ข นตอนการปล กและการด แลร กษาม งค ด ม งค ด

บทน ำ เขตภาคเหนือตอนล่าง ประกอบไปด้วย จังหวัด พิษณุโลก ตาก สุโขทัย ก าแพงเพชร อุตรดิตถ์ พิจิตร และเพชรบูรณ์ ทั้ง 7 จังหวัด มีลักษณะสภาพภูมิประเทศที่แตกต่างกัน ทั้งพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ า ที่ราบ ที่ดอน ที่ ราบเชิงเขา ที่สูง และมีสภาพภูมิอากาศแตกต่างเช่นกัน พื้นที่ราบจะมีอากาศร้อนกว่าพื้นที่สูงบนภูเขาที่มี อากาศหนาวเย็น ด้านความเหมาะสมของชนิดพืชที่ปลูกพืช ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศ ด้วย พืชเศรษฐกิจหลักที่ส าคัญ ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ด้านพืชไร่ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันส าปะหลัง อ้อยโรงงาน ไม้ผลได้แก่ มะม่วง มะขามหวาน มะนาว ส้มโอ มะปราง มะยงชิด กล้วย ละมุด รวมถึงเป็นแหล่ง ปลูกพืชผัก ไม้ดอก และสมุนไพร ที่มีศักยภาพทั้งพื้นที่ราบและพื้นที่สูง ด้วยความแตกต่างต่างของสภาพพื้นที่ และสภาพอากาศนี้ ยังก่อให้เกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชพื้นถิ่น และมีการพัฒนาการผลิต กลายเป็นพืชที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจจากท้องถิ่นนั้น ๆ ที่มีลักษณะเด่นเฉพาะพื้นที่ จนได้ขึ้นทะเบียนเป็นพืชอัต ลักษณ์พื้นถิ่นที่ได้รับการรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ซึ่งในเขตภาคเหนือตอนล่าง มีพืชอัตลักษณ์พื้นถิ่นทุก จังหวัด คือ มะขามหวานเพชรบูรณ์ ละมุดสุโขทัย สับปะรดห้วยมุ่น อุตรดิตถ์ กล้วยน้ าว้ามะลิอ่องพิษณุโลก กล้วยไข่ก าแพงเพชร มะปรางและมะยงชิดพิจิตร และอะโวคาโดตาก ส านักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 ได้ให้ความส าคัญในการอนุรักษ์และด าเนินการวิจัยพืชอัต ลักษณ์พื้นถิ่นภาคเหนือตอนล่างมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ในประเด็นเรื่อง เกษตรสร้างมูลค่า แผนย่อย เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น จึงได้รวบรวมองค์ความรู้ จากการด าเนินงานวิจัย จากผู้ทรงความรู้ จากเกษตรกรที่มี ความเชี่ยวชาญในการผลิตพืชอัตลักษณ์เฉพาะถิ่นของ 7 จังหวัด 7 ชนิดพืช ในด้าน สถานการณ์การผลิต ประวัติความเป็นมา พันธุ์ เทคโนโลยีการผลิต การป้องกันก าจัดศัตรูพืช และการเก็บเกี่ยว จัดท าเป็นเอกสาร วิชาการ เรื่อง “เทคโนโลยีการผลิตพืชอัตลักษณ์ในเขตภาคเหนือตอนล่าง”ด้วยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสาร วิชาการฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรและ ผู้สนใจ ในการน าองค์ความรู้ไปปรับใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชอัตลักษณ์ทั้ง 7 พืช ได้อย่างสัมฤทธิ์ผล ส ำนักวิจัยและพัฒนำกำรเกษตรเขตที่ 2 กรมวิชำกำรเกษตร กันยำยน 2564

สำรบัญ หน้ำ ค าน า สารบัญภาพ สารบัญตาราง บทที่ 1 มะขามหวาน ความส าคัญสถานการณ์การผลิตและการตลาด 1 ประวัติ 1 ลักษณะประจ าพันธุ์ 1 เทคโนโลยีการผลิต 7 การป้องกันก าจัดศัตรูพืช 11 การเก็บเกี่ยวและเทคโนโลยีหลังการผลิต 16 บรรณานุกรม 17 บทที่ 2 ละมุด ความส าคัญ สถานการณ์การผลิตและการตลาด 20 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 25 เทคโนโลยีการผลิต 27 การป้องกันก าจัดศัตรูพืช 29 การเก็บเกี่ยวเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและการตลาด 34 บรรณานุกรม 35 บทที่ 3 กล้วยไข่ สถานการณ์การผลิตและการตลาด 36 ประวัติ 38 ลักษณะประจ าพันธุ์ 39 การจัดการเทคโนโลยีการผลิต 39 การป้องกันก าจัดศัตรูพืช 41 การเก็บเกี่ยวและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว 45 บรรณานุกรม 46 บทที่ 4 กล้วยน้ าว้ามะลิอ่อง สถานการณ์การผลิตและการตลาด 48 ประวัติ 50 พันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ 51 การจัดการเทคโนโลยีการผลิต 51 การจัดการศัตรูพืช 52 การเก็บเกี่ยวและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว 57 บรรณานุกรม 57

บทที่ 5 มะปรางและมะยงชิด สถานการณ์การผลิตมะปรางหวานและมะยงชิดในเขตพื้นที่ภาคเหนือ ตอนล่าง 59 ประวัติและความเป็นมาของมะปรางและมะยงชิด 60 ลักษณะประจ าพันธุ์และการขยายพันธุ์มะปรางและมะยงชิด 60 เทคโนโลยีการผลิตมะปรางหวานและมะยงชิด 65 การป้องกันก าจัดศัตรูมะปรางหวานและมะยงชิด 66 การเก็บเกี่ยวและวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวมะปรางหวานและมะยงชิดใน เขตภาคเหนือตอนล่าง 70 บรรณานุกรม 71 บทที่ 6 อะโวคาโด ความส าคัญ สถานการณ์การผลิตและการตลาด 73 ประวัติ 75 พันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ 76 เทคโนโลยีการผลิตอะโวคาโด 83 การป้องกันก าจัดศัตรูอะโวคาโด 87 การเก็บเกี่ยวผลผลิต 87 บรรณานุกรม 88 บทที่ 7 สับปะรด ความส าคัญ สถานการณ์การผลิตและการตลาด 90 ประวัติ 90 ลักษณะประจ าพันธุ์ 90 เทคโนโลยีการผลิต 90 การป้องกันก าจัดศัตรูพืช 91 การเก็บเกี่ยวและเทคโนโลยีหลังการผลิต บรรณานุกรม 92 95

สำรบัญภำพ หน้ำ บทที่ 1 ภาพ 1 มะขำมหวำน ลักษณะ (ก.) ยอดอ่อน (ข.) ดอก (ค.) ฝัก (ง.) สีเนื้อ และ (จ.) เมล็ด มะขามหวานพันธุ์หมื่น จง 2 ภาพ 2 ลักษณะ (ก.) ใบ (ข.) ยอดอ่อน (ค.) ดอก (ง.) สีเนื้อ และ (จ.) เมล็ด มะขามหวานอินท ผาลัม ที่มา : สถาบันมะขามหวาน. ม.ป.ป. 2 ภาพ 3 ลักษณะ ฝัก มะขามหวานพันธุ์น้ าผึ้ง 3 ภาพ 4 ลักษณะ (ก.) ใบ (ข.) ดอก (ค.) ฝัก (ง.) สีเนื้อ และ (จ.) เมล็ด มะขามหวานพันธุ์สีทอง 4 ภาพ 5 ลักษณะ (ก.) ใบ (ข.) ดอก (ค.) ฝัก (ง.) สีเนื้อ และ (ง.) เมล็ด มะขามหวานพันธุ์ขันตี 5 ภาพ 6 ลักษณะ (ก.) ใบ (ข.) ดอก (ค.) ฝัก (ง.) สีเนื้อ และ (จ.) เมล็ด มะขามหวานพันธุ์ศรีชมภู 5 ภาพ 7 ลักษณะ (ก.) ใบ (ข.) ดอก (ค.) ฝัก (ง.) สีเนื้อ และ (จ.) เมล็ด มะขามหวานพันธุ์ประกาย ทอง 6 ภาพ 8 ลักษณะ (ก.) ต้น มะขามหวานพันธุ์เพชรซับเปิบ (ข.) ใบ และ (ค.) ฝัก 7 ภาพ 9 ลักษณะ (ก.) ฝัก และ (ข.) สีเนื้อ ของมะขามหวานพันธุ์บุญเลิศ 7 ภาพ 10 ตัวแทนเกษตรกรกลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะขามหวานบ้านโนนเสาธง ต าบลตะ เบาะ อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ใส่ปุ๋ยโดยการผสมปุ๋ยใช้เองโดยใช้แม่ปุ๋ย 10 ภาพ 11 ลักษณะการเข้าท าลายฝักมะขามหวานของหนอนเจาะฝักมะขาม Citripestis sagittiferella Moore 11 ภาพ 12 ลักษณะหนอนหนอนคืบละหุ่ง 12 ภาพ 13 การเข้าท าลายพืชของด้วงบ่าหนามจุดนูนด า Batocera rufomaculata De Geer 13 ภาพ 14 การใช้ตาข่ายดักตัวเต็มวัยด้วงบ่าหนามจุดนูนด า Batocera rufomaculata De Geer 13 ภาพ 15 ลักษณะการเข้าท าลายกิ่งมะขามหวานของหนอนเจาะกิ่ง Zeuzera coffeae 14 ภาพ 16 บทที่ 2 ดักแด้ ตัวเต็มวัยและลักษณะการเข้าท าลายฝักมะขามหวานของ ด้วงขาโต Caryedon gonagra (Fabricious) ละมุด 14 ภาพ 1 ลักษณะล าต้นละมุด (ก.) ต้นเละมุดอายุ 3 ปี (ข.) ต้นอายุมากกว่า 20 ปี ลักษณะใบละมุด (ค.) ใบกว้าง สั้น สีเขียวเข้ม (ง.) ใบแคบ ทรงรีสีเขียวอ่อน 25 ภาพ 2 ลักษณะดอกละมุด (ก.) ดอกบานเต็มที่ (ข.) ดอกเริ่มบาน 26 ภาพ 3 ลักษณะผลของละมุด (ก.) ผลทรงรี (ข.) ผลทรงกระสวย (ค.) ผลทรงกลม 26 ภาพ 4 ลักษณะการติดเมล็ด (ก.) ติด 3 เมล็ด (ข.) ติด 1 เมล็ด 27 ภาพ 5 การย้ายปลูกละมุดและการค้ ายัน (ก) ละมุดอายุ 1 ปี (ข) การค้ าต้นละมุดด้วยโครงไม้ไผ่เพื่อ ป้องกัน การโยกของต้นละมุด (ค) การใส่ปุ๋ยและการก าจัดวัชพืช 27 ภาพ 6 การตัดแต่งทรงพุ่มละมุด (ก) การตัดแต่งทรงปิด-เปิดกลาง (ข) ตัดแต่งทรงเปิดแกนกลาง (ค) การตัด แต่งทรงสี่เหลี่ยม 29 ภาพ 7 ผลละมุดที่ถูกแมลงวันทองเจาะท าลายและการห่อผลละมุดเพื่อป้องกัน แมลงวันทอง 30 ภาพ 8 การวางกับดักอมลงวันทองในสวนละมุด 31

บทที่ 3 กล้วยไข่ ภาพ 1 แนวโน้มพื้นที่ปลูกกล้วยไข่ ปี 2559-2563 จังหวัดก าแพงเพชร 36 ภาพ 2 แนวโน้มผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ของกล้วยไข่ ปี 2559-2563 จังหวัดก าแพงเพชร 37 ภาพ 3 บทที่ 4 แนวโน้มผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ของกล้วยไข่ ปี 2559-2563 จังหวัดก าแพงเพชร กล้วยน ำว้ำ 37 ภาพ 1 แนวโน้มพื้นที่ปลูกกล้วยน้ าว้า ปี 2559-2563 จังหวัดพิษณุโลก 48 ภาพ 2 แนวโน้มผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ของกล้วยน้ าว้า ปี 2559-2563 จังหวัดพิษณุโลก 49 ภาพ 3 บทที่ 5 แนวโน้มผลผลิตเฉลี่ยของกล้วยน้ าว้า ปี 2559-2563 จังหวัดพิษณุโลก มะปรำงและมะยงชิด 49 ภาพ 1 มะปรางหวาน 62 ภาพ 2 มะยงชิด 62 ภาพ 3 มะปรางหวาน สายพันธุ์ที่คัดเลือกได้ 64 ภาพ 4 มะยงชิด สายพันธุ์ที่คัดเลือกได้โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพิจิตร 65 ภาพ 5 ลักษณะอาการโรคราด า และลักษณะอาการโรคขอบใบแห้ง 68 ภาพ 6 การติดกับดักสารเมธิลยูจินอลเพื่อก าจัดแมลงวันผลไม้ตัวเต็มวัยเพศผู้ และการใช้เหยื่อ โปรตีนไฮโดรไลเซทกับผสมสารฆ่าแมลงเริ่มพ่นครั้งแรกเมื่อพบแมลงวันผลไม้ 70 ภาพ 7 บทที่ 6 บรรจุกล่องกระดาษ 1-2 กิโลกรัม เพื่อเพิ่มมูลค่าผลไม้ อะโวคำโด 71 ภาพ 1 ลักษณะผลอะโวคาโด ตระกูลเม็กซิกัน 76 ภาพ 2 ลักษณะผลอะโวคาโด ตระกูลกัวเตมาลัน 77 ภาพ 3 ลักษณะผลอะโวคาโด ตระกูลเวสต์อินเดียน 77 ภาพ 4 ลักษณะผลอะโวคาโดพันธุ์แฮส ลูกผสมระหว่างตระกูลกัวเตมาลันกับตระกูลเม็กซิกัน 78 ภาพ 5 อะโวคาโดลูกผสมระหว่างตระกูลกัวเตมาลันกับตระกูลเวสต์อินเดียน “พันธุ์บูท 7 (Booth - 7)” 78 ภาพ 6 อะโวคาโดลูกผสมระหว่างตระกูลกัวเตมาลันกับตระกูลเม็กซิกัน “พันธุ์พิงค์เคอร์ตัน (Pinkerton)” 79 ภาพ 7 ลักษณะต้นและใบอะโวคาโด 79 ภาพ 8 ก. ใบรูปรีเรียวแหลม ข. ใบรูปไข่ปลายใบติ่งแหลม ค. ใบรูปขอบขนานปลายใบยาวคล้าย หาง และ ง. ใบรูปหอกกลับปลายใบแหลม 80 ภาพ 9 ลักษณะดอกอะโวคาโด 80 ภาพ 10 ลักษณะรูปทรงผลอะโวคาโด ก. ผลรูปแพร์ ข. ผลทรงกลมยาว ค. ผลทรงกลม และ ง. ผล ทรงน้ าเต้า 80 ภาพ 11 ลักษณะเปลือกผลและสีของเปลือกผล 81 ภาพ 12 ลักษณะสีเนื้อในอะโวคาโด สีขาวอมเหลือง สีเหลืองอ่อน และสีเหลืองถึงเหลืองเข้ม 81 ภาพ 13 ลักษณะความแปรปรวนของผลที่ได้จากต้นเดียวกัน และลักษณะผลที่โดนท าลายจากโรค แมลง 81 ภาพ 14 ลักษณะผลผลิตอะโวคาโดที่คัดเลือกจากการประกวด 82 ภาพ 15 วัสดุอุปกรณ์และการขยายพันธุ์โดยวิธีการเสียบยอด 86 ภาพ 16 ลักษณะการสุกแก่ของผลอะโวคาโด 88

