคิดและทักษะความสามารถทาง คณติ ศาสตร์ 2 - มกี ารอา้ งหลักการ แนวคิด หรอื ทฤษฎีทเ่ี กย่ี วข้องประกอบการทาโครงงาน 2 - มอี งคป์ ระกอบถูกต้อง ครบถว้ น สอดคลอ้ ง สมั พันธก์ ัน (5) 1 3. วัตถุประสงค์/สมมตฐิ าน/ตวั แปร (ถา้ ม)ี 2 - เป็นวตั ถปุ ระสงค์ของการทาโครงงาน 1 - ระบุวตั ถุประสงค์ได้ถกู ต้อง ชดั เจน มีความเปน็ ไปไดจ้ รงิ ในการดาเนินงาน - วตั ถุประสงคส์ ามารถวัดและประเมินผลได้จรงิ ดว้ ยวธิ ีการ/เครื่องมือท่ีเปน็ 1 รปู ธรรมเชอ่ื ถือได้ - สอดคล้องกบั ชอื่ เรื่องและเน้ือหา (20) - สมมตฐิ าน (ถ้าม)ี มีความถกู ต้อง ชัดเจน สอดคล้องกับปญั หา ตัวแปรและ 3 วัตถุประสงค์ - สมมติฐานนาไปส่กู ารออกแบบการวางแผนการศกึ ษาทดลองไดช้ ัดเจน 3

4. เน้อื หาสาระและเอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง - เนอ้ื หาถกู ต้อง ครบถ้วนสมบรู ณ์ เหมาะสม สอดคล้องและครอบคลมุ ในเรอ่ื งทีท่ า - มกี ารเชือ่ มโยงความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ทเี่ กี่ยวข้องได้ ครบถ้วน สมบรู ณ์

งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น คร้ังที่ 69 ปีการศึกษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๘

ขอ้ ที่ รายการ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้

- มีการจดั ระบบการนาเสนอเนอื้ หาได้กระชับ ชดั เจน เข้าใจงา่ ย 3 - เน้อื หาสาระสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาต่อยอด และกระตนุ้ ให้ 3 แนวทางนาไปสู่การทาโครงงานอื่น - มกี ารอ้างองิ หลกั การ แนวคิด และทฤษฎีทถ่ี ูกต้อง ชดั เจน และเช่ือถือได้ 3 - เน้อื หาสาระมาจากแหลง่ ข้อมูลท่ีหลากหลาย 3 - เอกสารอ้างอิงท่ีเกีย่ วข้องทันสมัย น่าเชอื่ ถือ 2 5. วธิ ดี าเนนิ งาน/แนวคิด และผลท่ไี ด้รับ (15) - มลี าดับขนั้ ตอนในการดาเนินงานชัดเจน 3 - มีเคร่อื งมือและการพฒั นาเคร่ืองมือ (ตรวจสอบคุณภาพ) ถูกต้องตามหลักวิชาการ 3 - มกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมลู ถูกต้อง 3 - การนาเสนอข้อมูลถูกต้อง กะทัดรดั ชัดเจน 2 - ผลการทาโครงงานบรรลุวัตถุประสงค์ท่ตี ้ังไว้ 2 - มีการอภิปรายผลการศึกษาอยา่ งครอบคลุมสมเหตสุ มผล 2 6. การจดั แสดงโครงงานเปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐาน (5) - ขนาดแผงโครงงานเปน็ ไปตามมาตรฐานที่กาหนด 1

- การจัดวางเหมาะสม สรา้ งสรรค์ สวยงาม ประหยดั นา่ สนใจ 1 - เน้อื หาสาระครบถ้วนสมบรู ณ์ 1 - การเรียงลาดบั ประเด็นหัวข้อ และเน้ือหาสาระถกู ต้องเป็นระบบ เขา้ ใจง่าย 1 - มีรอ่ งรอยของการดาเนินงาน 1 7. การนาเสนอปากเปล่า (10 นาท)ี (10) - มกี ารแนะนาตนเอง ด้วยมารยาทท่ดี ี มคี วามยม้ิ แย้มแจม่ ใส 1 - พูดจาถกู ต้องตามหลกั ภาษาไทย กระชับ ชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย เป็นธรรมชาติ 2 - มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าพูด กลา้ แสดงออก 1 - มกี ารนาเสนอถูกต้อง ครบถ้วน ครอบคลุม ประเดน็ สาคญั ของโครงงาน 2 - มีการจัดระบบข้นั ตอนการนาเสนอได้กระชับ ชัดเจน เป็นระบบเขา้ ใจงา่ ย 1 - การมสี ่วนร่วมของสมาชิกในการนาเสนอ 1 - มีวิธกี ารนาเสนอที่น่าสนใจ 1 - นาเสนอได้เหมาะสมกับเวลาที่กาหนด 1 8. การตอบขอ้ ซักถาม (เนน้ การซักถามในประเด็นเกี่ยวกบั คณติ ศาสตร์) (10) - ตอบคาถามได้ถูกต้อง ตรงประเดน็ คล่องแคลว่ และชดั เจน 2 - ใช้ภาษาถูกตอ้ งเขา้ ใจงา่ ย 1 - มีการใชข้ อ้ มลู จรงิ จากการศึกษา 1 - ใชภ้ าษาคาศัพท์เทคนคิ ไดถ้ ูกต้อง 1 - การมสี ่วนร่วมของสมาชิกภายในกลุม่ 1 - มีปฏิภาณไหวพริบและสามารถแกป้ ัญหาเฉพาะหน้าได้ 2

งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครง้ั ท่ี 69 ปกี ารศึกษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ หนา้ ๙

ข้อที่ รายการ คะแนนเต็ม คะแนนท่ีได้

- มกี ารใชค้ วามรู้จากการศึกษาประกอบการอธบิ าย 2 9. การเขียนรายงานโครงงานถูกตอ้ งตามรปู แบบ (10) 3 - องค์ประกอบครบถ้วนตามประเภทของโครงงานและเรียงลาดบั ถกู ต้อง 3 - นาเสนอสาระในแต่ละหวั ขอ้ ถูกต้อง ชดั เจน กระชับ รัดกุม 2 - การใช้ภาษาถกู ต้องชดั เจน 2 - จานวนหน้าทัง้ เนื้อหา ภาคผนวก และขนาดตวั อกั ษรเป็นไปตามเกณฑท์ ่ีกาหนด (5) 10. การนาไปใช้ประโยชน์ 2 - นาไปใช้ได้จรงิ 2 - นาไปพัฒนาต่อยอดได้ 1 - มคี วามคมุ้ ค่าตอ่ การลงทุน (5) 11. ความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์ 2 - มคี วามแปลกใหมข่ องปัญหาหรือความเป็นมา 1 - มีความแปลกใหมใ่ นการนาเสนอ 1 - เปน็ เร่ืองทนั สมยั 1 - สามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ให้เกดิ ประโยชน์ต่อการศึกษา 100 คะแนนรวม

ข้อคิดเห็น เพมิ่ เติม .............................................................................................................. ................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................. ............................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................... .............................................................................................................. ....... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................... .................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................. ............................................................

งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น ครั้งท่ี 69 ปกี ารศึกษา ๒๕62 ลงช่ือ ................................................ กรรมการ (........................................)

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๑๐

3. การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์ทบี่ รู ณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยกุ ตใ์ ช้

1. คณุ สมบัตผิ เู้ ข้าแข่งขัน การแขง่ ขันแบง่ เปน็ 3 ระดับ ดังน้ี 1.1 ระดบั ประถมศกึ ษา - ผู้เข้าแขง่ ขนั เปน็ นักเรียนช้ัน ป.4–6 1.2 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น - ผู้เข้าแข่งขันเปน็ นักเรยี นชั้น ม.1–3 1.3 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย - ผูเ้ ข้าแขง่ ขันเปน็ นักเรียนช้ัน ม.4–6

2. ประเภทและจานวนผ้เู ข้าแขง่ ขัน 2.1 แขง่ ขันประเภททีม ทีมละ ๓ คน 2.2 เขา้ แขง่ ขนั ระดับละ 1 ทีม เทา่ น้นั

3. วิธดี าเนนิ การและรายละเอียดหลักเกณฑก์ ารแขง่ ขนั 3.1 สง่ รายช่ือนักเรยี นผเู้ ข้าแขง่ ขัน ทีมละ 3 คน พร้อมช่ือครทู ปี่ รึกษาโครงงานคณิตศาสตร์ทมี ละ

ไม่เกิน 2 คน ตามแบบฟอร์มทก่ี าหนด 3.2 รายละเอยี ดหลกั เกณฑ์การแข่งขันการประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ทบี่ รู ณาการความรู้ใน

คณติ ศาสตร์ไปประยุกตใ์ ช้มีการพิจารณาระดับการแข่งขนั และตัดสนิ โครงงาน แยกเขตพ้ืนที่ /ระดบั ช้ัน ดังนี้ ๓.๒.๑ ระดบั เขตพื้นที่ สพป. - โครงงานคณติ ศาสตร์ท่บี ูรณาการความร้ใู นคณติ ศาสตร์ไปประยุกตใ์ ช้ระดับช้ัน

ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 – 6 ได้แก่

  1. โครงงานคณิตศาสตรป์ ระเภทสารวจเกบ็ รวบรวมข้อมลู
  2. โครงงานคณติ ศาสตรป์ ระเภททดลอง
  3. โครงงานคณติ ศาสตรป์ ระเภทพฒั นาหรอื ประดิษฐ์

- โครงงานคณติ ศาสตร์ที่บูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ระดับชน้ั มธั ยมศึกษา ปที ี่ 1 – ๓ ไดแ้ ก่

  1. โครงงานคณิตศาสตรป์ ระเภททดลอง
  2. โครงงานคณิตศาสตรป์ ระเภทพัฒนาหรือประดิษฐ์ ๓.๒.๒ ระดับเขตพื้นที่ สพม. - โครงงานคณติ ศาสตร์ท่ีบูรณาการความร้ใู นคณิตศาสตรไ์ ปประยกุ ต์ใช้ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษา ปีที่ 1 – ๖ ไดแ้ ก่
  3. โครงงานคณติ ศาสตรป์ ระเภททดลอง
  4. โครงงานคณติ ศาสตร์ประเภทพัฒนาหรือประดษิ ฐ์ ๓.๓ ส่งรายงานโครงงานคณิตศาสตรเ์ ป็นรปู เลม่ ล่วงหนา้ ก่อนการแข่งขัน 2 สัปดาห์ (ตามที่เขตพื้นที่ การศกึ ษา/ระดบั ภาค/ระดบั ชาติ กาหนด

งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน ครง้ั ท่ี 69 ปกี ารศกึ ษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๑๑

3.๔ นาแผงโครงงานคณิตศาสตร์มาแสดงตามเกณฑ์มาตรฐาน 60 ซม. 60 ซม. 60 ซม. ก

กข

๑๒๐ ซม.

ถา้ มีสว่ นยน่ื ดา้ นบน อนญุ าตให้ ตดิ แค่ช่อื โรงเรยี นเทา่ น้นั ห้ามมเี นอ้ื หาท่เี กยี่ วกบั การทาโครงงาน 3.๕ นาเสนอโครงงานคณิตศาสตรต์ ่อคณะกรรมการ ใชเ้ วลาไมเ่ กนิ 10 นาที และตอบขอ้ ซักถาม ใชเ้ วลาไม่เกนิ ๑๐ นาที 3.๖ สือ่ ทใ่ี ช้ในการนาเสนอโครงงานคณิตศาสตร์ ผ้สู ง่ โครงงานเข้าแขง่ ขันจัดเตรยี มมาเอง 3.๗ พืน้ ท่จี ดั วางแผงโครงงานคณิตศาสตร์ คณะกรรมการจดั ใหเ้ ท่ากนั ไม่เกิน 1.50 ม. × 1.00 ม. และใหจ้ ัดภายในพ้นื ท่ีที่กาหนดเท่าน้ัน

4. เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน

4.1 การกาหนดหวั ขอ้ โครงงาน 5 คะแนน คะแนน 4.2 ความสาคญั และความเป็นมาของโครงงาน 10 คะแนน

4.3 วตั ถปุ ระสงค/์ สมมติฐาน/ตวั แปร (ถ้ามี) ๕ คะแนน คะแนน 4.4 เนอ้ื หามคี วามเชอื่ มโยงความรแู้ ละทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ คะแนน คะแนน กบั ศาสตร์อื่น ๆ/บรู ณาการความรูค้ ณติ ศาสตร์ ๑๕ คะแนน 4.5 วธิ ดี าเนินงาน /แนวคดิ และผลท่ีไดร้ ับ 1๕ คะแนน คะแนน 4.6 การจัดแสดงโครงงานเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 5 คะแนน

4.7 การนาเสนอปากเปล่า 10

4.8 การตอบข้อซกั ถาม (เนน้ การนาความรแู้ ละผลการดาเนินงาน/

ผลงานและความรู้คณิตศาสตร์และการเช่อื มโยงบูรณาการไปประยุกต์ใช้) ๑๐

4.9 การเขียนรายงาน ๕

4.10 การนาไปใชป้ ระโยชน์ ๑๐

4.11 ความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ ๑๐

5. เกณฑ์การตดั สิน การพจิ ารณาตัดสินโครงงานมเี กณฑ์การพิจารณา ดังน้ี รอ้ ยละ 80 - 100 ไดร้ บั รางวัลระดบั เหรียญทอง รอ้ ยละ 70 – 79 ไดร้ ับรางวลั ระดบั เหรียญเงิน ร้อยละ 60 – 69 ไดร้ ับรางวัลระดับเหรยี ญทองแดง ตา่ กว่ารอ้ ยละ 60 ได้รับเกยี รติบัตร เวน้ แตก่ รรมการจะเหน็ เปน็ อย่างอนื่ ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปน็ ทส่ี ิน้ สดุ

งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี น ครัง้ ท่ี 69 ปกี ารศึกษา ๒๕62 กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ หนา้ ๑๒

6. คณะกรรมการการแขง่ ขัน ระดบั ละ 3 - 5 คน คณุ สมบัตขิ องคณะกรรมการ - เป็นผทู้ รงคณุ วฒุ ิในด้านคณิตศาสตร์ - เปน็ ศกึ ษานเิ ทศก์ท่ีรบั ผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ - เป็นครูทมี่ ีความคิดรวบยอดในเนอ้ื หาคณิตศาสตร์และมีประสบการณ์การทาโครงงาน

คณิตศาสตร์ (ถา้ เปน็ กรรมการระดับชาตติ อ้ งเคยเปน็ กรรมการตดั สนิ โครงงานในระดบั ภาค หรอื ระดับชาติ มาก่อน)

