ขออน ม ต เด นทางไปราชการ โดยเคร องบ น

ไปราชการตองมีความรูในเรื่องสิทธิที่พึงไดรับตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่กําหนดไว และตองเบิกจาย

ตามวัตถุประสงคของการเดินทางไปราชการ

ปจจุบันกฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑตางๆ เกี่ยวกับการเบิกจายคาใชจายในการเดินทาง

ไปราชการไดมีการปรับปรุงจากที่กําหนดไวเดิม ดังนั้น เพื่อใหเหมาะสมกับสภาวการณปจจุบันและเปนการ

สรุปเนื้อหาใหเขาใจงายมากยิ่งขึ้น รวมทั้งใหผูเดินทางไปราชการที่มีสิทธิเบิกคาใชจายศึกษาและทําความเขาใจ

เกี่ยวกับรายละเอียดที่ปรับปรุงใหม กองคลัง กรมสงเสริมการเกษตร จึงไดปรับปรุงคูมือ คาใชจาย

ในการเดินทางไปราชการ เพื่อใหผูเดินทางไปราชการที่มีสิทธิเบิกคาใชจายไดศึกษาและใชเปนแนวทาง

ในการปฏิบัติเกี่ยวกับการเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการไดอยางถูกตอง ครบถวน ตามกฎหมาย

ระเบียบ และหลักเกณฑตางๆ ที่เกี่ยวของ อนึ่ง กรมสงเสริมการเกษตรไมมีที่ตั้งสํานักงานในตางประเทศ

คูมือฉบับนี้จึงไมกลาวถึงรายละเอียดการเดินทางไปราชการประจําในตางประเทศ และหวังเปนอยางยิ่งวา

คูมือคาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) ฉบับนี้จะเปนประโยชนแกเจาหนาที่กรมสงเสริม

การเกษตรทุกทาน หากพบขอผิดพลาดประการใดโปรดแจงใหผูจัดทําทราบ เพื่อปรับปรุงแกไขตอไป

กองคลัง กรมสงเสริมการเกษตร

สิงหาคม 2561

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) ข

สารบัญ

เรื่อง หนา

คํานํา ก

การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร 1

การเดินทางไปราชการชั่วคราว 1

หลักเกณฑในการเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว 2

การเดินทางไปราชการประจํา 9

หลักเกณฑในการเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการประจํา 11

การเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม 11

หลักเกณฑในการเบิกคาใชจายในการเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม 12

เอกสารประกอบการเบิกจายคาใชจายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร 13

การเดินทางไปราชการตางประเทศ 14

การเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว 14

หลักเกณฑในการเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว 15

หลักเกณฑการแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ 24

การซื้อบัตรโดยสารเครื่องบิน 26

หลักฐานการเบิกจายเงินในการเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว 27

การเดินทางไปราชการประจําในตางประเทศ 29

ระเบียบที่เกี่ยวของ 30

คําถามนารู 33

ภาคผนวก 36

1. หลักฐานการจายและเอกสารประกอบการเบิกจายเงิน 37

2. ตัวอยางการเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการ 38

3. ตัวอยางแบบฟอรมใบเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการ (แบบ 8708) 40

4. ตัวอยางแบบฟอรมใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก. 111) 45

5. ตารางเปรียบเทียบพระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 47

และที่แกไขเพิ่มเติมกับพระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ(ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560

รายชื่อผูจัดทํา 65

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 1

การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ หมายถึง คาใชจายที่ทางราชการจายใหแกผูเดินทาง

ไปปฏิบัติงานนอกที่ตั้งสํานักงานซึ่งปฏิบัติราชการปกติและเกิดคาใชจายระหวางการเดินทาง เพื่อมิให

ผูเดินทางเดือดรอน

คาใชจายที่ทางราชการจายใหจะเปนรายจายที่จําเปนซึ่งเกิดขึ้นในการเดินทาง เงินที่ทางราชการ

จายใหนี้มิใชคาตอบแทนในการทํางาน แตเปนคาใชจายเพื่อใหเดินทางไปปฏิบัติราชการ

การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร แบงออกเปน 3 ลักษณะ ดังนี้

1. การเดินทางไปราชการชั่วคราว

2. การเดินทางไปราชการประจํา

3. การเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม

1. การเดินทางไปราชการชั่วคราว

การเดินทางไปราชการชั่วคราว ไดแก

 การไปปฏิบัติราชการชั่วคราวนอกที่ตั้งสํานักงานซึ่งปฏิบัติราชการปกติตามคําสั่ง

ผูบังคับบัญชาหรือตามหนาที่โดยปกติ

 การไปสอบคัดเลือก หรือรับการคัดเลือกตามที่ไดรับอนุมัติจากผูบังคับบัญชา

 การไปชวยราชการ ไปรักษาการในตําแหนง หรือไปรักษาราชการแทน

 การเดินทางไปราชการเฉพาะระหวางเวลาที่อยูในราชอาณาจักรของผูซึ่งรับราชการ

ในตางประเทศ

 การเดินทางขามแดนชั่วคราว เพื่อไปปฏิบัติราชการในดินแดนตางประเทศตามขอตกลง

ระหวางประเทศ

สิทธิการเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการ

1. ตองไดรับอนุมัติใหเดินทางไปราชการจากผูบังคับบัญชาผูมีอํานาจอนุมัติกอนออกเดินทาง

2. ถามีความจําเปนตองออกเดินทางลวงหนาหรือไมสามารถเดินทางกลับที่ตั้งสํานักงาน

ซึ่งปฏิบัติราชการปกติเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ เพราะมีเหตุสวนตัวโดยไดรับอนุมัติใหลากิจหรือ

ลาพักผอนตามระเบียบวาดวยการนั้น และไดรับอนุมัติระยะเวลาดังกลาวจากผูมีอํานาจอนุมัติการเดินทาง

ตามหลักเกณฑที่กระทรวงการคลังกําหนดดวยแลว ใหมีสิทธิไดรับคาใชจายในการเดินทางไปราชการตามที่

พระราชกฤษฎีกากําหนดไวตอเมื่อปฏิบัติราชการตามคําสั่งของทางราชการแลว

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 2

หลักเกณฑในการเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว

ผูมีสิทธิเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว

 ขาราชการ

 ลูกจางซึ่งไดรับคาจางจากเงินงบประมาณรายจาย/ลูกจางชั่วคราว

 พนักงานราชการ

 บุคคลภายนอก

คาใชจายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว ประกอบดวย

 เบี้ยเลี้ยงเดินทาง

 คาเชาที่พัก

 คาพาหนะ รวมถึงคาเชายานพาหนะ คาเชื้อเพลิงหรือพลังงานสําหรับยานพาหนะ

คาระวางบรรทุก คาจางคนหาบหาม และอื่นๆ ทํานองเดียวกัน

 คาใชจายอื่นที่จําเปนตองจายเนื่องในการเดินทางไปราชการ

เบี้ยเลี้ยงเดินทาง

เบี้ยเลี้ยงเดินทาง หมายถึง คาอาหารที่ทางราชการจายใหเพื่อบรรเทาความเดือนรอน

ในการเดินทางออกนอกที่ตั้งสํานักงานปกติ

การเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการเรื่องหนึ่งเรื่องใดในสถานที่ปฏิบัติราชการแหงเดียวกัน

ใหเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทางไดไมเกิน 120 วัน นับแตวันที่ไดรับอนุมัติใหเดินทาง

ในกรณีที่ผูเดินทางไปราชการมีความจําเปนตองออกเดินทางลวงหนาหรือไมสามารถเดินทาง

กลับที่ตั้งสํานักงานซึ่งปฏิบัติราชการปกติเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการเพราะมีเหตุสวนตัว การนับเวลา

เดินทางไปราชการ เพื่อคํานวณเบี้ยเลี้ยงเดินทาง กรณีลากิจหรือลาพักผอนกอนปฏิบัติราชการใหนับเวลา

ตั้งแตเริ่มปฏิบัติราชการเปนตนไป และกรณีลากิจหรือลาพักผอนหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการใหถือวา

สิทธิในการเบิกจายเบี้ยเลี้ยงเดินทางสิ้นสุดลงเมื่อสิ้นสุดเวลาปฏิบัติการ

 ขาราชการพลเรือนตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน

 ขาราชการครูตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษา

 ขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการ

พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา

 ขาราชการรัฐสภาตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการรัฐสภา

 ขาราชการตํารวจตามกฎหมายวาดวยตํารวจแหงชาติ

 ขาราชการทหารตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการทหาร

ขาราชการ หมายความวา

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 3

คาเชาที่พัก

ในกรณีที่ผูเดินทางไปราชการเจ็บปวยและจําเปนตองพักเพื่อรักษาพยาบาล ใหเบิกคาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง

และคาเชาที่พักสําหรับวันที่พักนั้นไดแตตองไมเกิน 10 วัน และการเจ็บปวยตองมีใบรับรองแพทยที่ทางราชการ

รับรอง ในกรณีไมมีแพทยที่ทางราชการรับรองอยูในทองที่ที่เกิดการเจ็บปวย ผูเดินทางตองชี้แจงประกอบ

อัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทาง

 การนับเวลาเดินทางไปราชการเพื่อคํานวณเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ใหเริ่มนับตั้งแตเวลา

ที่ออกจากสถานที่อยูหรือสถานที่ปฏิบัติราชการปกติจนถึงเวลาเดินทางกลับถึงสถานที่อยูหรือสถานที่ปฏิบัติ

ราชการปกติดังนี้

 กรณีไมพักแรม นับ 24 ชั่วโมง = 1 วัน

เกิน 12 ชั่วโมง = 1 วัน

เกิน 6 ชั่วโมง = ½ วัน

 กรณีพักแรม นับ 24 ชั่วโมง = 1 วัน

เกิน 12 ชั่วโมง = 1 วัน

คาเชาที่พัก หมายถึง คาใชจายในการเชาหองพักในโรงแรมหรือที่พักแรม

หลักเกณฑการเบิกคาเชาที่พัก

1. กรณีเดินทางไปราชการคนเดียวใหเลือกเบิกคาเชาที่พักแบบเหมาจายหรือจายจริงอยางใด

อยางหนึ่งตลอดการเดินทางไปราชการในครั้งนั้น

2. กรณีเดินทางไปราชการเปนหมูคณะตองเลือกเบิกคาเชาที่พักในลักษณะเดียวกันทั้งคณะ

ตลอดการเดินทาง

3. การเดินทางเปนหมูคณะกรณีเลือกเบิกจายจริง (ตําแหนงประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน

ชํานาญงาน อาวุโส ประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ ชํานาญการ ชํานาญการพิเศษ ประเภทอํานวยการระดับตน)

ประเภท ระดับ อัตรา

(บาท : วัน : คน)

ทั่วไป ปฏิบัติงาน, ชํานาญงาน, อาวุโส

วิชาการ ปฏิบัติการ, ชํานาญการ, ชํานาญการพิเศษ 240

อํานวยการ ตน

ทั่วไป ทักษะพิเศษ

270 วิชาการ เชี่ยวชาญ, ทรงคุณวุฒิ

อํานวยการ สูง

บริหาร ตน, สูง

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 4

ใหพักรวมกันสองคนตอหนึ่งหองไมเกินอัตราคาเชาหองพักคู เวนแต เปนกรณีที่ไมเหมาะสมหรือมีเหตุจําเปน