บทที่ 7 สับปะรด ภาพ 1 ผลสับปะรดห้วยมุ่น 2 ลักษณะเนื้อหนึ่ง (น้ าหนึ่ง) 3 ลักษณะเนื้อสอง (น้ าสอง) 94 ภาพ 2 สภาพแปลงสับปะรดห้วยมุ่นของ นายบุญรอด เรืองทองศรี 94 ภาพ 3 สภาพแปลงสับปะรดห้วยมุ่นของ นางรัตนา สอนบุญมา 94 ภาพ 4 สภาพแปลงสับปะรดห้วยมุ่นของ นางพยอม วงษ์ลา 95

สำรบัญตำรำง หน้ำ ตาราง 1.1 คุณค่าทางอาหารและองค์ประกอบโดยประมาณของละมุดมะกอก 20 ตาราง 1.2 พื้นที่เพาะปลูก ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ราคาขาย และมูลค่าผลผลิตละมุดราย จังหวัด ตามราคาหน้าสวนของเกษตรกร ปี พ.ศ. 2563 21 ตาราง 1.3 พื้นที่เพาะปลูก ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ของละมุดมะกอกเป็นรายจังหวัด ปี พ.ศ. 2563 23 ตาราง 1.4 พื้นที่เพาะปลูก ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ราคาขาย และมูลค่าผลผลิตละมุด มะกอกตามราคาหน้าสวนของเกษตรกร ปี พ.ศ. 2554-2563 23 ตาราง 1.5 ปริมาณ และมูลค่าการส่งออกผลสดของละมุด ปี พ.ศ. 2554 -2563 24 ตาราง 1.6 ขนาดผลของละมุดตามมาตรฐานของส านักมาตรฐานสินค้าเกษตรปี 2554 24 ตาราง 1.7 ขนาดผลของละมุดตามมาตรฐานของอาเซียน 2011 25 ตาราง 2.1 พื้นที่ปลูก ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ และผลผลิตเฉลี่ยของกล้วยไข่ ปี 2559- 2563 จังหวัดก าแพงเพชร 37 ตาราง 2.2 พื้นที่ปลูก ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ และผลผลิตเฉลี่ยของกล้วยไข่ ปี 2559- 2563 จังหวัดก าแพงเพชร 38 ตาราง 3.1 พื้นที่ปลูก ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ และผลผลิตเฉลี่ยของกล้วยน้ าว้า ปี 2559- 2563 จังหวัดพิษณุโลก 49 ตาราง 3.2 พื้นที่ปลูก ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ และผลผลิตเฉลี่ยของกล้วยน้ าว้า ปี 2559- 2563 จังหวัดพิษณุโลก 50 ตาราง 4.1 พื้นที่ ผลผลิต และราคามะปรางหวาน ในเขตภาคเหนือตอนล่าง 59 ตาราง 4.2 พื้นที่ ผลผลิต และราคามะยงชิด ในเขตภาคเหนือตอนล่าง 60 ตาราง 5.1 สาระส าคัญของอาโวคาโด (ปริมาณต่อ 100 g) 73 ตาราง 5.2 ลักษณะอะโวคาโดตระกูลต่าง ๆ 77 ตาราง 6.1 ข้อก าหนดเรื่องขนาดของผลสับปะรด 93

บทที่ 1 มะขำมหวำน 1. ควำมส ำคัญสถำนกำรณ์กำรผลิตและกำรตลำด มะขามหวานเพชรบูรณ์ ได้ขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์กับกรมทรัพย์สินทางปัญญาเลขที่ สช 48100003 ตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2548 เป็นสินค้า GI ของจังหวัดเพชรบูรณ์ข้อมูล ปี 2563 พื้นที่ปลูก มะขามหวานจังหวัดเพชรบูรณ์มีทั้งหมด 109,849 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 105,485 ไร่ โดยมีพื้นที่ปลูก อ าเภอเมือง เพชรบูรณ์ 28,377 ไร่ อ าเภอชนแดน 21,856 ไร่ อ าเภอหล่มสัก 6,457 ไร่ อ าเภอหล่มเก่า 27,867 ไร่ อ าเภอ วิเชียรบุรี 1,369 ไร่ อ าเภอศรีเทพ 22 ไร่ อ าเภอหนองไผ่ 10,772 ไร่ อ าเภอบึงสามพัน 550 ไร่ น้ าอ าเภอหนาว 4,970 ไร่ อ าเภอวังโป่ง 6,795 ไร่และอ าเภอเขาค้อ 814 ไร่ ผลผลิตรวมทั้งหมดต่อปี52,215 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย ไร่ละ 495 กิโลกรัม ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 74.68 บาท คิดเป็นมูลค่า 3,899 ล้านบาท เป็นพืชเศรษฐกิจที่สร้าง รายได้หลักของจังหวัดเพชรบูรณ์ สถำนกำรณ์กำรผลิตและกำรตลำด พื้นที่ปลูกมะขามหวานปี 2563 มีรายละเอียดดังนี้พันธุ์สีทอง 37,736 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 34,813 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 495 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตรวม 17,232 ตัน พันธุ์ศรีชมภู 26,554 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 25,512 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 495 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตรวม 12,628 ตัน พันธุ์ขันตี 11,264 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 11,194 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 495 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตรวม 5,541 ตัน พันธุ์ประกายทอง 27,536 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 27,334 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 495 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตรวม 13,530 ตัน หมื่นจง 167 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 147 ไร่ ผลผลิต เฉลี่ย 495 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตรวม 73 ตัน อินทผาลัม 592 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 542 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 495 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตรวม 268 ตัน น้ าผึ้ง 258 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 257 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 498 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตรวม 128 ตัน มะขามหวานพันธุ์อื่น ๆ 5,742 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 5,686 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 495 กิโลกรัมต่อ ไร่ ผลผลิตรวม 2,815 ตัน ผลผลิตมะขามหวานทั้งหมดรวม 52,215 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 495 กิโลกรัม ราคา เฉลี่ยกิโลกรัมละ 74.68 บาท คิดเป็นมูลค่า 3,899 ล้านบาท 2. ประวัติ มะขามหวานมี ชื่อวิทยาศาสตร์ Tamarindus indica L. อยู่ในวงศ์ Fabaceae ชื่อสามัญ Sweet tamarind ชื่ออื่น ๆ คือ ขาม หมากขาม ส้มมะขามหวาน ถิ่นก าเนิดเอเชียใต้ และแอฟริกาตะวันออก ลักษณะ ทั่วไป ไม้ยืนต้นสูงประมาณ 10 - 25 ม. ล าต้นสีเทาด า เปลือกต้นแตกเป็นร่องตามยาว แตกกิ่งก้านสาขาจ านวน มาก กิ่งมีความเหนียวของเนื้อไม้มาก ทรงพุ่มค่อนข้างกลม ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว มีใบย่อย 24 - 32 คู่ ใบย่อยขนาดประมาณ 0.5x2.0 ซม. ดอกสีเหลืองมีลายเส้นสีแดงเป็นเส้นยาวตามกลีบ ออกดอกเป็นช่อ ที่กิ่งหรือปลายยอด ดอกสมบูรณ์เพศ เกสรเพศผู้ 3 อัน เกสรเพศเมีย 1 อัน ผลเป็นฝักยาวค่อนข้างกลมมีหลาย เมล็ด เมล็ดสีน้ าตาลแดงรูปสี่เหลี่ยม จังหวัดเพชรบูรณ์มีมะขามหวานพันธุ์ต่าง ๆ มากกว่า 10 พันธุ์และมี ประวัติที่มาแตกต่างกัน 3. ลักษณะประจ ำพันธุ์ พันธุ์หมื่นจง ประวัติ/ที่มำของพันธุ์ ต้นก าเนิดมะขามหวานเพชรบูรณ์คือ พันธุ์หมื่นจง ซึ่งมีถิ่นก าเนิดอยู่ที่ บ้านเลขที่ 305 หมู่ 5 ต าบลในเมือง (ต าบลหล่มเก่า) อ าเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ เจ้าของคือ นายฉิม พุทธสิมมา หรือ หมื่นจงประชากิจ นับจากมีมะขามหวานพันธุ์แรกจนถึงปัจจุบันนับเป็นเวลามากกว่า 150 ปี ลักษณะประจ ำพันธุ์ เป็นพันธุ์เก่าดั้งเดิมเป็นพ่อแม่พันธุ์ของพันธุ์สีทอง และพันธุ์น้ าผึ้ง เปลือกของล า ต้นหนาหยาบเกล็ดโตห่างเป็นร่องลึก สีน้ าตาลเข้มเกือบด า ทรงพุ่มกว้าง ค่อนข้างโปร่ง ยอดอ่อนสีชมพู ใบ

2 ขนาดปานกลางสีเขียวเข้ม ดอกสีชมพูอมเหลือง ฝักกลมขนาดใหญ่ ทั้งโค้งมากจนเป็นวงกลม และโค้งน้อยเป็น ครึ่งวงกลม มีทั้งฝักยาวและฝักสั้นมักติดฝักดกเป็นพวง เนื้อของฝักที่แก่จะมีสีน้ าตาลอมเหลือง เนื้อกรอบ เมล็ด โตปานกลาง เยื่อหุ้มเมล็ดหนาและเหนียว(ภาพ 1) รสชาติหวานจัด เนื้อกรอบ มีกลิ่นหอมชวนรับประทาน เป็น มะขามหวานพันธุ์หนัก เก็บเกี่ยวช้าอยู่ระหว่างเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ ก. ข. ค. ง. จ. รูป 1 ลักษณะ (ก.) ยอดอ่อน (ข.) ดอก (ค.) ฝัก (ง.) สีเนื้อ และ (จ.) เมล็ด มะขามหวานพันธุ์หมื่นจง ที่มา : สถาบันมะขามหวาน. ม.ป.ป. http://agritech.pcru.ac.th/new/page/tamarineinst.html พันธุ์อินทผำลัม ประวัติ/ที่มำของพันธุ์ ต้นเดิมอยู่ที่บ้านหนองเล ต าบลหินฮาว อ าเภอหล่มเก่า ลักษณะประจ ำพันธุ์ เป็นมะขามพันธุ์เบา เปลือกของล าต้นสีเทาอ่อน เกล็ดเปลือกละเอียดเรียบ ใบ ใหญ่สีเขียว ยอดอ่อนสีเขียวอมเหลือง ทรงพุ่มกว้างเป็นทรงกลมสวยงาม ฝักกลมโตโค้งเล็กน้อย เปลือกบาง รส หวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย เนื้อมีสีน้ าตาล เมล็ดโตปานกลาง (ภาพ 2) รกหุ้มเนื้อมีน้อยเยื่อหุ้มเมล็ดบางและไม่ เหนียว เปลือกบาง เป็นพันธุ์ที่ให้ฝักค่อนข้างดกเป็นพวงสม่ าเสมอทุกปี เก็บเกี่ยว ระหว่างเดือน ธันวาคม ถึง มกราคม ก. ข. ค.

3 ง. จ. ภำพ 2 ลักษณะ (ก.) ใบ (ข.) ยอดอ่อน (ค.) ดอก (ง.) สีเนื้อ และ (จ.) เมล็ด มะขามหวานอินทผาลัม ที่มา : สถาบันมะขามหวาน. ม.ป.ป. http://agritech.pcru.ac.th/new/page/tamarineinst.html พันธุ์น ำผึ ง ประวัติ/ที่มำของพันธุ์ มะขามหวานพันธุ์นี้นายวสันต์ เพชระบูรณิน อดีตเกษตรอ าเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์เป็นผู้ตั้งชื่อ ลักษณะประจ าพันธุ์เป็นพันธุ์เบาติดฝักในเดือนพฤษภาคม ฝักเล็กยาวโค้งงอ มาก ฝักสุกจะมีเนื้อหนา (ภาพ 3) รสชาติหอมหวานคล้ายน้ าผึ้งแต่ฝาดฝักสุกในเดือนธันวาคม ภำพ 3 ลักษณะ ฝัก มะขามหวานพันธุ์น้ าผึ้ง ที่มา :https://www.facebook.com/TamarindHouse/photos/ พันธุ์สีทอง (พันธุ์นำยหยัด) ประวัติ/ที่มำของพันธุ์ เป็นพันธุ์ที่กลายมาจากพันธุ์หมื่นจง ประมาณ พ.ศ.2483 นายหยัด กองมูล ได้ น าเมล็ดมะขามหวาน พันธุ์หมื่นจงไปปลูกในที่ดินของตนประมาณ 20 เมล็ด หลังจากนั้นประมาณ 7 ปีจึงมีผล ปรากฎว่าเปรี้ยวที่สุด 17 ต้น เปรี้ยวอมหวาน 1 ต้น หวานแต่ฝักเล็ก 1 ต้น หวานจัดฝักใหญ่ที่สุด 1 ต้น ต้นนี้ คือ มะขามหวานต้นตระกูลพันธุ์สีทองหรือพันธุ์นายหยัด นอกจากนี้ยังมีอีกชื่อคือ เพชรน้ าผึ้ง ซึ่งนายล้วน ด่าน ไทยน า เจ้าของไร่ เพชรประดิษฐ์ยนต์ ได้ตั้งขึ้น ทั้ง 3 ชื่อก็คือ พันธุ์เดียวกัน แต่คนทั่วไปนิยมเรียก พันธุ์สีทอง ลักษณะประจ ำพันธุ์ เปลือกของล าต้นเป็นสีน้ าตาลอ่อนนวล เกล็ดของเปลือกเรียบไม่หยาบเหมือน พันธุ์หมื่นจง ใบใหญ่สีเขียวเข้ม ยอดอ่อนสีชมพู กิ่งทอดยืดยาว ทรงพุ่มกว้างไม่เป็นระเรียบ ดอกสีแดงอมเหลือง ฝักกลม มีทั้งฝักโค้งมากเป็นครึ่งวงกลม และโค้งน้อยจนเกือบตรง เปลือกค่อนข้างหนา (ภาพ 4) รกหุ้มเนื้อมาก และเหนียวเนื้อหนา เนื้อสีน้ าตาลทอง รสชาติหวาน เมล็ดโต เป็นพันธุ์หนัก เก็บเกี่ยวช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ถึง มีนาคม