ข้อควรคานงึ - กรรมการตอ้ งไม่ตัดสินในกรณสี ถานศึกษาของตนเขา้ แข่งขัน - กรรมการทม่ี าจากครผู ูส้ อนควรแตง่ ตง้ั ให้ตดั สินในระดับช้ันทีท่ าการสอน - กรรมการควรมที ี่มาจากเขตพ้ืนที่การศึกษาอนื่ อยา่ งหลากหลาย - กรรมการควรใหข้ ้อเสนอแนะเตมิ เต็มให้กบั นักเรยี นท่ชี นะในลาดบั ท่ี 1 - 3

7. สถานทท่ี าการแขง่ ขัน ควรใช้หอ้ งเรยี นหรือสถานท่ี ที่มโี ตะ๊ เกา้ อี้ ท่ีสามารถดาเนินการแข่งขนั ได้พร้อมกัน

8. การเขา้ แข่งขันระดับภาค และระดับชาติ ๘.1 ให้ทีมที่เป็นตัวแทนของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเข้าแข่งขันในระดับภาค ทุกกิจกรรมต้องได้คะแนน

ระดับเหรียญทอง ลาดับที่ ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป) และทีมที่เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันใน ระดับชาติ จะตอ้ งไดค้ ะแนนระดับเหรยี ญทอง ลาดบั ท่ี ๑ - ๓ (คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป )

๘.๒ ในกรณีแข่งขันระดับเขตพื้นที่การศึกษาที่มีทีมชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากัน และในระดับภาค มีมากกว่า ๓ ทีม ให้พิจารณาการให้คะแนนในลาดับท่ี ๔.๔ ๔.๗ ๔.๘ ๔.๑๐ และ ๔.๑๑ เรียงตามลาดับคะแนน ของทีมใดสูงกว่า ถือว่าเป็นทีมที่ชนะ เช่น มีทีมท่ีได้คะแนนในลาดับท่ี ๔.๔ เท่ากันให้พิจารณาลาดับท่ี ๔.๗ ทีมท่ีได้ คะแนนมากกว่าถือเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าลาดับท่ี ๔.๗ เท่ากัน ให้พิจารณาในลาดับถัดไปตามท่ีกาหนด ถ้าคะแนน เทา่ กันในทุกขอ้ ใหป้ ระธานกรรมการตดั สนิ เป็นผ้ชู ้ีขาด

๙. การเผยแพร่ผลงานทีไ่ ดร้ บั รางวัล ผลงานของนักเรียนท่ีได้รับคะแนนสูงสุดอันดับที่ 1 - 3 คณะกรรมการพิจารณาและนาไปเผยแพร่ใน

เว็บไซต์ตอ่ ไปซง่ึ ผลงานของผู้แข่งขัน ถือเป็นลขิ สิทธข์ิ องสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน เพ่อื ใชใ้ น การเผยแพร่และประชาสมั พันธ์

งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น ครงั้ ที่ 69 ปีการศึกษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ หนา้ ๑๓

10. รปู แบบการเขียนรายงานโครงงานคณติ ศาสตร์

(ปก)

โครงงานคณิตศาสตร์

เรือ่ ง........................................................................................................................ โดย

1............................................................................................................................ .............. 2.......................................................................................................................................... 3........................................................................................................ .................................. ครูทปี่ รึกษา 1............................................................................................................................ ............. 2.........................................................................................................................................

โรงเรียน........................................................... สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ..................................

รายงานฉบบั น้เี ปน็ สว่ นประกอบของโครงงานคณิตศาสตร์

ประเภทบูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกตใ์ ช้ ระดบั ………................

เนอื่ งในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครง้ั ท่ี ๖๗ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐

รายละเอยี ดในเล่มประกอบด้วย บทคัดย่อ กติ ตกิ รรมประกาศ สารบญั สารบญั ตาราง สารบญั รปู ภาพ บทท่ี 1 บทนา บทที่ 2 เอกสารท่ีเกีย่ วข้อง บทท่ี 3 วธิ กี ารดาเนินการ บทที่ 4 ผลการดาเนินการ บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก ไมเ่ กนิ 10 หนา้

งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน คร้งั ท่ี 69 ปกี ารศึกษา ๒๕62 กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ หนา้ ๑๔

หมายเหตุ 1. ขนาดของกระดาษเขียนรายงานใหใ้ ชก้ ระดาษพมิ พ์ ขนาด A4 ตวั อกั ษรไม่ตา่ กวา่ ๑๖ point

พมิ พห์ นา้ เดียว เฉพาะบทที่ 1 - 5 มีความยาวไม่เกิน ๒0 หน้า ภาคผนวกมคี วามยาวไมเ่ กนิ 10 หน้า รายงาน ฉบับใดทม่ี ีความยาวเกินกวา่ ที่กาหนดจะถูกตดั คะแนน

2. ทารายงานสง่ ใหค้ ณะกรรมการก่อนการแขง่ ขัน 2 สปั ดาห์ จานวนชดุ ตามทกี่ าหนดในการแขง่ ขัน ในแต่ละระดับ (สาหรับระดับชาติจะแจง้ ใหท้ ราบภายหลงั จากการแขง่ ขันระดับภาคเสรจ็ สิ้นไปแลว้ )

3. นักเรียนทเ่ี ป็นตวั แทนเขา้ ร่วมแขง่ ขนั ระดบั ชาติ ตอ้ งเป็นบุคคลคนเดียวกับผทู้ ่ีได้รับการคัดเลอื ก จากระดับภาค และ ระดับเขตพน้ื ที่การศึกษา

งานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น ครง้ั ท่ี 69 ปกี ารศึกษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ หนา้ ๑๕

(ตัวอย่าง) แบบประเมินโครงงานคณติ ศาสตร์ประเภทบูรณาการความร้ใู นคณติ ศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สังกัด สพป. …......................................................... สพม. …................................................. ชอื่ โครงงาน…............................................................................................................................. .................. โรงเรียน…....................................................................... จงั หวัด…...........................................................

ขอ้ ที่ รายการ คะแนนเตม็ คะแนนที่ได้

1. การกาหนดหัวข้อโครงงาน (5) - สอดคลอ้ งกับเร่ืองที่ศึกษา 1 - สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค/์ ปญั หาของโครงงาน 1 - สอดคลอ้ งกบั เนอื้ หาและระดบั ช้นั ของผทู้ ี่ทาโครงงาน 1 - มีความกะทดั รัด สอื่ ความหมายชัดเจน 1 - นา่ สนใจ กระต้นุ ความคิดต่อผู้อน่ื อยา่ งหลากหลาย 1 (10) 2. ความสาคญั และความเป็นมาของโครงงาน 1 - มาจากปัญหาและความสนใจของผู้เรียน 1 - เปน็ ปญั หาท่สี ะท้อน/เก่ียวข้องกับตวั เอง ชมุ ชนและสงั คมในวงกวา้ ง 1 - เป็นปัญหาท่สี ง่ ผลตอ่ /นาไปสกู่ ารทาโครงงานทม่ี ปี ระโยชน์ 1 - บอกความเปน็ มาหรือเหตผุ ลของการทาโครงงานไดช้ ัดเจน 1 - มเี หตผุ ลท่ีดเี พยี งพอทน่ี าไปสู่การทาโครงงาน 1 - แสดงใหเ้ หน็ ถึงประโยชน์ คณุ คา่ /ความสาคัญของโครงงานตอ่ สังคมในวงกวา้ ง 2 - ส่งเสริมให้ผู้เรียนไดใ้ ชค้ วามรู้ความคดิ และทักษะความสามารถทาง คณิตศาสตร์และศาสตรอ์ น่ื ๆ ในการทาโครงงาน 1 - มีการอ้างหลักการ แนวคิด หรอื ทฤษฎที ีเ่ ก่ียวข้องประกอบการทาโครงงาน 1 - มีองคป์ ระกอบถูกต้อง ครบถว้ น สอดคล้อง สมั พันธก์ นั (5) 1 3. วตั ถปุ ระสงค/์ สมมตฐิ าน/ตัวแปร (ถ้าม)ี 2 - เปน็ วัตถุประสงคข์ องการทาโครงงาน 1 - ระบุวตั ถปุ ระสงค์ได้ถูกต้อง ชัดเจน มคี วามเป็นไปได้จรงิ ในการดาเนินงาน - วตั ถปุ ระสงค์สามารถวัดและประเมินผลได้จรงิ ดว้ ยวธิ ีการ/เคร่ืองมอื ท่ีเป็น 1 รปู ธรรมเชอ่ื ถอื ได้ - สอดคล้องกบั ช่อื เรื่องและเนื้อหา (15) - สมมตฐิ าน (ถา้ มี) มคี วามถกู ตอ้ ง ชัดเจน สอดคล้องกบั ปัญหา ตวั แปรและ 2 วตั ถุประสงค์ - สมมตฐิ านนาไปส่กู ารออกแบบการวางแผนการศกึ ษาทดลองได้ชดั เจน

4. เนอ้ื หาสาระและเอกสารท่ีเกยี่ วข้อง - เนอ้ื หาถูกต้อง ครบถว้ นสมบรู ณ์ เหมาะสม สอดคล้องและครอบคลมุ ในเรือ่ งท่ีทา

งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน ครัง้ ที่ 69 ปีการศกึ ษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๑๖

ข้อที่ รายการ คะแนนเตม็ คะแนนที่ได้

- มีการเชอื่ มโยงความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ทีเ่ กี่ยวขอ้ งได้ 2 ครบถว้ น สมบูรณ์ - มกี ารจดั ระบบการนาเสนอเน้ือหาได้กระชบั ชดั เจน เข้าใจงา่ ยนาไปใช้ได้ 2 อยา่ งสะดวก เพยี งพอ มปี ระสิทธิภาพ - เนื้อหาสาระสามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นการพฒั นาต่อยอด และกระต้นุ ให้ 2 แนวทางนาไปสู่การทาโครงงานและใชป้ ระโยชนใ์ นวงกวา้ ง - มเี ทคนคิ วธิ ีในการนาเสนอเนอื้ หาอยา่ งรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ 1 - มีการอา้ งองิ หลกั การ แนวคิด และทฤษฎที ี่ถูกตอ้ ง ชัดเจน และเช่อื ถือได้ 2 - เนือ้ หาสาระมาจากแหลง่ ข้อมลู ที่หลากหลาย 2 - เอกสารอ้างองิ ท่เี กยี่ วข้องทันสมยั นา่ เชื่อถือ 2 5. วิธีดาเนนิ งาน/แนวคิด และผลทไี่ ดร้ บั (15) - มแี นวคิดและวธิ ีการดาเนนิ งาน 2 - มลี าดบั ขัน้ ตอนในการดาเนินงานชดั เจน 2 - มีเครื่องมือและการพัฒนาเคร่ืองมือ (ตรวจสอบคุณภาพ) ถูกต้องตามหลัก 2 วิชาการ - มีการเก็บรวบรวมข้อมลู และวิเคราะห์ขอ้ มลู ถกู ตอ้ ง 3 - การนาเสนอข้อมูลถูกต้อง กะทัดรดั ชัดเจน 2 - ผลการทาโครงงานบรรลุวัตถุประสงค์ทีต่ ้ังไว้ 2 - มีการอภปิ รายผลการศึกษาอย่างครอบคลมุ สมเหตสุ มผล 2 6. การจัดแสดงโครงงานเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน (5) - ขนาดแผงโครงงานเป็นไปตามมาตรฐานท่ีกาหนด 1 - การจดั วางเหมาะสม สร้างสรรค์ สวยงาม ประหยดั น่าสนใจ 1 - เนือ้ หาสาระครบถ้วนสมบูรณ์ 1 - การเรียงลาดับ ประเด็นหวั ข้อ และเน้ือหาสาระถกู ต้องเป็นระบบ เขา้ ใจง่าย 1 - มีชน้ิ งาน/สิง่ ประดิษฐ์/รอ่ งรอยของการดาเนนิ งาน นาเสนอไดเ้ หมาะสม 1 สอดคล้องกบั โครงงานทที่ า 7. การนาเสนอปากเปลา่ (10 นาท)ี (10) - มีการแนะนาตนเอง ดว้ ยมารยาททดี่ ี มีความย้มิ แย้มแจ่มใส 1 - พดู จาถกู ต้องตามหลกั ภาษาไทย กระชับ ชัดเจน เขา้ ใจงา่ ย เปน็ ธรรมชาติ 2 - มีความเชือ่ มน่ั ในตนเอง กล้าพดู กล้าแสดงออก 1 - มีการนาเสนอถูกต้อง ครบถ้วน ครอบคลมุ ประเด็นสาคญั ของโครงงาน 2 - มีการจัดระบบขัน้ ตอนการนาเสนอได้กระชบั ชัดเจน เป็นระบบเข้าใจงา่ ย 1 - การมีส่วนร่วมของสมาชิกในการนาเสนอ 1 - มวี ธิ กี ารนาเสนอท่ีน่าสนใจ มีความคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ 1 - นาเสนอไดเ้ หมาะสมกบั เวลาทก่ี าหนด 1

งานศิลปหตั ถกรรมนักเรยี น ครัง้ ที่ 69 ปีการศึกษา ๒๕62 กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ หน้า ๑๗

