การ ย ม หน งส อ ห องสม ด ธรรมศาสตร

การเพ่มิ -ถอนรายวิชา กรณีปกติ 1 1. การเพ่ิมหรือถอนรายวิชา จะต้องด�ำเนิน การในช่ วงเวลาปกติ คือ ภายใน 14 วันแรก ของภาคการศึกษาปกติ หรือภายใน 7 วัน แรกของภาคฤดรู อ้ น โดยดำ� เนนิ การในเวบ็ ไซต์ ของส�ำนกั งานทะเบยี นนักศกึ ษา www.reg.tu.ac.th 2. การขอเพ่ิมรายวิชาเม่ือพ้นช่ วงเวลาปกติ 2 จะไม่สามารถด�ำเนินการได้ เว้นแต่มีเหตุผล สมควรและได้รับอนุมัติจากคณบดี 3 3. การขอถอนรายวิชาช่ วงเวลาปกติ รายวิชา ท่ีถอนจะถูกลบออกจากระเบียนการศึกษา และจะไม่ได้รับการบันทึกอักษร W 4.การถอนรายวิชาเม่ือพ้นช่ วงเวลาปกติ 4 (ขอถอนรายวิชากรณีพิเศษ) แต่อยู่ภายใน 10 สัปดาห์แรกของภาคการศึกษาปกติหรือ ยังอยู่ภายใน 4 สัปดาห์แรกของภาคฤดูร้อน จะได้รับการบันทึกอักษร W หากพ้นช่ วงเวลา 10 สัปดาห์ หรือ 4 สัปดาห์ จะไม่สามารถถอน รายวิชาดังกล่าวได้ 5 5. นักศึกษาจะขอถอนรายวิชาจนเหลือจ�ำนวน หน่วยกิต ต่�ำกว่า 9 หน่วยกิต ในการศึกษา ภาคการศึกษาปกติไม่ได้ เว้นแต่มีเหตุผลอัน สมควรและได้รับอนุมัติจากคณบดี FPH FOR SOCIETY 51 “คณะสาธารณสุขศาสตร์เพ่ือสังคม” การถอนรายวชิ า กรณีพเิ ศษ 1 1. นกั ศึกษา Download แบบฟอรม์ คำ� รอ้ งท่ัวไป ท่ีเวบ็ ไซต์ www.fph.tu.ac.th 2. นักศึกษากรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม 2 คำ� รอ้ งท่วั ไป และดำ� เนนิ การสง่ ในระบบ ออนไลน์ 3 3. งานการนักศึกษาตรวจสอบข้อมูล และแบบฟอร์มค�ำร้องท่ัวไป พร้อมทัง้ ลงนามให้ความเห็น 4. นักศึกษารับคืนแบบฟอร์มค�ำร้องทั่วไป 4 ท่ีงานการนักศึกษา ชั้น 10 อาคารปิ ยชาติ 5 5. นักศึกษาเสนอแบบฟอร์มค�ำร้องทั่วไป ต่ออาจารย์ผู้สอน เพ่ือให้ความเห็นชอบ 6 6. นกั ศกึ ษาตดิ ตอ่ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา เพ่อื นดั หมาย ช่ วงเวลาในการเข้าพบล่วงหน้า 1-2 วัน 7 7. นักศึกษาเสนอแบบฟอร์มค�ำร้องท่ัวไป ต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา เพ่ือให้ความเห็นชอบ 8. นักศึกษาด�ำเนินการส่งแบบฟอร์มค�ำร้องท่วั ไป 8 ท่ีงานการนักศึกษา ชั้น 10 อาคารปิ ยชาติ THAM52 เพ่อื สขุ ภาวะ เพ่อื สงั คม หอสมุด ป๋ วย อึ�งภำกรณ์ หอสมุด ป๋ วย อง๊ึ ภากรณ์ ตงั้ อยูท่ ่มี หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต เป็นหอสมุ ด ท่ีเก็บรวบรวมหนังสือทางด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หอสมุด นงเยำว์ ชัยเสรี หอสมุด นงเยาว์ ชัยเสรี ตั้งอยู่ท่ีชั้น 7 อาคารปิ ยชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศนู ยร์ งั สติ เป็นหอสมุดท่เี กบ็ รวบรวมหนงั สอื วารสาร กลุ่มวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ การลาพักการศึกษา 1 1. นกั ศกึ ษา Download แบบฟอร์มลาพักการศกึ ษา ท่เี วบ็ ไซต์ www.fph.tu.ac.th 2. นักศึกษากรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม 2 และด�ำเนินการส่งในระบบออนไลน์ 3 3. งานการนักศึกษาตรวจสอบแบบฟอร์มลาพัก การศกึ ษาและเอกสารแนบ พร้อมทงั้ ลงนามให้ ความเห็นชอบ 4. นักศึกษารับคืนแบบฟอร์มลาพักการศึกษา 4 ท่ีงานการนักศึกษา ชั้น 10 อาคารปิ ยชาติ เพ่ือเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา 5 5. นักศึกษาติดต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา เพ่ือนัดหมาย ช่ วงเวลาในการเข้าพบล่วงหน้า 1-2 วัน 6 6. นักศึกษาเสนอแบบฟอร์มลาพักการศึกษาต่อ อาจารย์ท่ีปรึกษา เพ่ือให้ความเห็นชอบในการ ลาพักการศึกษา 7 7. นักศึกษาช� ำระค่าธรรมเนียมการลาพักการ ศึกษา 300 บาท ต่อภาคการศึกษาท่ีกองคลัง เพ่ือเป็นการรักษาสถานภาพ 8 8. นักศึกษาส่งแบบฟอร์มลาพักการศึกษา และ ส�ำเนาใบเสร็จรับเงินค่าธรรมเนียมการลาพัก การศึกษาท่ีงานการนักศึกษา ชั้ น 10 อาคารปิ ยชาติ THAM54 เพ่ือสขุ ภาวะ เพ่ือสังคม สถานภาพทางวชิ าการของนกั ศกึ ษา มหาวิทยาลัยจะน�ำผลการศึกษาของนักศึกษาแต่ละคน มาค�ำนวณค่าระดับเฉล่ียสะสม เพ่ือพิจารณา สถานภาพทางวิชาการของนักศึกษาทุกภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาจะต้องได้ค่าระดับ (เกรด) เฉล่ยี สะสม ไมต่ ่ำ� กวา่ 2.00 มฉิ ะนนั้ จะไดร้ บั การเตอื น 4 ระดบั คอื Warning 1 (เตอื นครงั้ ท่ี 1) Warning 2 (เตอื นครงั้ ท่ี 2) Probation (รอพนิ จิ ) และ Dismissed (ถอนช่ือ) เหตุท่จี ะท�ำใหส้ ญู เสียสถานภาพนกั ศึกษา คือ ผลการเรยี นไม่เป็นไปตามเกณฑ์ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) สน้ิ สดุ ภาคเรียนท่ี 1 ของปี การศกึ ษาท่ี 1 (ปี 1 เทอม 1) กรณที ่ี 1 GPA ต่�ำกวา่ 1.50 ผลคือ เตือนพิเศษ (WARNING) ซ่ึงยังไม่มีผลใดๆ 2) สนิ้ สุดภาคเรียนท่ี 2 ของปี การศึกษาท่ี 1 (ปี 1 เทอม 2) กรณีท่ี 1 GPA ต่�ำกว่า 1.50 ผลคอื ถูกถอนช่ือจากการเป็นนักศกึ ษา (DISMISSED) กรณที ่ี 2 GPA 1.50 - 1.99 ผลคือ เตือนครงั้ ท่ี 1 (WARNING 1) กรณที ่ี 3 GPA 2.00 ข้ึนไป ผลคอื ไมไ่ ด้รับการเตอื น 3) สน้ิ สุดภาคเรยี นท่ี 2 ของปี การศึกษาท่ี 1 (ปี 2 เทอม 1) กรณที ่ี GPA ต่�ำกว่า 2.00 ผลคือ เตอื นครงั้ ท่ี 2 (WARNING 2) 4) สิน้ สุดภาคเรียนท่ี 2 ของปี การศึกษาท่ี 2 (ปี 2 เทอม 2) กรณีที GPA ต่�ำกวา่ 2.00 ผลคือ รอพนิ ิจ (Probation) 5) สน้ิ สุดภาคเรยี นท่ี 3 ของปี การศกึ ษาท่ี 1 (ปี 3 เทอม 1) กรณีที GPA ต่ำ� กว่า 2.00 ผลคอื ถอนช่ือ (Dismissed) การแกไ้ ขปัญหาท่ีส่งผลกระทบต่อสถานภาพทางวิชาการ เม่ือผลการสอบกลางภาค การสอบย่อย ได้คะแนนต่�ำกว่าค่ากลาง นักศึกษาสามารถตัดสินใจได้ 2 กรณี คือ เรียนต่อวิชานั้นจนจบ หรือถอนรายวิชานั้น แล้วเรียนใหม่ในภาคการศึกษาต่อ ๆ ไป นกั ศกึ ษาควรปรกึ ษาอาจารยผ์ ูส้ อนหรอื อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา หรอื เจา้ หนา้ ท่งี านการนกั ศกึ ษากอ่ นตดั สนิ ใจ เน่ืองจากการถอนรายวิชาต่าง ๆ มีข้อจ�ำกัดของช่ วงเวลาท่ีจะเรียนใหม่ในภาคการศึกษาต่อ ๆ ไป เกณฑ์การส�ำเร็จการศึกษา และการรบั เกียรตินยิ ม เกณฑก์ ารส�ำเรจ็ การศึกษาตามหลักสูตร นกั ศึกษาท่ีจะสำ� เรจ็ การศึกษาได้ จะมคี ณุ สมบตั ดิ ังน้ี 1. ศึกษารายวิชาครบตามโครงสร้างหลักสูตร สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีหน่วยกิตสะสมไม่ต่�ำกว่า 147 หน่วยกิต สาขาวิชาอนามัยส่ิงแวดล้อม มีหน่วยกิตสะสม ไม่ต่�ำกว่า 149 หน่วยกิต