4 ก. ข. ค. ง. จ. ภำพ 4 ลักษณะ (ก.) ใบ (ข.) ดอก (ค.) ฝัก (ง.) สีเนื้อ และ (จ.) เมล็ด มะขามหวานพันธุ์สีทอง ที่มา : สถาบันมะขามหวาน. ม.ป.ป. http://agritech.pcru.ac.th/new/page/tamarineinst.html พันธุ์ขันตี ประวัติ/ที่มำของพันธุ์ กลายพันธุ์มาจากหมื่นจงหรือสีทองไม่แน่ชัด มะขามหวานพันธุ์นี้ตั้งชื่อผู้ที่ น ามาปลูกคนแรกคือ นายขันตี แก้ววงศ์ บ้านเลขที่ 31 หมู่ 11 ต าบลท่าพล อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ เผยแพร่โดย ครูนิยม เหมพนม ลักษณะประจ ำพันธุ์ ต้นมีขนาดกลางเล็กกว่าพันธุ์อื่น ๆ เปลือกของล าต้นเป็นสีเทา เกล็ดของเปลือก เรียบเล็กใบเล็กกว่าทุกพันธุ์ ยอดอ่อนสีเขียวอมชมพูเล็กน้อย ทรงพุ่มกว้าง มีกิ่งแขนงมาก ฝักใหญ่กลมตรง คล้ายพันธุ์ศรีชมภู แต่ท้องฝักไม่แบน เปลือกฝักหนาออกสีน้ าตาลเข้มและเปลือกหนากว่าพันธุ์สีชมภูเนื้อสี น้ าตาลแดง เยื่อหุ้มเมล็ดหนาและเหนียว (ภาพ 5) รกหุ้มเนื้อมีมากกว่าพันธุ์ศรีชมภูรสชาติหวานหอม การติด ฝักดี ฝักดกสม่ าเสมอทุกปี ติดฝักเร็ว เก็บเกี่ยวในช่วงเดือนธันวาคมถึงมกราคม ก. ข. ค.

5 ง. จ. ภำพ 5 ลักษณะ (ก.) ใบ (ข.) ดอก (ค.) ฝัก (ง.) สีเนื้อ และ (ง.) เมล็ด มะขามหวานพันธุ์ขันตี ที่มา : สถาบันมะขามหวาน. ม.ป.ป. http://agritech.pcru.ac.th/new/page/tamarineinst.html พันธุ์ศรีชมภู ประวัติ/ที่มำของพันธุ์ เจ้าของพันธุ์เดิมชื่อ นายตา ค าเที่ยง น ามาจากเมืองเวียงจันทร์ ประเทศลาว พ.ศ. 2481 มาปลูกที่บ้านน้ าร้อน อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ จึงได้ชื่อว่า พันธุ์น้ าร้อน ต่อมา ครูอุดม ศรี ชมภู ครูใหญ่โรงเรียนบ้านน้ าร้อนในครั้งนั้น ได้ทาบกิ่งมาปลูกบ้าน เลขที่ 97/1 หมู่ 2 อ าเภอเมือง จังหวัด เพชรบูรณ์และส่งเสริมให้โด่งดังและเป็นผู้ตั้งชื่อมะขามพันธุ์นี้ พันธุ์ศรีชมภู ลักษณะประจ ำพันธุ์เป็นพันธุ์เบา เปลือกของล าตันมีสีเทาแก่ เกล็ดของเปลือกหยาบเป็นร่องลึก ยอด อ่อนมีสีแดงเข้ม ทรงพุ่มทรงกระบอกตั้งตรงไม่กว้าง ดอกสีแดงปนเหลือง ฝักกลมใหญ่และเหยียดตรงสะดวกต่อ การบรรจุหีบห่อ เหมาะต่อการส่งออก รกหุ้มเนื้อมีน้อย เยื่อหุ้มเมล็ดบางไม่เหนียว ฝักออกเป็นพวงเรียกว่าศรี ชมภูพวง และบางต้นฝักแบนเหมือนรูปปลิงเรียกว่าศรีชมภูท้องปลิง (ภาพ 6) เป็นพันธุ์เบา ฝักแก่เริ่มเก็บได้ ประมาณปลายเดือนพฤศจิกายน ก. ข. ค. ง. จ. ภำพ 6 ลักษณะ (ก.) ใบ (ข.) ดอก (ค.) ฝัก (ง.) สีเนื้อ และ (จ.) เมล็ด มะขามหวานพันธุ์ศรีชมภู ที่มา : สถาบันมะขามหวาน. ม.ป.ป. http://agritech.pcru.ac.th/new/page/tamarineinst.html พันธุ์ประกำยทอง หรือ พันธุ์ตาแป๊ะ

6 ประวัติ/ที่มำของพันธุ์ มาจากคุณเจียง แซ่เฮง (ตาแป๊ะเจียง) อยู่ที่บ้านเลขที่ 3 หมู่ 8 ต าบล โป่งตา เบ้า อ าเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ โดย นางอนงค์ วัฒนชัยสิทธิ์ บุตรแป๊ะเจียง น าเข้าประกวดมะขามหวาน ปี 2534 ซึ่งเมื่อก่อนประกวดจะเรียกพันธุ์ ตาแป๊ะ พอจะเข้าประกวดตั้งชื่อเป็น กลายทอง (กายทอง) มาจาก เป็นมะขามที่ท าเงินให้มาก เพราะชื่อสั้นและห้วนเกินไป จึงตั้งชื่อใหม่เป็น ประกำยทอง ลักษณะประจ ำพันธุ์เปลือกของล าต้นเรียบกาบเปลือกเล็กคล้ายพันธุ์อินทผาลัม แต่สีของเปลือกเป็นสี เทาอ่อนไม่หมือนพันธุ์อินทผาลัมที่มีเปลือกขาวนวลยอดอ่อนสีเขียวอมเหลืองดอกเหลืองอ่อนเช่นเดียวกับพันธุ์ อินทผาลัม แต่ฝักมีขนาดใหญ่กว่า ฝักกลมตรง โค้งเล็กน้อย(ภาพ 7) รสชาติหวานสนิท เมล็ดเล็กไม่ติดเนื้อ เปลือกบาง แก่เร็ว เป็นพันธุ์เบาเก็บเกี่ยวในเดือนธันวาคม บางปีอาจสุกตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนขึ้นอยู่กับสภาพ อากาศ และการบ ารุงของเจ้าของสวนที่จะท าให้ผลผลิตออกก่อนฤดูกาล ก ข. ค. ง. ภำพ 7 ลักษณะ (ก.) ใบ (ข.) ดอก (ค.) ฝัก (ง.) สีเนื้อ และ (จ.) เมล็ด มะขามหวานพันธุ์ประกายทอง ที่มา : สถาบันมะขามหวาน. ม.ป.ป. http://agritech.pcru.ac.th/new/page/tamarineinst.html มะขำมหวำนเพชรบูรณ์พันธุ์ใหม่ จังหวัดเพชรบูรณ์ขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองมะขามหวาน ท าให้ได้มะขามหวานสายพันธุ์ใหม่ ๆ จากการจัด ประกวดมะขามหวานเพิ่มขึ้นทุกปี ตัวอย่างคือ พันธุ์เพชรซับเปิบ ประวัติ/ที่มำของพันธุ์ ต้นมะขามพันธุ์เพชรซับเปิบ มีอายุประมาณ 25 ปี พบในสวนของนายคนึง กองศรี ตั้งอยู่เลขที่ 75 หมู่ที่ 6 ต.ซับเปิบ อ.วังโป่ง จ.เพชรบูรณ์ 67240 กลายพันธุ์จากเมล็ดของมะขามหวาน พันธุ์อินทผลัม ลักษณะฝักใหญ่และยาว รสชาติหวานหอม จึงท าการคัดเลือกพันธุ์จนได้มะขามพันธุ์ที่มีลักษณะ ตามต้องการ จึงตั้งชื่อว่าพันธุ์ เพชรซับเปิบ ตามต าบลที่อยู่ โดยมีลักษณะพันธุ์ คือ มีรากแก้วหยั่งลึก รากฝอยแผ่ขยายรอบล าต้น เปลือกล าต้นขรุขระ มีสีน้ าตาล อ่อน ต้นสูงประมาณ 5 เมตร ใบเป็นใบย่อยรูปขอบขนาน ปลายใบมน ขอบใบเรียบ ใบกว้าง 2-5 เซนติเมตร ใบ ยาว 1-2 ซม. ดอก/ช่อดอก ดอกมีสีเหลือง และมีจุดประสีม่วงแดงกระจายตามกลีบดอก ฝักโค้งเล็กน้อย สี น้ าตาลอ่อน(ภาพ 8) สีเนื้อมีสีน้ าตาลเข้ม มีรสชาติหวาน ได้ขอรับรองพันธุ์จากกรมวิชาการเกษตร ตาม ประกาศกรวิชาการเกษตร เรื่อง ชื่อพันธุ์พืชใหม่ที่ได้รับการจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 (ฉบับที่ 11) ล าดับที่ 36 ชนิดพืช มะขาม ชื่อพันธุ์ เพชรซับเปิบ ประกาศ ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

7 ก. ข. ค. ภำพ 8 ลักษณะ (ก.) ต้น มะขามหวานพันธุ์เพชรซับเปิบ (ข.) ใบ และ (ค.) ฝัก ที่มา : กรมวิชาการเกษตร (2553) พันธุ์บุญเลิศ ประวัติ/ที่มำของพันธุ์ คุณบุญเลิศ จันทคุณ อยู่บ้านเลขที่ 44 หมู่ที่ 3 ต าบลวังหิน อ าเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ เจ้าของสายพันธุ์มะขามหวาน “บุญเลิศ” ซึ่งน าชื่อตัวเองมาตั้งชื่อมะขามหวานสายพันธุ์ใหม่ ที่มาของ มะขามหวานพันธุ์ “บุญเลิศ” เดิมนั้นคุณบุญเลิศได้น าต้นพันธุ์กิ่งทาบมะขามหวานพันธุ์ตาแป๊ะ หรือ พันธุ์ประกายทองมาปลูก ปรากฏว่ายอดพันธุ์ดีหรือพันธุ์ตาแป๊ะตาย และยอดของต้นตอกลับเจริญเติบโตขึ้นมา แทน เจริญเติบโตมากกว่า 7 ปี ออกดอกและติดฝักกลายพันธุ์เป็นมะขามหวานพันธุ์บุญเลิศ ลักษณะประจ ำพันธุ์เนื้อมีรสชาติหวาน มีกลิ่นหอมเหมือนน้ าผึ้ง รสชาติและกลิ่นหอมโดดเด่นมาก ขั้ว ผลยาว ฝักค่อนข้างตรง โค้งงอเล็กน้อย(ภาพ 9) ติดฝักค่อนข้างดก แต่ทั้งนั้นขึ้นอยู่กับการดูแลรักษา ในช่วง ต้นมะขามอายุ 5 ปี ที่เริ่มให้ผลผลิต 5-10 กิโลกรัมต่อต้น อายุ 7 ปี ได้ผลผลิตต่อต้นประมาณ 60-100 กิโลกรัม ก. ข. ภำพ 9 ลักษณะ (ก.) ฝัก และ (ข.) สีเนื้อ ของมะขามหวานพันธุ์บุญเลิศ ที่มา : ทวีศักดิ์(2561) https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_55659 4. เทคโนโลยีกำรผลิต 4.1 กำรขยำยพันธุ์มะขำมหวำน การขยายพันธุ์มะขามหวานท าได้หลายวิธี เช่น การทาบกิ่ง การต่อกิ่ง หรือการเปลี่ยนยอด การติดตา เป็นต้น แต่วิธีที่นิยมและได้ผลดีก็คือ การขยายพันธุ์โดยวิธีทาบกิ่ง และการต่อกิ่ง