ที่ไมอาจพักรวมกับผูอื่นได ไดแก ตางเพศมิไดเปนคูสมรส เปนโรคติดตอ เปนตน ใหเบิกไดเทาที่จายจริง

ไมเกินอัตราคาเชาที่พักคนเดียว

4. การเดินทางไปราชการครั้งหนึ่งถาจําเปนตองพักแรมใหเบิกคาเชาที่พักไดไมเกิน 120 วัน

5. กรณีเดินทางไปราชการในทองที่ที่มีคาครองชีพสูงหรือเปนแหลงทองเที่ยว หัวหนาสวนราชการ

อนุมัติใหเบิกคาเชาที่พักสูงกวาอัตราที่กําหนดเพิ่มขึ้นไดไมเกินรอยละ 25

การเบิกคาเชาที่พัก แบงเปน 2 ประเภท ไดแก

1. เบิกคาเชาที่พักในลักษณะเหมาจาย

ประเภท ระดับ อัตรา

(บาท : วัน : คน)

ทั่วไป ปฏิบัติงาน, ชํานาญงาน, อาวุโส

วิชาการ ปฏิบัติการ, ชํานาญการ, ชํานาญการพิเศษ 800

อํานวยการ ตน

ทั่วไป ทักษะพิเศษ

1,200

วิชาการ เชี่ยวชาญ, ทรงคุณวุฒิ

อํานวยการ สูง

บริหาร ตน, สูง

2. เบิกคาเชาที่พักในลักษณะจายจริง

ประเภท ระดับ

อัตรา

(บาท : วัน : คน)

หองพักคนเดียว หองพักคู

ทั่วไป ปฏิบัติงาน, ชํานาญงาน, อาวุโส

วิชาการ ปฏิบัติการ, ชํานาญการ, ชํานาญการพิเศษ 1,500 850

อํานวยการ ตน

ทั่วไป ทักษะพิเศษ

2,200 1,200

วิชาการ เชี่ยวชาญ

อํานวยการ สูง

บริหาร ตน

วิชาการ ทรงคุณวุฒิ 2,500 1,400 บริหาร สูง

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 5

คาพาหนะ

1. พาหนะประจําทาง

ในกรณีเดินทางไปราชการเปนหมูคณะซึ่งมีผูดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูง หรือประเภท

วิชาการระดับทรงคุณวุฒิ หรือตําแหนงที่เทียบเทา เปนหัวหนาคณะ หากมีความจําเปนตองใชสถานที่

เดียวกันกับที่พักเพื่อเปนที่ประสานงานของคณะหรือบุคคลอื่น ใหเบิกคาเชาที่พักไดเพิ่มขึ้นอีกหองหนึ่งในอัตรา

คาเชาหองพักคนเดียว หรือจะเบิกคาเชาหองชุดแทนในอัตราไมเกิน 2 เทาของอัตราคาเชาหองพักคนเดียวก็ได

หลักฐานประกอบการเบิกคาเชาที่พักในลักษณะจายจริง

 กรณีติดตอกับโรงแรม หรือที่พักแรมใหใชใบเสร็จรับเงิน หรือใบแจงรายการของโรงแรม (Folio)

 กรณีติดตอกับตัวแทนจําหนายใหใชใบเสร็จรับเงินของตัวแทนจําหนาย หรือพิมพออกจาก

ระบบอิเล็กทรอนิกส

คาพาหนะ หมายถึง คาโดยสาร คาเชายานพาหนะ คาเชื้อเพลิงหรือพลังงานสําหรับ

ยานพาหนะ คาระวางบรรทุก คาจางคนหาบหาม และอื่นๆ ทํานองเดียวกัน

คาพาหนะ แบงเปน 3 ลักษณะ คือ

1. พาหนะประจําทาง

2. พาหนะรับจาง

3. พาหนะสวนตัว

หมายถึง  มีการใหบริการทั่วไปประจํา

 มีเสนทางที่แนนอน

 มีคาโดยสารและคาระวางแนนอน

หามเบิก กรณีการเดินทางไปราชการที่ผูเดินทางไมมีสิทธิเบิกคาเชาที่พัก ไดแก

 การพักแรมในยานพาหนะ เชน การเดินทางโดยรถไฟ รถโดยสารประจําทางที่ตองคางคืนบนรถ

 การพักแรมในที่พักที่ราชการจัดให เชน บานพักรับรอง

กรณีที่เจ็บปวยในระหวางเดินทางไปราชการและตองพักรักษาตัวในสถานพยาบาล

ใหงดเบิกคาเชาที่พัก เวนแตกรณีจําเปน และการเจ็บปวยตองมีใบรับรองแพทยที่ทางราชการรับรอง

ในกรณีไมมีแพทยที่ทางราชการรับรองอยูในทองที่ที่เกิดการเจ็บปวย ผูเดินทางตองชี้แจงประกอบ

หลักปกติ ใหใชยานพาหนะประจําทาง เบิกเทาที่จายจริงโดยประหยัด

ขอยกเวน - ไมมีพาหนะประจําทาง

- มีแตตองการความรวดเร็วเพื่อประโยชนแกราชการ

ใหใชพาหนะอื่นได แตตองชี้แจง

เหตุผลและความจําเปนไวใน

รายงานการเดินทางหรือหลักฐาน

การขอเบิกเงินคาพาหนะนั้น

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 6

หลักเกณฑการเบิกคาพาหนะประจําทางใหเบิกไดตามจริงแตไมเกินสิทธิดังนี้

  1. คาพาหนะโดยทางเครื่องบิน

ระดับผูมีสิทธิ รายการ หลักฐานการเบิก

ทั่วไป : ชํานาญงานขึ้นไป

วิชาการ : ชํานาญการขึ้นไป

อํานวยการ : ตน, สูง

บริหาร : ตน, สูง

- ชั้นประหยัด กรณีที่ 1 สวนราชการ

เปนผูดําเนินการจัดซื้อ

บัตรโดยสารเครื่องบิน

•ใบแจงหนี้ของบริษัทสายการบิน

หรือตัวแทนจําหนาย

หรือผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว

• ใบเสร็จรับเงิน

กรณีที่ 2 ผูเดินทาง

เปนผูดําเนินการจัดซื้อ

บัตรโดยสารเครื่องบิน

•ใบเสร็จรับเงินของบริษัทสายการบิน

หรือตัวแทนจําหนาย

หรือผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว

หรือใบรับเงินที่แสดงรายละเอียด

การเดินทาง

หมายเหตุหากหลักฐานการจาย

ไมครบถวนใหใชใบรับรอง

แทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก. 111)

ทั่วไป : ปฏิบัติงาน

วิชาการ : ปฏิบัติการ

พนักงานราชการ

ลูกจางทุกประเภท

- ชั้นประหยัด

เฉพาะกรณี

มีความจําเปนรีบดวน

เพื่อประโยชนแกทาง

ราชการและตอง

ขออนุมัติกรณีพิเศษ

หากไมไดรับการอนุมัติ

ใหเบิกคาใชจายไดไมเกิน

คาพาหนะในการเดินทาง

ภาคพื้นดินระยะเดียวกัน

ตามสิทธิซึ่งผูเดินทาง

จะพึงเบิกได

* ในกรณีผูเดินทางตามตําแหนงประเภทบริหารระดับสูง ระดับตน ประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ

ประเภทอํานวยการระดับสูง มีความจําเปนตองโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกวาสิทธิ ใหผูเดินทางสามารถ

เดินทางและเบิกคาโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกวาสิทธิไดโดยตองไดรับอนุมัติจากปลัดกระทรวงเกษตร

และสหกรณ

การซื้อบัตรโดยสารเครื่องบิน ใหซื้อกับ

 บริษัทสายการบิน หรือ

 ตัวแทนจําหนาย หรือ

 ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว หรือ

 ผานระบบอิเล็กทรอนิกส

 โดยเบิกคาใชจายที่เปนคาพาหนะ คาสัมภาระ และคาธรรมเนียมหรือคาบริการที่สายการบิน

เรียกเก็บได ยกเวน คาเลือกที่นั่ง คาอาหารและเครื่องดื่ม คาประกันชีวิตหรือคาประกันภัยภาคสมัครใจ

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 7

  1. ยานพาหนะประจําทาง เชน รถไฟ รถโดยสารประจําทาง

ระดับ ประเภท อัตราการเบิก/คน หลักฐานการเบิก

ทั่วไป : ชํานาญงานขึ้นไป

วิชาการ : ชํานาญการขึ้นไป

อํานวยการ : ตน, สูง

บริหาร : ตน, สูง

รถโดยสารประจําทาง

รถไฟ : รถดวน รถดวน

พิเศษชั้นที่ 1, นั่งนอน

ปรับอากาศ (บนอ.ป.)

เทาที่จายจริง

ประหยัด

- ใบรับรองแทน

ใบเสร็จรับเงิน

(แบบ บก. 111)

ทั่วไป : ปฏิบัติงาน

วิชาการ : ปฏิบัติการ

พนักงานราชการ

ลูกจางทุกประเภท

รถโดยสารประจําทาง

รถไฟ : ป.1 ป.2

เทาที่จายจริง

ประหยัด

- ใบรับรองแทน

ใบเสร็จรับเงิน

(แบบ บก. 111)

- ตั๋วโดยสารรถไฟ

กรณีหลักฐานประกอบการเบิกคาโดยสารเครื่องบินสูญหายใหผูเดินทางไปราชการดําเนินการ ดังนี้

1. ขอสําเนาใบเสร็จรับเงินหรือใบรับเงินที่แสดงรายละเอียดการเดินทาง พรอมรับรองสําเนาถูกตอง

จากสายการบิน หรือตัวแทนจําหนาย และผูเดินทางรับรองในเอกสารดังกลาววา “ยังไมเคยนําฉบับจริง

มาเบิกเงินจากทางราชการ แมหากคนพบในภายหลังก็จะไมนํามาเบิกจากทางราชการอีก” และเสนอ

ผูมีอํานาจอนุมัติ

2. กรณีที่ไมสามารถขอสําเนาตามขอ 1 ไดใหผูเดินทางทําหนังสือรับรองการจายเงิน โดยชี้แจงสาเหตุ

ที่ใบเสร็จรับเงินหรือใบรับเงินที่แสดงรายละเอียดการเดินทางนั้นสูญหายและไมอาจขอสําเนาได

พรอมรับรองวา “ยังไมเคยนําฉบับจริงมาเบิกเงินจากทางราชการ แมหากคนพบในภายหลัง

ก็จะไมนํามาเบิกจากทางราชการอีก” และเสนอผูมีอํานาจอนุมัติ

 ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ที่ กค 0408.4/ว 165 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2559

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 8

2. พาหนะรับจาง

3. พาหนะสวนตัว

เชน รถแท็กซี่ รถจักรยานยนตรับจาง ใหเบิกไดตามที่จายจริงโดยประหยัด ภายใต

หลักเกณฑ ดังนี้

ระดับ หลักเกณฑการเบิก หลักฐานการเบิก

ทั่วไป

วิชาการ

อํานวยการ

บริหาร

1. ไปกลับระหวางสถานที่อยู ที่พัก หรือสถานที่

ปฏิบัติราชการกับสถานียานพาหนะประจําทาง

หรือสถานที่จัดพาหนะ

- ภายในเขตจังหวัดเดียวกัน เทาที่จายจริง

- ถาขามเขตจังหวัด

 ขามเขตระหวางกรุงเทพฯ กับจังหวัดที่มี

เขตติดตอกรุงเทพฯ หรือขามเขตจังหวัดที่ผาน

เขตกรุงเทพฯ เทาที่จายจริงเที่ยวละไมเกิน 600 บาท

 ขามเขตจังหวัดอื่น เทาที่จายจริง

เที่ยวละไมเกิน 500 บาท

2. การเดินทางไปกลับระหวางสถานที่อยู ที่พัก

กับสถานที่ปฏิบัติราชการภายในเขตจังหวัดเดียวกัน

(ยกเวนการไปสอบคัดเลือก/รับการคัดเลือก)