ข้อท่ี รายการ คะแนนเตม็ คะแนนที่ได้

8. การตอบขอ้ ซักถาม (เน้นการซกั ถามการนาความร้แู ละผลการดาเนนิ งาน/ (10) ผลงาน และความรทู้ างคณิตศาสตร์ และการเชอ่ื มโยงบูรณาการไป ประยกุ ตใ์ ช้) 1 - มีความเช่อื ม่ันในการตอบ 1 - ตอบคาถามได้ถูกต้อง ตรงประเดน็ คลอ่ งแคลว่ และชัดเจน 1 - ใช้ภาษาถูกต้องเขา้ ใจง่าย 1 - มีการใช้ข้อมลู จรงิ จากการศึกษา 1 - ใช้ภาษาคาศพั ท์เทคนคิ ได้ถูกตอ้ ง 1 - การมีสว่ นร่วมของสมาชิกภายในกล่มุ 2 - มีปฏภิ าณไหวพริบและสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ 2 - มกี ารใช้ความรูจ้ ากการศึกษาประกอบการอธบิ าย (5) 1 9. การเขยี นรายงานโครงงานถูกตอ้ งตามรูปแบบ 2 - องคป์ ระกอบครบถว้ นตามประเภทของโครงงานและเรยี งลาดับถูกต้อง 1 - นาเสนอสาระในแต่ละหัวขอ้ ถูกต้อง ชัดเจน กระชบั รัดกุม 1 - การใชภ้ าษาถูกต้องชดั เจน (10) - จานวนหน้าท้งั เนื้อหา ภาคผนวก และขนาดตวั อกั ษรเป็นไปตามเกณฑท์ ี่กาหนด 2 2 10. การนาไปใชป้ ระโยชน์ 2 - นาไปใชไ้ ด้จริง 2 - นาไปพัฒนาต่อยอดได้อยา่ งหลากหลาย 2 - เปน็ ประโยชน์ต่อตนเอง ชุมชน และสงั คมโลกในวงกว้าง (10) - มคี วามค้มุ ค่าต่อการลงทุน 1 - นาไปประยกุ ต์ใช้/ทาใช้เองได้ดว้ ยวสั ดุอุปกรณ์ทีห่ าไดง้ า่ ย 1 1 11. ความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์ 1 - มคี วามแปลกใหมร่ ิเริม่ สร้างสรรคข์ องปัญหาหรือความเป็นมา 1 - มีความแปลกใหม่ริเรม่ิ สรา้ งสรรคข์ องแนวคดิ วิธีการ 1 - มีความแปลกใหม่ในการนาเสนอ 1 - มีความแปลกใหม่ของผลงาน 1 - มคี วามแปลกใหมข่ องการนาไปใช้ 1 - สามารถนาไปพฒั นาต่อยอดเป็นนวตั กรรม 1 - มคี วามแปลกใหม่ หลากหลาย ยืดหยุน่ 100 - มีความละเอยี ดปราณตี คานึงถงึ สว่ นตา่ ง ๆ อย่างรอบด้าน ครอบคลมุ - เป็นเรือ่ งทันสมยั - สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การศึกษา คะแนนรวม

งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครงั้ ที่ 69 ปีการศกึ ษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๑๘

ขอ้ คิดเหน็ เพ่ิมเติม …...................................................................................................... ..................................................................... .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................ ................................... .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............... …........................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .... …............................................................................................................................. .............................................. .............................................................................................................................................................................. …......................................................... ...................................................................................................... ............ .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... ................................................... ...................................................................................................... ..................... …............................................................................................................................. .............................................. .............................................................................................................................................................................. ….............................................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ….................................................................................................................. ......................................................... .............................................................................................................................................................................. …............................................................................................................................. .............................................. ..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ …............................................. กรรมการ (….....................................)

งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น ครง้ั ที่ 69 ปีการศึกษา ๒๕62 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๑๙

4. การแขง่ ขนั สร้างสรรค์ผลงานคณิตศาสตรโ์ ดยใชโ้ ปรแกรม GSP

1. ระดับและคณุ สมบตั ิผูเ้ ขา้ แขง่ ขนั

การแข่งขนั แบง่ เปน็ 3 ระดบั ดงั นี้

1.1 ระดบั ประถมศึกษา

ผู้เขา้ แขง่ ขนั ต้องเป็นนักเรยี นในช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 – 6 เทา่ นัน้

1.2 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ผูเ้ ข้าแข่งขนั ตอ้ งเป็นนกั เรียนในชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 - 3 เท่าน้ัน

1.3 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ผูเ้ ขา้ แข่งขนั ตอ้ งเปน็ นักเรียนในชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 - 6 เทา่ น้ัน

2. ประเภทและจานวนผเู้ ข้าแข่งขนั

2.1 ประเภททีม

2.2 จานวนผเู้ ข้าแขง่ ขนั ทีมละ 2 คน

3. วิธดี าเนินการแข่งขนั และรายละเอยี ดหลกั เกณฑ์การแข่งขนั

3.1 ส่งรายช่ือนักเรียนผเู้ ขา้ แข่งขนั ระดับละ 1 ทีม พร้อมชื่อครูผู้ฝกึ สอน 2 คน ตามแบบฟอร์ม

ทีก่ าหนด

3.2 กาหนดโจทยก์ ารแข่งขัน จานวน 5 ขอ้ ข้อละ 20 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 100 คะแนน

3.3 เวลาท่ีใชใ้ นการแขง่ ขัน 2 ชว่ั โมง 30 นาที

4. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน คะแนนเตม็ 100 คะแนน กาหนดรายละเอยี ด ดงั น้ี

4.1 โจทยก์ ารแก้ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม GSP จานวน 4 ขอ้ ขอ้ ละ 20 คะแนน

รวม 80 คะแนน ซง่ึ แตล่ ะข้อใชเ้ กณฑ์การใหค้ ะแนน ดังน้ี

4.1.1 ความสมบรู ณ์และถูกต้องของรูปหรอื แบบจาลองทางคณติ ศาสตร์ 10 คะแนน

4.1.2 ความคดิ และความสมเหตสุ มผลของคาตอบและกระบวนการแกป้ ัญหา 10 คะแนน

4.2 โจทย์การสรา้ งสรรคผ์ ลงานคณิตศาสตรโ์ ดยใชโ้ ปรแกรม GSP จานวน 1 ขอ้ 20 คะแนน

4.2.1 ความเป็นพลวตั ความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์ความสวยงาม และความเหมาะสม

10 คะแนน

4.2.2 ผลงานสื่อความหมายไดส้ อดคลอ้ งและเชื่อมโยงกันอย่างตอ่ เน่ือง 5 คะแนน

4.2.3 การพูดนาเสนอถูกตอ้ ง ชดั เจน และใชเ้ วลาไมเ่ กนิ 5 นาที 5 คะแนน

(หากเกินเวลาให้คณะกรรมการพจิ ารณาตัดคะแนน)

5. เกณฑก์ ารตดั สนิ

รอ้ ยละ 80 - 100 ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรยี ญทอง

ร้อยละ 70 – 79 ได้รบั รางวลั ระดับเหรียญเงิน

ร้อยละ 60– 69 ไดร้ บั รางวัลระดับเหรยี ญทองแดง

ตา่ กวา่ รอ้ ยละ 60 ได้รับเกียรติบัตร เวน้ แตก่ รรมการจะเหน็ เป็นอย่างอืน่

ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการถือเปน็ สิ้นสุด

งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน ครั้งท่ี 69 ปีการศกึ ษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๒๐

6. คณะกรรมการ การแข่งขัน ระดับละ 5 – 10 คน คุณสมบัติของคณะกรรมการ - เปน็ ศกึ ษานิเทศก์ที่รบั ผดิ ชอบกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ - เป็นครผู สู้ อนกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ที่มคี วามเชย่ี วชาญโปรแกรม GSP - เป็นผ้ทู รงคณุ วุฒิในดา้ นคณิตศาสตร์ ขอ้ ควรคานึง - กรรมการตอ้ งไม่ตัดสินในกรณสี ถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน - กรรมการที่มาจากครผู ู้สอนควรแต่งตั้งใหต้ ดั สินในระดับท่ีทาการสอน - กรรมการควรอยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานอนื่ อยา่ งหลากหลาย - กรรมการควรใหข้ ้อเสนอแนะเติมเต็มใหก้ ับนักเรยี นที่ชนะในลาดบั ท่ี 1- 3

7. สถานทีแ่ ข่งขนั หอ้ งคอมพิวเตอร์และโปรแกรม GSP ท่ีสามารถดาเนนิ การแข่งขนั ได้พรอ้ มกัน

8. การเข้าแขง่ ขนั ระดับภาค และระดบั ชาติ ๘.1 ให้ทีมทีเ่ ปน็ ตัวแทนของของเขตพืน้ ที่การศึกษาเขา้ แขง่ ขนั ในระดบั ภาค ทกุ กิจกรรมตอ้ งได้คะแนน

ระดับเหรียญทอง ลาดับที่ ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป) และทีมท่ีเป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันใน ระดับชาติ จะตอ้ งได้คะแนนระดับเหรียญทอง ลาดบั ท่ี ๑ - ๓ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป )

๘.๒ ในกรณีแข่งขันระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาที่มีทีมชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากัน และในระดับภาค มี มากกว่า ๓ ทีม ให้พิจารณาลาดับท่ีตามลาดบั ข้อของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น มีทีมที่ได้คะแนนข้อที่ ๑ เท่ากันให้ดูข้อ ที่ ๒ ทีมท่ีได้คะแนนข้อท่ี ๒ มากกว่าถือเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าข้อที่ ๒ เท่ากัน ให้ดูในข้อถัดไป กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อให้ ประธานกรรมการตดั สินเป็นผูช้ ข้ี าดจับฉลาก ขอ้ เสนอแนะในการตอ่ ยอดในระดับชาติ ควรตอ่ ยอดโดยการจัดคา่ ยพัฒนาทกั ษะคณิตศาสตร์และโปรแกรม GSP หมายเหตุ นกั เรียนที่เปน็ ตัวแทนเข้าร่วมแข่งขนั ระดับชาติ ต้องเป็นบุคคลคนเดยี วกับผู้ทไี่ ด้รับการคดั เลือก จากระดบั ภาคและระดับเขตพืน้ ที่ 9.การเผยแพร่ผลงานทไี่ ดร้ บั รางวลั

ผลงานของนักเรียนที่ได้รับคะแนนสูงสุดอันดับท่ี 1 - 3 คณะกรรมการพิจารณาและนาไปเผยแพร่ใน เว็บไซต์ต่อไปซง่ึ ผลงานของผู้แขง่ ขนั ถือเปน็ ลิขสทิ ธิ์ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน เพื่อใช้ใน การเผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์

งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียน ครงั้ ที่ 69 ปีการศกึ ษา ๒๕62 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๒๑

5. การแขง่ ขันคดิ เลขเรว็

1. ระดับและคณุ สมบัติผเู้ ขา้ แขง่ ขัน การแขง่ ขันแบ่งเปน็ 4 ระดบั ดังน้ี 1.1 ระดับประถมศกึ ษาตอนต้น ผู้เข้าแข่งขนั ตอ้ งเปน็ นกั เรียนในชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 – 3 เท่านน้ั 1.2 ระดับประถมศึกษาตอนปลาย ผเู้ ข้าแข่งขันตอ้ งเป็นนักเรยี นในช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 – 6 เทา่ นัน้ 1.3 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ผู้เขา้ แขง่ ขนั ต้องเป็นนกั เรียนในชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 – 3 เทา่ น้ัน 1.4 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ผ้เู ข้าแขง่ ขนั ต้องเปน็ นักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 เทา่ น้ัน

2. ประเภทและจานวนผู้เขา้ แข่งขนั 2.1 ประเภทเดี่ยว 2.2 จานวนผู้เข้าแข่งขนั ระดับละ 1 คน

3. วธิ ดี าเนนิ การและหลักเกณฑ์การแข่งขนั 3.1 การสง่ รายช่ือนกั เรียนผู้เข้าแขง่ ขนั ส่งรายชือ่ นักเรยี นผ้เู ขา้ แขง่ ขัน พรอ้ มชื่อครผู ฝู้ กึ สอนระดบั ละ 1 คน ตามแบบฟอร์มที่กาหนด 3.2 การจดั การแขง่ ขนั การแข่งขนั ทุกระดับมีการแข่งขัน 2 รอบ ดังนี้ รอบที่ 1 จานวน 30 ขอ้ ใชเ้ วลาข้อละ 30 วินาที โดยสุ่มเลขโดดเปน็ โจทย์ 4 ตัวเลข ผลลพั ธ์

2 หลกั รอบที่ 2 จานวน 20 ขอ้ ใช้เวลาข้อละ 30 วนิ าที โดยสุ่มเลขโดดเปน็ โจทย์ 5 ตัวเลข ผลลพั ธ์

3 หลัก เมอื่ เสรจ็ ส้นิ การแขง่ ขนั รอบที่ 1 ใหพ้ กั 10 นาที หมายเหตุ ให้คณะกรรมการพิจารณาเกณฑข์ ้อที่ 5 ประกอบการดาเนนิ การ 3.3 วธิ ีการแข่งขัน 3.3.1 ช้ีแจงระเบียบการแขง่ ขนั ให้นักเรยี นผเู้ ข้าแข่งขันและครูผู้ฝึกสอนเข้าใจตรงกันกอ่ นเร่ิม

การแข่งขนั 3.3.2 ใชโ้ ปรแกรม GSP ตามทส่ี ่วนกลางกาหนดไวใ้ ห้เทา่ นัน้ เพ่ือใหน้ กั เรียนทีเ่ ขา้ แขง่ ขันเตรียม

ความพร้อมในการแขง่ ขันระดับชาติ หา้ มนาไปปรับเปล่ียน จะมไี ฟล์แนบให้ทัง้ ระดับประถมศึกษาและ มัธยมศกึ ษา

3.3.3 ใชก้ ระดาษคาตอบ ขนาด 1 ของกระดาษ A4 ดงั ตัวอยา่ ง ในการแข่งขนั ทุกระดับ

4

งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น ครงั้ ท่ี 69 ปกี ารศกึ ษา ๒๕62 กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ หน้า ๒๒

ช่ือ-สกลุ ..................................................โรงเรยี น................................................เลขที่ ............... ข้อ ........