8 กำรขยำยพันธุ์โดยวิธีทำบกิ่ง การทาบกิ่งมะขามหวาน เป็นวิธีการที่นิยมของเกษตรกร เนื่องจากการขยายพันธุ์โดยวิธีนี้มีข้อดีหลาย ประการ คือ ได้พันธุ์ตรงตามต้นแม่พันธุ์เดิม กิ่งพันธุ์มีอายุยืน เนื่องจากได้รากแก้วจากต้นตอ ให้ผลผลิตเร็ว ทรงพุ่มไม่สูงใหญ่เกินไป วิธีการทาบกิ่งมีหลายแบบแต่วิธีที่นิยมใช้กันมากที่สุด คือแบบเสียบข้าง ขั นตอนในกำรทำบกิ่งมะขำมหวำน 1) กำรเพำะต้นตอ ต้นตอเป็นส่วนส าคัญอย่างหนึ่งในการขยายพันธุ์ เพราะท าหน้าที่เป็นระบบราก ของต้นพืช ท าหน้าที่ดูดน้ า ดูดอาหารตลอดจนค้ ายันล าต้น ก่อนจะท าการทาบกิ่งควรเตรียมต้นตอให้พร้อม ต้น ตอที่น าไปทาบ ส่วนมากจะเป็นต้นตอที่เพาะมาจากมะขามเปรี้ยว โดยน าเมล็ดมาแช่น้ า 1 คืน แล้วจึงน าไป เพาะ วิธีการเพาะเมล็ดนั้นสามารถท าได้ 2 วิธี คือ การเพาะในถุงพลาสติก โดยใช้ถุงพลาสติกใสขนาด 4X6 นิ้ว เจาะรูที่ก้นถุง 2 - 4 รู เพื่อระบายน้ า อีกวิธีหนึ่งคือ การเพาะในแปลงเพาะกลางแจ้งหรือในกระบะเพาะ ซึ่ง สามารถท าการเพาะได้ในปริมาณมากและสะดวก วัสดุเพาะใช้ดิน: ปุ๋ยคอก: แกลบเผา: อัตราส่วนเท่ากับ 2: 1: 1 ต้นตอที่จะน าไปทาบ ควรจะดูแลให้ต้นตอมีความสมบูรณ์เต็มที่โดยการใส่ปุ๋ยทางใบสูตร 15 - 15 - 15 จ านวน 2 ช้อนแกง ผสมน้ า 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบทุก ๆ 2 สัปดาห์ ดูแลรักษาต้นต่อไปจนกว่าจะได้ขนาด พอเหมาะในการทาบคือ มีขนาดของล าต้นเท่าหลอดกาแฟหรืออายุต้นตอตั้งแต่ 5 - 8 เดือน ควรเลือกต้นตอที่ สมบูรณ์แข็งแรง ระบบรากดีไม่มีโรคหรือแมลงท าลาย 2) กำรเตรียมต้นตอ เมื่อเพาะต้นตอได้ขนาดตามที่ต้องการแล้ว ก่อนท าการทาบกิ่งต้องเตรียมต้นตอ โดยการถอนต้นตอจากถุงเพาะหรือแปลงเพาะ น ามาล้างรากให้สะอาดตัดแต่งรากฝอยและตัดรากแก้วให้เหลือ ยาวประมาณ 2.5 - 3 นิ้ว น ามาอัดขุยมะพร้าวให้แน่นในถุงพลาสติกใสขนาด 4X6 นิ้วหรือ 3X8 นิ้ว แล้วแต่ ขนาดต้นตอ ขุยมะพร้าวที่ใช้ต้องรดน้ าให้ชุ่มและบีบน้ าออกพอหมาด ๆ เมื่ออัดขุยมะพร้าวเรียบร้อยแล้ว ใช้ เชือกฟางหรือลวดเส้นเล็กมัดปากถุงและตุ้มต้นตอให้แน่นแล้วจึงน าไปท าการทาบกิ่ง 3) กำรเตรียมกิ่งพันธุ์ดีควรเลือกกิ่งที่ไม่แก่และอ่อนเกินไป กิ่งตั้งตรงหรือกิ่งกระโดง กิ่งสมบูรณ์ไม่มี โรคหรือแมลงรบกวน กิ่งมีความยาวประมาณ 50 - 70 เซนติเมตร และควรเป็นกิ่งที่ไม่มีการแตกแขนงมาก เกินไป ควรเลือกทาบเฉพาะกิ่งที่อยู่ชายพุ่มเท่านั้น จึงจะท าให้การทาบได้ผลดี ไม่ควรทาบกิ่งที่ชี้ลงเพราะจะท า ให้เปอร์เซ็นต์การติดน้อย แต่เนื่องจากมะขามหวานเป็นไม้เนื้อแข็งที่มีขนาดของล าต้นสูงใหญ่ ท าให้ยากในการ ขยายพันธุ์แต่ละครั้ง ถ้าหากมีการขยายพันธุ์มะขามหวานเป็นการค้า ควรจะมีการท าแปลงขยายพันธุ์ไว้ ต่างหาก ซึ่งจะท าให้การปฏิบัติงานได้ง่ายและสะดวก 4) เวลำที่เหมำะสมในกำรทำบกิ่ง ระยะเวลาที่เหมาะสมในการทาบกิ่งมะขามหวานเพื่อให้ได้ผลดี ควรเลือกทาบในฤดูฝน 5) ขั นตอนในกำรทำบกิ่งมะขำมหวำน ท าการเตรียมแผลที่กิ่งพันธุ์ดี โดยใช้มีดเฉือนกิ่งพันธุ์ดีให้เฉียง เข้าไปในเนื้อไม้เล็กน้อย ยาวประมาณ 1 - 1.5 นิ้ว (การเฉือนจากด้านล่างขึ้นด้านบน) แผลที่เฉือนต้องเรียบและ สะอาด ใช้มีดเฉือนท าแผลที่ต้นตอให้เฉียง มีลักษณะแผลเป็นปากฉลามยาวเท่ากับแผลที่เตรียมไว้บนกิ่งพันธุ์ดี แผลต้องเรียบและสะอาด แล้วเฉือนด้านตรงข้ามรอบแผลของต้นตอออกเล็กน้อย น าต้นตอที่เฉือนท าแผล เรียบร้อยแล้ว ไปผูกมัดติดกับหลักไม้ที่ปักไว้ใกล้ๆ กิ่งพันธุ์ดีหรือมัดผูกติดไว้กับกิ่งพันธุ์ดีท าการประกบแผล ของต้นตอกับกิ่งพันธุ์ดี จัดให้แผลของกิ่งทั้งสองแนบสนิทกันโดยเริ่มต้นให้เปลือกชิดด้านในด้านหนึ่ง ใช้ พลาสติกใสพันรอบกิ่งให้มิดรอยทาบ โดยพันจากข้างล่างขึ้นข้างบนแล้วมัดให้แน่น หลังจากท าการทาบแล้ว ต้องคอยรดน้ าต้นตอมะขามหวานด้วยเพราะอาจแห้งได้ประมาณ 4 - 6 อาทิตย์ แผลจะติดกัน ให้ใช้มีดบากกิ่ง พันธุ์ดีบริเวณโคนกิ่งใต้รอยแผลที่ทาบเป็นการเตือนก่อนการตัดกิ่ง ประมาณอีก 7 - 10 วัน หลังบากกิ่ง ท าการ ตัดกิ่งที่ทาบลงมาช าเตรียมไว้รอการปลูกหรือจ าหน่ายต่อไป

9 6) กำรช ำกิ่งที่ทำบ หลังจากทาบกิ่งได้ประมาณ 45 วัน ให้สังเกตที่ตุ้มต้นตอ ถ้าเห็นรากต้นตอเดินใน ถุง 3 - 5 ราก และรากเริ่มแก่เป็นสีน้ าตาอ่อน ให้น ากิ่งทาบลงช าในถุงพลาสติกขนาด 8X10 นิ้ว ชนิดสีด าหรือ พลาสติกใส โดยเจาะรูประมาณ 4 - 6 รู ใช้ดินผสมช ากิ่ง โดยใช้ดิน : ปุ๋ยคอก : แกลบเผา อัตราส่วน 2 : 1 : 1 ก่อนช ากิ่ง ควรตัดกิ่งที่ไม่สมบูรณ์ออกเพื่อป้องกันการคายน้ ามากเกินไปและกิ่งที่เป็นโรค แล้วแกะถุงพลาสติกที่ ต้นตอออกให้เหลือเฉพาะตุ้มต้นตอที่มีขุยมะพร้าว แล้วน าไปช าในถุงพลาสติกที่มีดินผสม กดดินที่โคนต้นให้ แน่นใช้ไม้หลักผูกติดกับต้นเพื่อป้องกันการโยก แล้วน าไปดูแลรักษาในเรือนเพาะช าหรือที่ร่มร าไร รดน้ าให้ชุ่ม เช้าเย็น เมื่อรากเริ่มเดินในถุงแล้วจึงลดการให้น้ าเหลือวันละครั้ง จนกว่าจะน าไปปลูก 4.2 กำรใส่ปุ๋ย การให้ปุ๋ยแก่มะขามหวานควรใส่ทั้งปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมี ในส่วนของสูตรปุ๋ยและอัตราการใส่ขึ้นอยู่ กับระยะการเจริญเติบโตและความอุดมสมบูรณ์ของสภาพดิน และอายุของต้นมะขามหวาน การใส่ปุ๋ยเคมีทาง ดิน ควรเลือกใช้สูตรปุ๋ยให้เหมาะสม จะช่วยเพิ่มการเจริญเติบโต การออกดอก การติดฝัก และท าให้ได้ผลผลิต มะขามหวานที่มีคุณภาพสูง การให้ปุ๋ยส าหรับเลือกใช้ในมะขามหวานโดยสรุปมีดังนี้ 1) มะขามหวานต้นเล็ก นับจากเริ่มปลูกจนอายุ 2 ปีควรใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 หรือ 16-16-16 อัตรา 450 กรัม/ต้น แบ่งใส่ 3 ครั้ง สลับด้วย 25-7-7 เป็นครั้งคราว ต้นฝนเสริมด้วย 15-0-0 อัตรา 100 กรัมต่อต้น 2) มะขามหวานหน้าแล้งก่อนฝนตก ในที่ดินสมบูรณ์ดีมากอยู่แล้ว ใส่ปุ๋ยสูตร 0-10-80 ร่วมกับหิน ฟอสเฟส ไม่ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน งดปุ๋ยหมักปุ๋ยคอก แต่ถ้าดินและต้นมะขามหวานไม่สมบูรณ์ให้ใส่สูตร 12-24-12 และใส่ปุ๋ยหมักปุ๋ยคอกอัตรา 10-20 กิโลกรัมต่อต้น 3) มะขามติดฝักอ่อน ใส่ปุ๋ย 25-7-7 ร่วมกับ 14-9-20 หรือ 16-11-14 อีกวิธีหนึ่งใส่ 0-10-30 เพิ่ม 46-0-0 เป็นตัวเร่งการเจริญเติบโตของฝัก 4) มะขามฝักขนาดกลาง ใช้เหมือนกับฝักมะขามอ่อน แต่อาจเปลี่ยนมาเป็นสูตรเสมอ เช่น 15-15-15 หรือ 16-16-16 ถ้าใบมะขามออกซีดจางไม่เขียวเข้มให้ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-11-14 หรือ 46-0-0 ร่วมกับ 0-10- 30 ให้แตกใบอ่อนอยู่เสมอ ใช้ระบบให้ปุ๋ยครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้งทุก ๆ 2-3 สัปดาห์ จนกระทั่งฝักโตเต็มที่ได้ ขนาดแล้วหยุดการให้ปุ๋ยที่มีไนโตรเจน 5) มะขามหวานฝักใหญ่ ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 0-10-30 อย่างเดียวจนหมดฤดูฝนจึงหยุด จะท าให้ฝักมี คุณภาพดี รสหวานจัด 6) การใส่ปุ๋ยอินทรีย์ได้แก่ มูลไก่ไข่ มูลค้างคาว หรือมูลโค โดยใส่มูลไก่ไข่ประมาณ 4 กระสอบต่อต้น และมูลโค 8 กระสอบต่อต้น ต้นมะขามหวานอายุประมาณ 8 ปี ใส่รอบทรงพุ่มโดยห่างจากโคนต้นประมาณ 6 เมตร 7) ในฤดูแล้งหลังจากเก็บฝักหมดแล้ว ตัดแต่งกิ่งตามความจ าเป็น ไม่ใส่ปุ๋ยใด ๆ ที่มีไนโตรเจนตลอด หน้าแล้ง รวมทั้งปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอก เนื่องจากท าให้มะขามหวานมีการเจริญเติบโตทางส่วนต้นและใบมาก ส่งผลให้การติดฝักลดลง ให้ใส่เฉพาะหินฟอสเฟส 8) ใช้ปุ๋ยทางใบร่วม เนื่องจากมะขามหวานเป็นพืชที่มีการตอบสนองต่อปุ๋ยได้ดี ทั้งการใช้ทางดินและ การใช้ทางใบ การให้ปุ๋ยทางดินนั้นอาจมีปัญหาดินกรด ดินด่าง ดินลูกรัง จับเอาแร่ธาตุบางตัว เช่น ฟอสฟอรัส แต่การให้ปุ๋ยทางใบจะไม่เกิดปัญหานี้ เพราะพืชตอบสนองต่อปุ๋ยที่ให้ทางใบตรงตามสูตรที่ใช้ เมื่อเกษตรกร เข้าใจการใช้ปุ๋ยทางใบดีก็สามารถน ามาช่วยในการผลิตมะขามหวานได้ดีขึ้น ตัวอย่ำงกำรใส่ปุ๋ยของกลุ่มเกษตรกรจังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มวิสำหกิจชุมชนบ้ำนโนนเสำธง ต ำบลตะเบำะ จังหวัดเพชรบูรณ์จากการสัมภาษณ์นางสาวสุรี วัลย์ จุมพลมา ตัวแทนสมาชิกกลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะขามหวานบ้านโนนเสาธง ต าบลตะเบาะ อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ร่วมด าเนินการทดลองกับศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรเพชรบูรณ์ จ านวน 12

10 แปลง ๆ ละ 2 ไร่ รวมพื้นที่ 24 ไร่ รวมจ านวนต้นทดลอง 484 ต้น วิธีของเกษตรกรที่ด าเนินการส่วนใหญ่ คือ ใส่ปุ๋ยปีละ 1 ครั้ง ในเดือนเมษายน-พฤษภาคม ของทุกปี ปุ๋ยที่ใส่คือ 15-15-15 + 46-0-0 (ยูเรีย) อัตราส่วนปุ๋ย ที่เกษตรกรใช้คือสูตร 15-15-15 จ านวน 200 กิโลกรัม (4 กระสอบ) ผสมสูตร 46-0-0 จ านวน 50 กิโลกรัม (1 กระสอบ) โดยใส่ต้นละ 2 กิโลกรัม กลุ่มวิสำหกิจชุมชนไม้ผลวังซับเปิบ คุณสมชาย เหลี่ยมศร ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนไม้ผลวังซับ เปิบ เลขที่ 32 หมู่ที่ 9 ต าบลซับเปิบ อ าเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ ใส่ปุ๋ยเดือนมิถุนายน ใส่ปุ๋ย สูตร 15-15- 15 หรือ 8-24-24 หรือสูตรที่ใกล้เคียงกัน ต้นละประมาณ 1-2 กิโลกรัม ตามสภาพความเหมาะสมของพื้นที่และ ความสมบูรณ์ของต้นในระยะนี้ หากความชื้นไม่เพียงพอหรือฝนไม่ตกดอกมะขามหวานจะแห้งเหี่ยวและร่วงง่าย ดอกที่ไม่ได้รับการผสมภายใน 1-2 วัน จะร่วงหล่น การผสมเกสรต้องอาศัยลมและแมลงช่วยพาเกสรตัวผู้ไป ผสมกับเกสรตัวเมีย การให้ปุ๋ยเป็นระยะ ๆ คือช่วงที่ติดฝักเป็นสีเขียวประมาณเดือนกรกฎาคม ควรใช้ปุ๋ย สูตร 13-13-21 หรือ 8-24-24 ต้นละ 1-2 กิโลกรัม อีกครั้ง ประมาณเดือนสิงหาคม-กันยายน เพื่อมะขามหวานจะได้ ฝักเจริญเติบโตดี และรสชาติดียิ่งขึ้น วิธีกำรผสมปุ๋ยใช้เองโดยใช้แม่ปุ๋ย การผสมปุ๋ยใช้เองโดยใช้แม่ปุ๋ย ได้แก่ สูตร 46-0-0, 18-46-0 และ 0-0-60 โดยใส่ปุ๋ยปีละ 2 ครั้ง กับ ทรงพุ่มมะขามหวาน 8 เมตร ดังนี้ ครั งที่ 1 เตรียมต้น ใส่ระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม โดยใส่ 46-0-0 จ านวน 0.8 กิโลกรัมต่อต้น 18-46-0 จ านวน 0.4 กิโลกรัมต่อต้น และ 0-0-60 จ านวน 1.0 กิโลกรัมต่อต้น รวมใส่ปุ๋ย 2.2 กิโลกรัมต่อต้น ครั งที่ 2 บ ารุงฝัก ใส่ระหว่างเดือนกันยายน-ตุลาคม โดยใส่ 46-0-0 จ านวน 0.6 กิโลกรัมต่อต้น 18- 46-0 จ านวน 0.25 กิโลกรัมต่อต้น และ 0-0-60 จ านวน 1.2 กิโลกรัมต่อต้น รวมใส่ปุ๋ย 2.05 กิโลกรัมต่อต้น วิธีการใส่ปุ๋ยใส่รอบทรงพุ่มของมะขามหวานโดยขุดใส่บริเวณรอบ ๆ ทรงพุ่มแล้วกลบ เพื่อลดการสูญเสียให้พืช ได้รับปุ๋ยเต็มที่ (ภาพ 10) ภำพ 10 ตัวแทนเกษตรกรกลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะขามหวานบ้านโนนเสาธง ต าบลตะเบาะ อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ใส่ปุ๋ยโดยการผสมปุ๋ยใช้เองโดยใช้แม่ปุ๋ย