สาขาวิชาการสร้างเสริมสุขภาพเชิงนวัตกรรม มีหน่วยกิตสะสม ไมต่ ่ำ� กวา่ 145 หนว่ ยกติ และไดข้ นึ้ ทะเบยี นเปน็ นกั ศกึ ษามาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 7 ภาคการศกึ ษาปกติ 2. ไดเ้ กรดเฉล่ยี สะสมไม่ต่ำ� กว่า 2.00 3. ตอ้ งปฏิบัติตามเง่อื นไขอ่นื ๆ ท่ีคณะสาธารณสขุ ศาสตร์และมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตรก์ ำ� หนด เกณฑก์ ารเสนอช่ือนกั ศึกษาเพ่อื รบั ปริญญาเกียรตินยิ ม เกียรตินยิ มอนั ดับหน่งึ 1. ศกึ ษารายวชิ าครบตามโครงสรา้ งหลักสูตร ภายใน 4 ปีการศึกษา 2. ได้เกรดเฉล่ยี สะสมทุกรายวิชา 3.50 ขนึ้ ไป 3. ทุกรายวชิ าต้องไดเ้ กรดไม่ต่ำ� กว่า C 4. ไมเ่ คยได้เกรด F หรอื ระดับยังใช้ไม่ได้ (U) ในรายวชิ าใด 5. มีรายวิชาท่บี ันทึก W ได้ เกยี รตินิยมอันดับสอง กรณีท่ี 1 1. ศกึ ษารายวิชาครบตามโครงสรา้ งหลักสูตร ภายใน 4 ปีการศึกษา 2. ได้เกรดเฉล่ยี สะสมทกุ รายวชิ า 3.50 ขึน้ ไป 3. มีรายวิชาท่ไี ดเ้ กรดต่ำ� กว่า C 4. ได้เกรดเฉล่ยี สะสมส�ำหรับวชิ าสาขา ไม่ต่ำ� กว่า 2.00 5. ไมเ่ คยไดเ้ กรด F หรอื ระดับยังใช้ไมไ่ ด้ (U) ในรายวชิ าใด 6. มีรายวชิ าท่บี ันทกึ W ได้ เกยี รตนิ ยิ มอันดบั สอง กรณีท่ี 2 1. ศกึ ษารายวิชาครบตามโครงสร้างหลักสูตร ภายใน 4 ปีการศกึ ษา 2. ไดเ้ กรดเฉล่ยี สะสม 3.25 ขึน้ ไป 3. ทุกรายวิชาในหมวดวชิ าเฉพาะ ตอ้ งไดไ้ มต่ ่�ำกว่าอกั ษร C 4. ไม่เคยไดเ้ กรด F หรือระดบั ยงั ใช้ไม่ได้ (U) ในรายวิชาใด 5. มีรายวชิ าท่บี นั ทกึ W ได้ THAM56 เพ่อื สุขภาวะ เพ่ือสังคม การยา้ ยหลักสตู ร 1 1. นักศึกษาตรวจสอบหลักเกณฑ์การย้ายหลักสูตร และย่ืน ความจ�ำนงก่อนเปิ ดภาคการศึกษา ไม่น้อยกว่า 30 วัน 2. นักศึกษา Download แบบฟอร์ม 2 ค�ำร้องท่ัวไป ท่ีเว็บไซต์ www.fph.tu.ac.th 3 3. นักศึกษากรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม พร้อมทัง้ แนบไฟล์ ใบรายงานผลการศึกษา และใบผลคะแนนสอบรับเข้า ส่งในระบบแบบออนไลน์ 4. งานการนักศึกษาตรวจสอบแบบฟอร์ม 4 ค�ำร้องท่ัวไป และเอกสารแนบ พร้อมทัง้ ลงนามให้ความเห็นชอบ 5 5. นักศึกษารับคืนแบบฟอร์มค�ำร้องทั่วไป และเอกสารแนบ ท่ีงานการนักศึกษา ชั้น 10 อาคารปิ ยชาติ เพ่ือเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา 6. นักศึกษาติดต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา 6 เพ่อื นัดหมายช่ วงเวลาในการเข้าพบ ล่วงหน้า 1-2 วัน 7. นักศึกษาเสนอแบบฟอร์มค�ำร้องท่ัวไป และเอกสารแนบต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา 7 เพ่ือให้ความเห็นชอบ 8. นักศึกษาด�ำเนินการส่งแบบฟอร์มค�ำร้องท่ัวไป 8 และเอกสารแนบท่ีงานการนักศึกษา ชั้น 10 อาคารปิ ยชาติ 9 9. งานการนักศึกษาด�ำเนินการเสนอเร่ืองต่อ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และแจ้งผลการ ย้ายหลักสูตรให้นักศึกษาทราบต่อไป การขอหนังสือรบั รองการเป็นนักศกึ ษา และหนงั สือรับรองความประพฤติ 1 1. นักศึกษา Download แบบฟอร์มค�ำร้องท่ัวไป ท่ีเว็บไซต์ www.fph.tu.ac.th 2 2. นักศึกษากรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม และด�ำเนินการส่งในระบบแบบออนไลน์ 3 3. งานการนักศึกษาตรวจสอบแบบฟอร์มค�ำร้องท่ัวไป พร้อมทัง้ ลงนามให้ความเห็นชอบ 4. งานการนักศึกษาด�ำเนินการจัดท�ำ 4 หนังสือรับรองการเป็นนักศึกษา 5. นักศึกษาติดต่อรับหนังสือรับรอง การเป็นนักศึกษา ท่ีงานการนักศึกษา 5 ชั้น 10 อาคารปิ ยชาติ THAM58 เพ่อื สขุ ภาวะ เพ่อื สงั คม คำ� ถำมท่ีพบบอ่ ย ลา� ดบั ถาม ตอบ 1 กิจกรรมและก�าหนดการต่าง ๆ ของแต่ละ ดูได้จากปฏิทินการศึกษา ท่ีเว็บไซต์ www.reg.tu.ac.th ภาคการศกึ ษา หัวข้อ นักศึกษาปัจจุ บัน >> ปฎิทินการศึกษาและตาราง สอบไล่ หรือ เมนูซ้ายมือ >> ปฏิทินกิจกรรมการศึกษา เลือกชุดปฏิทนิ ตามท่ีต้องการ 2 รายวชิ าใดท่ีตอ้ งขอโควตาบ้าง ไปท่เี ว็บไซต์ www.reg.tu.ac.th >> ค้นหารายวิชา วชิ าใด ท่ตี อ้ งขอโควตาจะมสี ญั ลกั ษณแ์ สดงอยู่ และตดิ ตอ่ ขอโควตา ท่ีคณะเจา้ ของวิชา 3 บัตรนกั ศกึ ษาหายไม่สามารถช�าระ 1. นักศึกษายนื ยนั ผลการจดทะเบยี น ในช่วงเวลาท่ีก�าหนด ค่าธรรมเนียมการศึกษาฯ ได้ ตามปฏทิ นิ การศึกษา 2. นกั ศกึ ษาพมิ พใ์ บช�าระเงนิ ในเวบ็ ไซตข์ องสา� นกั งานทะเบยี น นกั ศึกษา นบั จากวนั สุดทา้ ยของการจดทะเบียน 1-2 วนั 3.นักศึกษาติดต่อเคาน์เตอร์ส�านักทะเบียนนักศึกษา เพ่ือขอทา� บัตรนกั ศึกษาใหม่ 4.นักศึกษาด�าเนินการผ่านเว็บไซต์ส�านักงานทะเบียน นักศึกษา และภายในช่วงเวลาท่ีก�าหนดเท่านัน้ หากพ้น ช่วงเวลาท่ีก�าหนด จะไมส่ ามารถขอกรณพี ิเศษได้ 4 การจดทะเบยี น เพ่ิม-ถอนรายวชิ า นกั ศกึ ษาดา� เนนิ การผา่ นเวบ็ ไซตส์ า� นกั งานทะเบยี นนกั ศกึ ษา และภายในช่ วงเวลาท่ีก�าหนดเท่านั้น หากพ้นช่ วงเวลาท่ี กา� หนด จะไมส่ ามารถขอกรณีพเิ ศษได้ ลา� ดบั ถาม ตอบ 5 การขอลาพักการศึกษา/ลาออกจากการเป็น - นักศึกษาติดต่องานการนักศึกษา คณะสาธารณสุข นักศึกษา ศาสตร์ เพ่ือเขยี นคา� ร้องท่วั ไป ทัง้ นี้ การดา� เนินการตา่ ง ๆ เป็นไปตามข้อบังคบั มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ วา่ ด้วยการ ศึกษาชั้นปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2561 ภายใน 30 วนั นบั จาก วนั เปิดภาค มฉิ ะนนั้ จะถกู ถอนช่ือออกจากทะเบยี นนกั ศกึ ษา - นักศึกษาท่ีจดทะเบียนรายวิชาประจ�าภาคการศึกษา เรียบรอ้ ยแล้ว และประสงค์จะลาพักการศึกษา นกั ศกึ ษาไม่ ต้องช�าระคา่ ธรรมเนียมการรกั ษาสถานภาพ - นักศึกษาท่ีไมไ่ ดจ้ ดทะเบียนรายวิชาประจ�าภาคการศึกษา นักศึกษาต้องช� าระค่าธรรมเนียมการรักษาสถานภาพ 300 บาท 6 การจดทะเบียนรายวิชา สูงและต่�ากว่า - ภาคปกติ จดทะเบียนรายวิชาสูงสุด 22 หน่วยกิต หนว่ ยกิตท่ีก�าหนด ต่�าสุด 9 หน่วยกิต ยกเว้น เจ็บป่ วยและต้องได้รับอนุมัติ จากคณบดี หรือ กรณีท่ีคาดว่าจะเป็นภาคสุดท้ายของ การศึกษารายวิชาของนักศึกษาเท่าน้นั และยกเว้นกรณีท่ี เป็นนักศึกษาท่ีมีฐานะชั้นปีท่ี 4 ได้รับอนุมตั ิจากอธกิ ารบดี - ภาคฤดรู อ้ นจดทะเบียนรายวชิ าสงู สดุ 6 หน่วยกติ หาก จะจดทะเบียนรายวิชาเกินกว่า 6 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 9 หนว่ ยกติ ทา� ไดใ้ นกรณที ่ีคาดวา่ จะเป็นภาคสดุ ทา้ ยของการ ศกึ ษารายวิชาของนกั ศึกษาและไดร้ ับอนุมัตจิ ากคณบดี 7 ใสเ่ ลขหน้าบตั รนักศึกษา 16 หลกั และ ATM - กรณใี ส่ ATM PIN ผิดเกนิ 3 ครงั้ ระบบของธนาคารจะ PIN แลว้ ระบบแจง้ Error หรอื ขอ้ มูลผดิ พลาด ไม่อนุญาตให้เข้าท�ารายการ ให้นักศึกษาน�าบัตรนักศึกษา และสมุดบญั ชีธนาคารมาตดิ ตอ่ ท่ีธนาคารด้วยตนเอง - กรณที า� บัตรนักศกึ ษาใบใหมใ่ ห้นา� บตั รนกั ศกึ ษาใบใหม่ไป ตดิ ตอ่ ท่ธี นาคารกรุงเทพฯ เพ่อื เช่ือมตอ่ ขอ้ มูลบตั รนกั ศกึ ษา กบั บัญชีธนาคาร 8 ขอรบั ใบเสรจ็ คา่ จดทะเบยี นเรยี น ไปท่เี วบ็ ไซต์ www.reg.tu.ac.th >> เขา้ สรู่ ะบบ >> เมนพู มิ พ์ ใบเสร็จส่ังพิมพ์เสร็จได้ด้วยตนเอง เร่ิมพิมพ์ได้ประมาณ 14 วันท�าการ นับจากวันช�าระเงิน แต่หากมีการส่ังพิมพ์ ฉบับจริงไปแล้ว ใหน้ กั ศกึ ษาพมิ พฉ์ บับสา� เนา และน�ามาให้ งานการนกั ศกึ ษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ หรืองานคลัง มหาวทิ ยาลยั ประทบั ตรามหาวิทยาลยั 9 เอกสารประกอบการเบกิ คา่ เลา่ เรยี น ไปท่ีเว็บไซต์ www.reg.tu.ac.th >> เล่ือนลงมาด้านล่าง สุดของเว็บไซต์ ดาวน์โหลดเอกสารท่ีใช้ประกอบการเบิก ค่าเล่าเรยี น THAM60 เพ่อื สขุ ภาวะ เพ่ือสังคม ล�าดบั ถาม ตอบ 10 เข้าสูร่ ะบบเว็บไซต์สา� นักงานทะเบยี น ให้นักศึกษาติดต่อท่ี http://helpdesk.tu.ac.th/login.php นกั ศึกษาไม่ได้ ของส�านักงานศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 11 การเทียบโอนหนว่ ยกติ แตล่ ะคณะจะมเี ง่อื นไขแตกตา่ งกนั ดรู ายละเอยี ดไดท้ ่เี วบ็ ไซต์ www.reg.tu.ac.th >> “คมู่ อื การศกึ ษาออนไลน”์ >> หลกั เกณฑ์ การยา้ ยคณะและเทยี บโอนหนว่ ยกติ (สา� หรบั ระดบั ปรญิ ญาตร)ี >> หลักเกณฑ์การเทียบโอนหน่วยกิตเป็นเบื้องต้น หลัง จากนัน้ ติดต่องานการนักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ เพ่ือย่นื ความประสงค์ 12 นักศึกษาท่ีมีปัญหาในการจดทะเบียนเรียน ในการปฏิบัติงานจัดการศึกษา หากพบว่ามีนักศึกษาท่ีมี ไมเ่ ป็นไปตามแผนการศกึ ษา ปั ญหาในการลงทะเบียนเรียนไม่เป็นไปตามแผนการศึกษา จะด�าเนินการจัดท�าข้อมูลของนักศึกษากลุ่มน้ี โดยท�าการ ตรวจสอบผลการศึกษาของนักศึกษาท่ีมีปั ญหาแต่ละราย บุคคล และจัดท�าแผนการศึกษาตามโครงสร้างหลักสูตร ขน้ึ มาเฉพาะ เพ่ือตรวจสอบวา่ นกั ศกึ ษาเรยี นผ่านวิชาอะไร มาบา้ งแลว้ หรอื ยังไมผ่ า่ นรายวิชาใด หลังจากนัน้ ก็ดา� เนิน การจดั ทา� แผนการศกึ ษาแตล่ ะภาคการศกึ ษาตลอดหลกั สตู ร ให้กับนักศึกษา และบางรายวิชาท่นี ักศึกษายังเรียนไม่ผ่าน เง่อื นไขของวชิ า กจ็ ะประสานงานไปยงั คณะท่ีเก่ยี วขอ้ ง เพ่อื หาทางแก้ไขให้กับนักศึกษา โดยก่อนการลงทะเบียนเรียน ทกุ ภาคการศกึ ษา จะติดต่อและประสานงานไปยงั นกั ศกึ ษา เพ่ือแจ้งให้นักศึกษามาพบและแนะน�าแผนการศึกษาและให้ นักศึกษาด�าเนินการจดทะเบียนเรียนตามท่ีได้จัดท�าแผน การศึกษาไว้ให้เท่านัน้ 13 จดทะเบยี นรายวชิ าเรยี บรอ้ ยแลว้ แตร่ ายวชิ า ตรวจสอบการจดทะเบียนรายวิชา โดยนักศึกษาจะต้อง ไมป่ รากฏท่ีหน้าเว็บไซต์ ดา� เนนิ การยนื ยันการจดทะเบียนรายวิชาในระบบ และตรวจ สอบผลการจดทะเบยี นทุกครัง้ 14 การขอผ่อนผันการช� าระค่าธรรมเนียม งานการนักศึกษาจะแจ้งก�าหนดการและรายละเอียดการ การศกึ ษา ขอผ่อนผันการช�าระเงินค่าธรรมเนียมฯ ก่อนช่วงการจด ทะเบยี นรายวิชาประมาณ 2 สปั ดาห์ เพ่อื ท่ีจะได้ด�าเนนิ การ แล้วเสร็จภายในช่ วงการจดทะเบียนและช� าระค่าธรรมเนียม ประจ�าภาคการศกึ ษา FPH FOR SOCIETY 61 “¤³ÐÊÒ¸ÒóÊØ¢ÈÒʵÏà¾è×ÍÊѧ¤Á” กิจกรรมนกั ศกึ ษำกบั กำรพัฒนำ นกั ศกึ ษำให้มคี ณุ ลักษณะ GREATS แนวคิด คุณลักษณะ G : Global Mindset ทนั โลก ทนั สงั คม เทา่ นกั ศกึ ษาตระหนกั ถงึ ความสา� คญั และความจา� เปน็ ท่ีตอ้ งเปิดโลกทศั นใ์ ห้ ทนั การเปล่ียนแปลงของโลกใน มติ ติ า่ ง ๆ กวา้ งขวางย่งิ ขน้ึ สนใจ และตดิ ตามปรากฏการณท์ ่สี า� คญั ทางการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรมท่กี า� ลงั เปน็ กระแสทงั้ ในระดบั ประเทศระดบั ภมู ภิ าคอาเซียน และระดบั โลกเพ่อื ใหท้ นั โลกและสามารถใช้ประโยชนจ์ าก ความทนั โลกในการพฒั นาศักยภาพของตนเอง R : Responsibility มีส�านึกรับผิดชอบ นักศึกษาเข้าใจหลักการความย่ังยืนและตระหนักในคุณค่าของ อยา่ งย่งั ยนื ตอ่ ตนเอง บุคคลรอบ ขา้ งสงั คม ความย่ังยืน เข้าใจธรรมชาติของสรรพส่ิงท่ีเช่ือมโยงและเป็นพลวัตร และส่งิ แวดล้อม สามารถน�าความเข้าใจทั้งสองเร่ืองมาประยุ กต์ใช้ ในชี วิตประจ�าวัน ในเร่อื งการบริโภค การใช้ทรพั ยากร เช่น น้า� พลังงาน ฯลฯ อยา่ งมี สา� นึกรับผิดชอบต่อตนเองคนรอบขา้ งสงั คมและส่ิงแวดล้อม E : Eloquence ส่ือสารอย่างสร้างสรรค์ นักศึกษามีทักษะการคิดอย่างสร้างสรรค์โดยมีการคิดเชิงวิพากษ์เป็น และทรงพลัง มสี ุนทรยี ะในหัวใจ องคป์ ระกอบสา� คัญ สามารถจัดการเนอื้ หาท่ตี นเองคิดอย่างเป็นระบบ เพ่ือส่ือสารไปยงั ผูร้ ับในระดับตา่ ง ๆ คอื ระดบั บุคคลองค์กรและสังคม ได้อย่างชัดเจน เหมาะสมกับสถานการณ์ท่ีมีบริบทท่ีต่างกัน ในด้าน สงั คมวฒั นธรรมสภาพแวดลอ้ มและเกดิ ผลสมั ฤทธ์ติ ามท่ตี อ้ งการอยา่ ง เป็นรูปธรรม A : Aesthetic Appreciation ซาบซ้ึง นกั ศกึ ษามีความรูใ้ นการดูแลตนเองแบบองคร์ วม (รา่ งกาย อารมณ์ ในความงามคุณค่าของ ศิลปะดนตรีและ สงั คมและจติ วญิ ญาณ) ในดา้ นการบรโิ ภคอาหาร การออกกา� ลงั กาย สถาปัตยกรรม อกาารรปม้ อณงก์เมัน่ือโรเผคชิ ญกากรับจัดปั กญาหรคา วารมับเรคู ้แรลียะดซากบาซรึ้ งสใรน้าคงวคาวมางมามม่ันคคุณงทคา่งา ของศิลปะใน แขนงต่าง ๆ ทงั้ ทัศนศิลป์ ดนตรีศิลปะการแสดง และ สถาปัตยกรรม T : Team Leader ท�างานร่วมกบั ผูอ้ ่นื ได้ นักศึกษาประพฤติปฏิบัติต่อผู้อ่ืนอย่างมีมารยาทพ้ืนฐานในการฟั ง ทัง้ บทบาทผูน้ า� และบทบาททมี ปฏบิ ตั ติ นอย่างเครง่ ครดั ในเร่อื งการตรงเวลา เคารพกติกา เคารพ สิทธิผู้อ่ืน ยอมรับความคิดเห็นท่ีแตกต่าง มีความรับผิดชอบ มกี ริ ยิ าและวาจาท่สี ภุ าพแสดงออกถงึ มติ รไมตรเี ม่อื ตอ้ งทา� งานรว่ มกนั สามารถปรับพฤติกรรมของตนเองได้อย่างเหมาะสม ท้ังบทบาทผู้น�า และบทบาททีมงาน เพ่ือใหง้ าน โดยรวมส�าเรจ็ ตามท่ตี อ้ งการ S : Spirit of Thammasat จติ วิญญาณ นักศึกษามีความรู้ในเร่ืองระบอบประชาธิปไตย สิทธิเสรีภาพบนพื้น ความเป็นธรรมศาสตร์เช่ื อม่ันระบอบ ประชาธปิ ไตย สทิ ธเิ สรภี าพ ยอมรบั ในความ ฐานความแตกต่างแนวคิดทางการเมือง