วิธีการและคาตอบ พนื้ ท่ีสาหรับทดเลข

3.3.4 แจกกระดาษคาตอบตามจานวนข้อในการแข่งขนั แตล่ ะรอบ 3.3.5 ให้นักเรียนเขียนชื่อ – สกุล โรงเรียน เลขที่นงั่ และหมายเลขขอ้ ให้เรียบร้อยก่อนเริ่ม การแขง่ ขนั ในแตล่ ะรอบ และห้ามเขยี นข้อความอ่ืน ๆ จากทกี่ าหนด 3.3.6 เรม่ิ การแข่งขันโดยสุม่ เลขโดดจากโปรแกรม GSP ทท่ี างส่วนกลางจัดไว้ให้ เป็นโจทยแ์ ละ ผลลพั ธ์ ซ่ึงเลขโดดในโจทย์ท่ีสุ่มไดต้ ้องไม่ซา้ เกินกว่า 2 ตัว หรอื ถ้าส่มุ ไดเ้ ลข 0 ตอ้ งมเี พียงตวั เดียวเท่าน้นั เช่น

สุม่ เลขโดดเป็นโจทย์ 4 ตวั สุ่มได้เป็น 6616 มี 6 ซา้ เกินกวา่ 2 ตัว ตอ้ งสุ่มใหม่ หรือ ส่มุ ได้เปน็ 0054 มี 0 ซา้ เกนิ 1 ตวั ตอ้ งสมุ่ ใหม่

ส่มุ เลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตวั สุ่มไดเ้ ปน็ 43445 มี 4 ซา้ เกนิ กว่า 2 ตวั ตอ้ งสุ่มใหม่ หรือ สุม่ ได้เป็น 20703 มี 0 ซา้ เกนิ 1 ตวั ต้องสุม่ ใหม่

ชี้แจงเพิม่ เติมในคู่มือ 3.3.7 เมือ่ หมดเวลาในแต่ละข้อให้กรรมการเกบ็ กระดาษคาตอบ และดาเนนิ การแขง่ ขัน

ตอ่ เน่ืองจนครบทุกข้อ (ไมม่ ีการหยดุ พักในแต่ละขอ้ เพื่อตรวจให้คะแนน/ไมม่ ีการเฉลยทีละขอ้ ใหน้ ักเรียนผู้เข้า แข่งขนั รบั ทราบก่อนเสรจ็ ส้นิ การแขง่ ขัน)

3.4 หลกั เกณฑก์ ารแข่งขัน 3.4.1 การแข่งขันระดับประถมศึกษาตอนต้น (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3) ใช้การดาเนินการ

ทางคณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร หรือยกกาลังเท่าน้ัน เพ่ือหาผลลัพธ์ และให้เขียนแสดงวิธีคิดทีละขั้นตอน หรือเขยี นแสดงความสัมพันธข์ องวธิ ีการและคาตอบในรปู ของสมการก็ได้ เช่น

สุ่มเลขโดดเปน็ โจทย์ 4 ตัวเลข ผลลัพธ์ 2 หลัก

ตวั อยา่ งที่ 1 โจทย์ทส่ี ุ่ม ผลลพั ธ์

4957 88

วิธคี ดิ 9  7 = 63 5 × 4 = 20

63 + 20 = 83

หรอื นักเรียน เขียน (9  7) + (5 × 4) = 63 + 20 = 83 กไ็ ด้

ได้คำตอบ 83 ซ่ึงไม่ตรงกับผลลัพธท์ ส่ี มุ่ ได้ ในกรณนี ี้ถ้ำไมม่ ีนักเรยี นคนใดไดค้ ำตอบที่ตรงกบั ผลลัพธท์ สี่ ่มุ ได้

ถ้ำ 83 เปน็ คำตอบท่ใี กล้เคียงท่สี ุด จะได้คะแนน

ตวั อยา่ งท่ี 2 โจทย์ทส่ี ่มุ ผลลัพธ์ 2123 99

วธิ คี ดิ (32 + 1)2 = (9 + 1)2 = 100

ไดค้ ำตอบ 100 ซงึ่ ไม่ตรงกับผลลัพธ์ที่สมุ่ ได้ ในกรณีนีถ้ ้ำไม่มนี ักเรียนคนใดได้คำตอบทต่ี รงกบั ผลลัพธท์ ่ีสุ่มได้

ถำ้ 100 เป็นคำตอบทีใ่ กล้เคียงทีส่ ดุ จะได้คะแนน

งานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น ครั้งท่ี 69 ปกี ารศึกษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ หนา้ ๒๓

ตวั อยา่ งที่ 3 โจทยท์ สี่ มุ่ ผลลพั ธ์ 4836 13

วธิ ีคิด (8 + 6) - (4 - 3) = 13

ไดค้ ำตอบตรงกบั ผลลัพธ์ทีส่ ุ่มได้พอดี จะไดค้ ะแนน

สมุ่ เลขโดดเปน็ โจทย์ 5 ตัวเลข ผลลัพธ์ 3 หลกั

ตวั อยา่ ง โจทย์ท่สี ุ่ม ผลลัพธ์ 719 19732

วิธคี ดิ 93 – (7 + 2) - 1 = 719

ไดค้ ำตอบตรงกับผลลัพธ์ที่สมุ่ ไดพ้ อดี จะได้คะแนน

3.4.2 การแข่งขันระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย (ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 – 6) ใช้การดาเนนิ การ ทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ บวก ลบ คูณ หาร ยกกาลัง หรือถอดรากอันดับที่ n ท่ีเป็นจานวนเต็มบวกเท่าน้ัน เพ่ือ หาผลลัพธ์ ในการถอดรากต้องใส่อันดับที่ของรากจากตัวเลขท่ีสุ่มจากโจทย์ ยกเว้นรากอันดับที่สอง ในการ ถอดรากอันดับท่ี n อนุญาตให้ใช้เพียงช้ันเดียว และไม่อนุญาตให้ใช้รากอนันต์ และให้เขียนแสดงวิธีคิดทีละ ขัน้ ตอน หรือเขียนแสดงความสัมพนั ธข์ องวธิ กี ารและคาตอบในรูปของสมการกไ็ ด้ เช่น

สุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 4 ตัวเลข ผลลพั ธ์ 2 หลัก

ตวั อย่างท่ี 1 โจทย์ท่สี ุ่ม ผลลพั ธ์ 88 4957

วิธคี ดิ 9  7 = 63

4 =2 52 = 25

63 + 25 = 88

หรือ นักเรียน เขยี น (9  7) + 5 4 = 63 + 25 = 88 กไ็ ด้

สมุ่ เลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตวั เลข ผลลัพธ์ 3 หลัก

ตวั อย่างท่ี 2 โจทย์ที่สุ่ม ผลลัพธ์ 28439 757

วิธคี ดิ ( 4 )8  3 - (9 + 2) = 768 – 11 = 757

ตัวอยา่ งที่ 3 โจทยท์ ่สี ุ่ม ผลลพั ธ์ 22453 182

วธิ คี ิด  (3 2) 4 × 5 + 2 = 182

งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน คร้งั ที่ 69 ปกี ารศกึ ษา ๒๕62 กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ หน้า ๒๔

3.4.3 การแข่งขันระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6) ใช้การดาเนินการทางคณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร ยกกาลัง ถอดรากอันดับที่ n ทเี่ ปน็ จานวนเต็มบวก เพอื่ หาผลลัพธ์ สามารถใชแ้ ฟคทอเรียลและซิกมาได้ โดยมีข้อตกลงดังน้ี ในการถอดราก อันดับที่ n จะถอดกี่ชั้นก็ได้ ถ้าไม่ใช่รากอันดับที่สองต้องใส่อันดับท่ีของรากจากตัวเลขที่สุ่มมาเท่าน้ัน และ ไม่อนุญาตให้ใช้รากอนนั ต์ การใชแ้ ฟคทอเรียลจะใช้ ! กคี่ รง้ั กไ็ ด้ แตต่ อ้ งใสว่ งเล็บให้ชัดเจนทุกครั้ง เช่น

(3!)! = (6)! = 720

หากมีการใช้ซิกมาต้องเขียนให้ถูกต้องตามหลักคณิตศาสตร์ โดยอนุญาตให้ใช้ i ท่ีปรากฏหลัง  ได้ไม่เกิน 2 ตัว เพราะไม่ต้องการให้มีการปรับรูปแบบการใช้ซิกมาหรือค่าท่ีเกิดจากการประยุกต์ มาประกอบกับ i เกิน ความจาเป็น และตัวเลขท่ีปรากฏอยู่กับ  ต้องเป็นตัวเลขที่ได้จากโจทย์ที่สุ่มเท่าน้ัน และผลรวมต้องเป็น จานวนเตม็ บวก เช่น

  1. 5 55 = 2 × 15 = 30

(i + i) =  2i =2i i=1 i=1 iª 1

(ต้องมีตัวเลข 1 และ 5 ในโจทย์ท่สี มุ่ )

\= 555 5

(ixi) = i 2 =12 + 22 + 32 + 42 + 52  2) i=1 i=1

(ต้องมีตัวเลข 1 และ 5 ในโจทย์ทส่ี ุ่ม)

5

i

  1.  i=1 15 i = i = 1 + 2 + 3 + ... + 15 = 120 i =1 i =1

(ต้องมีตวั เลข 1 , 1 และ 5 ในโจทย์ที่สมุ่ )

n n i! สำมำรถใช้  n และ ii i i! i =1 i=1 i i =1

กำรเขียนแสดงวิธคี ดิ ใหเ้ ขียนแสดงควำมสัมพันธข์ องวิธกี ำรและคำตอบในรปู ของสมกำรเทำ่ นัน้ เชน่

สุ่มเลขโดดเปน็ โจทย์ 4 ตัวเลข ผลลพั ธ์ 2 หลัก

ตัวอยา่ งที่ 1 โจทย์ทส่ี ุ่ม ผลลพั ธ์ 27 0582

วธิ คี ิด 58 + 2 + 0 = 27 หรือ ( 58 + 2) + 0 = 27

ตัวอยา่ งท่ี 2 โจทยท์ สี่ มุ่ ผลลพั ธ์ 4837 69

 ( )วิธคี ดิ 7 + 4 8 − 3 = 69

งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น คร้ังที่ 69 ปีการศกึ ษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ หนา้ ๒๕

สุ่มเลขโดดเปน็ โจทย์ 5 ตวั เลข ผลลพั ธ์ 3 หลัก

ตัวอยา่ งท่ี 1 โจทยท์ ่ีสมุ่ ผลลพั ธ์ 834 18374

วิธคี ดิ 7! ÷ (8 - 4 ) - (3! × 1) = (5,040 ÷ 6) - 6 = 834

ตวั อย่างที่ 2 โจทย์ที่สุ่ม ผลลัพธ์ 326 58376

วิธคี ิด (8!/5!) - (7 + 6 - 3) = 326

หรอื (6  3)8 + 7 − 5 = 326

ตวั อย่างที่ 3 โจทย์ทสี่ ุ่ม ผลลพั ธ์ 85842 242

วิธีคดิ (5! × 2) + 4 + (8 - 8) = 242

หรือ (5! × 2) + 4 × ( 8 ) = 242 8

หรอื 28 – (8 + (5 - 4 )!) = 242

3.4.4 ขอ้ พงึ ระวังในการแข่งขัน

  1. การคดิ คานวณหาคาตอบต้องใชเ้ ลขโดดท่ีสุ่มเปน็ โจทยใ์ หค้ รบทุกตวั และใชไ้ ด้ตวั ละ 1 ครง้ั เท่าน้นั
  2. การใชเ้ ครื่องหมาย + , − ,  ,  ควรเขยี นใหช้ ัดเจน

2.1) กำรเขยี นเคร่ืองหมำยบวก ใหเ้ ขียน +

ห้ำมเขียน

2.2) กำรเขียนเครอ่ื งหมำยคูณ ให้เขียน 2  3 หรอื (2)(3) หรือ 2•3

ห้ำมเขยี น 23 2 3 2 3 2 3 2 3

2.3) กำรเขียนเครอื่ งหมำยหำร ให้เขียน 8  2 หรอื 8 หรอื 8/2 2

ห้ำมเขยี น 82 หรือ 8 2

  1. กรณีท่มี กี ำรใช้วงเลบ็ ให้เขยี นวงเล็บใหช้ ัดเจน จะใช้ ( ) หรือ   หรือ   กช่ี นั้ กไ็ ด้

ห้ำมเขียน  

  1. กำรเขียนเลขยกกำลัง ควรเขยี นใหช้ ดั เจน เช่น

( ) (23 4 = 84 หรือ 2 34 ) = 281

กรณที ไ่ี ม่ใส่วงเลบ็ จะคิดตำมหลักคณติ ศำสตร์ เช่น 234 = 2(34) = 281

  1. กำรเขียนเครือ่ งหมำยอันดบั ทขี่ องรำก ควรเขยี นใหช้ ดั เจน เชน่

9 8 = 2 , 1+2 8 = 2 , 4 9 = 3

  1. กำรใช้  ตอ้ งเขยี นตัวเลขกำกับไว้ตำมหลกั กำรทำงคณติ ศำสตร์ เชน่

งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น ครั้งท่ี 69 ปีการศึกษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ หน้า ๒๖

7 = 1+ 2 + 3 + 4 +5+6 +7 = 28 i=1i

ห้ำมเขียน 7 = 1+ 2 + 3 + 4 + 5 + 6 + 7 = 28

4. เกณฑก์ ารให้คะแนน 4.1 ผู้ท่ีได้คาตอบเทา่ กับผลลัพธ์ทกี่ าหนด และวิธีการถูกต้อง ได้คะแนนข้อละ 2 คะแนน 4.2 ถ้าไม่มีผู้ใดไดค้ าตอบเทา่ กบั ผลลพั ธท์ ่ีสุ่มได้ ผู้ท่ีได้คาตอบใกลเ้ คยี งกบั ผลลัพธ์มากที่สดุ และ

วิธกี ารถกู ต้อง เป็นผูไ้ ด้คะแนน ไม่วา่ ผลลพั ธท์ ตี่ อ้ งการจะเปน็ กี่หลกั กต็ าม (ผลลัพธ์ที่ได้ต้องเปน็ จานวนเตม็ เท่านนั้ ) เช่น ต้องการผลลพั ธ์ 99 มผี ูไ้ ดค้ าตอบ 100 และ 98 ซง่ึ วิธีการถูกต้องทง้ั 2 คาตอบ ได้คะแนนท้งั คู่

5. เกณฑ์การตดั สนิ คณะกรรมการนาคะแนนรวมของรอบที่ 1 และรอบท่ี 2 มาคดิ เทียบกบั เกณฑ์การตัดสินดังน้ี รอ้ ยละ 80 - 100 ไดร้ บั เกียรติบตั รระดับเหรียญทอง ร้อยละ 70 – 79 ไดร้ ับเกียรติบัตรระดบั เหรียญเงนิ ร้อยละ 60 – 69 ไดร้ บั เกียรตบิ ตั รระดบั เหรียญทองแดง ต่ากว่าร้อยละ 60 ไดร้ บั เกียรตบิ ัตร เวน้ แตก่ รรมการจะเห็นเป็นอย่างอ่ืน ผลการตดั สินของคณะกรรมการถอื เปน็ สิ้นสุด

6. คณะกรรมการการแขง่ ขัน 6.1 ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ และตอนปลาย (ป.1 – 3 และ ป.4 – 6) คณะกรรมการการแขง่ ขัน

จานวน 12 - 15 คน 6.2 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ม.1 – 3 และ ม.4 – 6) คณะกรรมการการแข่งขนั

จานวน 12 - 18 คน คณุ สมบัติของคณะกรรมการ - เปน็ ศกึ ษานเิ ทศก์ทร่ี ับผดิ ชอบกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ - เปน็ ครผู ู้สอนที่มีความเชีย่ วชาญการสอนคณิตศาสตร์หรือการใช้โปรแกรม GSP - ผทู้ รงคุณวฒุ ใิ นดา้ นคณิตศาสตร์ - กรรมการตอ้ งไม่ตดั สนิ ในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน - กรรมการควรมาจากสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาหรอื หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้องอย่าง