11 5. กำรป้องกันก ำจัดศัตรูพืช ในปัจจุบันการเข้าท าลายของศัตรูพืชมะขามหวานมีความรุนแรงท าความเสียหายให้แก่ผลผลิตเป็น อย่างมากเช่น หนอนด้วงหนวดยาวเจาะล าต้นทุเรียน (ด้วงบ่าหนามจุดนูนด า) เข้าท าลายกิ่งมะขามหวานท าให้ กิ่งแห้งตาย และหนอนคืบละหุ่งที่ระบาดในบางปีเข้าท าลายปีละ 2-3 ครั้ง ซึ่งเข้าท าลายเป็นจ านวนมากใน ระยะเวลาอันสั้น ในระยะแตกใบอ่อนท าให้ผลผลิตเสียหายเกษตรกรต้องฉีดสารเคมีก าจัดอย่างรวดเร็ว ไม่อย่างนั้นจะท าลายผลผลิต ท าให้เพิ่มต้นต้นทุนการผลิตในแต่ละปีเป็นจ านวนมาก 5.1 แมลงศัตรูมะขำมหวำนที่ส ำคัญ 5.1.1 หนอนเจำะฝักมะขำม ชื่อวิทยาศาสตร์ Citripestis sagittiferella Moore วงศ์ Pyralidae อันดับ Lepidoptera ลักษณะและกำรท ำลำย เป็นหนอนของผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก มีปีกคู่หน้าสีน้ าตาล ปีกคู่หลังสีขาว ขอบสีน้ าตาล ซึ่งจะวางไข่เป็นฟองเดี่ยวบนฝักอ่อนจนกระทั่งฝักสุก โดยวางไข่ไว้ตามรอยแตกมากกว่าจะวางไว้ บนฝัก ปกติ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้ตัวหนอนที่ฟักออกจากไข่แล้ว เข้าไปท าลายในฟักได้ง่ายยิ่งขึ้น ตัวหนอนจะกัดกิน ภายในฝักประมาณ 3 สัปดาห์ แล้วจึงเข้าดักแด้อีกประมาณ 1 สัปดาห์ จึงออกมาเป็นตัวเต็มวัย(ผีเสื้อกลางคืน) ฝักมะขามอ่อนที่มีตัวหนอนชนิดนี้เข้าอาศัยอยู่จะมีฝักแห้งลีบ ส่วนฝักมะขามแก่เนื้อภายในฝักจะถูกกัดกินไป และตัวหนอนจะถ่ายขุยไว้ในฝักท าให้ฝักเสีย (ภาพ 11) วิธีป้องกันและก ำจัด 1) ใช้กับดักไฟฟ้า (หลอดแบล็คไลท์) ล่อให้ผีเสื้อเขามาเล่นไฟแล้วเก็บท าลาย 2) ฉีดพ่นด้วยสารเคมีป้องกันก าจัดในระยะฝักอ่อนหรือก่อนที่หนอนจะเข้าไปท าลายในฝัก ถ้าหนอน เจาะเข้าไปในฝักแล้วการฉีดพ่นสารเคมีไม่มีผลต่อตัวหนอน สารเคมีที่ควรใช้ได้แก่ สารคาร์บาริล มาลาไธออน 3) ใช้การอบไอน้ า ไอร้อน และการอบด้วยตู้อบ ภำพ 11 ลักษณะการเข้าท าลายฝักมะขามหวานของหนอนเจาะฝักมะขาม Citripestis sagittiferella Moore ที่มา : ยุทธพงศ์ ประชาสิทธิศักดิ์และทศพล แทนรินทร์. ม.ป.ป.จาก http://nkc.tint.or.th/nkc51/nkc5101/nkc5101c.html 5.1.2 หนอนคืบละหุ่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ Achaea janata Linnaeus วงศ์ Erebidae อันดับ Lepidoptera ลักษณะและกำรท ำลำย ตัวหนอนมีหลายสี เช่น ด า น้ าตาล เทา มีแถบด้านข้างยาวขนานล าตัว เคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็วโดยใช้ขาเทียมที่อยู่ท้ายล าตัวยกมาชิดกับส่วนหัวแล้วจึงยกส่วนหัวยืดออกไปในลักษณะ ของการคืบ ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ "หนอนคืบ" วงจรชีวิต ระยะไข่ประมาณ 3 วัน > ระยะหนอนประมาณ 12 วัน > ระยะดักแด้ประมาณ 10 วัน > ระยะตัวเต็มวัยประมาณ 15 วัน ลักษณะการท าลาย หนอนคืบเมื่อฟักออก

12 จากไข่ใหม่ๆ จะแทะเล็มส่วนของดอกหรือผิวใบด้านล่าง ส่วนหนอนที่โตแล้วจะกัดกินใบเหลือแต่ก้าน (บางครั้ง อาจสังเกตต าแหน่งที่ถูกท าลายจากการถ่ายมูลไปตกที่ใบล่าง ๆ) (ภาพ 12) วิธีป้องกันและก ำจัด 1) หมั่นส ารวจแปลงอย่างสม่ าเสมอ 2) ใช้ศัตรูธรรมชาติในการควบคุม เช่น มวนพิฆาต, มวนเพชฌฆาต หรือ เชื้อบีที เป็นต้น 3) ใช้กับดักแสงไฟก าจัดตัวเต็มวัย ใช้สารเคมีฉีดพ่น ได้แก่ อีมาเม็กตินเบนโซเอท 5% WG อัตรา 10 กรัมต่อน้ า 20 ลิตร อีมาเม็กตินเบน โซเอท 1.92% EC อัตรา 20 มล.ต่อน้ า 20 ลิตร คาร์บาริล 85% WP อัตรา 40 กรัมต่อน้ า 20 ลิตร และ แลมบ์ ดา ไซฮาโลทริน 2.5% EC อัตรา 20 มล.ต่อน้ า 20 ลิตร ภำพ 12 ลักษณะหนอนหนอนคืบละหุ่ง ที่มา : กลุ่มงานวิจัยการใช้สารป้องกันก าจัดศัตรูพืช https://www.facebook.com/PATRS.DOA/posts/1754936911312882/ 5.1.3 หนอนด้วงหนวดยำวเจำะล ำต้นทุเรียน (ด้วงบ่ำหนำมจุดนูนด ำ) ชื่อวิทยาศาสตร์Batocera rufomaculata De Geer วงศ์ Cerambycidae อันดับ Lamiinae ลักษณะและกำรท ำลำย ตัวเต็มวัย มีลักษณะล าตัวยาวประมาณ 2 นิ้ว ล าตัวมีสีเหลืองปนน้ าตาล บริเวณส่วน นอกมีจุดสีเหลืองปนสีส้มหลายจุดปีกแข็งมีสีด าและสีเหลืองส้มคาดผ่านกลางปีกทั้ง 2 ข้าง มีหนวด ในระยะที่ เป็นตัวหนอนจะมีสีขาวปนเหลือง เจริญเติบโตเต็มที่จะมีขนาดของล าตัวยาวประมาณ 1-2 นิ้ว กว้างประมาณ 0.5 -0.75 นิ้ว ลักษณะของล าตัวเป็นปล้องสีขาว ส่วนหัวมีสีน้ าตาลเข้ม มีกรามแข็งแรง ปากมีเขี้ยว ด้วงหนวด ยาวตัวเมียจะวางไข่แบบเดี่ยวบนกิ่งอ่อน หรือตามรอยแตกรอยแยกของล าต้น ไข่จะฟักเป็นตัวหนอนใช้เวลา 7- 14 วัน หนอนจะเจาะเข้าไปในเปลือกและล าต้น แล้วอาศัยอยู่ในนั้นเป็นเวลา 3-4 เดือน หลังจากนั้นจะเข้า ดักแด้ในล าต้นเป็นเวลา 4 – 6 เดือน จึงจะออกเป็นตัวเต็มวัย (ภาพ 13) ซึ่งในระยะที่เป็นตัวหนอน การเจาะ เข้าไปในเปลือกและล าต้นท าให้เป็นโพรงเพื่อเข้าดักแด้ในนั้น เป็นการตัดท าลายระบบท่อน้ า ท่ออาหาร ท าให้ ต้นมะขามกิ่งหักหรือเหี่ยวแห้งตาย การสังเกตการเจาะท าลายของหนอนนั้น จะมีขุยของไม้และมูลของหนอน ออกมาปิดปากรูที่ถูกเจาะ มีการระบาดมากในช่วงฤดูแล้ง วิธีป้องกันและก ำจัด 1) ก าจัดแหล่งขยายพันธุ์ โดยตัดต้นมะขามหวานที่ถูกท าลายรุนแรงจนไม่สามารถให้ผลผลิตเผาทิ้ง และควรมีการดูแลรักษาต้น ให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอ 2) ก าจัดตัวเต็มวัยด้วงหนวดยาว โดยใช้ไฟส่องจับตัวเต็มวัยตามต้นในช่วงเวลา 20.00 น. ถึงช่วงเช้า มืด หรือใช้ตาข่ายดักปลาตาถี่พันรอบต้นหลาย ๆ รอบ เพื่อดักตัวด้วงแมลงศัตรู(ภาพ 14)

13 3) หมั่นตรวจสวนเป็นประจ า โดยสังเกตรอยแผล ซึ่งเป็นแผลเล็กและชื้น ที่ตัวเต็มวัยท าขึ้นเพื่อการ วางไข่ ถ้าพบให้ท าลายไข่ทิ้ง หรือ ถ้าพบขุยและการท าลายที่เปลือกไม้ให้จับตัวหนอนท าลาย 4) ถ้าระบาดไม่รุนแรง และหนอนเจาะเข้าเนื้อไม้แล้ว ให้ฉีดสารก าจัดแมลง น้ าส้มควันไม้ หรือน้ าเกลือ เข้มข้นเข้าในรูให้เต็ม แล้วใช้ดินเหนียว ส าลี หรือดินน้ ามันอุดรูไว้ 5) แหล่งที่มีการระบาดรุนแรง ควรป้องกันการเข้าท าลายของด้วงหนวดยาวโดยพ่นสารฆ่าแมลง thiamethoxam/lambdacyhalothrin (Eforia 247 ZC 14.1%/10.6% ZC) อัตรา 40 มิลลิลิตร หรือ clothianidin (Dantosu 16% SG) อัตรา 20 กรัม หรือ imidacloprid (Confidor100 SL 10% SL) อัตรา 30 มิลลิลิตร หรือ acetamiprid (Molan 20% SP) อัตรา 50 มิลลิลิตรต่อน้ า 20 ลิตร ให้ทั่วบริเวณต้นและกิ่ง ขนาดใหญ่ ภำพ 13 การเข้าท าลายพืชของด้วงบ่าหนามจุดนูนด า Batocera rufomaculata De Geer ภำพ 14 การใช้ตาข่ายดักตัวเต็มวัยด้วงบ่าหนามจุดนูนด า Batocera rufomaculata De Geer ที่มา : http://reportnews.doae.go.th/fileupload/pr_form/201808091533806497.pdf 5.1.4 หนอนเจำะกิ่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ Zeuzera coffeae Niethner วงศ์ Cossidae อันดับ Lepidoptera ลักษณะกำรท ำลำย ด้วงตัวเต็มวัยจะกัดผิวของกิ่งให้เป็นแผลแล้ววางไข่ ลักษณะไข่จะมีสีขาว เมื่อไข่ฟัก ออกเป็นตัวหนอนแล้วจะเจาะเข้าไปกินเนื้อไม้ ท าลายกิ่งเล็ก เมื่อเกิดการระบาดท าให้มองเห็นกิ่งแห้งตายเป็นสี แดงตามทรงพุ่มมะขามหวาน(ภาพ 15) กำรป้องกันและก ำจัด เมื่อตรวจพบกิ่งแห้งตาย ให้ตัดใต้แผลที่เป็นรอยเจาะท าลายของแมลงประมาณ 1 คืบ และน ากิ่งที่ตัดไปเผาท าลายทิ้ง วิธีการป้องกันให้ฉีดพ่นด้วยสารคาร์บอนไดซัลไฟด์ หรือคาร์บอนเตตรา คลอไรด์ ตัดแต่งกิ่งที่ถูกหนอนท าลายแล้วน าไปเผาไฟเพื่อก าจัดหนอนและดักแด้ที่อยู่ในกิ่งนั้น ถ้าตรวจพบรู หรือรอยท าลายบนกิ่งใหญ่ ๆ หรือล าต้น ใช้สารป้องกันก าจัดแมลง ฉีดเข้าในรูแล้วอุดด้วยดินเหนียว

14 ภำพ 15 ลักษณะการเข้าท าลายกิ่งมะขามหวานของหนอนเจาะกิ่ง Zeuzera coffeae ที่มา : เทพ เพียมะลัง (2552) 5.1.5 ด้วงขำโต ชื่อวิทยาศาสตร์ Caryedon gonagra (Fabricious) วงศ์Bruchidae อันดับ Coleoptera ลักษณะกำรท ำลำย ตัวเต็มวัยจะวางไข่ที่เปลือกมะขามหวาน ในระยะที่มะขามหวานเริ่มให้ความหวานก่อนที่ เปลือกจะแข็ง หนอนจะเจาะผ่านเปลือกและเนื้อเข้าไปกัดกินและเจริญเติบโตในเมล็ด และยังเจริญเติบโตเป็น ตัวเต็มวัย (ภาพ 16) แพร่พันธุ์อยู่ในฝักมะขามหลังการเก็บเกี่ยวอย่างรวดเร็ว กำรป้องกันและก ำจัด ตรวจดูในช่วงที่ฝักมะขามหวานหรือก่อนมะขามหวานสุกประมาณ 1 – 2 เดือน ถ้าเห็นไข่สีขาวนวลบริเวณผิวฝัก หรือเมื่อตรวจพบตัวเต็มวัยอยู่ในบริเวณสวนมะขามหวานให้ป้องกันโดย ใช้สารป้องกันก าจัดแมลง คาร์บาริล หรือ มาลาไธออน หลังตัดแต่งฝัก ให้น ามะขามหวานผึ่งแดดลดความชื้น แล้วน าเข้าห้องเย็นทันทีเพื่อป้องกันไข่ฟักออกเป็นตัว นอกจากนี้ยังสามารถใช้วิธีการนึ่งและอบ เพื่อท าลายไข่ ด้วงขาโตได้อีกทางหนึ่ง ภำพ 16 ดักแด้ ตัวเต็มวัยและลักษณะการเข้าท าลายฝักมะขามหวานของ ด้วงขาโต Caryedon gonagra (Fabricious) ที่มา: ยุทธพงศ์ ประชาสิทธิศักดิ์ และทศพล แทนรินทร์. ม.ป.ป. จาก http://nkc.tint.or.th/nkc51/nkc5101/nkc5101c.html ที่มา : เทพ เพียมะลัง (2552) ตัวอย่ำงกำรป้องกันก ำจัดโรคแมลงศัตรูมะขำมหวำนของประธำนกลุ่มวิสำหกิจชุมชนไม้ผลวังซับเปิบ แมลงศัตรูมะขามที่ส าคัญและท าความเสียหายให้แก่มะขามหวาน