สังคม เชื้อชาติ ศาสนา เห็นท่ีแตกต่าง และตอ่ สเู้ พ่ือความเป็นธรรม และวัฒนธรรมอย่างผสมผสาน เสียสละแรงกาย และอ่ืน ๆ เพ่อื ช่วย เหลือบุคคลและสังคมโดยมิต้องได้รับค�าร้องขอ ประพฤติปฏิบัติในวิถี ประชาธิปไตยไม่เพิกเฉยตอ่ ความไม่ถกู ตอ้ งความไม่เป็นธรรมตอ่ สงั คม โดยเขา้ ไปช่วยเหลืออยา่ งเหมาะสม เพ่ือสขุ ภาวะ เพ่ือสงั คม ทนุ การศึกษา ทนุ กยู้ ืมเพ่ือการศกึ ษา ทนุ ก้ยู มื เพ่อื การศกึ ษาเป็นทนุ ท่มี ุ่งสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาโดยสนับสนนุ คา่ เล่าเรยี น คา่ ใช้จา่ ย ท่เี ก่ยี วเน่อื งกบั การศกึ ษา และ คา่ ครองชีพ แกน่ กั เรยี น นกั ศกึ ษาท่มี คี วามจำ� เป็นหรอื ขาดแคลน ทนุ ทรัพย์ตงั้ แตร่ ะดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายจนถึงระดบั อุดมศกึ ษา มี 2 ประเภท คอื ทนุ กูย้ มื เงินเพ่ือการศกึ ษา (กยศ.) และ ทุนกยู้ ืมเงนิ เพ่อื การศกึ ษาท่ีผูกขาดกบั รายไดใ้ นอนาคต (กรอ.) ทนุ การศึกษาประเภทให้เปลา่ (ทนุ ท่ัวไป) เป็นทุนท่ีมีผู้มีจิตศรัทธา ศิษย์เก่า บริษัท ห้างร้าน มูลนิธิ สมาคม ชมรม ได้บริจาคเงินให้ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เพ่อื เปน็ ทนุ การศกึ ษาแกน่ กั ศกึ ษาท่ขี าดแคลนทนุ ทรพั ย์ โดยใหค้ ณะฯ มหาวทิ ยาลัย หรือ ส�ำนกั งานคณะกรรมการอุดมศึกษาด�ำเนนิ การรับสมคั รและสัมภาษณเ์ พ่ือ พจิ ารณาคดั เลือกนักศกึ ษาใหไ้ ด้รบั ทุนการศึกษา FPH FOR SOCIETY 63 “คณะสาธารณสุขศาสตร์เพื่อสังคม” ตำรำงเปรียบเทียบควำมแตกตำ่ งระหว่ำงหลกั เกณฑ์ ของกองทุน กยศ. และกรอ. รายการ กองทนุ กยศ. กองทุน กรอ. กลมุ่ เป้าหมาย - ผู้ขาดแคลนทนุ ทรพั ย์ - ไมจ่ า� กดั รายได้ของครอบครัว - อายุของผูก้ ู้ขณะกู้ เม่ือนบั รวมกบั จ�านวนปี - อายุไม่เกนิ 30 ปี ของหลักสูตรท่ีเรียน รวมระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปี และระยะเวลาผอ่ นผันช�าระอกี 15 ปี ต้อง ไมเ่ กนิ 60 ปี ระดับการศึกษา - ม.ปลาย ปวช. ปวส.อนปุ รญิ ญาและปรญิ ญาตรี - ปวส. อนปุ รญิ ญา และปรญิ ญาตรี หมายเหตุ : ระดับปวส. อนุปริญญา และ หมายเหตุ : ปรญิ ญาตรี กูย้ มื ไดท้ กุ สาขาวิชา - ระดับปวส. ก้ยู ืมไดท้ กุ สาขาวชิ า - ระดบั อนปุ ริญญาและปรญิ ญาตรี กู้ยืมได้ เฉพาะสาขาวิชาท่ีเป็นความต้องการของ ประเทศ ประเภทของการกู้ยืม - คา่ เลา่ เรียน - ค่าเลา่ เรียน - คา่ ใช้จ่ายท่ีเก่ยี วเน่อื งกับการศึกษา - ค่าใช้จ่ายท่ีเก่ียวเน่อื งกับการศึกษา - ค่าครองชีพ - ค่าครองชีพ (เฉพาะผูข้ าดแคลนทนุ ทรพั ยร์ ายไดผ้ ูป้ กครอง รวมกันไม่เกนิ 360,000 บาท) การช�าระหน้ี เม่อื สา� เรจ็ หรอื ยกเลกิ การศกึ ษา 2 ปี ตอ้ งช�าระ 1. สา� หรบั ผู้กู้ ปีการศึกษา 2549 2551 2552 ให้เสร็จสิน้ ภายในระยะเวลา 15 ปี เม่อื สา� เรจ็ หรอื ยกเลกิ การศกึ ษา 2 ปี ตอ้ งช�าระ ใหเ้ สรจ็ สิน้ ภายในระยะเวลา 15 ปี 2. ส�าหรบั ผู้กู้ตัง้ แต่ ปีการศึกษา 2555 เม่ือมีรายได้ 16,000 บาทต่อเดือน หรือ 192,000 บาทต่อปี และต้องช�าระให้เสร็จสิ้น ภายในระยะเวลา 15 ปี นับตัง้ แตว่ ันเร่มิ ช�าระ อตั ราดอกเบี้ย ร้อยละ 1 ต่อปี ร้อยละ 1 ตอ่ ปี กVยSกศรอ เพ่ือสขุ ภาวะ เพ่อื สงั คม ทุนกำรศกึ ษำประเภทให้เปล่ำ ลา� ดบั ช่ือทุน จา� นวนเงนิ ตอ่ ทนุ 1 ทุนวนั เกดิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ทุนเต็ม) (บาท) 2 ทนุ วนั เกดิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ทนุ บางสว่ น) 3 ทนุ มูลนธิ ิชวน รัตนรกั ษ์ 80,000 4 ทุนมูลนิธิอายโิ นะโมะโตะ๊ เพ่ือผูม้ คี วามสามารถพิเศษ 33,000 5 ทนุ มูลนธิ ิอายโิ นะโมะโตะ๊ (ทุนสง่ นอ้ งเรยี นจบ) 78,500 6 ทนุ บรษิ ทั บุญรอดบริวเวอร์ร่ี จา� กัด 60,000 7 ทนุ มูลนิธิศรวี ิสารวาจา 30,000 8 ทุนธนาคารกรุงไทย 25,000 9 ทนุ สง่ เสรมิ การศกึ ษา 20,000 10 ทุนอากอนชู 20,000 11 ทุมมูลนธิ ิป่ อเตก็ ต้ึง 10,000 12 ทนุ พระราชทานโครงการราชประชาสมาสยั เฉลมิ พระเกยี รติ 20,000 13 ทุนการศึกษาปีสดุ ท้าย (สัญจร) ฯ 25,000 14 ทุนการศึกษาบริษัทกรุงไทยการไฟฟ้าจา� กัด 8,000 15 ทนุ MPE 25,000 16 ทุนสมเด็จพระเจา้ พ่นี างเธอฯ 40,000 5,000 4,000 FPH FOR SOCIETY 65 “¤³ÐÊÒ¸ÒóÊØ¢ÈÒʵÏà¾×èÍÊѧ¤Á” คุณสมบตั ขิ องผู ้สมัครรบั ทนุ กำรศกึ ษำ ล�าดบั ช่ื อทุน ตอบ 1 ทุนวันเกิดมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 1) เป็นนกั ศึกษาชั้นปีท่ี 1 และไม่ได้รบั ทนุ การศกึ ษาใด ๆ (ทุนตอ่ เน่อื ง) 2) มีคะแนนเฉล่ียสะสมในชั้น ม.4-ม.6 ไมต่ ่�ากวา่ 2.50 3) รายไดข้ องครอบครัวไม่เกนิ 300,000 บาท/ปี 4) มีความประพฤติเรียบร้อย 5) เป็นคนดีและมีจิตสาธารณะ และเป็นผู้ท่ีท�ากิจกรรม ดา้ นจติ อาสาในโรงเรยี นหรอื นอกโรงเรยี นในลกั ษณะขอ้ ใด ขอ้ หน่ึง ดังนี้ - ทา� กิจกรรมจิตอาสาในโรงเรยี น โดยมตี า� แหน่ง ตา่ งๆ ในกจิ กรรมนกั เรียนของโรงเรยี น - ทา� กจิ กรรมจติ อาสานอกโรงเรยี น ท่จี ดั โดยหนว่ ย งานภาครฐั ภาคเอกชน หรือ ภาคชุมชน 2 ทุนมูลนิธิชวน รตั นรกั ษ์ 1) เป็นนกั ศึกษาชั้นปีท่ี 1 และไมไ่ ดร้ ับทนุ การศึกษาใด ๆ (ทนุ ต่อเน่อื ง) 2) เกรดเฉล่ียไม่ต่�ากว่า 2.75 3) เป็นผูข้ าดแคลนทุนทรัพย์ รายได้ครอบครวั ไมเ่ กนิ 3 ทุนมูลนธิ ิอายโิ นะโมะโต๊ะ เพ่ือผูม้ ีความสามารถพิเศษ 150,000 บาท (ทุนต่อเน่อื ง) 4) ไมเ่ ป็นโรคท่ีเป็นอุปสรรคตอ่ การศกึ ษา 5) มีความมุ่งม่ันในการเรียน ปฏิบัติตนอยูใ่ นระเบยี บวินัย 4 ทนุ มูลนธิ อิ ายโิ นะโมะโต๊ะ (ทนุ ส่งน้องเรียนจบ) (ทุนต่อเน่ือง) ของสถาบนั 6) ทา� กจิ กรรมของสถาบนั หรอื สังคม 1) เป็นนกั ศกึ ษาชั้นปีท่ี 1-3 สาขาวิชาอาชีวอนามัย และความปลอดภยั และไมไ่ ดร้ บั ทนุ การศึกษาใดๆ 2) เกรดเฉล่ีย 3.15 ข้ึนไป 3) มคี วามสามารถด้านภาษาองั กฤษ (เกรดเฉล่ีย 3.00 ขน้ึ ไป หรอื มผี ลคะแนนทดสอบภาษาองั กฤษ TUGET 500 คะแนนข้ึนไป) 4) มคี วามสนใจในการทา� งานในภาคธุรกจิ หรอื อุตสาหกรรม ภายหลังส�าเร็จการศกึ ษา 5) เป็นผู้มีความประพฤติดี ทัศนคตดิ ี และสขุ ภาพรา่ งกาย แขง็ แรง 1) เป็นนกั ศกึ ษาชั้นปีท่ี 1 สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภยั 2) เกรดเฉล่ีย 3.15 ขึ้นไป 3) เป็นผูข้ าดแคลนทนุ ทรพั ย์ รายได้ครอบครัวไมเ่ กนิ 200,000 บาท/ปี 4) เป็นผูท้ ่ีไมไ่ ด้รบั ทนุ การศกึ ษาอ่ืนอยู่กอ่ น ยกเวน้ ทุนกู้ยมื เงินเพ่ือการศกึ ษา (กยศ./กรอ.) เพ่ือสขุ ภาวะ เพ่ือสังคม ล�าดับ ช่ื อทุน คณุ สมบัตขิ องผูส้ มคั รรับทุนการศกึ ษา (ตอ่ ) 5 ทุนบรษิ ัท บุญรอดบรวิ เวอร์ร่ี จา� กัด ตอบ (ทุนตอ่ เน่อื ง) 1) เป็นนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี ชั้นปีท่ี 1 6 ทนุ มูลนธิ ศิ รวี สิ ารวาจา 2) เกรดเฉล่ีย 3.00 ขน้ึ ไป (ทุนต่อเน่อื ง) 3) มีความประพฤตดิ ี และเป็นผูข้ าดแคลนทนุ ทรัพย์ 7 ทุนธนาคารกรุงไทย 1) เป็นผู้มคี วามประพฤติเรียบรอ้ ย 2) เกรดเฉล่ียไมต่ ่า� กว่า 2.50 8 ทุนส่งเสริมการศึกษา 3) เป็นผู้มคี วามจ�าเป็น และขาดแคลนทนุ ทรัพย์ 9 ทุนอากอนชู 1) เป็นนักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ 10 ทมุ มูลนิธิป่ อเต็กตึง้ 2) เกรดเฉล่ียไม่ต่�ากว่า 2.50 3) เป็นผูม้ คี วามประพฤติดี แต่ขาดแคลนทนุ ทรัพย์ 11 ทุนการศึกษาปีสดุ ท้าย (สญั จร) ฯ 1) เป็นผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ 2) เกรดเฉล่ียสะสมไมต่ ่�ากวา่ 2.00 หรือเป็นผู้ท่ีมีความ สามารถศึกษาตอ่ จนจบการศกึ ษาได้ 3) มีความประพฤติเรยี บรอ้ ย ไม่เคยถกู ลงโทษทางวินัย นักศกึ ษา 4) เป็นผู้ท่ีไม่ได้รับทุนการศึกษาอ่ืนอยู่ก่อน ยกเว้นทุน ประเภทรางวลั หรอื ทนุ ท่ใี หแ้ กผ่ ูท้ ่ีมคี วามสามารถพเิ ศษ หรือทุนกู้ยืมเงินเพ่ือการศึกษา หรือให้อยู่ในดุลยพินิจ ของคณะกรรมการพิจารณา 1) เป็นนกั ศึกษามหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนย์ล�าปาง 2) เกรดเฉล่ียสะสมไมต่ ่�ากว่า 2.50 3) เป็นผู้มีความประพฤตดิ ี แตข่ าดแคลนทุนทรพั ย์ 1) เป็นนักศึกษาชั้นปีท่ี 4 2) เกรดเฉล่ียสะสมไมต่ ่�ากวา่ 2.50 3) เป็นผูข้ าดแคลนทนุ ทรพั ย์ 4) นกั ศึกษาจะต้องกรอกใบสมัครให้ถกู ต้องและครบถว้ น โดยมีความเหน็ ของอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา 1) เป็นนักศกึ ษากา� ลงั ศึกษาอยูช่ ั้นปีสุดทา้ ยของสถานศึกษา 2) เกรดเฉล่ียไมต่ ่า� กว่า 2.50 3) ฐานะยากจนหรือประสบปัญหาระหวา่ งการเรยี น 4) ประพฤติตนดแี ละอยูใ่ นกฎระเบยี บอย่างเคร่งครัด FPH FOR SOCIETY 67 “¤³ÐÊÒ¸ÒóÊØ¢ÈÒʵÏà¾è×ÍÊѧ¤Á” คุณสมบัติของผูส้ มัครรับทนุ การศึกษา (ต่อ) ล�าดับ ช่ือทนุ ตอบ 12 ทุน MPE 1) เป็นนักศึกษามหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ย์ล�าปาง 2) เกรดเฉล่ียสะสมไมต่ ่า� กว่า 2.75 3) มีความประพฤติเรยี บร้อยและไม่เคยถูกลงโทษทางวินัย จากมหาวิทยาลยั 13 ทุนสมเดจ็ พระเจา้ พ่ีนางเธอฯ ท1)นุ เกปา็นรนศกั กึ ศษึกาสษา�าหชรั้นบั ปซีทื้อ่ี ต2า� รขา้นึ ทไ่ปใี ช้ในการศกึ ษาชั้นปรญิ ญาตรี 2) เกรดเฉล่ียสะสมไม่ต่�ากว่า 2.00 3) เป็นผู้มีความประพฤติดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ 4) นักศกึ ษาท่ีไดร้ ับทนุ การศึกษาอ่ืนอยู่กอ่ นแลว้ วงเงินไม่ เกิน 10,000 มีสิทธ์ิขอรบั ทนุ น้ี 5) นักศึกษาผู้ได้รับทุนกู้ยืมเพ่ือการศึกษา และนักศึกษา โครงการเรียนดีจากชนบท เขตเมือง ประเภททุนเต็ม และทุนบางส่วนไม่มสี ทิ ธ์ิขอรับทนุ น้ี 14 ทนุ มูลนธิ ิ ทางสู่ฝัน ปั้นคนเก่ง 1) เป็นนักศึกษาคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ศนู ยร์ ังสติ 2) เป็นผูม้ ีความประพฤติดี อยู่ในระเบยี บวนิ ยั 3) อายุไม่เกิน 21 ปีบริบูรณ์ 4) เป็นผู้ด้อยโอกาสเน่ืองจากครอบครัวยากจนหรือขาด บุพการโี ดยอยูใ่ นการอุปการะของบุคคลอ่นื ซ่ึงผูอ้ ุปการะ มีฐานะยากจนมีรายได้รวมต่�ากว่า 180,000 บาท/ปี หรือเป็นผู ้อยู ่ในความดูแลอุ ปถัมภ์ของสถานสงเคราะห์ หรือมูลนธิ ิตา่ งๆ เพ่อื สุขภาวะ เพ่อื สงั คม แนวทางการดำ� เนินการ กองทนุ เพ่อื ช่ วยเหลือนกั ศกึ ษา 1. การด�ำเนนิ การจัดสรรเงินกองทุน 1.1 จดั สรรทนุ แบบไมต่ อ่ เน่อื งแกน่ กั ศกึ ษาท่มี คี วามจำ� เปน็ ทางการเงนิ ในอตั ราทนุ ละ 10,000 บาท (ศนู ย์รงั สติ จ�ำนวน 4 ทนุ ศนู ยล์ ำ� ปาง จำ� นวน 2 ทุน) โดยเปิดรับสมคั รนกั ศึกษาท่ีมีความ ขาดแคลนทุนทรัพยท์ ่จี �ำเป็นต้องได้รบั ทนุ การศกึ ษาอยา่ งเรง่ ด่วน ปีการศกึ ษาละ 2 ครัง้ ครัง้ ท่ี 1 รบั สมัครและพจิ ารณาคัดเลือก เดือน กนั ยายน ครัง้ ท่ี 2 รบั สมัครและพจิ ารณาคัดเลือก เดอื น กุมภาพันธ์ 1.2 จัดสรรเงินยืมฉุกเฉินส�ำหรับนักศึกษาท่ีมีความจ�ำเป็นเร่งด่วนทางการเงิน ให้ยืมได้ครั้งละ ไมเ่ กนิ 5,000 บาท - ประชาสัมพนั ธใ์ หน้ กั ศึกษาทราบ - นกั ศกึ ษาท่มี คี วามประสงคย์ มื เงนิ ฉกุ เฉนิ กรอกเอกสารและสง่ ใบคำ� รอ้ งท่งี านการนกั ศกึ ษา - คณะกรรมการกองทุนฯ พจิ ารณาเงนิ ทนุ สำ� หรบั ช่วยเหลอื นกั ศึกษา 1.3 เบกิ จา่ ยเงินจากกองทนุ ฯ ใหน้ ักศกึ ษาโดยตรงในกรณที ่ีนักศึกษาขาดแคลนทนุ ทรพั ย์อย่าง หนักและต้องการความช่วยเหลือแบบเร่งด่วน ซ่ึงมีผู้มจี ิตศรัทธาได้บริจาคเงนิ ผ่านกองทุนฯ เพ่อื ช่วยเหลอื นกั ศึกษารายดังกล่าว 1.4 จดั สรรค่าฌาปนกจิ สงเคราะห์ ดงั นี้ - กรณีนกั ศึกษาเสียชีวิต ช่วยเหลอื คา่ ท�ำศพไม่เกนิ 20,000 บาท โดยเบิกจา่ ยใหก้ ับ ผูจ้ ัดการศพ (ผู้ปกครอง) ทงั้ นี้ ให้คณะกรรมการพิจารณาจากฐานะทางเศรษฐกจิ ของครอบครัว - กรณผี ูป้ กครองนกั ศกึ ษาเสยี ชีวติ ช่วยเหลอื คา่ ทำ� บุญงานฌาปนกจิ ศพไมเ่ กนิ 1,500 บาท - เบกิ จ่ายค่าพาหนะเดินทาง กรณีคณะฯ เป็นเจ้าภาพสวดพระอภธิ รรม และฌาปนกิจ ศพนักศกึ ษา โดยให้เบิกจ่ายตามจรงิ 1.5 ค่าใช้จ่ายในการเย่ยี มนกั ศกึ ษากรณนี ักศึกษาเจ็บป่ วย เบกิ จ่ายได้ไมเ่ กนิ ครงั้ ละ 10,000 บาท FPH FOR SOCIETY 69 “คณะสาธารณสุขศาสตร์เพ่ือสังคม” แนวทางการดำ� เนินการ กองทุนเพ่อื ช่ วยเหลอื นักศึกษา 2. คณุ สมบัติผูม้ สี ทิ ธ์ิได้รบั เงินทุน 2.1 เงนิ ทุนการศึกษา 1) เป็นนกั ศกึ ษาคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 2) เป็นผู้มีความประพฤตเิ รียบรอ้ ย 3) เป็นผูข้ าดแคลนทนุ ทรพั ย์ 4) เป็นผู้ท่ไี มไ่ ด้รบั ทุนการศกึ ษาอ่นื อยู่กอ่ น ยกเว้นทุนประเภทรางวลั หรือทุนท่ใี หแ้ ก่ผู้ท่มี ี ความสามารถพิเศษหรือทุนกู้ยืมเงินเพ่ือการศึกษา ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของ คณะกรรมการพิจารณา 5) เปน็ ผูม้ ผี ลการเรยี นเฉล่ยี ไมต่ ่ำ� กวา่ 2.00 ในระดบั ปรญิ ญาตรี (ถา้ ต่ำ� กวา่ 2.00 ใหอ้ ยูใ่ น ดุลพนิ ิจของคณะกรรมการกองทุนฯ เป็นผูพ้ จิ ารณา) 2.2 เงนิ ยมื ฉกุ เฉิน สำ� หรับนักศกึ ษาท่ขี าดแคลนทุนทรพั ยร์ ะดบั ปานกลาง (รายไดพ้ อกบั รายจา่ ย) และขาดแคลนทนุ ทรัพย์ระดบั มาก (รายไดต้ ่�ำกวา่ รายจ่าย อาจมีปัญหาในการเรยี นตอ่ ) 2.3 เบกิ จา่ ยเงนิ ทนุ แบบเรง่ ดว่ น สำ� หรบั นกั ศกึ ษาท่ีขาดแคลนทนุ ทรพั ยร์ ะดบั มากท่สี ดุ (รายไดต้ ่ำ� กวา่ รายจา่ ยมาก ไมส่ ามารถเรยี นตอ่ ไดถ้ า้ ไมไ่ ดร้ บั ทนุ ) ทงั้ นี้ จะเบกิ จา่ ยไดใ้ นกรณที ่มี ผี ูม้ จี ติ ศรทั ธา ได้บริจาคเงินผ่านกองทนุ ฯ เพ่ือช่วยเหลือนักศกึ ษารายดงั กล่าว 2.4 ค่าฌาปนกจิ สงเคราะห์ 1) เป็นนกั ศกึ ษาคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่เี สียชีวิต (ผูป้ กครองเป็นผูไ้ ดร้ บั ทนุ ) 2) เป็นผูป้ กครองนกั ศกึ ษาคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ท่เี สียชีวติ (นกั ศึกษาเป็นผูไ้ ด้รับทนุ ) 2.5 คา่ ใช้จ่ายในการเย่ียมนักศึกษากรณนี กั ศกึ ษาเจ็บป่ วย 1) เป็นนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 2) เจบ็ ป่ วยและเข้ารับการรกั ษา โดยมหี นังสอื รบั รองจากแพทย์ THAM70 เพ่อื สุขภาวะ เพ่อื สงั คม ศนู ยก์ ารเรียนรู้ กรมหลวงนราธวิ าส ราชนครนิ ทร์ ชั้น 1 Business zone เป็นศนู ย์ธุรกิจ มรี า้ นค้า และธนาคารให้ บรกิ าร และมีการจัดนทิ รรศการหมุนเวียน ชั้น 2 Tutoring zone มพี ้ืนท่สี �ำหรบั น่ังอา่ นหนงั สอื หลากหลาย รูปแบบ และมีห้องประชุมกลุ่มย่อยส�ำหรับท�ำโปรเจค หรือติว หนังสือเป็นกลุ่ม มีบริการห้องคอมพิวเตอร์ และพื้นท่จี ัดแสดง นทิ รรศการ ชั้น 3 Reading zone ส�ำหรับการอ่านหนังสืออย่างจริงจัง ไม่ต้องการการรบกวน มีพ้ืนท่ีส�ำหรับอ่านหนังสือทั้งแบบเดียว และแบบกลุ่ม ชั้น 4 Multimedia zone และ Language center บริการ หอ้ งฝึกภาษาด้วยตนเอง มคี อมพวิ เตอร์ และชุดหูฟังให้บริการ สำ� หรบั ผู้ท่ีต้องการฝึกฝนทักษะดา้ นภาษาด้วยตนเอง มหี ้องชม ภาพยนตร์ สามารถชมภาพยนตรเ์ ปน็ หมูค่ ณะได้ ไดอ้ ารมณแ์ บบ โรงหนังเลยทีเดยี ว ชั้น 5 coffee shop มีอาหารและเคร่ืองด่ืมให้บริการ ชั้นนี้ สามารถมองเห็นพื้นท่ีวิวทิวทัศน์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตได้ กำรแตง่ กำยของนกั ศกึ ษำ • เคร่อื งแบบของนกั ศึกษาในงานท่ัวไป นักศึกษาชาย การแต่งกายของนักศึกษาชั้นปี ท่ี 1-4 เสือ้ เช้ิตสีขาว แขนยาวหรือแขนสัน้ กางเกงขายาวสกี รมท่าหรอื สดี า� นักศึกษาหญิง รดั เขม็ ขดั ของมหาวทิ ยาลยั ใสร่ องเท้าห้มุ สน้ เสื้อเชิ้ ตแขนสั้น ติดกระดุมเคร่ืองหมายของ มหาวทิ ยาลยั กลดั เขม็ เคร่อื งหมายมหาวทิ ยาลยั ท่ีอกเสื้อด้านซ้าย กระโปรงสีกรมท่าหรือสีด�า ใส่รองเทา้ หุม้ สน้ หรอื รดั ส้น นักศกึ ษาชาย • เคร่อื งแบบของนักศึกษาในงานพิธี สวมเสื้อเชิ้ตแขนยาวสีขาว กางเกงสีกรมท่า การแตง่ กายของนกั ศกึ ษาชั้นปี ท่ี 1-4 หรือสีด�ำ รัดเข็มขัดของมหาวิทยาลัย ถุงเท้าสีด�ำรองเท้าหนังสีด�ำ ผู กเนคไทของ นักศึกษาหญิง มหาวิทยาลยั สวมเสอื้ เช้ิตสขี าวแขนสนั้ ท่คี อและแนวสาบอก ติดกระดุมเคร่ืองหมายมหาวิทยาลัย 4 เม็ด ก ลั ด เ ข็ ม เ ค ร่ื อ ง ห ม า ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ท่ี อกดา้ นซ้าย กระโปรงสกี รมท่าหรือสดี �ำคลุม เขา่ รองเทา้ ห้มุ ส้นสีด�ำ • เคร่อื งแบบปฏบิ ตั กิ ารวชิ าชีพ นกั ศึกษาชาย เสอื้ เชิ้ต คอปก สฟี ้าคณะฯ ผา่ หนา้ ตลอดใช้กระดมุ สเี ดยี ว 1) สวมเสื้อปฏิบัติการวิชาชีพ โดยติดกระดุม กบั ตวั เสอื้ จา� นวน 5 เมด็ มกี ระเป๋ าดา้ นบนซ้าย และดา้ นลา่ ง ด้านหนา้ จา� นวน 4 เมด็ จากด้านลา่ ง 2 ขา้ ง รวมทงั้ กระเป๋ าใสป่ ากกาท่ีแขนเสอ้ื ดา้ นซ้าย กระเป๋ า ตปะาดม้าดน้วบยนช่ืซอ้าย(ภาปษักาออักังกษฤรพษ)ยัญเสอื้ชนบระตเิ วัวณแรหกนขา้ อองกนดา้ามนสขกวุลา 2) กางเกงขายาวแบบสุภาพ สีด�าหรือสีกรมท่า ปักตราประจ�าคณะสาธารณสุขศาสตร์ ตัวเส้ือด้านหลัง 3) ถุงเท้าสีสุภาพ เป็นผ้าแยก 2 ชิ้นเย็บดว้ ยสาบตรงกลาง และมีจีบตัวเส้ือ 4) รองเท้าหุ้มส้นสีด�าหรือสีสุภาพ ไม่มีลวดลาย 2 จบี ซ้าย-ขวา ตัวเส้ือยาวคลมุ สะโพก นักศกึ ษาหญิง การแต่งกายดังกล่าวอนุญาตในกรณีต่อไปน้ี 1) สวมเสื้อปฏิบัติการวิชาชี พ โดยติดกระดุม 1) การเรียนวชิ าท่มี ีปฏิบตั ิการ ด้านหนา้ จา� นวน 4 เมด็ จากดา้ นลา่ ง ข้นึ อยู่กบั ดุลยพนิ จิ ของอาจารยผ์ ู้สอน 2) กางเกงขายาวหรือกระโปรงยาวคลุมเข่า 2) การฝึกปฏิบัติงานนอกสถานท่ี สดี �าหรอื สกี รมท่า ทรงสภุ าพ ไมม่ ีลวดลาย 3) การเข้ารว่ มกจิ กรรมอ่ืน ๆ ของคณะ 3) รองเทา้ หุม้ ส้น สดี �าหรอื สีสภุ าพ ไม่มลี วดลาย ส้นเตยี้ ไม่เกิน 1 นิ้ว THAM74 เพ่อื สุขภาวะ เพ่ือสังคม FPH FOR SOCIETY • ชุดลำ� ลองสภุ าพ “คณะสาธารณสุขศาสตร์เพื่อสังคม” เส้ือแขนสั้น หรือยาว กางเกงขายาวสุภาพ/กระโปรง ยาวคลมุ เขา่ รองเทา้ สภุ าพ ใช้สวมใส่ท่วั ไป เวลาตดิ ต่อ ราชการท่ีไม่ได้เป็นทางการ หรือสวมใส่เข้าเรียนใน รายวิชาท่ีไม่ได้ก�ำหนดให้ต้องใส่ชุดนักศึกษา โดยต้อง แต่งกายให้เหมาะสมกับกาลเทศะ (ใช้เสรีภาพอย่างมี ขอบเขต และเหมาะสม) 75 การสอบของนักศกึ ษา การสอบของนักศึกษา ระเบยี บการสอบของนักศึกษามหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ พ.ศ.2549 กลา่ วไวว้ า่ ในการสอบไล่หรือสอบ กลางภาค หากนักศกึ ษากระทำ� ทจุ รติ ในการสอบ ตามข้อบังคับมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตรว์ ่าดว้ ย วินัย นักศกึ ษา พ.ศ.2547 ขอ้ 15.3 หรอื ขอ้ 17 ซ่ึงมีความผิดตอ้ งถกู ลงโทษทางวินัยแล้วแตก่ รณี โดยกำ� หนด โทษทางวนิ ยั ไว้ 4 สถาน คอื 1. ไล่ออก 2. พักการศึกษา หรอื พกั การเสนออนุมัติปรญิ ญา มกี ำ� หนดไมเ่ กิน 2 ปีการศึกษา 3. ท�ำทณั ฑบ์ น 4. ว่ากล่าวตกั เตือน และโทษทุจริตในการสอบไล่ นอกจากถูกลงโทษตามท่รี ะบุไว้แล้ว ให้ถือว่าการสอบไล่ตกในรายวิชาท่ี ทุจรติ ในการสอบไล่นัน้ อีกดว้ ย การกระทำ� ดังต่อไปนี้ในการสอบจะถอื วา่ เป็นการทจุ ริตในการสอบ 1. การพูดคุย ถาม บอก หรือดูค�ำตอบซ่ึงกนั และกนั หรือแสดงอาณัตสิ ัญญาณหรือกระทำ� อย่างหน่งึ อย่างใด สอ่ ไปในทางทุจริต 2. น�ำอุปกรณอ์ ่ืนใดท่ไี ม่ได้รับอนุญาตมาใช้ในห้องสอบ ซ่ึงหมายความรวมถึงอุปกรณส์ ่ือสารทกุ ชนดิ 3. น�ำตัวบทกฎหมาย พจนานุกรม หนังสือ ตำ� รา เอกสาร โน้ตยอ่ ท่ีไมไ่ ด้รบั อนุญาตเข้ามาในห้องสอบ THAM76 เพ่ือสขุ ภาวะ เพ่ือสังคม ข้อปฏิบัติการเข้าห้องสอบ 1. การแต่งกายเข้าสอบ (เคร่ืองแบบนักศกึ ษาท่วั ไป) นักศึกษาชาย