หลากหลาย ข้อควรคานึง - กรรมการควรใหข้ ้อเสนอแนะเตมิ เต็มใหก้ ับนักเรียนที่ชนะในลาดับที่ 1 – 3 - ถ้าจะมีการเฉลยคาตอบในแตล่ ะข้อให้เฉลยหลังจากการแข่งขนั เสร็จสนิ้ เรยี บร้อยแลว้

เทา่ น้นั

7. สถานทที่ าการแข่งขัน 7.1 หอ้ งท่ีสามารถใช้คอมพวิ เตอร์พร้อมโปรแกรม GSP ในการดาเนินการแข่งขันได้ 7.2 การแขง่ ขันในแตล่ ะระดับให้ใช้ห้องแข่งขันห้องเดยี วเทา่ น้ัน

งานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น ครงั้ ที่ 69 ปีการศึกษา ๒๕62 กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ หน้า ๒๗

8. การเข้าแข่งขนั ระดับภาคและระดับชาติ 8.1 ให้ทีมท่เี ป็นตวั แทนของของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเข้าแขง่ ขันในระดับภาค ทุกกิจกรรมตอ้ งได้คะแนน

ระดับเหรียญทอง ลาดับที่ ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป) และทีมที่เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันใน ระดับชาติ จะต้องไดค้ ะแนนระดับเหรยี ญทอง ลาดบั ท่ี ๑ - ๓ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป )

๘.๒ ในกรณแี ขง่ ขันระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทม่ี ที ีมชนะลาดบั สงู สุดได้คะแนนเทา่ กนั และในระดบั ภาค มี มากกว่า ๓ ทีม ให้พิจารณาคะแนนท่นี กั เรียนแต่ละคนได้ในการแข่งขนั รอบท่ี 2 นักเรียนคนใดได้คะแนน มากกวา่ ใหเ้ ป็นผู้ชนะตามลาดับท่ตี อ้ งการ ถา้ ยังเทา่ กันอีกให้ดาเนินการดงั นี้

ระดบั ชาติ ใหจ้ ดั แข่งขนั ใหม่จานวน 5 ขอ้ โดยสุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตัวเลข ผลลัพธ์ 3 หลัก เวลาข้อละ 20 วินาที หากนกั เรียนคนใดได้คะแนนมากกว่าเปน็ ผ้ชู นะ ถ้าคะแนนยงั เท่ากันอีกจะ ดาเนนิ การแขง่ ขันข้อต่อข้อจนกวา่ จะไดผ้ ชู้ นะ

ระดบั เขตพื้นทก่ี ารศึกษาและระดบั ภาค ให้เลอื กดาเนินการอย่างใดอย่างหน่ึงต่อไปนี้ 1. ใหจ้ ัดแขง่ ขันใหม่จานวน 5 ข้อ โดยส่มุ เลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตัวเลข ผลลพั ธ์ 3 หลกั ใช้

เวลาขอ้ ละ 20 วินาที หากนักเรียนคนใดไดค้ ะแนนมากกว่าเปน็ ผ้ชู นะ ถ้าคะแนนยัง เทา่ กนั อีกจะดาเนนิ การแข่งขันข้อต่อข้อจนกวา่ จะไดผ้ ชู้ นะ หรือ

2. ให้ดาเนินการแข่งขนั รอบท่ี 3 ต่อจาก รอบท่ี 2 จานวน 10 ขอ้ ไว้ก่อน โดยสุม่ เลขโดด เป็นโจทย์ 5 ตวั เลข ผลลพั ธ์ 3 หลกั ใช้เวลาข้อละ 20 วินาที โดยจะตรวจให้คะแนน เพื่อตัดสินแบบข้อต่อข้อเฉพาะนักเรียนที่ไดค้ ะแนนเทา่ กันในรอบท่ี 2 ถ้ายงั หาผู้ชนะ ไมไ่ ด้ให้ใช้วิธจี บั สลาก (ใหน้ ักเรยี น ครู หรอื ตัวแทนท่ีไดร้ ับมอบหมายมาจบั สลาก)

ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการถือเป็นสิน้ สดุ

หมายเหตุ 1. ไมอ่ นุญาตใหน้ าเครือ่ งคิดเลขหรอื อุปกรณช์ ่วยในการคานวณอื่นๆ เข้าไปในห้องแขง่ ขนั 2. นกั เรียนท่เี ป็นตวั แทนเขา้ ร่วมแข่งขนั ระดับชาติ ต้องเปน็ บุคคลคนเดยี วกับผู้ท่ีไดร้ บั การคัดเลอื ก จากระดับภาค และระดบั เขตพืน้ ท่เี ท่านั้น 3. การสุ่มเลขโดด สามารถดาวนโ์ หลดไดท้ ี่ http://www.sillapa.net/rule59/mathGSP.gsp

(โดยตอ้ งเปิดด้วยโปรแกรม GSP version 4.0 เท่านน้ั )

๙. การเผยแพรผ่ ลงานทไี่ ดร้ ับรางวลั ผลงานของนักเรียนที่ได้รับคะแนนสูงสุดอันดับท่ี 1 - 3 คณะกรรมการพิจารณาและนาไปเผยแพร่ใน

เวบ็ ไซต์ต่อไปซง่ึ ผลงานของผู้แข่งขนั ถอื เปน็ ลิขสิทธิ์ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน เพื่อใชใ้ น การเผยแพรแ่ ละประชาสมั พันธ์

งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น ครง้ั ที่ 69 ปกี ารศกึ ษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ หนา้ ๒๘

6. การต่อสมการคณติ ศาสตร์ (เอแมท็ )

1. ประเภทและจานวนผ้เู ขา้ แข่งขนั

1.1 ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1-6 ประเภททมี จานวน 2 คน (ครผู ้ฝู ึกสอน 2 คน) จานวน 2 คน (ครูผู้ฝึกสอน 2 คน) 1.2 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1-3 (ขยายโอกาส) ประเภททีม จานวน 2 คน (ครผู ฝู้ ึกสอน 2 คน) จานวน 1 คน (ครูผฝู้ กึ สอน ๑ คน) 1.3 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 (สามญั ) ประเภททมี

1.4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ประเภทเด่ยี ว

2. วิธีดาเนนิ การแขง่ ขนั จานวนเกม/รอบ 2.1 ระดับเขต

2.1.1 โรงเรยี นสง่ รายชอ่ื นกั เรยี นผ้เู ข้าแข่งขนั ตามประเภทท่กี าหนด 2.1.2 ระยะเวลาดาเนนิ การแขง่ ขนั 1 วนั 2.1.3 เขตทีม่ ีจานวนทีมเขา้ ร่วมการแขง่ ขนั 2 ทีม กาหนดให้ท้ัง 2 ทีมมาแข่งในรอบตดั สนิ 2 เกม โดยไมต่ ้องมีรอบคดั เลือก และผลดั กันเรมิ่ ตน้ เกมกอ่ น - หลงั เพ่ือความยุตธิ รรม 2.1.4 เขตท่มี ีจานวนทีมเข้าร่วมการแขง่ ขัน 3 – 6 ทีม กาหนดให้ทุกทมี แข่งขันกันในรอบคัดเลือก แบบพบกันหมด (Round Robin) ตามระบบการแข่งขันสากล ในกรณที มี่ ีทีมแข่งขนั ไม่มากและสามารถจัดแข่ง แบบพบกันหมดได้ในเวลาท่ีกาหนด แต่ละทีมจะได้แขง่ ขนั กับคู่แขง่ ขนั ทุกโรงเรียน จากน้ันนาทมี ท่มี ีผลคะแนน ดีที่สดุ 2 ลาดบั แรก เขา้ สู่รอบชงิ ชนะเลิศ โดยทาการแข่งขนั รอบชงิ ชนะเลิศ 2 เกม และผลดั กนั เริ่มตน้ เกม ก่อน - หลงั เพอื่ ความยุตธิ รรม 2.1.5 เขตท่มี ีจานวนทมี เข้ารว่ มการแข่งขันต้ังแต่ 7 ทมี ขน้ึ ไป กาหนดให้ทกุ ทมี แข่งรอบคัดเลือก โดยใชร้ ะบบแพริง่ แบบ King of the Hill (KOTH) ตามระบบการแขง่ ขันสากล รอบคดั เลือกจานวน 5 เกม และ รอบชิงชนะเลศิ 2 เกม โดยดาเนินการแข่งขนั ตามโปรแกรม ดังนี้ เกมท่ี 1 กรรมการประกบค่แู ข่งขนั แบบสุ่ม (Random) ดว้ ยวธิ จี บั สลาก เม่อื แข่งขันเสรจ็ ให้บันทกึ ผล การแขง่ ขนั ในใบมาสเตอร์ สกอร์การ์ด และสง่ กรรมการ กรรมการจัดลาดับคะแนน เกมที่ 2 - 5 กรรมการประกบคกู่ ารแข่งขนั แบบ King of the Hill ในทกุ รอบ โดยนาผู้เขา้ แข่งขันที่ มีลาดับคะแนนหลังจากจบเกมกอ่ นหนา้ น้ี มาประกบคู่ใหม่ ใหท้ มี ท่ีมลี าดบั คะแนน 1 พบ 2, 3 พบ 4, 5 พบ 6, 7 พบ 8, 9 พบ 10.........ไปเร่อื ยๆ หลงั จบการแข่งขนั ในแต่ละเกม ให้ผเู้ ข้าแข่งขนั บันทึกผล การแขง่ ขนั ในใบมาสเตอร์ สกอร์การด์ และส่งกรรมการ (หลังจบการแขง่ ขนั ในแตล่ ะรอบ กรรมการต้อง เรียงลาดบั คะแนนใหม่ทกุ คร้ัง) จากนั้นนาทีมที่มีผลคะแนนดีทีส่ ดุ 2 ลาดบั แรก ในรอบคดั เลอื ก เขา้ สรู่ อบชิงชนะเลิศ โดยทา การแข่งขนั รอบชิงชนะเลศิ 2 เกม และผลดั กันเร่ิมตน้ เกมก่อน - หลงั เพื่อความยตุ ธิ รรม 2.1.6 หากมที ีมท่ีเข้าสู่รอบชงิ ชนะเลิศแน่นอนแล้ว ตั้งแต่ก่อนจบการแขง่ ขันรอบคัดเลอื ก จะใชร้ ะบบ Gibsonize โดยไมต่ อ้ งเลน่ เกมทเ่ี หลอื 2.1.7 ตวั แทน 1 ทมี เขา้ สรู่ อบระดับภาค 2.1.8 โปรแกรมจดั อันดบั และประกบคู่อตั โนมตั ิ สามารถดาวน์โหลดได้ทเี่ ฟซบ๊คุ กลุ่มเอแมท็ งาน ศิลปหตั ถกรรมนักเรยี น https://www.facebook.com/groups/413508119031182/

งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน คร้ังที่ 69 ปีการศกึ ษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๒๙

2.2 ระดบั ภาค

2.2.1 ทีมท่ีได้เป็นตัวแทนของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเขา้ แขง่ ขันในระดับภาค 2.2.2 ระยะเวลาดาเนนิ การแข่งขนั 1 วนั 2.2.3 กาหนดให้ทุกทมี แขง่ รอบคัดเลือกโดยใชร้ ะบบแพริ่งแบบ King of the Hill (KOTH) ตามระบบ การแขง่ ขันสากล รอบคัดเลือกจานวน 6 เกม และรอบชงิ ชนะเลิศ 2 เกม โดยดาเนินการแข่งขนั ตาม โปรแกรม ดงั น้ี เกมท่ี 1 กรรมการประกบคูแ่ ข่งขนั แบบสุ่ม (Random) ด้วยวธิ ีจบั สลาก โดยจดั เป็นกลุ่มโตะ๊ ละ 4 ทมี เกมที่ 2 หลงั จบการแขง่ ขนั เกมท่ี 1 ใหผ้ ู้เขา้ แขง่ ขนั สลบั คู่แข่งขัน โดยผ้ชู นะจะแข่งกับผู้ชนะที่อยู่ใน กลมุ่ โต๊ะเดยี วกัน และทมี ทเ่ี หลืออกี 2 ทีม(ผู้แพ)้ ในกลุ่มโต๊ะนั้นจะมาแข่งกัน จบเกมใหส้ ่งใบบนั ทึกผล การแขง่ ขนั (ใบมาสเตอรส์ กอร์การด์ ) จากน้นั ให้กรรมการจัดเรียงอันดบั ตามผลการแข่งขัน เพ่ือประกบคู่ การแขง่ ขันในเกมท่ี 3 เกมที่ 3 กรรมการประกบคู่การแขง่ ขนั แบบ King of the Hill โดยนาผู้เข้าแขง่ ขันทม่ี ีลาดบั คะแนน หลังจากจบเกมท่ี 2 มาประกบคูใ่ หม่ ใหท้ มี ท่มี ลี าดับคะแนน 1 พบ 2, 3 พบ 4, 5 พบ 6, 7 พบ 8, 9 พบ 10.........ไปเรือ่ ยๆ เกมที่ 4 หลังจบการแขง่ ขันเกมที่ 3 ให้ผูเ้ ข้าแขง่ ขันสลบั คู่แข่งขัน โดยผู้ชนะจะแขง่ กบั ผู้ชนะทอ่ี ยใู่ น กลมุ่ โตะ๊ เดียวกนั และทมี ท่เี หลืออีก 2 ทีม(ผ้แู พ้) ในกลุม่ โต๊ะน้นั จะมาแข่งกนั จบเกมใหส้ ่งใบบนั ทกึ ผล การแขง่ ขนั (ใบมาสเตอร์สกอร์การ์ด) จากนน้ั ให้กรรมการจัดเรียงอันดับตามผลการแข่งขัน เพือ่ ประกบคู่ การแขง่ ขนั ในเกมที่ 3 เกมที่ 5 กรรมการประกบคู่การแขง่ ขนั แบบ King of the Hill โดยนาผู้เข้าแข่งขนั ที่มีลาดับคะแนน หลังจากจบเกมที่ 2 มาประกบคใู่ หม่ ใหท้ ีมท่มี ลี าดับคะแนน 1 พบ 2, 3 พบ 4, 5 พบ 6, 7 พบ 8, 9 พบ 10.........ไปเร่อื ยๆ จบเกมให้ส่งใบบนั ทึกผลการแข่งขัน (ใบมาสเตอรส์ กอร์การด์ ) เกมท่ี 6 กรรมการประกบคู่การแขง่ ขนั แบบ King of the Hill โดยนาผู้เข้าแขง่ ขันทมี่ ีลาดบั คะแนน หลังจากจบเกมท่ี 2 มาประกบคใู่ หม่ ใหท้ ีมทมี่ ลี าดับคะแนน 1 พบ 2, 3 พบ 4, 5 พบ 6, 7 พบ 8, 9 พบ 10.........ไปเร่อื ยๆ จบเกมให้สง่ ใบบนั ทึกผลการแขง่ ขัน (ใบมาสเตอร์สกอรก์ าร์ด) จากนน้ั นาทีมทม่ี ผี ลคะแนนดีท่ีสดุ 2 ลาดบั แรก ในรอบคดั เลอื ก ( 6 เกม ) เข้าส่รู อบชงิ ชนะเลศิ และ ทมี ที่มีคะแนนท่ี 3 และ 4 เขา้ สู่รอบชงิ อันดับที่ 3 โดยทาการแขง่ ขนั 2 เกม และผลดั กนั เรม่ิ ตน้ เกมก่อน - หลงั เพ่ือความยุตธิ รรม 2.2.4 หากมที ีมทเี่ ข้าส่รู อบชิงชนะเลศิ แนน่ อนแลว้ ตง้ั แต่ก่อนจบการแข่งขนั รอบคัดเลอื ก จะใชร้ ะบบ Gibsonize โดยไม่ตอ้ งเลน่ เกมทีเ่ หลือ 2.2.5 ตวั แทน 3 ทมี เข้าสู่รอบระดบั ชาติ