ไมเกินวันละ 2 เที่ยว

3. การเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร

- ใบรับรองแทน

ใบเสร็จรับเงิน

(แบบ บก. 111)

 กรณีมีความจําเปนตองออกเดินทางลวงหนา หรือไมสามารถเดินทางกลับที่ตั้งสํานักงานปกติเมื่อปฏิบัติ

ราชการเสร็จเพราะมีเหตุสวนตัว ใหเบิกคาพาหนะเทาที่จายจริงตามเสนทางที่ไดรับคําสั่งใหไปราชการ

 กรณีการเดินทางนอกเสนทางระหวางการลา ใหเบิกคาพาหนะเทาที่จายจริงโดยไมเกินอัตรา

ตามเสนทางที่ไดรับคําสั่งใหไปราชการ

หมายถึง รถยนตสวนบุคคล หรือรถจักรยานยนตสวนบุคคล ซึ่งมิใชของทางราชการ

ทั้งนี้ไมวาจะเปนกรรมสิทธิ์ของผูเดินทางไปราชการหรือไมก็ตาม

การใชพาหนะสวนตัวเดินทางไปราชการจะตองไดรับอนุญาตจากผูบังคับบัญชา และตองใช

พาหนะนั้นตลอดเสนทาง จึงจะมีสิทธิเบิกเงินชดเชยเปนคาพาหนะในลักษณะเหมาจายได หากไมสามารถ

ใชพาหนะสวนตัวไดตลอดเสนทาง ตองชี้แจงเหตุผลความจําเปนตอผูบังคับบัญชาเพื่อพิจารณาอนุญาต

ทุกระดับ

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 9

*สําหรับคาผานทางดวนใหนําไปเบิกจากคาใชจายในการบริหารงาน*

(เบิกไดเฉพาะรถยนตราชการเทานั้น)

2. การเดินทางไปราชการประจํา

 คาใชจายอื่นที่จําเปนในการเดินทางไปราชการ

การคํานวณระยะทางเพื่อเบิกเงินชดเชยในการใชพาหนะสวนตัวในการเดินทางไปราชการ

 คํานวณตามเสนทางของกรมทางหลวงในทางสั้นและตรงซึ่งสามารถเดินทางได

โดยสะดวกและปลอดภัย

 กรณีที่ไมมีเสนทางของกรมทางหลวงใหใชเสนทางของหนวยงานอื่นที่ตัดผาน เชน

เสนทางของเทศบาล เปนตน

 กรณีที่ไมมีเสนทางของกรมทางหลวงและของหนวยงานอื่นใหผูเดินทางเปนผูรับรอง

ระยะทางในการเดินทาง

เงินชดเชยในการใชพาหนะสวนตัวในการเดินทางไปราชการ

ประเภท กิโลเมตร : บาท หลักฐานการเบิก

รถยนตสวนบุคคล 4 ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก. 111)

รถจักรยานยนตสวนบุคคล 2 ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก. 111)

ผูเดินทางสามารถเบิกคาใชจายอื่นที่จําเปนในการเดินทางไดโดยประหยัดและตองเปนไป

ตามเงื่อนไข ดังตอไปนี้

- เปนคาใชจายที่จําเปนตองจาย หากไมจายไมอาจเดินทางถึงจุดหมายแตละชวงที่เดินทาง

ไปปฏิบัติราชการได เชน คาธรรมเนียมหนังสือเดินทาง คาปะยางรถยนต เปนตน

- ตองไมเปนคาใชจายที่มีกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ ขอบังคับ หรือหนังสือสั่งการ

ของกระทรวงการคลังกําหนดไวเปนการเฉพาะ

- ตองไมใชคาใชจายที่เกี่ยวกับเนื้องานที่ไปปฏิบัติราชการ ซึ่งถือเปนคาใชจายในการ

บริหารงานของสวนราชการ เชน คาถายเอกสาร คาวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน เปนตน

การเดินทางไปราชการประจํา ไดแก

 การเดินทางไปประจําตางสํานักงาน รักษาการในตําแหนง หรือรักษาราชการแทน

เพื่อดํารงตําแหนงใหม ณ สํานักงานแหงใหม

 การเดินทางไปประจําสํานักงานเดิมในทองที่ใหมในกรณียายสํานักงาน

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 10

 การเดินทางไปปฏิบัติงานตามโครงการหรือไปชวยราชการที่มีกําหนดเวลาสิ้นสุดของ

โครงการหรือการชวยราชการไวชัดเจน ซึ่งมีกําหนดเวลาตั้งแต 1 ปขึ้นไป

 การเดินทางไปชวยราชการที่ไมอาจกําหนดระยะเวลาสิ้นสุดหรือมีกําหนดเวลาไมถึง 1 ป

แตสวนราชการมีความจําเปนตองใหอยูชวยราชการ ณ สถานที่เดิมใหนับเวลาตอเนื่อง และใหถือเวลาตั้งแต

วันที่ครบกําหนด 1 ปเปนตนไป เปนการเดินทางไปราชการประจํา

คาใชจายในการเดินทางไปราชการประจํา ประกอบดวย

1. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง (ใหนับตั้งแตออกจากสถานที่อยูถึงสถานที่พักแหงใหม)

2. คาเชาที่พัก

3. คาพาหนะ

4. คาขนยายสิ่งของสวนตัว

5. คาใชจายอื่นที่จําเปนตองจายเนื่องในการเดินทางไปราชการ

ผูมีสิทธิเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการประจํา

ขาราชการผูเดินทาง

บุคคลในครอบครัว

• คูสมรส

• บุตร

• บิดามารดาของตนเองและของคูสมรส

• ผูติดตาม

1 คน สําหรับขาราชการ

ตําแหนงประเภททั่วไป : ระดับปฏิบัติงาน และระดับชํานาญงาน

ตําแหนงประเภทวิชาการ : ระดับปฏิบัติการ

ไมเกิน 2 คน สําหรับขาราชการ

ตําแหนงประเภททั่วไป : ระดับอาวุโส ระดับทักษะพิเศษ

ตําแหนงประเภทวิชาการ : ระดับชํานาญการ ระดับชํานาญการพิเศษ

ระดับเชี่ยวชาญ ระดับทรงคุณวุฒิ

ตําแหนงประเภทอํานวยการ : ระดับตน ระดับสูง

ตําแหนงประเภทบริหาร : ระดับตน ระดับสูง

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 11

หลักเกณฑในการเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการประจํา

3. การเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม

ประเภทคาใชจาย หลักเกณฑการเบิก

เบี้ยเลี้ยงเดินทาง ใหนับตั้งแตเดินทางออกจากสถานที่อยูถึงสถานที่พักแหงใหม

คาเชาที่พัก 1. ผูเดินทางเบิกตามสิทธิ

2. บุคคลในครอบครัวใหเบิกในอัตราเดียวกับผูเดินทาง

3. ผูติดตาม ใหเบิกไดเทากับขาราชการในระดับต่ําสุด คาพาหนะ

คาขนยายสิ่งของสวนตัว ใหเบิกแบบเหมาจาย ตามอัตราที่กระทรวงการคลังกําหนด

คาใชจายอื่นที่จําเปน เบิกลักษณะเดียวกับการเดินทางไปราชการชั่วคราว

 ถาเดินทางไปถึงสถานที่แหงใหมแตยังไมสามารถเขาบานพัก/บานเชาได ใหเบิกคาเชาที่พัก

ไดไมเกิน 7 วัน โดยตองไดรับอนุมัติจากผูบังคับบัญชา หากมีความจําเปนตองเชาที่พักเกิน 7 วัน ตองไดรับ

อนุมัติจากปลัดกระทรวงเจาสังกัดเดิม

 ถาบุคคลในครอบครัวยังไมเดินทางมาพรอมผูเดินทาง ใหผูเดินทางขออนุญาตผูบังคับบัญชา

ใหเลื่อนการเดินทางของบุคคลในครอบครัวโดยใหขอกอนที่ผูเดินทางจะเดินทาง แตตองไมเกิน 1 ป

นับแตวันที่ปรากฏในคําสั่งใหเดินทางไปราชการ

 ถาเปนการเดินทางไปราชการประจําตางสังกัด (ตางกรม) ใหเบิกคาใชจายในการเดินทาง

จากสังกัดใหม

 ถาเปนการขอยายตามคํารองขอของตนเอง ผูเดินทางไมสามารถเบิกคาขนยายได

การเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม หมายถึง การเดินทางเพื่อกลับภูมิลําเนาเดิมของผูเดินทาง

ไปราชการประจําในกรณีที่ออกจากราชการหรือถูกสั่งพักราชการ

ภูมิลําเนาเดิม ไดแก

• ทองที่ที่เริ่มรับราชการ

• ทองที่ที่กลับเขารับราชการใหม

• ทองที่ที่ไดรับการบรรจุเขาเปนลูกจางครั้งแรกหรือครั้งสุดทายแลวแตกรณี

สิทธิในการเบิก

• กรณีออกจากราชการ หรือเลิกจาง

• กรณีตาย

• กรณีถูกสั่งพักราชการ หรือพักการจาง โดยไมรอผลการสอบสวนถึงที่สุด

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 12

หลักเกณฑในการเบิกคาใชจายในการเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม

ผูมีสิทธิเบิก คาใชจายในการเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม

1. ขาราชการซึ่งออกจากราชการ

หรือลูกจางซึ่งทางราชการเลิกจาง

ประกอบดวย

1. คาเชาที่พัก 2. คาพาหนะ 3. คาขนยายสิ่งของสวนตัว

เงื่อนไข

ใหเบิกไดตามสิทธิของผูเดินทางในอัตราสําหรับตําแหนง

ระดับครั้งสุดทายกอนออกจากราชการหรือเลิกจาง

ตองเดินทางและขนยายสิ่งของสวนตัวภายใน 180 วัน

2. บุคคลในครอบครัว

• คูสมรส

• บุตร

• บิดามารดาของตนและของคูสมรส

• ผูติดตาม

 กรณีถึงแกความตาย ใหทายาทที่อยูดวยขณะถึงแกความตายเปนผูใชสิทธิเบิกคาใชจาย

ในการเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม ถาไมมีทายาทที่อยูดวยขณะถึงแกความตายหรือมีทายาท แตไมสามารถ

จัดการไดใหทายาทผูใดผูหนึ่งที่มิไดอยูดวยเปนผูใชสิทธิเบิกคาใชจายสําหรับตนเองไดเฉพาะการเดินทางกลับ

 การเดินทางกลับภูมิลําเนาไปยังทองที่อื่นซึ่งมิใชภูมิลําเนาเดิม จะขอเบิกคาใชจาย

ในการเดินทางโดยเสียคาใชจายไมสูงกวา กระทําไดเมื่อไดรับอนุญาตจากอธิบดีหรือผูวาราชการจังหวัด