ใส่เส้ือเช้ิตสีขาวแขนยาวหรือสั้น (ชายเส้ืออยู่ในกางเกง) กางเกงขายาวผ้าพ้ืน สีด�ำ หรอื กรมท่า รัดเข็มขัดของมหาวทิ ยาลยั และใส่รองเท้าหุ้มสน้ นักศึกษาหญิง ใส่เสื้อเช้ิตสีขาวแขนสั้น (ชายเสื้ออยู่ในกระโปรง) กระโปรงผ้าพื้นสีด�ำหรือกรมท่า ติดกระดุมเคร่ืองหมายของมหาวทิ ยาลยั 4 กระดุม กลดั เข็มเคร่อื งหมายของมหาวิทยาลยั ท่ีอกเสอ้ื รดั เขม็ ขัดของมหาวทิ ยาลยั และใส่รองเท้าหมุ้ ส้น นักศกึ ษาท่แี ตง่ กายไมส่ ุภาพเรยี บร้อยจะไมม่ สี ิทธ์ิเขา้ สอบ 2. นักศึกษาท่ีมาห้องสอบเกนิ กวา่ 30 นาที นับจากเวลาท่ีกำ� หนดไว้ จะไมอ่ นุญาตใหเ้ ขา้ ห้องสอบ และจะต้องติดต่อท่กี องอ�ำนวยการสอบ 3. นกั ศกึ ษาจะตอ้ งมบี ตั รนกั ศกึ ษาหรอื บตั รประจำ� ตวั ประชาชนแสดงตอ่ เจา้ หนา้ ท่ีประจำ� หอ้ งสอบ ทกุ ครงั้ กรณีไม่มบี ัตร ขอทำ� บัตรเข้าสอบช่ัวคราวไดท้ ่ี กองอ�ำนวยการสอบ 4. ปิ ดโทรศพั ทม์ อื ถอื และเคร่อื งมอื ส่อื สารทกุ ชนดิ หากพบวา่ มเี สยี งดงั หรอื สน่ั จะถอื วา่ นกั ศกึ ษา ทุจริตการสอบ 5. หา้ มนำ� หนงั สอื เอกสาร ตำ� รา โน้ตย่อ เขา้ หอ้ งสอบ หากตรวจพบ จะถอื วา่ นักศึกษาทจุ ริตการสอบ เวน้ แต่ได้รบั อนุญาตจากอาจารยผ์ ู้สอน 6. ไมอ่ นญุ าตใหน้ ำ� อุปกรณอ์ ่นื ใดเขา้ หอ้ งสอบ เวน้ แต่ ปากกา น้ำ� ยาลบคำ� ผดิ ดนิ สอ ยางลบ ไมบ้ รรทดั หรืออุปกรณ์ท่ีได้รับอนญุ าตจากอาจารยผ์ ูส้ อน FPH FOR SOCIETY 77 “คณะสาธารณสุขศาสตร์เพ่ือสังคม” ระบบการใหค้ ำ� ปรกึ ษา จดั บริการให้คำ� ปรกึ ษาในเร่ืองการเรยี นและการใช้ชีวติ ในมหาวทิ ยาลยั ผูใ้ ห้ค�ำปรึกษา (คณะ) Hotline และให้คำ� ปรึกษา - อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา ให้ค�ำปรึกษาด้านการเรยี น - อาจารย์ประจ�ำชั้นปี - เจา้ หนา้ ท่ดี า้ นกจิ การนกั ศกึ ษา การใช้ชีวิต การปรับตัว ความสัมพันธ์ ความรัก ปัญหาด้านสขุ ภาพจิต ระบบการดูแลนกั ศกึ ษาดา้ นสขุ ภาพจิตของคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ เพ่อื สขุ ภาวะ เพ่ือสงั คม โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เฉลมิ พระเกียรติ สิทธิการรักษาพยาบาล สำ� หรับนกั ศึกษา ม.ธรรมศาสตร์ ท่ี โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกยี รติ สทิ ธินกั ศึกษามหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ (กรณีเจบ็ ป่ วยท่ัวไป) นักศึกษาระดับปริญญาตรีทุกคน สามารถใช้สิทธินักศึกษา มธ. เข้ารับการรักษาท่ี รพ.ธรรมศาสตรฯ์ ไดต้ ามขอบเขตและเง่ือนไขท่ีกำ� หนด โดยย่ืนบตั รนักศกึ ษา รายละเอียดดงั น้ี 1. คา่ รกั ษาพยาบาล วงเงิน 5,000 บาท/ครงั้ และไมเ่ กิน 20,000 บาท/ปีการศกึ ษา 2. คา่ ตรวจรกั ษาทางทนั ตกรรมขัน้ พนื้ ฐาน (ตรวจฟัน อุดฟัน ถอนฟัน ขูดหินปูน เอกซเรยฟ์ ัน ฟิล์มเลก็ ) ไม่เกนิ 300 บาท/ครัง้ /คน และไมเ่ กิน 3 ครงั้ /ปีการศกึ ษา 3. คา่ หอ้ งและค่าอาหารสามญั 4. ค่าตรวจทางหอ้ งปฏิบัติการขัน้ พ้ืนฐาน ได้แก่ ตรวจปัสสาวะ (urine exam) ตรวจอุจจาระ (stool exam) ตรวจสภาพเลือด (CBC) และเอกซเรยธ์ รรมดา (plain film) FPH FOR SOCIETY 79 “คณะสาธารณสุขศาสตร์เพ่ือสังคม” โรคยกเวน้ ท่ีนกั ศกึ ษาตอ้ งจ่ายคา่ รกั ษาเอง รายการท่ไี มส่ ามารถเบิกค่ารกั ษาพยาบาลได้ 1. โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ เช่น กามโรค โรคเอดส์ ฯลฯ 1. เป็นลมหน้ามดื รักษาการเจบ็ ป่ วยด้วยโรคประจำ� ตวั ความ 2. คา่ ใช้จ่ายประเภทตกแต่งเสรมิ สวย บาดเจ็บ และมีการรักษาโรค ประจ�ำตัวหรือโรคอ่ืน ๆ 3. ยานอกเหนอื จากบญั ชียาหลักใหเ้ ป็นไปตามประกาศ รว่ มดว้ ยการตดิ เชื้อท่ีมิได้มาจากอุบัตเิ หตุ ของโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ 2. ปวดเม่อื ย ปวดคอ ปวดหลงั กลา้ มเนอ้ื อักเสบ เอ็นอกั เสบ 4. คา่ บรกิ ารอ่นื ๆ ท่นี อกเหนอื จากการบรกิ ารตรวจรกั ษา จากโรคประจ�ำตัว เล่นกฬี าหักโหม 5. คเช่า่นห้อคงา่ พอเิาศหษาสร่วพนิเศเกษนิ สคิท่าโธททิ ร่ีนศกั ัพศทึก์ ษคาา่ ไเดฝร้้าบัไขพ้ ิเศษ ฯลฯ 6. ค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอ่ืนๆ ท่ีนอกเหนือ 3. การยกของหนกั ไม่ถือเป็นอุบตั เิ หตุ 4. การเลน่ กฬี าเส่ยี งภยั ไดแ้ ก่ ชกมวย แขง่ รถ แขง่ เรอื แขง่ มา้ จากการตรวจพนื้ ฐาน 7. ค่าตรวจรักษาทางทันตกรรม ส่วนท่ีเกินจากบริการ แข่งสกี แข่งสเก็ต กระโดดร่ม เล่นบอลลูน บันจ้ีจัม๊ พ์ เคร่อื งรอ่ น ปืนเขา ไตเ่ ขา ด�ำน้�ำ เลน่ วตั ถุระเบดิ ปืนอัดลม ทันตกรรมพืน้ ฐาน เว้นแต่กีฬาชกมวย แข่งเรือ แข่งด�ำน้�ำ และปื นอัดลม 8. วคั ซีนป้องกันโรคต่างๆ ท่ีมหาวิทยาลัยจัดแข่งขันหรือส่งนักศึกษาเข้าร่วมการ 9. การตรวจสุขภาพ แขง่ ขนั โดยคุ้มครองนกั ศึกษาระหว่างฝึกซ้อมตามตาราง 10. การตรวจร่างกายเพ่อื ออกใบรับรองแพทย์ การฝึ กซ้อม หรือการแข่งขันตามตารางการแข่งขัน ซ่ึง 11. คา่ เวชภณั ฑส์ ว่ นท่เี กนิ สทิ ธิ ตามระเบยี บกรมบญั ชีกลาง มหาวิทยาลัยจะออกหนังสือรับรองให้บริษัทประกอบการ พจิ ารณาสนิ ไหมเป็นราย ๆ สิทธิประกนั อุบตั เิ หตุ (กรณีอุบตั ิเหต)ุ 5. การรักษารากฟัน ใสเ่ ดือยฟัน เข้าเฝือกฟัน การครอบฟัน ถอนฟัน ขูดหนิ ปูน การต่อเติมในกรณีท่ีเกดิ อุบตั ิเหตุแล้ว นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระดับปริญญาตรี ฟันบ่ิน การทำ� ฟันปลอม ซ่อมฟัน เติมฟัน ทุกคน และนักศึกษาระดับสูงข้ึนไป สามารถเข้ารับ 6. การสำ� ลกั อาหารหรืออาหารติดคอ ยกเว้นกา้ งปลาตดิ คอ การรักษาโดยใหน้ ักศกึ ษาย่ืนเอกสารดังน้ี 7. ค่าบริการอ่ืน ท่ีมิเก่ียวข้องกับการรักษาพยาบาล เช่ น - บตั รนักศกึ ษา หรอื ค่าท�ำบัตร ค่าบ�ำรุงรักษา คา่ น้ำ� ค่าไฟ คา่ ชุด Set Admit - บตั รนกั ศกึ ษาหรอื บตั รประชาชน และบตั รประกนั อุบตั เิ หตุ คา่ มัดจ�ำ พ.ร.บ. ค่า Service Charge ค่ารถพยาบาล ซ่ึ งโรงพยาบาลจะตรวจสอบสิทธิจากข้อมู ลรายช่ื อการ ค่าพาหนะ ค่าการพยาบาล พเิ ศษ คา่ แพทย์เขยี นใบเคลม ท�ำประกัน อุบัติเหตุ โดยค่ารักษาพยาบาล อันเน่ืองมา คา่ แพทยน์ ิตเิ วช จากอุบัติเหตุ ตามความคุ้มครองของกรมธรรม์ประกัน 8. ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์บ�ำบัดรักษา ซ่ึงโรงพยาบาลจะ อุบตั เิ หตนุ กั ศกึ ษา ปีการศึกษา จำ� นวน 20,000 บาท ตอ่ เขยี นเป็นรายการเวชภัณฑ์ 2 ในส่วนท่เี กนิ 3,000 บาท อุบตั ิเหตุแตล่ ะครัง้ ตอ่ อุบัตเิ หตุแตล่ ะครัง้ 80 THAM เพ่อื สขุ ภาวะ เพ่อื สงั คม 9. คา่ รักษาทางเวชกรรมหรือศลั ยกรรม เช่น แผลหายแล้ว นักศึกษาท่ีมีสิทธิข้าราชการ สามารถใช้สิทธิตามสิทธิ แตน่ ูนหรือแผลเป็นรอยด�ำ ตอ้ งมกี ารผ่าตดั ตกแต่งเพ่อื ข้าราชการ ว่าด้วยการลงทะเบียนโครงการเบิกจ่ายตรง มใิ ห้มองดนู า่ เกลียด จากกรมบัญชีกลาง ติดต่อลงทะเบียนด้วยตนเองได้ท่งี าน เวชระเบยี น ในวันราชการ เวลา 07.00 - 15.30 น. 10. การทะเลาะวิวาท ภัยสงคราม การเกิดอุ บัติเหตุขณะ อยูภ่ ายใตฤ้ ทธ์สิ รุ าจนไมส่ ามารถครองสตไิ ด้ หรอื ยาเสพตดิ กรณีลงทะเบียนโครงการเบิกจ่ายตรงท่ีโรงพยาบาล การฆ่าตัวตาย ท�ำร้ายตัวเอง การก่ออาชญากรรม ธรรมศาสตร์ฯ แลว้ สามารถใช้สทิ ธิได้ 24 ช่ัวโมง การเปน็ เจา้ หนา้ ท่หี รอื อาสาสมคั รเขา้ ปฏบิ ตั กิ ารในสงคราม หรอื ปราบปราม ขนั้ ตอนการรบั บรกิ ารรกั ษาพยาบาล หากค่ารักษาเกินวงเงินท่ีก�ำหนดให้นักศึกษาจ่ายเงินเอง ในเวลาราชการ ตงั้ แตเ่ วลา 07.00 - 15.00 น. หรือใช้สิทธิอ่ืนของนักศึกษา เช่น สิทธิข้าราชการ สิทธิ 1. ย่ืนใบประวัติข้อมูลผู้ป่ วยใหม่ หรือบัตรประจ�ำตัวผู้ป่ วย บตั รทอง พรอ้ มบตั รนกั ศกึ ษา หรอื บตั รนกั ศกึ ษาและบตั รประชาชน เง่อื นไข/ขอ้ ยกเวน้ การใช้สทิ ธริ กั ษาพยาบาลกรณี (กรณีใช้สิทธบิ ตั รทอง) ท่ีงานเวชระเบยี นและสถติ ิ ชั้น 1 ประกนั อุบตั ิเหตุ อาคาร ม.ร.ว.สุวพรรณฯ 2. รบั บรกิ ารท่หี นว่ ยตรวจผูป้ ่ วยนอกอาคาร ม.ร.ว.สวุ พรรณฯ 1. กรณเี มาสุรา ไม่สามารถใช้สิทธไิ ด้ 3. รบั บรกิ ารทางทนั ตกรรม (แผนกทนั ตกรรม ช้ัน 2 อาคาร 2. กรณีถูกท�ำร้ายร่างกาย ต้องมีส�ำเนาบันทึกประจ�ำวัน ราชสดุ า โทร. 0-2926-9999 ต่อ 7173) ในเวลาราชการ เก่ียวกับคดี (ใบแจ้งความ) และต้องไมเ่ ป็นคู่กรณี นอกเวลาราชการ ตงั้ แตเ่ วลา 15.00-07.00 น. 3. กรณีเข้าร่วมทะเลาะวิวาท ยกเว้นในบันทกึ ประจ�ำวันระบุ 1. ตดิ ตอ่ ท่ีเคานเ์ ตอรท์ ำ� บัตรผู้ป่ วย งานเวชระเบยี นและสถติ ิ เป็นบุคคลท่ีสาม กรณีไม่มีส�ำเนาใบแจ้งความนักศึกษา หน้าห้องตรวจฉุกเฉิน ชั้น 1 อาคารกิตติวัฒนา ตอ้ งช�ำระเงนิ เอง (เวลา 15.00 - 24.00 น.) 4. เวชภัณฑท์ างการแพทย/์ อวัยวะเทียมและอุปกรณ์บ�ำบดั 2. รบั บรกิ ารตรวจรกั ษาท่คี ลนิ คิ ประกนั สงั คม (ตรงขา้ มหอ้ ง รกั ษา ไม้เทา้ ไม้ค้ำ� ยัน อวยั วะเทียม (ภายนอกรา่ งกาย) ตรวจฉุกเฉิน) ช้ัน 1 อาคารกิตติวัฒนา ต้ังแต่เวลา ไม่ช่ วยพยุง เส้ือพยุงไหล รถเข็น รองเท้ารองเฝื อก 16.00 - 24.00 น. Support กายอุปกรณ์ เฝือกพยุงคอ (Collar) รวมถงึ 3. หลังเวลา 24.00 น. รับบรกิ ารท่ีห้องตรวจฉุกเฉนิ รายการเวชภณั ฑ์ 2 อ่นื ๆ ใน วงเงินไมเ่ กนิ 3,000 บาท ต่ออุ บัติเหตุแต่ละครั้ง ทั้งน้ีต้องไม่เกินวงเงินความ กรณีอุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน คมุ้ ครองค่ารกั ษาต่ออุบัตเิ หตุแตล่ ะครัง้ รับบริการไดต้ ลอด 24 ช่ัวโมง ท่ีหอ้ งตรวจฉุกเฉิน ชั้น 1 หมายเหตุ กรณสี ทิ ธอิ ุบตั เิ หตทุ ่นี กั ศกึ ษาไมม่ หี ลกั ฐานใดๆ มา อาคารกิตติวัฒนา โทร. 0-2926-9042-5 แสดง ใหน้ กั ศกึ ษาช�ำระคา่ รกั ษาพยาบาลเอง แลว้ นำ� ใบเสรจ็ ตวั จรงิ พรอ้ มใบรบั รองแพทยไ์ ปตดิ ตอ่ ท่ี Thammasat Well กรณที ำ� แผลต่อเน่อื งท่ีหอ้ งตรวจฉุกเฉนิ Being Center มธ.ศนู ยร์ ังสติ โทร.0-2696-6600 ช่ วงเวลาท่ีให้บริการ สทิ ธิบัตรทอง รพ.ธรรมศาสตร์ฯ จนั ทร-์ ศกุ ร์ เวลา 16.00 - 20.00 น. เสาร์-อาทติ ย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ นักศึกษาท่ีข้ึนทะเบียนบัตรทองกับโรงพยาบาลสามารถ เวลา 08.00 - 16.00 น. ใช้สิทธิรักษาตามสิทธิในโครงการบัตรทอง โดยย่ืนบัตร นักศึกษา และบัตรประชาชน อสุิทบัตธเิิบหัตตรแุ ลทะอฉงกุ โเรฉงนิ พเทย่าานบัน้ าลโดอย่ืนย่นื ๆบใัตชร้สปิทระธชิไาดช้เนฉพาะกรณี FPH FOR SOCIETY 81 “คณะสาธารณสุขศาสตร์เพื่อสังคม” โรงอาหารภายใน มธ.ศูนยร์ ังสติ • Green Canteen • โรงอาหารกลุม่ อาคารเรียนรวมสงั คมศาสตร์ 1 • โรงอาหารกลมุ่ อาคารเรียนรวมสงั คมศาสตร์ 2 • โรงอาหารคณะวิศวกรรมศาสตร์ • โรงอาหารคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • โรงอาหารโรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รติ • โรงอาหารศูนยส์ ขุ ศาสตร์ • ศนู ย์อาหารทวิ สนโดม • ศนู ยอ์ าหารกลางคนื (หลงั Green Canteen) THAM82 เพ่อื สุขภาวะ เพ่อื สังคม ช่ องทำงกำรติดต่อส่อื สำร TU FPH TU Facebook Page Facebook Page - FPH Thammasat - Thammasat University - สโมสรนักศกึ ษาคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ - Thammasat Scholarships - Viva City : TUCounseling มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ - Thammasat Well Being Center - Public Health TULP - สา� นักงานทะเบียนนกั ศกึ ษา มธ. - FPH Thammasat International - งานกิจกรรมนกั ศึกษาและกฬี า - สมาคมศษิ ย์เกา่ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ - กจิ กรรมนกั ศึกษา มธ.ศูนย์ล�าปาง - องค์การนกั ศึกษามหาวิทยาลัย Instagrams ธรรมศาสตร์ - fph_thammasat - อมธ.ลา� ปาง - สภานักศึกษา มหาวทิ ยาลัย Twitter ธรรมศาสตร์ ศูนยร์ งั สติ - FPH Thammasat - สภานกั ศึกษา มหาวิทยาลัย Website ธรรมศาสตร์ ศนู ยล์ า� ปาง - ธรรมศาสตรส์ ดุ สุด - www.fph.tu.ac.th - ส�านักงานบริหารทรพั ยส์ ิน Line และกีฬาธรรมศาสตร์ - Thammasat University Library - @fphthammasat - Boonchoo treethong Library 83 Website - www.tu.ac.th / www.lampang.tu.ac.th - www.reg.tu.ac.th - sa.tu.ac.th - www.library.tu.ac.th FPH FOR SOCIETY “¤³ÐÊÒ¸ÒóÊØ¢ÈÒʵÏà¾è×ÍÊѧ¤Á” คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ธ ร ร ม ศ า ส ต ร์ “ศนู ยร์ งั สติ ” อาคารปิยชาติ ชั้น 10 เลขท่ี 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน ตำ� บลคลองหน่งึ อำ� เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12120 โทรศพั ท์ 0-2564-4440-79 ต่อ 7420-21 โทรสาร 0-2516-2708 คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ธ ร ร ม ศ า ส ต ร์ “ศูนย์ล�ำปาง” ห้อง 7110 ชั้น 1 อาคารบุญชูปณิธานเลขท่ี 248 หมู่ 2 ถนนลำ� ปาง-เชียงใหม่ ต�ำบลปงยางคก อำ� เภอห้างฉัตร จงั หวัดล�ำปาง 52190 โทรศัพท์ 054-237-999 ต่อ 5601-5603