15 แมลงนูน หรือแมลงปีกแข็ง กัดกินใบอ่อนและดอก จะระบาดในระยะมะขามผลิใบอ่อน และออกดอก แมลงจะท าลายในตอนเย็นหรือกลางคืน ใช้ยากลุ่มคาร์บาริล พ่นขณะที่มีการระบาด พ่นยาในตอนเย็นให้ถูกตัว แมลง และพ่นยาป้องกันไว้ทุกเดือน หนอนคืบสีเทำ เป็นศัตรูส าคัญที่ท าความเสียหายให้แก่สวนมะขาม ตัวหนอนระบาดในช่วงฤดูฝนระยะ มะขามก าลังผลิใบจวนแก่และก าลังออกดอกถึงติดฝักอ่อน หนอนจะอยู่ใต้ใบ กัดกินใบ ดอก และฝักอ่อน ทั้ง กลางวันและกลางคืน และจะชักใยทิ้งตัวลงพื้นเมื่อถูกตัว วิธีป้องกันคือพ่นยาป้องกันไว้ หากพบการระบาด พ่น ด้วยสารอะบาแม็กติน (เช่น โกลแจ็กซ์) หรือสารไซเพอร์เมทริน (เช่น โกลน็อค 35%) หนอนเจำะฝัก จะเข้าท าลายโดยเจาะฝักมะขาม ตั้งแต่ฝักเริ่มอายุ 2 เดือนขึ้นไป ท าให้ฝักเสียหายมาก หนอนเจาะมะขาม เป็นหนอนผีเสื้อกลางคืน ตัวเต็มวัยวางไข่เป็นฟองเดี่ยว ๆ บนฝักมะขาม ตั้งแต่ยังเป็นฝัก อ่อนจนถึงฝักสุก วางไข่ตามรอยหักหรือแตกมากกว่าฝักปกติ เมื่อพัฒนาเป็นตัวหนอน ถ้าเป็นฝักอ่อนจะท าให้ ฝักลีบ ส่วนฝักมะขามแก่จะกัดกินเนื้ออ่อนภายในและถ่ายมูลออกมาเป็นขุยอยู่บนฝักมะขาม การป้องกันก าจัด หมั่นส ารวจและเก็บฝักมะขามที่ถูกท าลายทิ้ง หากพบการระบาด พ่นด้วยสารอะบาแม็กติน หรือสารไซเพอร์ เมทริน 5.2 โรคของมะขำมหวำนที่ส ำคัญ 5.2.1 โรครำแป้งขำว (Powdery mildrew) เชื อสำเหตุOidium heveae (steinmann) ลักษณะของเชื อรำ โดยทั่วไปจะมองเห็นด้วยตาเปล่า จะเห็นเป็นกระจุกของเส้นใยสีขาวถ้าส่องดูด้วย กล้องจุลทรรศน์จะเห็นเป็นสปอร์ติดกันเป็นลูกโซ่อยู่ที่ปลายเส้นใย เมื่อเชื้อเจริญเติบโตเต็มที่จะมองเห็นเป็น รอยคล้ายแป้งสีขาวเป็นหย่อม ๆ ทั่วไปที่ผิวด้านใต้ใบ ลักษณะอำกำร ลักษณะอาการจะเห็นเด่นชัดคือจะมีกลุ่มขุยสีขาวลักษณะนูนออกมาที่ใบและยอด อ่อน เป็นฝุ่นคล้ายแป้งสีขาว ซึ่งเป็นขุยของกลุ่มสปอร์ ซึ่งเมื่อเกิดกับใบอ่อนจะท าให้ใบหลุดร่วงไป แต่ถ้าเกิดกับ ใบในระยะที่แก่จะท าให้ใบเกิดเป็นแผลเป็นรอยสีเหลืองจัดเฉพาะบริเวณที่เชื้อเข้าท าลาย ต่อไปจะกลายเป็น รอยไหม้สีน้ าตาล อาการที่เกิดกับฝักจะเห็นมีสีขาวๆ ติดอยู่ที่ฝักคล้ายกับโรยด้วยแป้ง ถ้าเป็นระยะที่ฝักมีขนาด เล็กจะท าให้ฝักอ่อนร่วง ช่วงที่ราแป้งระบาดมากที่สุด คือ ช่วงฤดูฝนติดต่อฤดูหนาวหรืออากาศร้อนชื้นหรือ หนาวชื้นและมีการระบาดมากในแปลงขยายพันธุ์ วิธีป้องกันและก ำจัด โดยฉีดพ่นสารเคมีป้องกันก าจัดในช่วงที่เริ่มมีโรคระบาด ช่วงที่มะขามหวานแตก ใบอ่อนจะได้ผลดีที่สุด สารเคมีที่สามารถเลือกใช้ ได้แก่ ก ามะถันผงชนิดละลายน้ าได้ ฉีดพ่นทุก ๆ 7 วัน จนกว่า โรคราแป้งขาวจะหายไป ไม่ควรฉีดพ่นในช่วงที่มีอากาศร้อนอบอ้าวเพราะจะท าให้ใบมีอาการไหม้เหี่ยวแห้งได้ โดยใช้สารป้องกันก าจัดเชื้อราชนิดดูดซึม เช่น เบนเลก คาร์เบนดาซิม เป็นต้น 5.3 กำรควบคุมโรคและแมลงศัตรูมะขำมหวำน การควบคุมโรคและแมลงศัตรูมะขามหวานสามารถท าได้ด้วยกันหลายวิธี คือ 1. กำรตัดแต่งกิ่ง การตัดแต่งกิ่งจะช่วยให้ต้นมะขามหวานมีทรงพุ่มไม่ทึบหรือรกเกินไป เป็นการลด และควบคุมแมลงที่ชอบกัดกินใบตามกิ่งที่อยู่หนาแน่นเกินไป ซึ่งนอกจากจะเป็นที่สะสมโรคและแมลงแล้ว ยัง ท าให้ยากแก่การพ่นสารเคมีให้ทั่วถึงได้ การตัดแต่งกิ่งจึงเป็นการช่วยให้ต้นมะขามแข็งแรงขึ้น ประสิทธิภาพการ พ่นสารเคมีได้ทั่วถึงดีขึ้น 2. กำรรักษำควำมสะอำดของต้นมะขำมหวำน การก าจัดวัชพืชอย่างสม่ าเสมอ สามารถช่วยลด ปัญหาของแมลงรบกวนบางชนิด 3. กำรล่อแมลงด้วยแสงไฟ การติดแสงไฟ (หลอดแบล็คไลท์) วางไว้บนภาชนะที่ใส่น้ าผสมสารจับใบ หรือน้ าผสมกับผงซักฟอก จะล่อแมลงที่บินมาเล่นแสงไฟแล้วตกลงในภาชนะที่ใส่น้ าไว้ วิธีการนี้ใช้ได้ผลดีกับ พวกผีเสื้อกลางคืน พวกด้วง พวกเพลี้ย เป็นต้น

16 4. กำรฉีดพ่นด้วยสำรเคมี เป็นการควบคุมโรคและแมลงที่สะดวกรวดเร็วได้ผลทันท่วงที ซึ่งการฉีดพ่น สารเคมีที่ป้องกันก าจัดโรคและแมลงควบคู่กันไปในครั้งเดียวกัน การฉีดสารเคมีควรใช้ให้ถูกวิธีและช่วงเวลาที่ เหมาะสม เพื่อให้ประสิทธิภาพในการควบคุมการท าลายของศัตรูพืช 6. กำรเก็บเกี่ยวและเทคโนโลยีหลังกำรผลิต 6.1 กำรสุกของมะขำมหวำน หลังจากมะขามหวานติดฝักแล้ว ฝักของมะขามหวานจะเจริญเติบโตจนถึงช่วงเดือนพฤศจิกายน ฝักจะ แก่ ช่วงนี้หมดฤดูฝนท าให้ปริมาณน้ าลดน้อยลง ซึ่งเป็นช่วงฤดูแล้งมะขามหวานจะหยุดการเจริญเติบโต ท าให้ ฝักของมะขามหวานสุกและเริ่มมีรสหวานเพิ่มขึ้น เนื่องจากในช่วงนี้ฝักมะขามหวานจะได้รับปริมาณอาหารมา เลี้ยงฝักลดน้อยลง ท าให้ปริมาณการสร้างกรดซัลฟูริคในฝักมะขามหวานมีปริมาณน้อยลง ขณะเดียวกันกรดซัล ฟูริคภายในฝักถูกเปลี่ยนสภาพเป็นน้ าตาล เมื่อฝักมะขามหวานเริ่มแก่และสุกก็เริ่มมีความหวานเพิ่มขึ้น ถ้า กรดซัลฟูริคถูกเปลี่ยนเป็นน้ าตาลไม่หมดจะท าให้มะขามหวานมีรสชาติอมเปรี้ยว นอกจากนี้ถ้ามีฝนในช่วงที่ มะขามหวานแก่และสุก ต้นมะขามหวานที่ได้รับน้ าก็จะท าการผลิตกรดซัลฟูริคขึ้นมาอีก และมะขามหวานบาง พันธุ์เมื่อแก่และสุกแล้ว ก็ไม่สามารถเปลี่ยนกรดซัลฟูริคเป็นน้ าตาลได้หมด จึงท าให้มีรสชาติหวานอมเปรี้ยว การสุกของฝักมะขามหวานพันธุ์น้ าผึ้ง เป็นพันธุ์ที่สุกก่อนพันธุ์อื่น ๆ ประมาณ 4-5 วัน มะขาม หวานพันธุ์สีชมภูจะสุกตามมาอีกประมาณ 7 วัน พันธุ์ที่สุกรองลงมา คือ อินทผาลัม ขันตี ประกายทอง และ หมื่นจง สุดท้ายที่สุกทีหลังคือ พันธุ์สีทอง (นายหยัด) อย่างไรก็ตามการสุกของฝักจะไม่ตรงตามนี้ตลอดไป จะ ขึ้นอยู่กับพื้นที่ ถ้าเป็นที่ดอนเป็นเนินเขา จะได้รับปริมาณน้ าฝนก่อนบริเวณที่ลุ่ม การออกดอกก็จะเร็วกว่าเป็น ฝักก่อน พอถึงช่วงสุกในที่ดอนจะสุกเร็วกว่า การสุกของมะขามหวานในแต่ละต้นจะสุกไม่พร้อมกันทั้งต้น จะ ทยอยสุกเป็นรุ่น ๆ ผู้เก็บฝักมะขามหวานจึงจ าเป็นต้องมีความช านาญ รู้ว่าฝักไหนสุก เก็บได้หรือยังเก็บไม่ได้ 6.2 กำรเก็บเกี่ยวมะขำมหวำน ระยะการเก็บฝักมะขามหวานแต่ละพันธุ์มีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น แหล่งปลูก ช่วงเวลาที่ออกดอก ติดฝัก จนกระทั่งฝักสุก การให้ปุ๋ย ความชื้นในดิน เป็นต้น มะขามหวานส่วนมากจะแก่และ เก็บเกี่ยวได้ระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมของปีถัดไป ฝักมะขามหวานที่แก่เก็บได้หรือฝักสุก จะมี เปลือกฝักสีน้ าตาลหรือสีนวลหรือสีทอง ขึ้นอยู่กับลักษณะประจ าพันธุ์ของแต่ละพันธุ์ ฝักแก่ที่แห้งดีแล้วจับดูจะ มีน้ าหนักเบา แต่ถ้าฝักที่ยังไม่แก่จัดหรือที่เรียกว่าคาบหมูจะมีน้ าหนักมาก ถ้าเคาะดูจะรู้สึกว่าข้างในมีเสียง กลวง การหาระยะเวลาที่เหมาะสมของการเก็บฝักมะขามหวานสามารถท าได้อีกหลายวิธี เช่น กำรนับอำยุของฝักมะขำมหวำน จะนับตั้งแต่เริ่มติดฝักจนกระทั่งวันที่เก็บเกี่ยวได้ โดยจัดท าเป็น บันทึกอายุของฝักที่เก็บได้ตั้งแต่เริ่มให้ฝักในฤดูกาลแรก บันทึกที่ท าไว้หลายฤดูกาลจะสมารถบอกถึงระยะเวลา การเก็บของฝักมะขามหวานที่ปลูกได้อย่างเหมาะสม สีของเปลือกฝัก ฝักมะขามหวานที่แก่เก็บได้จะมีสีของเปลือกออกสีน้ าตาล สีนวล สีเหลือง ขึ้นอยู่กับ ลักษณะประจ าของแต่ละพันธุ์ กำรฟังเสียง ฝักมะขามหวานที่สุกเก็บได้ ถ้าใช้นิ้วดีดเบา ๆ แล้วออกเสียงกลวง ๆ ถือว่าแก่เก็บได้ ถ้า เสียงออกเสียงแน่น ๆ ถือว่าไม่สุกยังเก็บไม่ได้ กำรใช้เล็บขูดผิวเปลือกของฝัก ฝักที่สุกแล้วจะไม่เกิดรอย แต่ถ้าฝักยังไม่สุกเนื้อยังแนบชิดเปลือกฝัก อยู่ จะเกิดรอยขูดเมื่อใช้เล็บขูดที่ผิวเปลือกฝัก ฝักที่สุกแล้วเนื้อจะแห้งและยุบตัวแยกออกจากเปลือก 6.3 กำรเก็บรักษำฝักมะขำมหวำน กำรผึ่งลม เป็นการเก็บรักษาฝักมะขามหวานไว้ในระยะเวลาสั้น ๆ 20 – 62 วัน โดยน าฝักมะขาม หวานที่เก็บมาและคัดขนาดแล้วมาผึ่งลมในที่ร่ม มีการระบายอากาศได้ดี ถ้าต้องการเก็บรักษาฝักไว้ 20 – 30 วัน ให้ผึ่งลมเป็นเวลา 2 – 5 วัน และคอยเกลี่ยฝักระวังไม่ให้ทับกันแน่นเกินไปและถ้าต้องการเก็บรักษาฝัก