อัตราคาขนยายสิ่งของสวนตัวในการเดินทางไปราชการประจําในราชอาณาจักร

ระยะทาง (กม.) อัตรา (บาท) ระยะทาง (กม.) อัตรา (บาท)

1 - 50 2,000 751 - 800 11,500

51 - 100 2,500 801 - 850 12,000

101 - 150 3,000 851 - 900 13,000

151 - 200 4,000 901 - 950 13,500

201 - 250 4,500 951 - 1,000 14,000

251 - 300 5,000 1,001 - 1,050 15,000

301 - 350 6,000 1,051 - 1,100 15,500

351 - 400 6,500 1,101 - 1,150 16,000

401 - 450 7,000 1,151 - 1,200 17,000

451 - 500 8,000 1,201 - 1,250 17,500

501 - 550 8,500 1,251 - 1,300 18,500

551 - 600 9,000 1,301 - 1,350 19,000

601 - 650 9,500 1,351 - 1,400 19,500

651 - 700 10,000 1,401 - 1,450 20,000

701 - 750 11,000 1,451 - 1,500 20,500

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 13

 สําหรับระยะทางที่เกิน 1,500 กิโลเมตรขึ้นไป ใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการตนสังกัด

ซึ่งไปประจําที่จะพิจารณาอนุมัติใหเบิกจายในลักษณะเหมาจายไดตามความจําเปนเหมาะสม

ประเภทการเดินทาง เอกสารหลักฐาน หมายเหตุ

1. ไปราชการชั่วคราว  บันทึกขออนุมัติเดินทาง

 ใบเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการ

(แบบ 8708) พรอมหลักฐานการจาย ไดแก

- ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน

(แบบ บก.111)

- ใบเสร็จรับเงินคาที่พัก

(กรณีเบิกในลักษณะจายจริง)

- ใบเสร็จรับเงินคาโดยสารเครื่องบิน

(กรณีเดินทางโดยเครื่องบิน)

- ใบเสร็จรับเงินคาน้ํามันเชื้อเพลิง

- หนังสือเชิญ (ถามี)

 การเดินทาง

โดยรถยนตสวนตัว

ตองระบุในบันทึก

ขออนุมัติเดินทางดวย

 ใบเสร็จรับเงิน

ของ 7-11 ไมถือเปน

หลักฐานการเบิกจาย

2. ไปราชการประจํา  บันทึกขออนุมัติเดินทาง

 คําสั่งใหไปปฏิบัติราชการ ณ สถานที่

แหงใหม

 บันทึกขออนุมัติเบิกคาเชาที่พักในกรณี

ที่เดินทางมาถึงแลว แตยังไมสามารถ

เขาบานพัก/บานเชาได(ไมเกิน 7 วัน)

 ใบเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการ

(แบบ 8708) พรอมหลักฐานการจาย

(รวมคาขนยายสิ่งของสวนตัว)

3. เดินทาง

กลับภูมิลําเนาเดิม

 บันทึกขออนุมัติเดินทาง

 คําสั่งใหเกษียณอายุราชการ/ลาออก/

พักราชการ

 ใบเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการ

(แบบ 8708) พรอมหลักฐานการจาย

(รวมคาขนยายสิ่งของสวนตัว)

 ตองเดินทางและ

ขนยายภายใน 180 วัน

นับแตวันที่ออกจาก

ราชการ

เอกสารประกอบการเบิกจายคาใชจายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 14

การเดินทางไปราชการตางประเทศ

1. การเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว

การเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว ไดแก

• การเดินทางของผูรับราชการประจําในประเทศไทย ซึ่งเด ินทางไปราชการ

นอกราชอาณาจักรเพื่อปฏิบัติงานการประชุม เจรจาธุรกิจ ดูงาน ตรวจสอบบัญชี หรือปฏิบัติหนาที่อยางอื่น

เปนครั้งคราวตามความจําเปน

• การเดินทางของผูรับราชการประจําในตางประเทศ ซึ่งเดินทางไปราชการ ณ ที่ใดๆ

ในตางประเทศนอกที่ตั้งสํานักงานในเขตอาณาหรือเขตพื้นที่รับผิดชอบ

• การเดินทางของผูรับราชการประจําในตางประเทศ ซึ่งเด ินทางไปช วยราชการ ร ักษาการ

ในตําแหนงหร ือร ักษาราชการแทนต างสํานักงานในต างประเทศ เฉพาะเวลาท ี่ออกเด ินทางจากที่พ ักซึ่งเป ็น

ที่ตั้งสํานักงานแห งเดิมจนถ ึงท ี่พ ักซึ่งเป ็นที่ตั้งสํานักงานแห งใหม

คาใชจายในการเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว ไดแก

 เบี้ยเลี้ยงเดินทาง

 คาเชาที่พัก

 คาพาหนะรวมทั้งคาเชายานพาหนะ คาเชื้อเพลิงหรือพลังงานสําหรับยานพาหนะ

คาระวางบรรทุก คาจางคนหาบหามและอื่นๆ ทํานองเดียวกัน

 คารับรอง

 คาใชจายอื่นที่จําเปนเนื่องในการเดินทางไปราชการ

ระยะเวลาอนุมัติการเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว

ประเทศที่เดินทางไปราชการ กอนเริ่มปฏิบัติราชการ หลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติราชการ

(ก) ประเทศในทวีปเอเชีย ไมเกิน ๒๔ ชั่วโมง ไมเกิน ๒๔ ชั่วโมง

(ข) ออสเตรเลีย

นิวซีแลนด

ประเทศในทวีปยุโรป

ประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ

ไมเกิน ๔๘ ชั่วโมง ไมเกิน ๔๘ ชั่วโมง

(ค) ประเทศในทวีปอเมริกาใต

ประเทศในทวีปแอฟริกา ไมเกิน ๗๒ ชั่วโมง ไมเกิน ๗๒ ชั่วโมง

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 15

หลักเกณฑในการเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว

เบี้ยเลี้ยงเดินทาง

การนับเวลาเดินทางไปราชการสําหรับผูรับราชการประจําในประเทศเพื่อคํานวณเบี้ยเลี้ยงเดินทาง

• ใหนับตั้งแตเวลาประทับตราหนังสือเดินทางออกจากประเทศไทย จนถึงเวลาที่ประทับตรา

หนังสือเดินทางเขาประเทศไทย

• เวลาเดินทางไปราชการ ใหนับ 24 ชั่วโมงเปน 1 วัน ถาไมถึง 24 ชั่วโมง หรือเกิน 24 ชั่วโมง

หากสวนที่ไมถึงหรือเกินนั้นนับไดเกิน 12 ชั่วโมง ใหถือเปน 1 วัน

อัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราวและคาใชจายอื่น

1. กรณีเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทางในลักษณะเหมาจาย

ประเภทขาราชการ อัตรา

(บาท : วัน : คน)

 ทั่วไป : ระดับปฏิบัติงาน ชํานาญงาน และอาวุโส

 วิชาการ : ระดับปฏิบัติการ ชํานาญการ และชํานาญการพิเศษ

 อํานวยการ : ระดับตน

 หรือตําแหนงที่เทียบเทา

2,100

 ทั่วไป : ระดับทักษะพิเศษ

 วิชาการ : ระดับเชี่ยวชาญ และทรงคุณวุฒิ

 อํานวยการ : ระดับสูง

 บริหาร : ระดับตน และสูง

 หรือตําแหนงที่เทียบเทา

3,100

2. กรณีเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทางในลักษณะจายจริง

2.1 คาอาหาร คาเครื่องดื่ม คาภาษีคาบริการที่โรงแรม ภัตตาคาร หรือรานคาเรียกเก็บ

จากผ ูเด ินทางไปราชการ ให เบ ิกเท าท ี่จ ายจร ิงไม เกินว ันละ 4,500 บาทต อคน

2.2 ค าทําความสะอาดเส ื้อผ า สําหรับระยะเวลาท ี่เกิน 7 ว ัน ให เบ ิกเท าท ี่จ ายจร ิง

ไม เกินวันละ 500 บาทตอคน

2.3 คาใชสอยเบ็ดเตล็ด ใหเบิกในลักษณะเหมาจายไมเกินวันละ 500 บาทตอคน

 คาใชจายตาม 2.1 - 2.2 ใหคิดคํานวณเบิกจายในแตละวัน จํานวนเงินสวนที่เหลือจายในวันใด

จะนํามาสมทบเบิกในวันถัดไปไมได

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 16

คาเชาที่พัก

1. กรณีผูเดินทางไปราชการเบิกคาเชาที่พักคนเดียว ใหเบิกไดตามที่จายจริงไมเกินอัตรา

คาเชาที่พักที่กระทรวงการคลังกําหนด

2. กรณีเดินทางไปราชการเปนหมูคณะใหผูเดินทางไปราชการเบิกคาเชาที่พักได ดังนี้

ลําดับที่ ประเภทขาราชการ เงื่อนไข

2.1 อํานวยการ : ระดับตน

วิชาการ : ระดับปฏิบัติการ

ชํานาญการ

และชํานาญการพิเศษ

ทั่วไป : ระดับปฏิบัติงาน

ชํานาญงาน

และอาวุโส

หรือตําแหนงที่เทียบเทา

- ให พ ักรวมกัน 2 คนต อ 1 หอง

- ใหเบิกคาเชาที่พักไดเทาที่จายจริงในอัตราคาเชาหองพักคู

คนละไมเกินรอยละ 70 ของอัตราคาเชาหองพักคนเดียว

ถาผูดํารงตําแหนงดังกลาวแยกพักหองพักคนเดียวใหเบิกได

อัตราเดียวกัน

เวนแต เปนกรณีที่ไมเหมาะสมจะพักรวมกันหรือมีเหตุจําเปน

ที่ไมอาจพักรวมกับผูอื่นไดใหเบิกไดเทาที่จายจริงในอัตรา

คาเชาหองพักคนเดียว

2.2 บริหาร : ระดับตน และสูง

อํานวยการ : ระดับสูง

วิชาการ : ระดับเชี่ยวชาญ

และทรงคุณวุฒิ

ทั่วไป : ระดับทักษะพิเศษ

หรือตําแหนงที่เทียบเทา

- ใหเบิกคาเชาที่พักไดเทาที่จายจริง ในอัตราคาเชาหองพัก

คนเดียว

2.3 บริหาร : ระดับสูง

วิชาการ : ระดับทรงคุณวุฒิ

หรือตําแหนงที่เทียบเทา

เปนหัวหนาคณะ

- หากมีความจําเปนตองใชสถานที่ในที่เดียวกันกับที่พัก

เพื่อเปนที่ประสานงานของคณะหรือกับบุคคลอื่น ใหเบิก

คาเชาที่พักไดเพิ่มขึ้นสําหรับหองพักอีกหองหนึ่งในอัตรา

คาเชาหองพักคนเดียว หรือจะเบิกคาเชาหองชุดแทนก็ได

ทั้งนี้ ตองมีอัตราไมเกิน 2 เทาของอัตราคาเชาหองพัก

คนเดียว

3. กรณีลาพักผอน ลากิจ เดินทางลวงหนากอนเริ่มปฏิบัติราชการ หากตองพักแรมในทองที่

ที่ปฏิบัติราชการกอนวันเริ่มปฏิบัติราชการ ใหเบิกคาเชาที่พักกอนวันเริ่มปฏิบัติราชการไดไมเกิน 1 วัน

4. กรณีลาพักผอน ลากิจเดินทางหลังปฏิบัติราชการ ใหถือสิทธิในการเบิกคาเชาที่พักสิ้นสุดลง

เมื่อสิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 17

อัตราคาเชาที่พักที่กระทรวงการคลังกําหนด

ประเภทขาราชการ อัตราสําหรับประเทศ รัฐ เมือง (บาท : วัน : คน)

ประเภท ก. ประเภท ข. ประเภท ค. ประเภท ง. ประเภท จ.