2.3 ระดับชาติ

2.3.1 ทมี ท่ีไดเ้ ป็นตวั แทนของภาคเขา้ แข่งขันในระดับชาติ 2.3.2 ระยะเวลาดาเนนิ การแขง่ ขัน 2 วนั 2.3.3 กาหนดให้ทกุ ทมี ท่ีเขา้ แข่งขนั จะต้องแข่งรอบคัดเลือกโดยใช้ระบบพบกนั หมด (round robin) จานวน 11 เกม หลงั จากจบเกมที่ 11 ให้ผู้เขา้ แขง่ ขันส่งใบบันทึกผลการแขง่ ขัน (ใบมาสเตอร์สกอรก์ าร์ด) จากนนั้ ให้กรรมการจัดเรยี งอันดบั ตามผลการแข่งขนั เพอ่ื ประกบคู่การแข่งขันในเกมท่ี 12 และ 13

งานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น ครั้งท่ี 69 ปกี ารศกึ ษา ๒๕62 กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ หนา้ ๓๐

เกมท่ี 12 กรรมการประกบคู่แขง่ ขันแบบเรยี งลาดบั - king of the hill จากผลการแข่งขันเกมที่ 11 จบเกมให้สง่ ใบบันทกึ ผลการแขง่ ขนั (ใบมาสเตอรส์ กอร์การ์ด)

เกมที่ 13 กรรมการประกบคู่แข่งขนั แบบเรียงลาดับ - king of the hill จากผลการแขง่ ขันเกมท่ี 12 จบเกมให้ส่งใบบันทึกผลการแขง่ ขนั (ใบมาสเตอร์สกอร์การ์ด)

จากนนั้ นาทีมทีม่ ีผลคะแนนดีที่สุด 2 ลาดับแรก ในรอบคัดเลือก เข้าสู่รอบชงิ ชนะเลิศ และทมี ทมี่ ี คะแนนที่ 3 และ 4 เข้าสู่รอบชิงอันดับท่ี 3 โดยทาการแข่งขนั 2 เกม และผลัดกนั เริ่มต้นเกมก่อน - หลัง เพือ่ ความยุติธรรม

2.3.4 หากมีทีมทเี่ ขา้ สู่รอบชิงชนะเลศิ แน่นอนแลว้ ตั้งแต่ก่อนจบการแข่งขนั รอบคัดเลอื ก จะใช้ระบบ Gibsonize โดยไม่ตอ้ งเลน่ เกมท่ีเหลอื

3. เกณฑ์การตดั สิน

รอ้ ยละ 80-100 ได้รบั รางวลั ระดับเหรียญทอง

ร้อยละ 70-79 ไดร้ บั รางวลั ระดับเหรียญเงิน

รอ้ ยละ 60-69 ไดร้ ับรางวัลระดับเหรียญทองแดง

ตา่ กวา่ ร้อยละ 60 ไดร้ ับเกยี รตบิ ตั ร เว้นแต่กรรมการจะเหน็ เป็นอย่างอืน่

ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการถือเปน็ ส้นิ สุด

4. คณะกรรมการตดั สินการแขง่ ขัน

เป็นผทู้ รงคุณวฒุ ิ วิทยากร นักกฬี าทีม่ ีความรู้ ความยุติธรรม มีความเข้าใจในระบบการแขง่ ขัน ตลอดจนกฎและกติกาการแข่งขนั เปน็ อยา่ งดี ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งเป็นครเู ฉพาะในกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ

4.1 กรรมการระดับเขตพืน้ ท่ี ใหแ้ ต่ละเขตพนื้ ทีส่ รรหากรรมการในเขตที่รับผิดชอบหรือใกลเ้ คยี งเพอ่ื ดาเนนิ การตดั สินจากคณุ สมบัตเิ บ้อื งตน้ ตามความเหมาะสม

หมายเหตุ* ครูที่มนี กั เรยี นเข้าแข่งขนั ในรุ่นน้นั ๆ สามารถทจี่ ะร่วมเปน็ กรรมการตดั สินในรุ่นนั้นได้ แต่ ไม่สามารถตัดสนิ ช้ีขาดในเกมทีน่ กั เรียนของตนแขง่ ขนั ได้ ต้องใหก้ รรมการจากโรงเรยี นอื่นเปน็ ผูต้ ดั สิน

4.2 กรรมการระดบั ภาค สว่ นกลางจะเป็นผู้กาหนดกรรมการตัดสินในแต่ละภาคใหบ้ างส่วน เพื่อเปน็ กรรมการหลกั ในการตัดสนิ ไมใ่ ห้เกดิ ขอ้ ผดิ พลาด เพ่ือให้การจดั การแข่งขนั มีประสิทธิภาพ และเกิดปญั หาน้อย ทีส่ ุด ส่วนกรรมการดาเนินการจดั การแขง่ ขันให้ผู้รบั ผิดชอบระดับภาคของแตล่ ะภาคประสานงานและสรร หาตามความเหมาะสม

4.3 กรรมการระดับชาติ สว่ นกลางจะเป็นผู้กาหนดกรรมการตัดสิน

5. กตกิ าเพ่ิมเติม

5.1 กฎและกตกิ าการแข่งขนั ใช้กฎและกตกิ าการแข่งขนั ของสมาคมครอสเวริ ด์ เอแม็ท คาคม และซโู ดกุ แหง่ ประเทศไทย

5.2 อุปกรณ์ในการแขง่ ขัน ผูเ้ ข้าแขง่ ขนั ทกุ ทีมจะต้องเตรยี มอปุ กรณ์ในการแข่งขันมาเอง ไดแ้ ก่ กระดานที่ ใช้ในการแข่งขนั , แปน้ วางเบีย้ , ตัวเบ้ีย และเบี้ยสารอง (กรณตี วั เบ้ยี หาย) โดยทาสญั ลักษณ์ เครื่องหมาย หรอื เขยี นชือ่ โรงเรยี นให้เรยี บร้อย เพอื่ ใชใ้ นการแข่งขัน

5.2.1. รนุ่ ประถมศึกษาใช้อุปกรณก์ ารแขง่ รุ่นประถมศึกษา กระดานขนาด 15x15 ชอ่ ง (เบ้ยี 70 ตวั ) 5.2.2 ร่นุ มัธยมศึกษา ใชอ้ ุปกรณก์ ารแข่งขนั รุ่นมาตรฐาน กระดานขนาด 15x15 ช่อง (เบี้ย 100 ตวั )

งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น คร้ังท่ี 69 ปีการศึกษา ๒๕62 กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ หนา้ ๓๑

5.3 เวลาในการแขง่ ขนั 5.1 กฎและกติกาการแขง่ ขัน ใช้กฎและกติกาการแข่งขันของสมาคมครอสเวิร์ด เอแมท็ คาคม

และซโู ดกุแหง่ ประเทศไทย 5.2 อุปกรณ์ในการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันทุกทีมจะต้องเตรียมอุปกรณ์ในการแข่งขันมาเอง ได้แก่

กระดานที่ใช้ในการแข่งขัน, แป้นวางเบี้ย, ตัวเบ้ียและเบ้ียสารอง (กรณีตัวเบ้ียหาย) โดยทาสัญลักษณ์ เครือ่ งหมาย หรือเขียนช่ือโรงเรยี นใหเ้ รียบร้อย เพ่อื ใชใ้ นการแข่งขัน

5.2.1. รนุ่ ประถมศึกษาใช้อปุ กรณ์การแขง่ รุน่ ประถมศกึ ษา กระดานขนาด 15x15 ช่อง (เบยี้ 70 ตัว) 5.2.2 รุ่นมธั ยมศกึ ษา ใช้อุปกรณก์ ารแขง่ ขนั รนุ่ มาตรฐาน กระดานขนาด 15x15 ช่อง (เบี้ย 100 ตัว) 5.3 เวลาในการแขง่ ขนั 5.3.1 ใช้เวลาแขง่ ขนั ฝงั่ ละ 22 นาที โดยใชน้ าฬกิ าจับเวลาแบบเปล่ยี นสลบั (Switch Toggle) หรือ Chess Clock ทกุ เกม เพื่อป้องกันปัญหาความลา่ ช้าในการเลน่ การตัดเกม และการถว่ งเวลา 5.3.2 หากไมม่ ีนาฬิกาให้ใช้แทบ็ เลต็ พซี ีหรือสมาร์ทโฟน (แนะนาให้ใชร้ ะบบ Android) โดยติดตงั้ แอพพลิเคชัน่ สาหรบั จับเวลาเพิม่ เติม ซ่ึงสามารถดาวน์โหลดแอพพลิเคช่ันลงบนแทบ็ เลต็ พีซีหรือสมาร์ทโฟน เพอ่ื นามาใช้จบั เวลาได้ โดยพิมพค์ ้นหาใน App Store คาว่า “Scrabble Clock” หรือ “Chess Clock” ฯลฯ 5.3.3 ผเู้ ข้าแขง่ สามารถนาสมาร์ทโฟนทีม่ โี ปรแกรมนาฬิกาจับเวลามาใชใ้ นการแข่งขนั ได้ คแู่ ข่งขนั สามารถตรวจสอบและทดสอบการใชง้ านของนาฬิกาที่คตู่ ่อสู้เตรยี มมาก่อนได้ 5.3.4 กอ่ นแข่งให้ตรวจสอบแบตเตอรี่ท่ีเหลือก่อนใช้ทุกคร้ัง เพ่อื ป้องกนั เคร่ืองดับระหวา่ งแข่งขัน 5.3.5 เม่ือผเู้ ขา้ แขง่ ขันฝา่ ยใดฝ่ายหนึง่ ร้องขอให้มกี ารใชน้ าฬิกาในเกมนนั้ คู่ต่อส้ไู ม่มสี ิทธิปฏเิ สธหรือ เล่ียงการใชน้ าฬิกาได้ 5.3.6 หากมีผูเ้ ล่นใชเ้ วลาเกนิ จะถกู หักคะแนนนาทีละ 10 คะแนน เศษวินาทีจะถูกนับเปน็ 1 นาที ตัวอยา่ งเช่น นาย A ใชเ้ วลาตดิ ลบ -3.18 นาที จะถอื วา่ นาย A ใช้เวลาเกิน 4 นาที และจะถูกหักคะแนน 40 คะแนน ตามกฎ (นาฬิกาที่ใช้ตอ้ งตง้ั คา่ โปรแกรมให้เวลาติดลบได)้ ผเู้ ล่นควรฝึกการใช้นาฬิกาจบั เวลาใหช้ านาญ กอ่ นแข่งเพอ่ื ให้การแข่งขันเป็นไปตามมาตรฐานสากล 5.3.7 ห้ามกรรมการตดั สินทาการตัดเกมการแข่งขนั ต้องใหผ้ ู้เข้าแขง่ ขันเลน่ จนจบเกมเท่านั้น หากมี การตัดเกมการแข่งขัน ผูฝ้ ึกสอนหรือผูเ้ ขา้ แข่งขนั สามารถประท้วงกรรมการผู้ตัดสนิ ได้ หรือหากต้องมีการตดั เกมจรงิ ต้องได้รบั การยินยอมจากผเู้ ขา้ แขง่ ขันและผูฝ้ ึกสอนเช่นกนั 5.3.8 กรณีไม่ใช้นาฬิกา กรรมการต้องชี้แจงเง่ือนไขกับผู้เข้าแข่งขันและครูผู้ฝึกสอนก่อนเริ่ม การแข่งขัน และต้องไดร้ ับการยินยอมจากทกุ ฝ่าย และบริหารจัดการเวลาในการแขง่ ขันอย่างเหมาะสม 5.4 การขอตรวจสมการ (Challenge) 5.4.1 ผเู้ ลน่ จะสามารถขอตรวจสมการไดก้ ต็ ่อเมื่อคู่ตอ่ สูข้ านแตม้ และกดเวลาแล้วเท่านั้น หากคตู่ ่อสู้ ยงั ไม่ขานแตม้ และไมก่ ดเวลาการขอชาเลน้ จไ์ ม่เปน็ ผล 5.4.2 การขอโฮลด์ (Hold) ในกรณขี อพจิ ารณาสมการท่ีคู่แข่งขนั ลง คู่แขง่ ขันจะยงั ไม่สามารถจบั เบยี้ ขึ้นมาเพ่มิ ได้ จนกว่าคู่แข่งขันที่ขอโฮลดย์ อมรบั สมการน้นั ๆ (เวลาในการขอโฮลด์ ไม่เกิน 1 นาท)ี 5.5 คะแนนในแตล่ ะเกม ทมี ท่ชี นะจะได้ 2 คะแนน, เสมอไดท้ ีมละ 1 คะแนน และแพไ้ ด้ 0 คะแนน 5.6 การจดั อนั ดับคะแนน ใหน้ บั คะแนนรวมจากเกมที่ชนะ และเสมอ ก่อนเปน็ ลาดบั แรก หาก คะแนนเทา่ กนั ให้ใช้แต้มผลต่างสะสม (Difference) เปน็ ตัวตดั สิน 5.7 แตม้ ผลต่างสูงสุดต่อเกม Maximum Difference

งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครง้ั ท่ี 69 ปีการศึกษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๓๒