17 มะขามหวานให้นาน 30 – 60 วัน ระยะเวลาการผึ่งลมต้องนานขึ้น 10 – 15 วัน โดยสังเกตว่าฝักมะขามหวาน จะหยุดการคายน้ าเพราะการคายน้ าจะท าให้เกิดไอน้ าและความร้อนขึ้น เมื่อน าฝักมะขามหวานบรรจุลงใน กล่องหรือถุงเพื่อการจ าหน่ายแล้วฝักมะขามหวานอาจเกิดเชื้อราเสียหายได้ การผึ่งลมถ้าท าบนตะแกรงเหล็กจะ ท าให้ได้ผลดีขึ้น กำรนึ่ง คือการท าให้เนื้อและเมล็ดของมะขามหวานสุกโดยอาศัยความร้อนจากไอน้ า เพื่อเป็นการ ก าจัดเชื้อราและแมลงต่าง ๆ ที่อาจจะอยู่ในฝักมะขามหวาน เพื่อต้องการเก็บรักษาฝักมะขามหวานให้ได้นาน ออกไปอีก โดยที่ฝักมะขามหวานยังคงมีคุณภาพและรสชาติคงเดิม วิธีการนึ่งกระท าเช่นเดียวกับการนึ่งอาหารทั่วไป โดยใช้ความร้อนจากไอน้ าเดือดนึ่ง การนึ่งใช้เวลา 10 – 20 นาที ขึ้นอยู่กับขนาดของฝัก ถ้าฝักมีขนาดใหญ่ใช้เวลานึ่งนานกว่าฝักขนาดเล็กและความหนาบางของ เปลือกฝักด้วย ถ้าเป็นมะขามหวานเปลือกบาง เช่น พันธุ์ขันตี พันธุ์ศรีชมภู ใช้เวลานึ่งประมาณ 8 – 10 นาที มะขามหวานเปลือกหนา เช่น พันธุ์หมื่นจง พันธุ์สีทองนายหยัด ใช้เวลานึ่งประมาณ 10 – 15 นาที และถ้านึ่ง นานเกินไปจะท าให้รสชาติเปลี่ยนได้ เมื่อนึ่งเรียบร้อยแล้วน าฝักมะขามหวานออกมาผึ่งให้เย็นหรือตากผึ่งแดด จนแน่ใจว่าแห้งดีแล้ว ถ้าจะเก็บไว้นาน เก็บในภาชนะมีฝาปิดสนิทกันแมลงได้ เช่น โอ่งเคลือบหรือปี๊บ กำรอบด้วยไอร้อน คือการท าให้เนื้อและเมล็ดมะขามหวานสุกโดยอาศัยความร้อนจากไอร้อน เพื่อเป็น การก าจัดเชื้อราและแมลงต่าง ๆ ที่อาจมีอยู่ภายในฝัก เมื่อต้องการเก็บรักษาฝักมะขามหวานให้ได้นาน คล้าย กับการอบของโรงบ่มใบยาสูบ ซึ่งต้องลงทุนมากและการใช้ยุ่งยาก หรือไม่ก็อาจใช้ความร้อนจากแสงอาทิตย์ได้ เช่นกัน กำรเก็บในห้องเย็น เป็นการเก็บที่ต้องลงทุนสร้างห้องเย็นที่ควบคุมอุณหภูมิได้ให้อยู่ในระดับ 5 – 10 องศาเซลเซียส การเก็บรักษาฝักมะขามหวานไว้ในห้องเย็นที่มีอุณหภูมิที่ต่ ากว่า 10 องศาเซลเซียส จะสามารถเก็บ รักษาได้นานเป็นปี สามารถรักษาสภาพและคุณภาพของฝักมะขามหวานได้โดยที่เปลือก สีของเนื้อ รสชาติและ กลิ่นไม่มีการเปลี่ยนแปลง โรคและแมลงศัตรูมะขามหวานไม่รบกวน แต่การเก็บในห้องเย็นเป็นการลงทุนที่สูงมาก กำรฉำยรังสี เป็นการเก็บรักษาโดยผ่านการฉายรังสีเป็นวิธีการน ามะขามหวานไปรับรังสีแกรมมา ซึ่ง ได้มาจากต้นก าเนิดรังสีโคบอลต์ 60 หรือซีเซียม 137 การฉายรังสีปริมาณ 1 กิโลเกรย์ ร่วมกับวิธีการลด ความชื้นด้วยการผึ่งแดด สามารถใช้ก าจัดแมลงที่อาจติดในมะขามหวานและควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อรา ระหว่างการเก็บรักษาอย่างได้ผล ไม่พบความแตกต่างในด้านรสชาติและปริมาณวิตามินซีระหว่างมะขามหวาน ที่ไม่ฉายรังสีกับมะขามหวานฉายรังสี นอกจากนี้มะขามหวานที่ฉายรังสีสามารถเก็บรักษาได้นานกว่า 8 เดือน โดยยังมีรสชาติเป็นที่ยอมรับของผู้ชิม ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ด าเนินการฉายรังสีมะขามหวาน คือ ศูนย์ฉายรังสี อาหารและผลิตผลการเกษตร ส านักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ตั้งอยู่ที่ 37 ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ. ปทุมธานี 12120 โดยมะขามหวานจะต้องบรรจุในภาชนะก่อนการฉายรังสี บรรณำนุกรม กรมทรัพย์สินทางปัญญา. 2548. มะขามหวานเพชรบูรณ์. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.ipthailand.go.th/images/633/GI/north/phetchabun.pdf. กรมวิชาการเกษตร. 2553. ประกาศกรมวิชาการเกษตรเรื่อง โฆษณาค าขอให้ออกหนังสือรับรองพันธุ์พืชขึ้น ทะเบียน ตามพระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๑๘: มะขามหวาน ลงวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2553. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2564 , จาก https://www.doa.go.th/pvp/wpcontent/uploads/2019/11/AnnoDOA_Public53.pdf.

18 กลุ่มงานวิจัยการใช้สารป้องกันก าจัดศัตรูพืช. 2563. หนอนคืบละหุ่ง (Achaea janata Linnaeus) เผยแพร่ 23 พฤษภาคม 2563. สืบค้น 20 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/PATRS.DOA/posts/1754936911312882/. กลุ่มบริหารศรัตรูพืช. 2557. แมลงศรัตรูไม้ผล. ส านักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร สืบค้น 30 สิงหาคม 2564, จาก https://www.doa.go.th/share/attachment.php?aid=1208. กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ ส านักงานเกษตรจังหวัดเพชรบูรณ์. สถานการณ์การผลิตปี 63. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2564, จาก http://www.phetchabun.doae.go.th/wp-content/uploads/2020/ สถานการณ์การผลิต ปี63-4.pdf. ของดีเพชรบูรณ์. 2564. มะขามหวานเพชรบูรณ์. สืบค้น 20 พฤษภาคม 2564, จาก https://sites.google.com/site/prakaithip32025/makham-hwan-phechrburn. ทวีศักดิ์ ชัยเรืองยศ. 2561. มะขามหวานต าบลซับเปิบ อีกแหล่งมะขามหวานคุณภาพดี ที่เพชรบูรณ์ บันทึกไว้ เป็นเกียรติ. เทคโนโลยีชาวบ้าน. เผยแพร่ วันอาทิตย์ที่ 1 เมษายน พ.ศ.2561. สืบค้นจาก https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_53377. ทวีศักดิ์ ชัยเรืองยศ. 2561. มะขามหวานต าบลซับเปิบ อีกแหล่งมะขามหวานคุณภาพดี ที่เพชรบูรณ์ (ตอน จบ). ที่มาบันทึกไว้เป็นเกียรติ เทคโนโลยีชาวบ้าน. เผยแพร่ วันอาทิตย์ที่ 21 เมษายน พ.ศ.2561. สืบค้นจาก https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_55659. เทคโนโลยีชาวบ้านออนไลน์. 2561. ท าไมแหล่งมะขามหวานคุณภาพดีต้องอยู่ที่ จ. เพชรบูรณ์ เกษตรกรมือ อาชีพมีค าตอบ เปิดเทคนิคการปลูกทุกขั้นตอน. เกษตรอินเทรนด์. มติชนเส้นทางเศรษฐีออนไลน์, เผยแพร่ วันพุธที่ 21 มีนาคม พ.ศ.2561. สืบค้น12 พฤษภาคม 2564,จาก https://www.sentangsedtee.com/farming-trendy/article_72559. เทพ เพียมะลัง. 2552. รายงานการวิจัยเรื่องการบริหารแมลงศัตรูมะขามหวานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านพล า อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ จังหวัด เพชรบูรณ์. 65 หน้า. เทพ เพียมะลัง. 2555. คู่มือการพัฒนาคุณภาพมะขามหวาน สถาบันมะขามหวาน คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. บ้านมะขาม. สืบค้น 20 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.facebook.com/TamarindHouse/photos/ ยุทธพงศ์ ประชาสิทธิศักดิ์ และทศพล แทนรินทร์. (ม.ป.ป.). แมลงที่พบในมะขามหวาน. สืบค้น 1 สิงหาคม 2564, จาก http://nkc.tint.or.th/nkc51/nkc5101/nkc5101c.html. รัตนะ สุวรรณเลิศ. ม.ป.ป. มะขามหวาน. สืบค้น 12 พฤษภาคม 2564, จาก http://clgc.agri.kps.ku.ac.th/resources/fruit/tamarind.html. สถาบันมะขามหวาน. ม.ป.ป.. สืบค้น 30 สิงหาคม 2564, จาก http://agritech.pcru.ac.th/new/page/tamarineinst.html.

19 สราญจิต ไกรฤกษ์. 2554. แมลงศรัตรูมะม่วงและการป้องกันก าจัด. ส านักอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร . Post Tech. แผ่นพับพิมพ์ครั้งที่ 1 เมษายน 2554. อัมรินทร์ทีวี. 2564. เพชรบูรณ์โชว์มะขามหวานพันธุ์ใหม่ "เพชรซับเปิบ" รสชาติหอมหวาน หนึ่งเดียวในโลก สืบค้น 20 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.amarintv.com/news/detail/68527.

บทที่ 2 ละมุด 1. ควำมส ำคัญ สถำนกำรณ์กำรผลิตและกำรตลำด ละมุด (Manilkara zapota(L.) P.Royen เป็นไม้ผลที่ถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความส าคัญ โดยเฉพาะ ละมุดพันธุ์มะกอกถือเป็นเศรษฐกิจในพื้นที่ของจังหวัดสุโขทัย เป็นพันธุ์ที่มีขนาดผลเล็ก มีน้ าหนักต่อผล 45 กรัม รูปร่างผลรีคล้ายไข่ไก่ ลักษณะเนื้อละเอียด เมื่อสุกไม่เละ มีสีเนื้อน้ าตาลอ่อน ความหวานเมื่อสุกจัด 17 องศาบริกซ์ ชาวสวนละมุดจังหวัดสุโขทัยมักเรียกว่า “ผลกรอบ” หรือละมุดกรอบ การทานละมุดในปริมาณ พอดีท าให้ร่างกายได้สารอาหารที่มีประโยชน์จากธาตุอาหารจ าเป็นต่อร่างกาย อย่างเช่น ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม โฟเลต ไนอาซิน แคลเซียม โปรตีน ใยอาหาร การรับประทานละมุด 100 กรัม จะได้ ปริมาณใยอาหาร 0.7 กรัม ใยอาหาร คือ ส่วนประกอบของกากอาหารจากผัก ผลไม้ ใยอาหารไม่สามารถถูก ย่อยและดูดซึมในทางเดินอาหารได้ จึงเป็นอาหารที่ไม่ให้พลังงาน ใยอาหารมีบทบาทส าคัญและก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อสุขภาพร่างกาย เช่น ระบบทางเดินอาหาร ใยอาหารที่ไม่ละลายน้ ามีส่วนช่วยเพิ่มอุจจาระซึ่ง เกี่ยวข้องกับการขับถ่าย ลดอาการท้องผูกและริดสีดวงทวาร ลดการเกิดโรคล้าไส้โป่งพอง นอกจากนั้น ละมุด ยังเป็นแหล่งของวิตามินเอ และวิตามินบี คือมี 17 และ 26 มิลลิกรัม วิตามินอีเป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้ม เซลล์ ประโยชน์ของวิตามินอี คือป้องกันการแตกของเม็ดเลือด ป้องกันการอุดตันของเม็ดเลือด ต่อต้านอนุมูล อิสระ และป้องกันการอักเสบ ส่วนวิตามินบี ท าหน้าที่เปลี่ยนคาร์โบไฮเดรตในร่างกายให้เป็นน้ าตาลกลูโคสซึ่ง ร่างกาย สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานไปใช้ได้ และช่วยในกระบวนการเมตาโบลิซึมของไขมันและโปรตีน รวมถึง การท างานของระบบประสาท และกล้ามเนื้อในระบบทางเดินอาหาร ส าหรับการให้พลังงานของละมุดจาก ตาราง 1 พบว่า ละมุด 100 กรัมให้พลังงาน 35 กิโลแคลอรี่ ซึ่งเทียบได้กับการรับประทานละมุดมะกอก ประมาณ 2 ผล โดยความต้องการพลังงานในแต่ละวันของวัยรุ่น หญิง-ชาย อายุ 14-25 ปีและชายวัยท างาน อายุ 25-60 ปี คือ 2,000 กิโลแคลอรี่ จะเห็นได้ว่าละมุดมะกอก 2 ผล ให้พลังงานน้อยกว่าพลังงานที่ร่างกาย ต้องการแต่ละวัน ถึงกว่า 50 เท่า(ตาราง 1) ตำรำง 1 คุณค่าทางอาหารและองค์ประกอบโดยประมาณของละมุดมะกอก รำยกำร ปริมำณ พลังงาน 35.0 กิโลแคลอรี่ คาโบไฮเดรต 8.00 กรัม โปรตีน 0.20 กรัม เส้นใยอาหาร 0.70 กรัม วิตำมิน ไนอะซิน 0.20 มิลลิกรัม ไรโบฟลาวิน 0.50 มิลลิกรัม ไทอะมีน 0.11 มิลลิกรัม วิตามิน เอ 17.0 มิลลิกรัม วิตามิน บี 26.0 มิลลิกรัม แร่ธำตุ แคลเซียม 1.00 มิลลิกรัม เหล็ก 0.20 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 79.0 มิลลิกรัม