ทั่วไป : ระดับปฏิบัติงาน

ชํานาญงาน

และอาวุโส

วิชาการ : ระดับปฏิบัติการ

ชํานาญการ และ

ชํานาญการพิเศษ

อํานวยการ : ระดับตน

ไมเกิน

7,500

ไมเกิน

5,000

ไมเกิน

3,100

เพิ่มขึ้นจาก

ประเภท ก.

อีกไมเกิน

รอยละ 40

เพิ่มขึ้นจาก

ประเภท ก.

อีกไมเกิน

รอยละ 25

ทั่วไป : ระดับทักษะพิเศษ

วิชาการ : ระดับเชี่ยวชาญ

และทรงคุณวุฒิ

อํานวยการ : ระดับสูง

บริหาร : ระดับตน และสูง

ไมเกิน

10,000

ไมเกิน

7,000

ไมเกิน

4,500

เพิ่มขึ้นจาก

ประเภท ก.

อีกไมเกิน

รอยละ 40

เพิ่มขึ้นจาก

ประเภท ก.

อีกไมเกิน

รอยละ 40

ประเภท ก. ไดแก ประเทศ รัฐ เมือง ดังตอไปนี้

ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง

1 แคนาดา 2 เครือรัฐออสเตรเลีย

3 ไตหวัน 4 เติรกเมนิสถาน

5 นิวซีแลนด 6 บอสเนียและเฮอรเซโกวีนา

7 ปาปวนิวกีนี 8 มาเลเซีย

9 ราชรัฐโมนาโก 10 ราชรัฐลักเซมเบิรก

11 ราชรัฐอันดอรรา 12 ราชอาณาจักรกัมพูชา

13 ราชอาณาจักรเดนมารก 14 ราชอาณาจักรนอรเวย

15 ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด 16 ราชอาณาจักรโมร็อกโก

17 ราชอาณาจักรสวาซิแลนด 18 ราชอาณาจักรสวีเดน

19 รัฐสุลตานโอมาน 20 โรมาเนีย

21 สหพันธสาธารณรัฐบราซิล 22 สหพันธสาธารณรัฐยูโกสลาเวีย

23 สหรัฐอาหรับอิมิเรตส 24 สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต)

25 สาธารณรัฐโครเอเซีย 26 สาธารณรัฐชิลี

27 สาธารณรัฐเซ็ก 28 สาธารณรัฐตุรกี

29 สาธารณรัฐบัลแกเรีย 30 สาธารณรัฐประชาชนจีน

31 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน

แอลจีเรีย

32 สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร - เลสเต

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 18

ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง

33 สาธารณรัฐเปรู 34 สาธารณรัฐโปแลนด

35 สาธารณรัฐฟนแลนด 36 สาธารณรัฐฟลิปปนส

37 สาธารณรัฐมอริเซียส 38 สาธารณรัฐมอลตา

39 สาธารณรัฐโมซัมบิก 40 สาธารณรัฐเยเมน

41 สาธารณรัฐลิทัวเนีย 42 สาธารณรัฐสโลวัก

43 สาธารณรัฐสโลวีเนีย 44 สาธารณรัฐออสเตรีย

45 สาธารณรัฐอาเซอรไบจาน 46 สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

47 สาธารณรัฐอินเดีย 48 สาธารณรัฐเอสโตเนีย

49 สาธารณรัฐแอฟริกาใต 50 สาธารณรัฐไอซแลนด

51 สาธารณรัฐไอรแลนด 52 สาธารณรัฐฮังการี

53 สาธารณรัฐเฮลเลนิก (กรีซ) 54 ฮองกง

ประเภท ข. ไดแก ประเทศ รัฐ เมือง ดังตอไปนี้

ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง

1 เครือรัฐบาฮามาส 2 จอรเจีย

3 จาเมกา 4 เนการาบรูไนดารุสซาลาม

5 มาซิโดเนีย 6 ยูเครน

7 รัฐกาตาร 8 รัฐคูเวต

9 รัฐบาหเรน 10 รัฐอิสราเอล

11 ราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย 12 ราชอาณาจักรตองกา

13 ราชอาณาจักรเนปาล 14 ราชอาณาจักรฮัซไมตจอรแดน

15 สหพันธสาธารณรัฐไนจีเรีย 16 สหภาพพมา

17 สหรัฐเม็กซิโก 18 สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย

19 สาธารณรัฐกานา 20 สาธารณรัฐแกมเบีย

21 สาธารณรัฐโกตดิวัวร (ไอเวอรี่โคสต) 22 สาธารณรัฐคอสตาริกา

23 สาธารณรัฐคีรกีซ 24 สาธารณรัฐเคนยา

25 สาธารณรัฐแคเมอรูน 26 สาธารณรัฐคาซัคสถาน

27 สาธารณรัฐจิบูตี 28 สาธารณรัฐชาด

29 สาธารณรัฐซิมบับเว 30 สาธารณรัฐเซเนกัล

31 สาธารณรัฐแซมเบีย 32 สาธารณรัฐเซียรราลีโอน

33 สาธารณรัฐไซปรัส 34 สาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก

35 สาธารณรัฐตูนิเซีย 36 สาธารณรัฐทาจิกิสถาน

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 19

ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง

37 สาธารณรัฐไนเจอร 38 สาธารณรัฐบุรุนดี

39 สาธารณรัฐเบนิน 40 สาธารณรัฐเบลารุส

41 สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ 42 สาธารณรัฐปานามา

43 สาธารณรัฐมอลโดวา 44 สาธารณรัฐมาลี

45 สาธารณรัฐยูกันดา 46 สาธารณรัฐลัตเวีย

47 สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตย

ศรีลังกา

48 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

49 สาธารณรัฐอารเจนตินา 50 สาธารณรัฐอารเมเนีย

51 สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย 52 สาธารณรัฐอาหรับอียิปต

53 สาธารณรัฐอิรัก 54 สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน

55 สาธารณรัฐอิสลามมอริเตเนีย 56 สาธารณรัฐอิหราน

57 สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน 58 สาธารณรัฐแอฟริกากลาง

ประเภท ค. ไดแก ประเทศ รัฐ เมืองอื่นๆ นอกจากที่กําหนด ในประเภท ก. ประเภท ข. ประเภท ง. และ

ประเภท จ.

ประเภท ง. ไดแก ประเทศรัฐเมืองดังตอไปนี้

ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง

1 ญี่ปุน 2 สาธารณรัฐฝรั่งเศส

3 สหพันธรัฐรัสเซีย 4 สมาพันธรัฐสวิส

5 สาธารณรัฐอิตาลี

ประเภท จ. ไดแก ประเทศ รัฐ เมือง ดังตอไปนี้

ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง

1 ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม 2 ราชอาณาจักรสเปน

3 สหพันธสาธารณรัฐเยรมนี 4 สหรัฐอเมริกา

5 สหราชอาณาจักรบริเตนใหญและ

ไอรแลนดเหนือ

6 สาธารณรัฐโปรตุเกส

7 สาธารณรัฐสิงคโปร

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 20

คาพาหนะ

การเบิกคาโดยสารเครื่องบิน

1. การเดินทางไปราชการตางประเทศโดยเครื่องบินจากประเทศไทยไปตางประเทศหรือ

จากตางประเทศกลับประเทศไทย หรือการเดินทางไปในตางประเทศที่มีระยะเวลาในการเดินทางตั้งแต

9 ชั่วโมงขึ้นไป ใหเปนไปตามหลักเกณฑดังนี้

ลําดับ ประเภทขาราชการ โดยสารเครื่องบิน

1  วิชาการ : ระดับทรงคุณวุฒิ

 บริหาร : ระดับสูง

 หรือตําแหนงที่เทียบเทา

ชั้นหนึ่ง

2  อํานวยการ : ระดับสูง

 บริหาร : ระดับตน

 หรือตําแหนงที่เทียบเทา

ชั้นธุรกิจ หรือ

ชั้นระหวางชั้นหนึ่งกับชั้นประหยัด

3  ทั่วไป : ระดับปฏิบัติงาน ชํานาญงาน

อาวุโส และทักษะพิเศษ

 วิชาการ : ระดับปฏิบัติการ ชํานาญการ

ชํานาญการพิเศษ และเชี่ยวชาญ

 อํานวยการ : ระดับตน

 หรือตําแหนงเทียบเทา

ชั้นประหยัด

* ในกรณีผูเดินทางตาม 2 มีความจําเปนตองโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกวาสิทธิ ใหผูเดินทางสามารถ

เดินทางและเบิกคาโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกวาสิทธิได โดยตองไดรับอนุมัติจากปลัดกระทรวงเกษตร

และสหกรณ

2. การเดินทางไปราชการตางประเทศโดยเครื่องบินจากประเทศไทยไปตางประเทศหรือ

จากตางประเทศกลับประเทศไทย หรือการเดินทางในตางประเทศที่มีระยะเวลาในการเดินทางต่ํากวา

9 ชั่วโมง ใหเปนไปตามหลักเกณฑดังนี้

ลําดับ ประเภทขาราชการ โดยสารเครื่องบิน

1  วิชาการ : ระดับทรงคุณวุฒิ

 บริหาร : ระดับสูง

 หรือตําแหนงที่เทียบเทา ชั้นธุรกิจ

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 21

 คารับรอง

ลําดับ ประเภทขาราชการ โดยสารเครื่องบิน

2  ทั่วไป : ระดับปฏิบัติงาน ชํานาญงาน

อาวุโส และทักษะพิเศษ

 วิชาการ : ระดับปฏิบัติการ ชํานาญการ

ชํานาญการพิเศษ และเชี่ยวชาญ

 อํานวยการ : ระดับตน และสูง

 บริหาร : ระดับตน

 หรือตําแหนงที่เทียบเทา

ชั้นประหยัด

* ในกรณีผูเดินทางตาม 1 และ 2 (อํานวยการระดับสูงและบริหารระดับตน) มีความจําเปนตองโดยสาร

เครื่องบินในชั้นที่สูงกวาสิทธิ ใหผูเดินทางสามารถเดินทางและเบิกคาโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกวาสิทธิได

โดยตองไดรับอนุมัติจากปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

ผ ูเด ินทางสามารถเบิกคารับรองไดเทาที่จายจริง ทั้งในกรณีเดินทางไปราชการเปนคณะ

หรือเดินทางไปราชการคนเดียวไมเกินอัตรา ดังนี้

การเดินทาง อัตรา (บาท)