5.7.1 เอแม็ทรนุ่ ประถมศกึ ษา แตม้ ต่างสูงสุดไมเ่ กนิ 150 แตม้ ถา้ เกนิ กวา่ นัน้ ใหป้ ัดลงเหลอื 150 แต้ม เฉพาะเกมสุดท้ายแต้มต่างไม่เกิน 120 แตม้ ถ้าเกนิ ให้ปดั ลงเหลอื 120 แตม้

5.7.2 เอแม็ทรุ่นมัธยมศึกษา แตม้ ตา่ งสงู สดุ ไม่เกิน 250 แต้ม ถ้าเกินกว่าน้นั ให้ปัดลงเหลือ 250 แต้ม เฉพาะเกมสดุ ทา้ ยแต้มต่างไมเ่ กิน 200 แต้ม ถา้ เกินให้ปัดลงเหลอื 200 แต้ม

5.7.3 รอบชิงชนะเลศิ ไม่มี Maximum Difference 5.7.4 ชนะบาย (Bye) ในกรณที ่ีไม่มคี ู่แขง่ ขนั ผู้เข้าแขง่ ขนั จะไดช้ นะในเกมนั้นๆ เอแมท็ รุ่น ประถมศกึ ษาจะได้คะแนนสะสม 80 แตม้ มัธยมศึกษาได้ 100 แตม้ 5.8 การหยุดเกม ในกรณที ี่จาเป็นต้องหยดุ เกมต้องไมม่ ีการคิดสมการ และให้คว่าเบี้ยทกุ คร้ัง เช่น ตรวจสอบคะแนนให้ตรงกนั , ตวั เบีย้ ชารุด(ให้เรียกกรรมการเท่านน้ั ) เปน็ ต้น หมายเหตุ ไม่อนุญาตให้ผู้เข้าแข่งขันเข้าห้องน้าหรือลุกจากโต๊ะแข่งขันระหว่างการแข่งขันต้องทา กจิ ธุระใหแ้ ล้วเสรจ็ กอ่ นเรมิ่ การแขง่ ขนั ในแตล่ ะเกม 5.9 ห้ามเล่นเครอื่ งมือสอื่ สาร ใส่หฟู งั หรือคุยโทรศพั ท์ขณะแข่งขนั 5.10 ให้จบั ถงุ เบ้ียในระดับสายตาหรอื ให้พ้นสายตา จับเบ้ยี ให้ครบและวางเบีย้ ท่ีจับลงบนโตะ๊ กอ่ น ใสใ่ นแปน้ วางเบ้ียเทา่ น้นั ห้ามวางถงุ เบี้ยบนโต๊ะแลว้ จบั เบีย้ หา้ มจบั เบี้ยใต้โตะ๊ หรือเปิดเบย้ี ดูใตโ้ ตะ๊ ตามกฎ กติกาและมารยาทในการแขง่ ขนั ผเู้ ลน่ ฝา่ ยตรงข้ามสามารถตักเตือนไดห้ ากผู้เลน่ อีกฝ่ายมีพฤตกิ รรมดังกลา่ ว และสามารถเรยี กกรรมการมาตกั เตือนหากยงั ทาซ้า เม่ือจับเบ้ยี เสรจ็ แล้ว ให้รดู เชอื กปดิ ถุงเบย้ี ใหเ้ รียบร้อย 5.11 การทุจริตในการแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันที่ทุจริตในการแข่งขันจะถูกปรับแพ้ในเกมน้ันๆ ไม่ให้รับ รางวัล หรือให้ออกจากการแข่งขัน และโรงเรียนจะถูกตัดสิทธ์ิจากการแข่งขั้นในปีถัดไปสาหรับกิจกรรม ดงั กล่าว ทงั้ นีข้ ้นึ อยกู่ บั ดลุ ยพนิ ิจของกรรมการตดั สนิ 5.12 ผู้ฝึกสอนสามารถเข้าในบรเิ วณสนามแข่งขันได้ โดยต้องเว้นระยะหา่ งจากโต๊ะที่นักเรียนของ ตนแข่งขันอย่างน้อย 3 เมตร (กรรมการอาจจัดพื้นท่ีสาหรับผู้ฝึกสอนบริเวณสนามแข่งขัน) และไม่ส่งเสียงดัง หรือรบกวนสมาธิของผู้เข้าแข่งขัน รวมถึงรบกวนการทาหน้าที่ตัดสินของกรรมการ ผู้ฝึกสอนสามารถพูดคุย แนะนานักเรียนของตนไดห้ ลังจบการแข่งขันแต่ละเกมเท่าน้ัน ไมส่ ามารถแนะนาระหว่างทาการแขง่ ขันได้ หาก เกดิ ปัญหาในการแข่งขันสามารถขอฟังคาชแ้ี จงจากกรรมการได้ เพอ่ื ให้เกดิ ความกระจา่ งในการแขง่ ขัน 5.13 กตกิ าและมารยาทในการแขง่ ขันเพ่มิ เติม สามารถศกึ ษาได้จากแหลง่ ข้อมลู ดา้ นลา่ ง

กลมุ่ เอแม็ท งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น

https://www.facebook.com/groups/413508119031182/

เพจครอสเวริ ์ด เอแม็ท คาคม งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน

https://www.facebook.com/Crossword.AMath.Kumkom/

กลุ่มกจิ กรรมกำรตอ่ สมกำรคณติ ศำสตร์ (เอแม็ท)

นำยรวัวฒั น์ วุฒิไชยำ โทร 089-941-5944

นำยธวชั ชยั ธรี อำภรณ์ โทร 083-089-5840

นำยศำตรำ อทุ ัยโรจนรัตน์ โทร 098-831-0646

งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน ครง้ั ที่ 69 ปีการศกึ ษา ๒๕62 กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ หนา้ ๓๓

7. การแขง่ ขนั ซโู ดกุ

1. ประเภทและจานวนผเู้ ขา้ แข่งขัน

1.1 แขง่ ขนั ประเภทเดย่ี ว

1.2 จานวนผเู้ ข้าแข่งขัน

  1. นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 – 6 จานวน 1 คน
  1. นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 – 3 (ขยายโอกาส) จานวน 1 คน
  1. นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 – 3 (สามัญ) จานวน 1 คน
  1. นกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 – 6 จานวน 1 คน

2. วิธดี าเนินการ และรายละเอียดหลักเกณฑก์ ารแข่งขัน

2.1 ระดบั เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา

ให้ตวั แทนนกั เรยี นแต่ละโรงเรียนเขา้ รว่ มแขง่ ขนั ท้ังหมด 2 รอบๆ ละ 60 นาที ใชโ้ จทย์ปรศิ นา 10

ข้อตามรปู แบบที่กาหนดให้รปู แบบละ 1 ตาราง รวมรอบละ 10 ตาราง ทง้ั สองรอบจะใช้โจทย์ปรศิ นารปู แบบ

เดยี วกัน ผู้เขา้ แขง่ ขนั ที่ไดค้ ะแนนสูงสุด จะได้รับการคัดเลือกเปน็ ตวั แทนระดับเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา เข้าสู่

การแขง่ ขันระดับภาคต่อไป

2.2 ระดบั ภาค

ใหต้ ัวแทนนกั เรียนแต่ละเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาแขง่ ขันทง้ั หมด 2 รอบ ๆ ละ 60 นาที ใชโ้ จทยป์ ริศนา

10 ข้อตามรูปแบบท่ีกาหนดให้ รูปแบบละ 1 ตาราง รวมรอบละ 10 ตาราง ท้งั สองรอบจะใช้โจทยป์ รศิ นา

รปู แบบเดยี วกนั ผเู้ ข้าแข่งขันท่ไี ดค้ ะแนนสูงสุด 3 ลาดบั แรก จะได้รับการคัดเลือกเปน็ ตัวแทนระดับภาค เข้าสู่

การแข่งขันระดับชาติตอ่ ไป

2.3 ระดับชาติ

ให้ตัวแทนนกั เรียนแตล่ ะภาค แข่งขนั ท้ังหมด 2 รอบ ๆ ละ 60 นาที ใช้โจทยป์ ริศนา 10 ขอ้ ตาม

รปู แบบทกี่ าหนดให้ รูปแบบละ 1 ตาราง รวมรอบละ 10 ตาราง ท้งั สองรอบจะใช้โจทยป์ ริศนารปู แบบเดียวกัน

ผเู้ ข้าแขง่ ขันท่ีได้คะแนนสงู ทีส่ ุด 2 อันดบั แรกเข้าสรู่ อบชงิ ชนะเลิศ และผเู้ ข้าแขง่ ขนั ทไ่ี ด้คะแนนอันดบั ที่ 3 และ

4 จะเข้าส่รู อบชงิ อนั ดบั ที่ 3

2.4 การแข่งขันรอบชงิ ชนะเลิศในการแข่งขนั ระดับชาติ

ใหต้ ัวแทนนักเรียนท่ีได้คะแนนสงู ที่สุด 2 อนั ดับแรก แขง่ ขันรอบชิงชนะเลศิ และตวั แทนนักเรียนทไ่ี ด้

คะแนนอันดบั ท่ี 3 และ 4 แข่งขันรอบชงิ อนั ดบั ที่ 3 โดยแข่งขนั ท้ังหมด 3 รอบ ๆ ละ 10 นาที ใช้โจทย์

ปรศิ นา 1 ข้อ นักเรยี นทส่ี ามารถทาโจทยไ์ ด้ถูกต้องและทาเสร็จเป็นลาดบั ท่ี 1 จะไดร้ ับ 1 คะแนน หาก

นกั เรยี นคนใดได้ 2 คะแนนก่อน ถอื เป็นผ้ทู ี่ไดร้ ับรางวลั ชนะเลศิ และ รางวลั รองชนะเลิศอันดับที่ 2

ตามลาดับ

2.5 รปู แบบปรศิ นาซโู ดกุทีใ่ ช้ในการแข่งขนั

2.5.1 ระดับประถมศึกษา

ประกอบด้วยปริศนาซโู ดกุทัง้ หมด 10 รปู แบบ ดังนี้

1. 6 x 6 Classic Sudoku 6. 9 x 9 Classic Sudoku

2. 6 x 6 Alphabet Sudoku 7. 9 x 9 Alphabet Sudoku

3. 6 x 6 Diagonal Sudoku 8. 9 x 9 Diagonal Sudoku

งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น ครัง้ ท่ี 69 ปกี ารศกึ ษา ๒๕62 กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ หนา้ ๓๔

4. 6 x 6 Jigsaw Sudoku 9. 9 x 9 Jigsaw Sudoku

5. 6 x 6 Thai Alphabet Sudoku 10. 9 x 9 Even-Odd Sudoku

2.5.2 ระดบั มัธยมศึกษา

ประกอบดว้ ยปริศนาซูโดกตุ าราง 9 x 9 ท้งั หมด 10 รูปแบบ ดงั น้ี

1. Classic Sudoku 6. Consecutive Sudoku

2. Diagonal Sudoku 7. Asterisk Sudoku

3. Alphabet Sudoku 8. Thai Alphabet Sudoku

4. Jigsaw Sudoku 9. Diagonal Jigsaw Sudoku

5. Even-Odd Sudoku 10. Windoku Sudoku

3. กติกาการแขง่ ขนั และวธิ ีการนับคะแนนซโู ดกุ 3.1 ให้ตวั แทนนกั เรียนแขง่ ขันทั้งหมด 2 รอบ ๆ ละ 60 นาที ใช้โจทย์ปรศิ นา 10 รูปแบบ รปู แบบละ

1 ตาราง รวมรอบละ 10 ตาราง ทง้ั สองรอบจะใชโ้ จทย์ปรศิ นารปู แบบเดยี วกัน 3.2 หากตัวแทนนักเรียนสามารถแก้โจทย์ปริศนาซูโดกุได้ภายในเวลาท่ีกาหนด และถูกต้อง จะได้รับ

คะแนนประจาโจทย์ปริศนา ข้อละ 10 คะแนน หากทาปริศนาไมถ่ กู ต้อง สามารถทาผิดได้ขอ้ ละ 2 ช่องเท่าน้ัน โดยจะหักคะแนนชอ่ งละ 3 คะแนน

3.3 หากตัวแทนนักเรียนสามารถแก้โจทย์ปริศนาท้ังหมดได้ถูกต้องภายในเวลาที่กาหนดในแต่ละรอบ (รวมถึงปริศนาท่ีผิดไม่เกิน 2 ช่อง) จะได้รับคะแนนโบนัสเวลาเพิ่มนาทีละ 3 คะแนน โดยคานวณจากเวลาท่ี เหลืออยู่เป็นนาที (เศษของนาทีปัดทิ้ง) คูณด้วย 3 (ถ้าแก้โจทย์ปริศนาไม่ถูกต้อง และผิดเกิน 2 ช่อง ตั้งแต่ 1 ตารางข้ึนไป จะไม่ได้รับคะแนนโบนัส) ตัวอย่างการคิดคะแนนโบนัสเวลา เช่น ถ้ากาหนดเวลาในรอบให้ 30 นาที แต่นาย Z ทาเสร็จและถูกต้องภายในเวลา 20 นาที 40 วินาที นาย Z จะได้คะแนนโบนัสเวลาในรอบน้ี เทา่ กบั 9 นาที x 3 คะแนนต่อนาที = คะแนนโบนัสเวลา 27 คะแนน

4. เกณฑก์ ารตดั สนิ ร้อยละ 80-100 ไดร้ บั รางวลั ระดบั เหรียญทอง รอ้ ยละ 70-79 ไดร้ บั รางวัลระดับเหรียญเงิน รอ้ ยละ 60-69 ได้รบั รางวลั ระดับเหรยี ญทองแดง ตา่ กวา่ ร้อยละ 60 ไดร้ บั เกยี รติบตั ร เวน้ แต่กรรมการจะเหน็ เป็นอยา่ งอ่ืน ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการถอื เปน็ สิน้ สุด

5. สถานท่ีจดั การแขง่ ขนั ควรใช้ห้องเรยี นทมี่ ีโต๊ะ เกา้ อ้ี ทส่ี ามารถดาเนนิ การแขง่ ขันไดพ้ ร้อมกัน

6. การเข้าแขง่ ขนั ระดับภาคและระดับชาติ 6.1 ให้นักเรียนท่ีเป็นตัวแทนของเขตพื้นท่ีการศึกษา เข้าแข่งขันในระดับภาค ทุกกิจกรรมต้องได้

คะแนนระดบั เหรยี ญทอง ลาดบั ท่ี ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป) และทมี ทเ่ี ปน็ ตวั แทนระดับภาคเข้าแขง่ ขันใน ระดับชาติ จะตอ้ งได้คะแนนระดบั เหรียญทอง ลาดับท่ี ๑ - ๓ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป)

งานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น ครงั้ ท่ี 69 ปีการศึกษา ๒๕62 กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ หนา้ ๓๕

6.2 ในกรณแี ขง่ ขนั ระดบั เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา ท่ีมผี ู้ชนะลาดบั สงู สดุ ได้คะแนนเทา่ กนั และในระดบั ภาค มีมากกว่า ๓ คน ให้ใช้โจทย์ปริศนาซูโดกุสารอง รูปแบบ 9x9 Classic 1 ตาราง ใช้เวลา 10 นาที ตัวแทน นกั เรียนทส่ี ามารถทาโจทย์ได้ถกู ต้องและทาเสร็จเป็นลาดบั ท่ี 1 ถอื เปน็ ผ้ชู นะ ตัวอยา่ งโจทย์ปรศิ นาซโู ดกทุ ใ่ี ชใ้ นการแข่งขัน 6 x 6 Classic Sudoku เตมิ ตัวเลข 1 ถึง 6 ลงในช่องวา่ งไม่ให้ซ้ากนั ในแต่ละแถว แนวต้ัง แนวนอน และตารางย่อยขนาด 2x3

6 x 6 Alphabet Sudoku เติมตัวอักษร A ถึง F ลงในชอ่ งว่างไมใ่ ห้ซ้ากันในแต่ละแถว แนวตง้ั แนวนอน และตารางยอ่ ยขนาด 2x3

งานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น ครง้ั ที่ 69 ปกี ารศกึ ษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ หนา้ ๓๖

6 x 6 Diagonal Sudoku เติมตวั เลข 1 ถึง 6 ลงในช่องว่างไมใ่ ห้ซ้ากันในแต่ละแถว แนวตัง้ แนวนอน ตารางย่อยขนาด 2x3 และ แนว ทแยงมุมท้ังสองเส้น

6 x 6 Jigsaw Sudoku เติมตัวเลข 1 ถึง 6 ลงในช่องวา่ งไมใ่ ห้ซา้ กันในแตล่ ะแถว แนวตง้ั แนวนอน และตารางย่อยทต่ี ีกรอบด้วยเส้นสี ด้าหนา

งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน คร้ังท่ี 69 ปีการศึกษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ หน้า ๓๗

6 x 6 Thai Alphabet Sudoku เติมตัวอักษรภาษาไทย ก, ข, ค, ง, จ, ฉ ไมใ่ หซ้ า้ กนั ในแตล่ ะแถวแนวตง้ั แนวนอน และตารางย่อยขนาด 2 x 3

9 x 9 Classic Sudoku เติมตัวเลข 1 ถงึ 9 ลงในช่องว่างไม่ให้ซ้ากันในแต่ละแถว แนวต้งั แนวนอน และตารางย่อยขนาด 3x3

งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน คร้ังท่ี 69 ปีการศึกษา ๒๕62 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ หน้า ๓๘

9 x 9 Alphabet Sudoku เตมิ ตัวอกั ษร A ถงึ I ลงในชอ่ งว่างไม่ใหซ้ ้ากนั ในแตล่ ะแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางย่อยขนาด 3x3

9 x 9 Diagonal Sudoku เตมิ ตวั เลข 1 ถึง 9 ลงในช่องว่างไม่ให้ซ้ากันในแต่ละแถว แนวต้งั แนวนอน ตารางยอ่ ยขนาด 3x3 และ แนว ทแยงมมุ ท้ังสองเสน้

งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 69 ปกี ารศกึ ษา ๒๕62 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ หนา้ ๓๙

9 x 9 Jigsaw Sudoku เติมตวั เลข 1 ถึง 9 ลงในช่องว่างไมใ่ ห้ซ้ากันในแต่ละแถว แนวตง้ั แนวนอน และตารางย่อยที่ตีกรอบด้วยเสน้ สี ด้าหนา

9 x 9 Odd-Even Sudoku เติม

ตวั เลข 1 ถึง 9 ลงในช่องว่างไมใ่ ห้ซ้ากันในแต่ละแถว แนวตั้ง แนวนอน และตารางย่อยขนาด 3x3 โดยท่ีช่อง

ทีแ่ รเงาจะต้องเติมเลขคู่เทา่ น้ัน

งานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น ครงั้ ท่ี 69 ปีการศึกษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ หน้า ๔๐

9 x 9 Consecutive Sudoku เตมิ ตัวเลข 1 ถึง 9 ลงในช่องว่างไม่ให้ซ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตัง้ แนวนอน และตารางย่อยขนาด 3x3 ถา้ มี แถบสดี ้าอยรู่ ะหวา่ ง 2 ชอ่ งใด ตวั เลขในสองช่องนั้นจะต้องมคี า่ เรียงกนั แต่ถา้ ไม่มแี ถบสีดา้ อยู่ระหวา่ ง 2 สอง ชอ่ งใดแสดงว่า ตวั เลขในสองช่องนนั้ ห้ามมีคา่ เรียงกัน

9 x 9 Asterisk Sudoku เติมตัวเลข 1 ถงึ 9 ลงในช่องวา่ งไมใ่ ห้ซา้ กันในแต่ละแถว แนวตัง้ แนวนอน ตารางยอ่ ยขนาด 3x3 และช่องที่ แรเงา 9 ชอ่ ง

งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน ครง้ั ที่ 69 ปกี ารศึกษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ หน้า ๔๑

9 x 9 Windoku Sudoku เตมิ ตัวเลข 1 ถงึ 9 ลงในช่องวา่ งไมใ่ ห้ซา้ กนั ในแตล่ ะแถว แนวตงั้ แนวนอน ตารางย่อยขนาด 3x3 และช่องแร เงาขนาด 3x3

9 x 9 Thai Alphabet Sudoku เติมตวั อักษรภาษาไทย ก, ข, ค, ง, จ, ฉ, ช, ซ, ฌ ไมใ่ หซ้ ้ากันในแตล่ ะแถว แนวต้งั แนวนอน และตารางย่อย ขนาด 3 x 3

งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี น ครง้ั ท่ี 69 ปกี ารศึกษา ๒๕62 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๔๒

9 x 9 Diagonal Jigsaw Sudoku เติมตวั เลข 1 ถึง 9 ลงในช่องว่างไม่ให้ซ้ากันในแตล่ ะแถว แนวต้งั แนวนอน ตารางย่อยที่ตกี รอบด้วยเส้นสดี ้า หนา และ แนวทแยงมุมท้งั สองเสน้

งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี น ครง้ั ที่ 69 ปกี ารศึกษา ๒๕62 กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ หนา้ ๔๓

8. การแข่งขนั เวทคณติ

1. ระดับและคุณสมบัติผเู้ ข้าแขง่ ขัน การแขง่ ขนั แบง่ เป็น 3 ระดบั ดังนี้ 1.1 ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนกั เรียนในชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 – 3 เทา่ นน้ั 1.2 ระดับประถมศกึ ษาตอนปลาย ผูเ้ ข้าแข่งขนั ตอ้ งเป็นนกั เรยี นในชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 – 6 เทา่ นนั้ 1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เข้าแข่งขนั ตอ้ งเปน็ นกั เรียนในชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3 เทา่ นั้น

2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแขง่ ขัน

2.1 ประเภทเดีย่ ว

2.2 จานวนผ้เู ข้าแขง่ ขันระดับละ 1 คน

3. วธิ ดี าเนนิ การและหลักเกณฑ์การแข่งขนั

3.1 สง่ รายชอ่ื นกั เรยี นผ้เู ขา้ แขง่ ขนั

ส่งรายชื่อนักเรียนผู้เข้าแข่งขัน พร้อมครูผู้ฝึกสอนระดับละ 1 คน ตามแบบฟอร์มท่ีกาหนด

3.2 การจดั การแขง่ ขัน

ใชข้ ้อสอบเป็นเครื่องมือในการแขง่ ขัน โดยข้อสอบแบ่งเปน็ ๒ ฉบบั ผู้เขา้ แขง่ ขนั ไดร้ ับข้อสอบ

คนละ ๑ ชดุ ดังน้ี

ฉบบั ท่ี ๑ ข้อสอบประเภทเขยี นคาตอบ แบ่งเป็น ๔ ตอน รวม 100 คะแนน ได้แก่

ตอนที่ ๑ การบวก จานวน 30 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน กาหนดเวลา 5 นาที

ตอนที่ ๒ การลบ จานวน 30 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน กาหนดเวลา 5 นาที

ตอนที่ ๓ การคูณ จานวน 20 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน กาหนดเวลา 5 นาที

ตอนที่ ๔ การหาร จานวน 20 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน กาหนดเวลา 5 นาที

ฉบับท่ี ๒ ขอ้ สอบประเภทแสดงวธิ ีทาและตอบ รวม 100 คะแนน กาหนดเวลา 60 นาที

ตอนที่ 1 การบวก จานวน 8 ข้อ ขอ้ ละ 3 คะแนน

ตอนที่ 2 การลบ จานวน 8 ข้อ ขอ้ ละ 3 คะแนน

ตอนท่ี 3 การบวกลบระคน จานวน 1 ข้อ ขอ้ ละ 4 คะแนน

ตอนที่ 4 การคูณ จานวน 8 ขอ้ ข้อละ 3 คะแนน

ตอนที่ 5 การหาร จานวน 8 ข้อ ข้อละ 3 คะแนน

งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น คร้งั ท่ี 69 ปกี ารศกึ ษา ๒๕62 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๔๔

3.3 กตกิ าและวธิ กี ารแขง่ ขัน กตกิ าการแข่งขัน ๑. ชี้แจงระเบียบการแข่งขันใหผ้ ูเ้ ข้าแข่งขนั เขา้ ใจตรงกันก่อนเร่มิ การแข่งขัน ๒. ใชข้ อ้ สอบเปน็ เคร่ืองมือในการแข่งขัน 3. อนุญาตให้ผ้เู ข้าแขง่ ขันนาอปุ กรณเ์ ข้าไปในห้องสอบแข่งขนั ได้แก่ ดินสอ ปากกา ยางลบ

ปากกาลบคาผิด ให้ผูเ้ ขา้ แขง่ ขันเตรยี มมาเอง ๔. ไม่อนญุ าตใหน้ านาฬิกาดจิ ิตอล เครื่องมือคานวณ เครอื่ งมือสื่อสารทุกชนดิ เข้าห้องสอบ ๕. ใหน้ าบตั รประจาตัวผเู้ ข้าแขง่ ขนั และบัตรครูผู้ดูแลนักเรยี น (พิมพ์จากระบบ) มาในวันแข่งขันดว้ ย 6. นักเรยี นทเ่ี ป็นตัวแทนเข้าร่วมแขง่ ขนั ระดับชาติ ตอ้ งเป็นบุคคลคนเดยี วกบั ผทู้ ่ไี ดร้ บั

การคัดเลือกจากระดับภาค และระดบั เขตพ้นื ที่เทา่ น้ัน วิธีการจดั การแข่งขันการสอบ ฉบบั ที่ 1 1. ในการสอบ เมือ่ ผแู้ ข่งขนั เขา้ นั่งประจาทเี่ รยี บร้อยแลว้ กรรมการจะวางขอ้ สอบโดยคว่าข้อสอบ

ไว้ด้านซ้ายมือของผู้แข่งขันจนครบทุกคน กรรมการจะให้สัญญาณเพื่อให้นักเรียนกรอกชื่อ นามสกุล ชั้น โรงเรียน ใหเ้ รียบรอ้ ย แลว้ ควา่ ขอ้ สอบไว้ที่เดิมโดยเรียงตามลาดับตอนท่ี 4 การหารไวล้ ่างสดุ ตามดว้ ย การคณู การลบ และการบวก ตามลาดับ (หา้ มเปิดข้อสอบจนกวา่ กรรมการจะใหส้ ญั ญาณ)

2. การสอบข้อสอบฉบับที่ 1 ตอนท่ี 1 การบวก เม่ือกรรมการให้สัญญาณเริ่มทาข้อสอบ ให้ผู้แข่งขันเริ่มทาข้อสอบ จับเวลา 5 นาที เม่ือหมดเวลา ให้ผู้แข่งขันวางดินสอ/ปากกา และวางข้อสอบ ไวด้ ้านขวามือของผแู้ ข่งขนั กรรมการเก็บขอ้ สอบตอนที่ 1 การบวก

3. การสอบข้อสอบฉบับที่ 1 ตอนท่ี 2 การลบ เม่ือกรรมการให้สัญญาณเริ่มทาข้อสอบให้ผู้ แข่งขันเริ่มทาข้อสอบ จับเวลา 5 นาที เม่ือหมดเวลา ให้ผู้แข่งขันวางดินสอ/ปากกา และวางข้อสอบไว้ด้าน ขวามือของผูแ้ ขง่ ขัน กรรมการเก็บขอ้ สอบตอนที่ 2 การลบ

4. การสอบข้อสอบฉบับท่ี 1 ตอนท่ี 3 การคูณ เมื่อกรรมการให้สัญญาณเริ่มทาข้อสอบให้ผู้ แข่งขันเร่ิมทาข้อสอบ จับเวลา 5 นาที เม่ือหมดเวลา ให้ผู้แข่งขันวางดินสอ/ปากกา และวางข้อสอบไว้ด้าน ขวามือของผ้แู ข่งขัน กรรมการเก็บขอ้ สอบตอนที่ 3 การคณู

5. การสอบข้อสอบฉบับที่ 1 ตอนท่ี 4 การหาร เม่ือกรรมการให้สัญญาณเร่ิมทาข้อสอบให้ผู้ แข่งขันเร่ิมทาข้อสอบ จับเวลา 5 นาที เม่ือหมดเวลา ให้ผู้แข่งขันวางดินสอ/ปากกา และวางข้อสอบไว้ด้าน ขวามือของผู้แขง่ ขัน กรรมการเก็บข้อสอบตอนที่ 4 การหาร

งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น คร้ังที่ 69 ปกี ารศกึ ษา ๒๕62 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๔๕

วิธกี ารจดั การแข่งขันการสอบ ฉบับที่ 2

1. ในการสอบ เม่ือผู้แข่งขนั เขา้ น่ังประจาท่ีเรยี บร้อยแลว้ กรรมการจะวางขอ้ สอบโดยคว่าข้อสอบ

ไว้ด้านซ้ายมือของผู้แข่งขันจนครบทุกคน กรรมการจะให้สัญญาณเพื่อให้นักเรียนกรอกชื่อ นามสกุล

ชั้น โรงเรยี น ให้เรียบรอ้ ย แลว้ คว่าข้อสอบไว้ท่เี ดมิ (หา้ มเปดิ ข้อสอบจนกวา่ กรรมการจะใหส้ ญั ญาณ)