เดินทางไมเกิน 15 วัน ไมเกิน 67,000

เดินทางเกิน 15 วัน ไมเกิน 100,000

การเดินทางไปราชการที่จะเบิกคารับรองขางตนได ตองเปนการเดินทางกรณีใดกรณีหนึ่ง

ดังตอไปนี้

ก. ไปเขารวมประชุมระหวางประเทศในฐานะผูแทนรัฐบาล ผูแทนรัฐสภา หรือผูแทน

สวนราชการแตไมรวมถึงการประชุมหรือการสัมมนาทางวิชาการ

ข. ไปเจรจาธุรกิจ เจรจากูเงิน หรือขอความชวยเหลือจากตางประเทศในฐานะผูแทนรัฐบาลไทย

ค. ไปปรึกษาหารือ หรือเขารวมการประชุมเกี่ยวกับความรวมมือระหวางหนวยงานของ

รัฐบาลไทยกับหนวยงานตางประเทศ

ง. ไปเยือนตางประเทศในฐานะทูตสันถวไมตรีหรือในฐานะแขกของรัฐบาลตางประเทศ

จ. ไปรวมงานในรัฐพิธีตามคําเชิญของรัฐบาลตางประเทศ

ฉ. ไปจัดงานแสดงสินคาไทย หรือสงเสริมสินคาไทยในตางประเทศ หรือสงเสริมการลงทุน

ของตางประเทศในประเทศไทย หรือสงเสริมการลงทุนของไทยในตางประเทศ

ช. ไปเผยแพรศิลปะ หรือวัฒนธรรมไทยในตางประเทศ

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 22

ประเทศที่ไมสามารถเบิกคาเครื่องแตงตัวได

 คาเครื่องแตงตัวสําหรับผูเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว

1. คาเครื่องแตงตัวสําหรับขาราชการ ในลักษณะเหมาจาย

ประเภทขาราชการ อัตรา (บาท : คน)

 ทั่วไป : ระดับปฏิบัติงาน

 วิชาการ : ระดับปฏิบัติการ

 หรือตําแหนงที่เทียบเทา

7,500

 ทั่วไป : ระดับชํานาญงาน อาวุโส และทักษะพิเศษ

 วิชาการ : ระดับชํานาญการ ชํานาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ

และทรงคุณวุฒิ

 อํานวยการ : ระดับตน และสูง

 บริหาร : ระดับตน และสูง

 หรือตําแหนงที่เทียบเทา

9,000

2. อ ัตราค าเคร ื่องแต งต ัวสำหร ับค ูสมรส ให เบ ิกไดในอ ัตราเด ียวก ับข าราชการตาม 1

รายชื่อประเทศที่ไมสามารถเบิกคาเครื่องแตงตัวในการเดินทางไปฝกอบรมในตางประเทศ มีดังนี้

ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง ลําดับ ประเทศ รัฐ เมือง

1 สหภาพพมา 2 เนการาบรูไนดารุซาลาม

3 สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 4 ราชอาณาจักรกัมพูชา

5 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 6 มาเลเซีย

7 สาธารณรัฐฟลิปปนส 8 สาธารณรัฐสิงคโปร

9 สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา 10 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

11 สาธารณรัฐหมูเกาะฟจิ 12 ปาปวนิวกีนี

13 รัฐเอกราชซามัว 14 สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร- เลสเต

หมายเหตุ : ผูซึ่งเคยไดรับคาเครื่องแตงตัวในการเดินทางไปราชการตางประเทศแลว หรือเคยไดรับ

คาเครื่องแตงตัวจากหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเบิกจายจากเงินงบประมาณ หรือเงินนอกงบประมาณ

หรือเคยไดรับความชวยเหลือคาเครื่องแตงตัวจากหนวยงานใดๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศ

มีสิทธิเบิกคาเครื่องแตงตัวไดเมื่อการเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราวครั้งใหม มีระยะหาง

จากการเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราวครั้งสุดทายที่ไดรับคาเครื่องแตงตัวเกินกวา 2 ปนับแต

วันที่เดินทางออกจากประเทศไทย หรือเมื่อการเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราวครั้งใหม

มีระยะเวลาเกินกวา 2 ป นับแตวันที่เดินทางกลับถึงประเทศไทยสําหรับผูที่รับราชการประจํา

ในตางประเทศ

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 23

 คาใชจายในการเดินทางไปตางประเทศชั่วคราว กรณีไดรับความชวยเหลือ

 คาใชจายอื่นที่จําเปนตองจายเนื่องในการเดินทางไปราชการตางประเทศ

เชน คาธรรมเนียมหนังสือเดินทาง คาธรรมเนียมเขาประเทศ คาธรรมเนียมการใชสนามบิน

ภาษีการเดินทางออกนอกราชอาณาจักร คาพาหนะรับจางในตางประเทศ เปนตน

 ใหเบิกจายไดเทาที่จายจริง โดยเบิกจายในงบรายจายอื่น

กรณีผูเดินทางไดรับความชวยเหลือจากตางประเทศหรือหนวยงานใด ในการเดินทาง

ไปตางประเทศนอยกวาสิทธิที่พึงไดรับตามพระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ

ใหเบิกคาใชจายสมทบไดตามเงื่อนไข ดังนี้

ประเภท ไดรับความชวยเหลือ สิทธิ เงื่อนไข

คาโดยสาร

เครื่องบิน

- จัดตั๋วใหไป - กลับ งดเบิก แมต่ํากวาสิทธิก็ตองงดเบิก

- จัดตั๋วใหเที่ยวเดียว เบิกอีก 1 เที่ยว ตองชั้นเดียวกับที่ไดรับความชวยเหลือ

แตไมเกินสิทธิที่พึงไดรับ

- ไมจัดตั๋วให เบิกไป - กลับ ตามสิทธิของผูเดินทาง

เบี้ยเลี้ยงเดินทาง

- ไมออกคาใชจาย เบิกได ตามสิทธิของผูเดินทาง

- ออกใหต่ํากวาสิทธิ เบิกสมทบ

เฉพาะสวนที่ขาด

แตไมเกินสิทธิที่พึงไดรับ

- จัดเลี้ยงทุกมื้อ งดเบิก หามเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทาง

- จัดเลี้ยง 2 มื้อ เบิกสมทบ 1 ใน 3 ของอัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทางเหมาจาย

- จัดเลี้ยง 1 มื้อ เบิกสมทบ 2 ใน 3 ของอัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทางเหมาจาย

คาเชาที่พัก

- จัดที่พักให งดเบิก หามเบิกคาเชาที่พัก

- ออกใหต่ํากวาสิทธิ เบิกสมทบ เฉพาะสวนที่ขาดตามที่จายจริง

แตไมเกินสิทธิที่พึงไดรับ

- ไมออกคาเชาที่พัก เบิกได ตามสิทธิของผูเดินทาง

คาพาหนะ

(เดินทางไป - กลับ

ระหวางสถานที่อยู

ที่พัก หรือสถานที่

ปฏิบัติราชการกับ

สถานียานพาหนะ

- ไมออกคาใชจาย เบิกได จายจริงไมเกินสิทธิ

- ออกใหต่ํากวาสิทธิ เบิกสมทบ

เฉพาะสวนที่ขาดตามที่จายจริง

แตไมเกินสิทธิที่พึงไดรับ

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 24

หลักเกณฑการแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

1. การชําระคาใชจายในการเดินทางดวยเงินสด

ประเภท ไดรับความชวยเหลือ สิทธิ เงื่อนไข

คาเครื่องแตงตัว

- ไมออกคาใชจาย เบิกได ตามสิทธิของผูเดินทาง

- ออกใหต่ํากวาสิทธิ เบิกสมทบ เฉพาะสวนที่ขาด

แตไมเกินสิทธิที่พึงไดรับ

คาใชจายอื่น

ที่จําเปนเนื่องใน

การเดินทาง

- ไมออกคาใชจาย เบิกได จายจริงไมเกินสิทธิ

- ออกใหต่ํากวาสิทธิ เบิกสมทบ

เฉพาะสวนที่ขาดตามที่จายจริง

แตไมเกินสิทธิที่พึงไดรับ

*กรณีการเดินทางเพื่อดูงานใหเบิกคาใชจายสมทบตามขางตนได แตตองไมเกินวงเงินที่ไดรับความชวยเหลือ*

1.1 กรณียืมเงินทดรองราชการ หรือเงินงบประมาณ หรือเงินอื่นใดของราชการ เพื่อเดินทาง

ไปราชการตางประเทศ

  1. กรณีมีหลักฐานการแลกเปลี่ยนเงินกับธนาคาร

หลักฐานการแลกเปลี่ยนเงินกับธนาคาร ใหถืออัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ขาราชการแลกเปลี่ยนเงินตรา

สกุลตางประเทศกับธนาคาร (อัตราขายของธนาคาร)

กอนออกเดินทาง

มีเงินเหลือจาย ใหใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ขาราชการแลกเปลี่ยนเงินตรา

สกุลตางประเทศกับธนาคาร (อัตราซื้อของธนาคาร)

เปนอัตราสงใชเงินยืมที่เหลือจาย

หลักฐาน ใหแนบหลักฐานการแลกเปลี่ยนเงินกับธนาคาร ประกอบการ

เบิกจายหรือสงใชเงินยืมที่เหลือจาย

  1. กรณีไมมีหลักฐานการแลกเปลี่ยนเงินกับธนาคาร

หลักฐานการแลกเปลี่ยนเงินกับธนาคาร ใหถืออัตราแลกเปลี่ยนของธนาคารแหงประเทศไทย (อัตราขาย

ของธนาคาร) ณ วันทําการ 1 วัน กอนวันออกเดินทาง

เปนอัตราเดียวในการคํานวณคาแลกเปลี่ยนตลอดเสนทาง

ที่ขาราชการเดินทาง

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 25

  1. กรณีไมมีหลักฐานการแลกเปลี่ยนเงินกับธนาคาร

มีเงินเหลือจาย ใหถืออัตราแลกเปลี่ยนของธนาคารแหงประเทศไทย (อัตราซื้อ

ของธนาคาร) ณ วันทําการ 1 วัน หลังวันที่ขาราชการเดินทาง

กลับจากปฏิบัติราชการเปนอัตราในการคํานวณคาแลกเปลี่ยน

ในการสงใชเงินยืมที่เหลือกลับมา

หลักฐาน ใหแนบหลักฐานแสดงอัตราแลกเปลี่ยนของธนาคาร

แหงประเทศไทยประกอบการเบิกจายหรือสงใชเงินยืม

ที่เหลือจาย

  1. การสงชดใชเงินยืมที่เหลือ

กรณีเกิดผลกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ใหนําสงเปนเงินรายไดแผนดิน

กรณีเกิดผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ใหถือเปนคาใชจายอื่นที่จําเปนตองจายเนื่องในการเดินทาง

ไปราชการ

1.2 กรณีมิไดยืมเงินของทางราชการ เพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการตางประเทศ

มีหลักฐานการแลกเปลี่ยนเงินกับธนาคาร ไมมีหลักฐานการแลกเปลี่ยนเงินกับธนาคาร

ใหถืออัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ขาราชการ

ไดแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศกับธนาคาร

(อัตราขายของธนาคาร) กอนออกเดินทาง

เปนอัตราเดียวในการคํานวณคาแลกเปลี่ยน

ตลอดเสนทาง โดยใหแนบหลักฐานการแลกเปลี่ยน

กับธนาคารมาประกอบการเบิกจาย

ใหถืออัตราแลกเปลี่ยนของธนาคารแหงประเทศไทย

(อัตราขายของธนาคาร) ณ วันทําการ 1 วัน

กอนวันออกเดินทางของขาราชการเปนอัตราเดียว

ในการคํานวณคาแลกเปลี่ยนตลอดเสนทาง

2. การชําระคาใชจายในการเดินทางดวยบัตรเครดิต

2.1 ใหผูเดินทางสามารถใชบัตรเครดิตในการชําระคาใชจายในการเดินทางไปราชการ

ตางประเทศ

2.2 ใหใชอัตราแลกเปลี่ยนตามใบแจงยอดการใชจายบัตรเครดิตที่ไดรับแจงจากธนาคารเปน

อัตราในการคํานวณคาแลกเปลี่ยนในการขอเบิกคาใชจายในการเดินทางที่ชําระดวยบัตรเครดิต

2.3 ใหแนบหลักฐานใบแจงยอดการใชจายบัตรเครดิตที่ไดรับแจงจากธนาคารประกอบการเบิกจาย

หรือสงใชเงินยืมที่เหลือจาย

 กรณีขาราชการในสังกัดกอง/สํานักในสวนกลางเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว

ใหใชบัตรเครดิตราชการสําหรับการชําระคาใชจายตามหลักเกณฑการใชบัตรเครดิตราชการกําหนด

ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ที่ กค 0407.2/ว 56 ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2559

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 26

การซื้อบัตรโดยสารเครื่องบิน

การเดินทางไปราชการตางประเทศ หรือการเดินทางกลับประเทศไทย และการเดินทางไป

ราชการตางประเทศชั่วคราวหรือเดินทางกลับประเทศไทยชั่วคราวในระยะเวลาไมเกิน 1 ป

ใหซื้อบัตรโดยสารเครื่องบินรวมทั้งเที่ยวไปและกลับ ดังนี้

1. ใหซื้อบัตรโดยสารเครื่องบินของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) โดยสวนราชการ

มีหนังสือถึงบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) เพื่อสอบถามราคาบัตรโดยสารเครื่องบินกอนการเดินทาง

ไปราชการ โดยระบุรายละเอียดดังนี้

- ชื่อสวนราชการ

- ชื่อของผูเดินทางภาษาไทยและภาษาอังกฤษตามหนังสือเดินทาง (PASSPORT)

- ระบุเสนทางการเดินทางที่ไปปฏิบัติราชการ วันที่จะเดินทางไป - กลับ และวันที่พํานัก

ในตางประเทศ

- ความประสงคที่จะเดินทางนอกเหนือเสนทางที่ไปปฏิบัติราชการ

- ชั้นโดยสารตามพระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ

- วิธีการชําระเงิน

- หนังสือรับรองการเดินทางจากสวนราชการที่อนุมัติการจายคาบัตรโดยสาร

ทั้งนี้บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) จะมีหลักฐานเปนหนังสือหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส

(e-mail)แจงใหทราบภายใน 3 วันทําการ นับแตวันที่ไดรับหนังสือหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส (e-mail) สอบถาม

2. กรณีบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ไดใหสวนลดพิเศษแกผูเดินทางทั่วไปที่ซื้อบัตรโดยสาร

เครื่องบิน ไมวารูปแบบใด ใหสวนราชการใชดุลยพินิจเปรียบเทียบราคาบัตรโดยสารที่บริษัท การบินไทย จํากัด

(มหาชน) ใหสวนลดตามปกติแกทางราชการกับที่ใหสวนลดพิเศษแกผูเดินทางทั่วไป หากราคาบัตรโดยสาร

ที่ใหสวนลดพิเศษแกผูเดินทางทั่วไปมีราคาถูกกวา โดยทางราชการเสียคาใชจายนอยลง และตัวผูเดินทาง

ไดรับประโยชนดวยแลว ใหผูเดินทางสามารถดําเนินการได

3. หัวหนาสวนราชการสามารถจัดซื้อบัตรโดยสารเครื่องบินจากสายการบินอื่นไดในกรณีตอไปนี้

- บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ไมสามารถแจงใหทราบภายในระยะเวลา 3 วันทําการ

นับแตวันที่ไดรับหนังสือหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส (e-mail) สอบถาม หรือ

- บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) แจงวาไมสามารถจัดบัตรโดยสารใหได หรือ

- ราคาคาบัตรโดยสารของสายการบินอื่นมีราคาต่ํากวาราคาคาบัตรโดยสารที่ซื้อ

ของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ไมนอยกวารอยละ 25

- เสนทางการเดินทาง บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ไมเปดใหบริการ

4. กรณีที่มีความจําเปนตองซื้อบัตรโดยสารเครื่องบินของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

โดยผานตัวแทนจําหนาย หรือผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว ก็สามารถดําเนินการได ทั้งนี้ ราคาคาบัตรโดยสาร

เครื่องบินของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ที่ซื้อผานตัวแทนจําหนาย หรือผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว

จะตองต่ํากวาราคาคาบัตรโดยสารที่ซื้อจากบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) โดยสวนราชการ

ตองดําเนินการตามขอ 1

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 27

หลักฐานการเบิกจายเงินในการเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว

ประเภท ผูดําเนินการ หลักฐานการเบิก หมายเหตุ

1. คาโดยสาร

เครื่องบิน

- สวนราชการ - ใบแจงหนี้ของบริษัทสายการบิน

หรือตัวแทนจําหนาย

หรือผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว

- ใชใบเสร็จรับเงินที่ไดรับ

จากบริษัทสายการบิน หรือ

ตัวแทนจําหนาย หรือ

ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว

เปนหลักฐานการจาย

- ผูเดินทาง - ใบเสร็จรับเงินของบริษัท

สายการบินหรือตัวแทนจําหนาย

หรือใบรับเงินที่แสดงรายละเอียด

การเดินทาง

- หลักฐานการเปรียบเทียบราคา

บัตรโดยสารเครื่องบิน*

* กรณีจัดซื้อจากสายการบิน

อื่นที่ไมใชบริษัท การบินไทย

จํากัด (มหาชน)ตองมี

หลักฐานการเปรียบเทียบ

ราคาบัตรโดยสารเครื่องบิน

- ผูประกอบธุรกิจ

นําเที่ยว

- ใบเสร็จรับเงินของผูประกอบ

ธุรกิจนําเที่ยว

- หลักฐานการเปรียบเทียบราคา

บัตรโดยสารเครื่องบิน**

** กรณีจัดซื้อจากสายการบิน

อื่นที่ไมใชบริษัท การบินไทย

จํากัด (มหาชน)ผูประกอบ

ธุรกิจนําเที่ยวตองมีหลักฐาน

การเปรียบเทียบราคา

บัตรโดยสารเครื่องบิน

- ใหเบิกจายไดตามที่

ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว

เรียกเก็บ

2. คาพาหนะ

เดินทางภายใน

ตางประเทศ

- ผูเดินทาง - ใบเสร็จรับเงินคาพาหนะ หรือ

- ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน

(แบบ บก. 111)

- ใชแบบใบเบิกคาใชจาย

ในการเดินทางไปราชการ

(แบบ 8708) เปนหลักฐาน

การจาย

- ผูประกอบธุรกิจ

นําเที่ยว

- ใบเสร็จรับเงินของผูประกอบ

ธุรกิจนําเที่ยว

- ใหเบิกจายไดตามที่

ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว

เรียกเก็บ

- ใชแบบใบเบิกคาใชจาย

ในการเดินทางไปราชการ

(แบบ 8708) เปนหลักฐาน

การจาย

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 28

ประเภท ผูดําเนินการ หลักฐานการเบิกจาย หมายเหตุ

3. คาเชาที่พัก - ผูเดินทาง - ใบเสร็จรับเงินคาเชาที่พัก

- ใบแจงรายการคาเชาที่พัก

ที่บันทึกดวยเครื่องอิเล็กทรอนิกส

ที่แสดงวาไดรับชําระเงินจาก

ผูเดินทางแลว (ไมตองมีลายมือชื่อ

ผูรับเงินก็ได)

- ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน

(แบบ บก. 111)

- ใชแบบใบเบิกคาใชจาย

ในการเดินทางไปราชการ

(แบบ 8708) เปนหลักฐาน

การจาย

- ตัวแทนจําหนาย - ใบเสร็จรับเงินของตัวแทน

จําหนาย หรือ

- ใบเสร็จรับเงินของตัวแทน

จําหนายที่พิมพออกจากระบบ

อิเล็กทรอนิกส

- ใชแบบใบเบิกคาใชจาย

ในการเดินทางไปราชการ

(แบบ 8708) เปนหลักฐาน

การจาย

- ผูประกอบธุรกิจ

นําเที่ยว

- ใบเสร็จรับเงินของผูประกอบ

ธุรกิจนําเที่ยว

- ใหเบิกจายไดตามที่

ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว

เรียกเก็บ แตไมเกินสิทธิ

ที่ไดรับ

- ใชแบบใบเบิกคาใชจาย

ในการเดินทางไปราชการ

(แบบ 8708) เปนหลักฐาน

การจาย

4. คาอาหาร - ผูประกอบธุรกิจ

นําเที่ยว

- ใบเสร็จรับเงินของผูประกอบ

ธุรกิจนําเที่ยว

- ใหเบิกจายไดตามที่

ผูประกอบธุรกิจนําเที่ยว

เรียกเก็บ แตตองไมเกิน

อัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทาง

ในลักษณะเหมาจาย

- ใชแบบใบเบิกคาใชจาย

ในการเดินทางไปราชการ

(แบบ 8708) เปนหลักฐาน

การจาย

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 29

2. การเดินทางไปราชการประจําในตางประเทศ

ประเภท ผูดําเนินการ หลักฐานการเบิกจาย หมายเหตุ

5. คาใชจายอื่น

เชน คาจัดทํา

หนังสือเดินทาง

หรือวีซา

- ผูเดินทาง - ใบเสร็จรับเงินของหนวยงาน

ที่เกี่ยวของเรียกเก็บ

- ใชแบบใบเบิกคาใชจาย

ในการเดินทางไปราชการ

(แบบ 8708) เปนหลักฐาน

การจาย

- ผูประกอบธุรกิจ

นําเที่ยว

- ใบเสร็จรับเงินของหนวยงาน

ที่เกี่ยวของเรียกเก็บ

- ใหเบิกจายไดตามที่

หนวยงานที่เกี่ยวของ

เรียกเก็บ

- ใชแบบใบเบิกคาใชจาย

ในการเดินทางไปราชการ

(แบบ 8708) เปนหลักฐาน

การจาย

 ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ที่ กค 0408.4/ว 165 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2559

คาใชจายในการเดินทางไปราชการประจําในตางประเทศ ไดแก

 เบี้ยเลี้ยงเดินทาง

 คาเชาที่พัก

 คาพาหนะ

 คาเครื่องแตงตัว

 คาใชจายในการยายถิ่นที่อยู

อนึ่ง กรมสงเสริมการเกษตรไมมีที่ตั้งสํานักงานในตางประเทศ คูมือฉบับนี้จึงไมกลาวถึงรายละเอียด

การเดินทางไปราชการประจําในตางประเทศ

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 30

ระเบียบที่เกี่ยวของ

1. พระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526

2. พระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2527

3. พระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2527

4. พระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2529

5. พระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2534

6. พระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2541

7. พระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2548

8. พระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553

9. พระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560

10. ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกคาใชจายในการเดินทาง

ไปราชการ พ.ศ. 2550

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 31

ระเบียบที่เกี่ยวของ

11. ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกคาใชจายในการเดินทาง

ไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554

12. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการอนุมัติใหเดินทางไปราชการ

และการจัดการประชุมของทางราชการ พ.ศ. 2524

13. หนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ที่ กค 0409.6/ว 13 ลงวันที่ 4

กุมภาพันธ 2546 เรื่อง หลักเกณฑการแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

เพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการตางประเทศ

14. หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0409.6/ว 98 ลงวันที่ 2 มีนาคม 2548

เรื่อง คาธรรมเนียมในการรับวัคซีนปองกันโรคติดตอระหวางประเทศ

15. หนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ที่ กค 0409.6/ว 42 ลงวันที่ 26

กรกฎาคม 2550 เรื่อง หลักเกณฑการเบิกคาพาหนะรับจางขามเขตจังหวัด

เงินชดเชย และคาใชจายอื่นที่จําเปนตองจายเนื่องในการเดินทางไปราชการ

16. หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0409.6/ว 71 ลงวันที่ 22 ตุลาคม

2550 เรื่อง หลักฐานการเบิกจายคาโดยสารเครื่องบินในการเดินทางไปราชการ

ตางประเทศ

17. หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0406.6/ว 104 ลงวันที่ 22

กันยายน 2551 เรื่อง การเทียบตําแหนง

18. หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0406.4/ว 96 ลงวันที่ 16 กันยายน 2553

เรื่อง รายการคาใชสอยตามขอ 12 ของระเบียบกระทรวงการคลัง

วาดวยการเบิกจายคาใชจายในการบริหารงานของสวนราชการ พ.ศ. 2553

19. หนังสือสํานักงบประมาณ ที่ นร 0704/ว 2 ลงวันที่ 3 ตุลาคม 2555

เรื่อง ซอมความเขาใจเกี่ยวกับการใชงบประมาณรายจายรายการคาใชจาย

ในการเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว

20. หนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ที่ กค 0407.2/ว 56 ลงวันที่ 30

พฤษภาคม 2559 เรื่อง หลักเกณฑการใชบัตรเครดิตราชการ

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 32

ระเบียบที่เกี่ยวของ

21. หนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ที่ กค 0408.4/ว 165 ลงวันที่ 22

ธันวาคม 2559 เรื่อง หลักเกณฑและหลักฐานประกอบการเบิกคาใชจาย

ในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักรและการเดินทางไปราชการตางประเทศ

และวิธีปฏิบัติกรณีผูเดินทางทําหลักฐานประกอบการเบิกจายเงินสูญหาย

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 33

คําถามนารู

Q : หนวยงานไดจางเหมาพนักงานขับรถยนต แตบางครั้งตองขับรถ

ออกไปปฏิบัติงานนอกพื้นที่ที่ตั้ง (ตางจังหวัด) และพักคางแรม

สามารถเบิกคาเบี้ยเลี้ยงและที่พักไดหรือไม ถาไมได

จะมีแนวทาง/วิธีการอยางไรจึงจะสามารถเบิกได

A : ตองตรวจสอบสัญญาจางวาไดระบุเรื่องคาใชจายในการเดินทาง

ไปราชการหรือไม หากในสัญญาจางไมไดระบุถือวาไดรวม

คาใชจายในการเดินทางไวแลวกับคาจางจึงไมสามารถ

เบิกคาใชจายไดอีก หากตองการใหพนักงานขับรถยนตที่จางเหมา

เบิกคาใชจายในการเดินทางได จะตองเขียนระบุไวในสัญญาจาง

ใหชัดเจนวา กรณีตองเดินทางไปตางจังหวัด ใหเบิกคาใชจาย

จากผูจาง โดยอิงอัตราเทียบเทาระดับ 1 - 2

Q : การเทียบตําแหนงของเกษตรกร ประธานชุมชน หรือ

ผูทรงความรูตางๆ ใชระเบียบหรือหลักเกณฑใดในการ

เทียบตําแหนงสําหรับการเบิกจาย

A : ระเบียบกระทรวงการคลัง ที่ กค 0406.6/ว 104

ลงวันที่ 22 กันยายน 2551 เรื่อง การเทียบตําแหนง

Q : กรณีขาราชการไดรับคําสั่งใหไปปฏิบัติราชการ มีระยะเวลา

5 เดือน สามารถเบิกคาเชาที่พัก (โรงแรม) หรือเบิกเปน

คาเชาบานรายเดือนไดหรือไม

A : เบิกได แตไมเกิน 120 วัน นับแตวันที่ออกเดินทาง ถาเกิน

ตองไดรับอนุมัติจากปลัดกระทรวงเจาสังกัดหรือผูบังคับบัญชา

ที่มีอํานาจเชนเดียวกับปลัดกระทรวง

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 34

Q : คาขนยายสิ่งของสวนตัว ในกรณีเดินทางไปราชการ

ประจําหรือกลับภูมิลําเนาเดิม ระเบียบฯ กําหนด

ใหเบิกในลักษณะเหมาจาย อยากทราบวาตองใช

หลักฐานอะไรมาประกอบการเบิกจาย

A : การเบิกคาขนยายสิ่งของสวนตัวกรณีเดินทาง

ไปราชการประจําหรือกลับภูมิลําเนาเดิมตามระเบียบ

กระทรวงการคลังวาดวยการเบิกคาใชจายในการ

เดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550 กําหนดใหเบิก

ในลักษณะเหมาจายไดภายในอัตราที่กําหนด

โดยดูระยะทางที่ไดรับคําสั่งใหเดินทางไปราชการ

ประจํา ซึ่งเปนการเบิกในลักษณะเหมาจาย

จึงไมจําเปนตองมีหลักฐานประกอบการเบิกจาย

Q : ใบเสร็จรับเงินคาน้ํามันเชื้อเพลิงที่พิมพออกมาจาก

เครื่องอัตโนมัติจะใชเปนหลักฐานทางราชการไดหรือไม

A : ได ถาตรวจสอบแลววาในใบเสร็จรับเงินนั้นมีสาระสําคัญ

ครบทั้ง 5 รายการ ไดแก

(1) ชื่อ สถานที่อยู หรือที่ทําการของผูรับเงิน

(2) วัน เดือน ป ที่รับเงิน

(3) รายการแสดงรายการรับเงิน ระบุวาคาอะไร

(4) จํานวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร

(5) ลายมือชื่อผูรับเงิน

หากมีครบทั้ง 5 ขอ ก็นับเปนใบเสร็จรับเงินตามระเบียบ

การเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและนําเงิน

สงคลัง พ.ศ. 2551 ขอ 41 และสามารถใชเปนหลักฐาน

การเบิกจายได

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 35

Q : ขาราชการระดับชํานาญการมีสิทธิเดินทางโดยเครื่องบินชั้นประหยัด

แตในเที่ยวบินนั้นที่นั่งชั้นประหยัดเต็ม แตจําเปนตองเดินทาง

ในเที่ยวบินนั้น สามารถเบิกคาโดยสารเครื่องบินชั้นธุรกิจไดหรือไม

A : ไมได เพราะพระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทางไปราชการ

พ.ศ. 2526 และที่แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 9 พ.ศ. 2560

กําหนดใหเฉพาะผูดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูง ประเภท

วิชาการระดับทรงคุณวุฒิ ประเภทบริหารระดับตน และประเภท

อํานวยการระดับสูง หากมีความจําเปน สามารถเดินทางและ

เบิกคาโดยสารในชั้นที่สูงกวาสิทธิไดโดยตองไดรับอนุมัติ

จากปลัดกระทรวงเจาสังกัด หรือผูบังคับบัญชาที่มีอํานาจ

เชนเดียวกับปลัดกระทรวง

Q : คาขนยายใหเบิกจากตนสังกัดเดิม หรือ ตนสังกัดใหม

A : เบิกจากตนสังกัดใหม (พระราชกฤษฎีกาคาใชจายในการเดินทาง

ไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 มาตรา 11)

Q : ถาใชพาหนะสวนตัวเดินทางไปราชการจะตองทําอยางไร

ไดรับสิทธิอะไรบาง

A : 1. การใชพาหนะสวนตัวเดินทางไปราชการ กอน

การเดินทางตองไดรับอนุญาตจากผูมีอํานาจอนุมัติกอน

และตองใชพาหนะนั้นตลอดเสนทาง จึงมีสิทธิเบิกเงิน

ชดเชยคาพาหนะในลักษณะเหมาจายได ดังนี้

- รถยนตสวนบุคคล กิโลเมตรละ 4 บาท

- รถจักรยานยนต กิโลเมตรละ 2 บาท

2. การขออนุมัติแตละครั้ง ใหกําหนดประเภทของรถ

และหมายเลขทะเบียนรถดวย ทั้งนี้ ไมวารถนั้นจะเปน

กรรมสิทธิของผูเดินทางไปราชการหรือไมก็ตาม

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 36

ภาคผนวก

คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับปรับปรุง) 37

1. หลักฐานการจายและเอกสารประกอบการเบิกจายเงิน

1. หนังสืออนุมัติ/อนุญาตการเดินทางไปราชการ ฉบับจริง

2. แบบใบเบิกคาใชจายในการเดินทางไปราชการ แบบ 8708 สวนที่ 1 และสวนที่ 2

(สวนที่ 2 กรณีเดินทางไปราชการเปนหมูคณะ)

3. ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก. 111) กรณีจายเงินตางๆ ซึ่งไมอาจเรียก

ใบเสร็จรับเงินจากผูรับเงินได เชน คาพาหนะรับจาง คาโดยสารรถประจําทาง คาโดยสารรถไฟ เปนตน

4. คาที่พัก

 กรณีเหมาจาย ไมตองแนบหลักฐานประกอบ

 กรณีจายจริง ใชใบเสร็จรับเงิน หรือใบแจงรายการของโรงแรม หรือที่พักที่มีขอความ

แสดงวาไดรับชําระเงินคาเชาที่พักเรียบรอยแลว โดยเจาหนาที่รับเงินของโรงแรมหรือที่พักแรมลงลายมือชื่อ

วัน เดือน ปและจํานวนเงินที่ไดรับ

ใบเสร็จรับเงิน/ใบแจงรายการคาที่พัก มีรายละเอียดดังนี้

- ชื่อ สถานที่อยู หรือที่ทําการของผูรับเงิน

- ชื่อหนวยงาน (ผูจายเงิน) เชน กรมสงเสริมการเกษตร

- วัน เดือน ปที่รับเงิน

- รายละเอียดที่พัก (จํานวนหองพักคูหรือเดี่ยว กี่หอง ราคาหองละเทาไร)

- จํานวนเงินตัวเลขและตัวอักษร

- ลายมือชื่อผูรับเงิน

- ใบเสร็จรับเงินเปนภาษาตางประเทศใหมีคําแปลเปนภาษาไทยดวย

5. ใบเสร็จรับเงินคาน้ํามัน

 ชื่อ สถานที่อยู หรือที่ทําการของผูรับเงิน (ผูขาย)

 ชื่อหนวยงาน (ผูซื้อ)

 วันที่ เดือน ปที่รับเงิน

 รายการคาน้ํามัน

 จํานวนเงินตัวเลขและตัวอักษร

 ลายมือชื่อผูรับเงิน

 เลขทะเบียนรถ

6. ใบเสร็จรับเงินของบริษัทสายการบินหรือตัวแทนจําหนาย หรือใบรับเงินที่แสดงรายละเอียด

การเดินทาง ซึ่งระบุชื่อสายการบิน วันที่ออก ชื่อ/สกุลผูเดินทาง ตนทาง-ปลายทาง เลขที่เที่ยวบิน วันเวลา