21 อื่น ๆ เถ้า 0.20 กรัม น้ า 77.3 กรัม ที่มา: กรมอนามัย (2544) สถำนกำรณ์กำรผลิต พื้นที่ปลูกละมุดในประเทศไทยทั้งหมด 36 จังหวัด พื้นที่ปลูกทั่วประเทศ 16,985 ไร่ โดยปลูก มากที่สุดคือสุโขทัย 6,037 ไร่ รองลงมาคือราชบุรี 4,488 ไร่ และนครราชสีมา 2,659 ไร่ คิดเป็น 35.5, 26.4 และ 15.7 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ และอีก 2,002 ไร่ กระจายอยู่ใน 33 จังหวัด ส่วนผลผลิตทั้งประเทศรวม 13,163 ตัน แบ่งเป็นผลผลิตในจังหวัดสุโขทัย 3,808 ตัน คิดเป็น 28.9 เปอร์เซ็นต์ ผลผลิต 1,480 กิโลกรัม มี มูลค่าผลผลิต 31.3 ล้านบาท(ตาราง 2) ละมุดพันธุ์มะกอก เป็นพันธุ์ที่มีขนาดผลเล็กคือ 45 กรัมต่อผล รูปร่างผลรีคล้ายไข่ไก่ ลักษณะเนื้อ ละเอียดเมื่อสุกไม่เละ มีสีเนื้อเมือสุกสีน้ าตาลอ่อน ความหวานเนื้อเมื่อสุกจัด 17 องศาบริกซ์ มีการเจริญเติบโต ดี พื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่จังหวัดสุโขทัย คิดเป็น 60.5 เปอร์เซ็นต์ ของประเทศ โดยมีผลผลิตทั้งหมด 3,794 ตัน ผลผลิตต่อไร่ 685 กิโลกรัม มูลค่า 5,635 บาทต่อไร่ มูลค่ารวมทั้งหมด 31 ล้านบาท(ตาราง 3) ผลผลิตละมุดพันธุ์มะกอก ในปี 2554-2563 มีผลิตอยู่ระหว่าง 2,282 - 24,225 ตัน ผลผลิตต่อไร่ 414 - 4,350 กิโลกรัม ราคาขาย 4.40 - 8.23 บาทต่อกิโลกรัม มูลค่าของผลผลิตต่อราคาขาย 2,257 - 25,406 บาทต่อไร่ ขึ้นลงตามความต้องการของตลาด และความแปรปรวนของสภาพแวดล้อมที่ท าให้ผลผลิตต่อพื้นที่ ลดลง(ตาราง 4) ตำรำง 2 พื้นที่เพาะปลูก ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ราคาขาย และมูลค่าผลผลิตละมุดรายจังหวัด ตามราคาหน้า สวนของเกษตรกร ปี พ.ศ. 2563 จังหวัด เนื้อที่ยืน ต้นทั้งหมด (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) ราคาขาย (บาท/ กิโลกรัม) มูลค่าของ ผลผลิตต่อราคา ขาย (บาท/ไร่) มูลค่าผลผลิต ทั้งหมด (ล้านบาท) สุโขทัย 6,037 3,808 1,480 8.23 12,178 31.30 ราชบุรี 4,488 8,644 1,945 23.6 45,911 204.1 นครราชสีมา 2,659 4 2,000 15.0 30,000 0.100 เพชรบุรี 1,489 333 465 14.9 6,938 5.000 ลพบุรี 597 6 264 23.1 6,109 0.100 สงขลา 352 28 269 39.1 10,522 1.100 นครสวรรค์ 280 - - - - - ปทุมธานี 163 138 1,950 25.5 49,792 3.500 เพชรบูรณ์ 111 18 2,529 29.2 74,011 0.500 พระนครศรีอยุธยา 100 - - - - สมุทรสงคราม 85 122 1,440 23.3 33,595 2.900 พัทลุง 84 3 114 40.0 4,546 0.100

22 จังหวัด เนื้อที่ยืน ต้นทั้งหมด (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) ราคาขาย (บาท/ กิโลกรัม) มูลค่าของ ผลผลิตต่อราคา ขาย (บาท/ไร่) มูลค่าผลผลิต ทั้งหมด (ล้านบาท) ชลบุรี 70 - - - - - ชัยภูมิ 65 - - - - - อ่างทอง 60 13 938 13.5 12,694 0.200 เลย 41 5 833 10.0 8,333 0.100 ประจวบคีรีขันธ์ 31 8 504 23.9 12,081 0.200 นครพนม 29 1 800 15.0 12,000 0.000 ระยอง 26 2 750 40.0 30,000 0.100 สระบุรี 26 - - - - - พิจิตร 22 8 500 17.5 8,750 0.100 สิงห์บุรี 20 1 250 11.00 2,750 0.000 สุราษฎร์ธานี 17 - - - - - พิษณุโลก 16 - - - - - ชัยนาท 16 - - - - - เชียงใหม่ 16 3 500 40.00 20,000 0.100 ปราจีนบุรี 12 1 250 35.00 8,750 0.000 สกลนคร 11 - - - - - กระบี่ 10 - - - - - ล าปาง 10 - - - - - อุดรธานี 10 - - - - - สตูล 9 - - - - - อุตรดิตถ์ 9 - - - - - ศรีสะเกษ 8 20 2,458 21.70 53,341 0.400 ตาก 6 0 500 15.00 7,500 0.000 ก าแพงเพชร 1 - - - - - ที่มา : กรมส่งเสริมการเกษตร (2564)

23 ตำรำง 3 พื้นที่เพาะปลูก ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ของละมุดมะกอกเป็นรายจังหวัด ปี พ.ศ. 2563 จังหวัด พื้นที่ยืนต้นทั้งหมด (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) สุโขทัย 5,782 3,794 685 ราชบุรี 1,976 676 342 เพชรบุรี 1,489 333 472 นครสวรรค์ 141 - - ลพบุรี 69 - - ปทุมธานี 32 - - พระนครศรีอยุธยา 24 - - ระยอง 17 2 88 สกลนคร 11 - - ล าปาง 10 - - ปราจีนบุรี 7 - - นครราชสีมา 2 4 2,000 สิงห์บุรี 2 1 250 อุดรธานี 2 - - ที่มา : กรมส่งเสริมการเกษตร (2564) ตำรำง 4 พื้นที่เพาะปลูก ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ราคาขาย และมูลค่าผลผลิตละมุดมะกอกตามราคาหน้าสวน ของเกษตรกร ปี พ.ศ. 2554-2563 ปี เนื้อที่ยืนต้น ทั้งหมด (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) ราคาขาย (บาท/กิโลกรัม) มูลค่าของผลผลิต ต่อราคาขาย (บาท/ไร่) มูลค่าผลผลิต ทั้งหมด (ล้านบาท) 2554 4,808 5,569 1,160 5.39 6,255 30 2555 5,553 8,108 1,758 6.94 12,197 56 2556 5,553 6,326 1,371 4.40 6,033 28 2557 5,525 5,484 1,010 4.70 4,746 26 2558 5,525 5,484 1,010 4.70 4,746 26 2559 5,573 5,191 942 4.93 4,644 26 2560 5,573 4,263 774 6.00 4,642 26 2561 5,573 2,282 414 5.45 2,257 12 2562 5,569 24,225 4,350 5.84 25,406 141 2563 5,782 3,794 685 8.23 5,635 31 ที่มา : กรมส่งเสริมการเกษตร (2564)

24 กำรตลำด ตลาดภายในประเทศ ส่วนใหญ่เป็นการส่งขายให้กับพ่อค้าคนกลางซึ่งจะเป็นผู้รวบรวมแล้วขน ส่งไปขายยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น อุดรธานี ภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พิจิตร เชียงราย และตามงานเทศกาลต่าง ๆ ของจังหวัดสุโขทัย และจังหวัดโดยรอบ โดยราคาที่ จ าหน่ายได้ อยู่ระหว่าง 7-15 บาท ตามขนาดของผลละมุด ส าหรับสวนละมุดที่มีการผลิตละมุดคุณภาพและ ปลอดภัยสามารถจ าหน่ายในศูนย์การค้า ในราคา กิโลกรัมละ 80-100 บาท ในปี พ.ศ. 2554-2563 ประเทศ ไทยมีการส่งออกละมุดไปยังประเทศแถบยุโรป เช่น เยอรมนี โดยในปี 2563/64 มีปริมาณการส่งออก 3 ตัน นอกจากนั้นมีการส่งขายไปยังประเทศ พม่า ลาว ในรูปผลสดต่อปี ปริมาณ 48.1 – 386 ตัน คิดเป็นมูลค่า 1,509,098 - 4,898,175 บาท (ตาราง 5 ) ตำรำง 5 ปริมาณ และมูลค่าการส่งออกผลสดของละมุด ปี พ.ศ. 2554 -2563 ปี ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (บาท) 2554 89 3,522,420 2555 64 2,396,729 2556 74 2,408,085 2557 96 3,095,116 2558 74 2,970,917 2559 53 2,233,696 2560 110 3,011,839 2561 386 4,898,175 2562 82 2,359,575 2563 48.1 1,509,098 ที่มา : กลุ่มบริการส่งออกสินค้าเกษตร (2564) มาตรฐานละมุดเพื่อการส่งออก ผลละมุดตามมาตรฐานสินค้าเกษตร แบ่งเป็น 3 ชั้นคุณภาพ ดังนี้ 1. ชั้นพิเศษ (extra class) ไม่มีต าหนิ 2. ชั้นหนึ่ง (class I) มีความผิดปกติหรือต าหนิได้เล็กน้อย ด้านรูปทรงและ สีของผล3. ชั้นสอง (class II) ผลละมุดในชั้นนี้มีความผิดปกติหรือต าหนิได้บ้าง ด้านรูปทรงและสีของผลเกิน 10% ของพื้นที่ผิวของผลละมุด ขนาดผลของละมุดตามมาตรฐานของส านักมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร แห่งชาติพิจารณาจากน้ าหนักต่อผลหรือจ านวนผลต่อกิโลกรัม อย่างใดอย่างหนึ่ง (ตาราง 6) ในขณะที่มาตรฐาน ของอาเซียนได้ก าหนดขนาดของละมุดที่มีขนาดใหญ่กว่ามาตรฐาน มกษ. (ตาราง 7) ตำรำง 6 ขนาดผลของละมุดตามมาตรฐานของส านักมาตรฐานสินค้าเกษตรปี 2554 รหัสขนาด น้ าหนักต่อผล (กรัม) จ านวนผลต่อกิโลกรัม 1 >105 >9 2 >90-105 9-11 3 >75-90 11-13 4 >60-75 13-16

25 รหัสขนาด น้ าหนักต่อผล (กรัม) จ านวนผลต่อกิโลกรัม 5 >45-60 16-22 6 30-45 22-33 ที่มา : มาตรฐานสินค้าเกษตร (ละมุด) ปี 2554 ตำรำง 7 ขนาดผลของละมุดตามมาตรฐานของอาเซียน 2011 รหัสขนาด น้ าหนัก/ผล (กรัม) 1 >190 2 >165-190 3 >140-165 4 >115-140 5 >90-115 6 65-90 7 30-65 ที่มา : ASEAN STANDARD FOR SAPODILLA 2011 2. ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ ล ำต้น ละมุด เป็นไม้ผลยืนต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ ล าต้นสูงประมาณ 5-15 เมตร แตกกิ่งตั้งแต่ระดับ ล่างของล าต้น ล าต้นมีกิ่ง และใบมาก จนแลดูเป็นทรงหนาทึบ กิ่งมีลักษณะเหนียวไม่หักง่าย ล าต้น กิ่ง และใบ เมื่อมีแผลจะมีน้ ายางสีขาวไหลออกมา ส่วนเปลือกล าต้นยังเล็กมีสีน้ าตาล เมื่อต้นโตเต็มที่จะมีสีเทา ใบ ใบละมุดจะแตกออกบริเวณปลายกิ่ง แตกใบแน่นเป็นจ านวนมาก ใบมีลักษณะรีค่อนข้างหนาและ มีสีเขียวเข้ม แผ่นเรียบ ปลายใบแหลมเล็กน้อย ใบยาวประมาณ 10-15 เซนติเมตร กว้าง 3-7 เซนติเมตร แผ่น ใบด้านบนค่อนข้างเป็นมัน ส่วนใต้ใบเป็นสีอ่อนกว่า (ภาพ 1) ก. ข. ค. ง. ภำพ 1 ลักษณะล าต้นละมุด (ก.) ต้นเละมุดอายุ 3 ปี (ข.) ต้นอายุมากกว่า 20 ปีลักษณะใบละมุด (ค.) ใบ กว้าง สั้น สีเขียวเข้ม (ง.) ใบแคบ ทรงรีสีเขียวอ่อน ดอก ดอกละมุด เป็นดอกสมบูรณ์เพศที่มีเกสรทั้ง 2 ชนิด ในดอกเดียวกัน ดอกจะออกใกล้ปลายกิ่งตามซอกใบ ดอกมีขนาดเล็กประมาณ 1 ซนติเมตร ประกอบด้วยกลีบเลี้ยง 2 ชั้น แต่ละชั้นมี 3 กลีบ ถัดมาเป็นกลีบดอก จ านวน 12 กลีบ ด้านในมีเกสรตัวผู้ 6 อัน และมีรังไข่อยู่เหนือกลีบดอก(ภาพ 2)

26 ก. ข. ภำพ 2 ลักษณะดอกละมุด (ก.) ดอกบานเต็มที่ (ข.) ดอกเริ่มบาน - ดอกละมุดจะทยอยออกเป็นรุ่นๆตลอดทั้งปี ซึ่งจะออกดอกได้ประมาณ 4 รุ่น โดยดอกรุ่นแรกจะออก ในช่วงเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม และเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ในช่วงเดือนธันวาคม-มกราคม - การออกดอกแต่ละช่วงจะใช้ระยะเวลาประมาณ 30 - 35 วัน - ดอกละมุดใช้เวลาจากช่วงดอกตูมจนถึงดอกบานประมาณ 20 - 24 วัน - หลังจากดอกบานจนกระทั่งผลแก่เริ่มเก็บเกี่ยวได้ใช้เวลาประมาณ 7-8 เดือน ผล ผลละมุดจัดเป็นผลพวก berry ลักษณะของผลมีหลายแบบต่างกันตามสายพันธุ์ เช่น รูปไข่ยาวรี หรือกลม แล้วแต่พันธุ์ ขนาดผลยาวประมาณ 3-8 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-6 เซนติเมตร ผลหนัก ประมาณ 100- 250 กรัม ผลอ่อนเปลือกสีเขียว จนเปลี่ยนเป็นสีน้ าตาลอมเหลือง และเมื่อสุกจะมีสีน้ าตาล และมีไคลสีน้ าตาลเกาะที่ผิว เปลือกผลบางมาก ส่วนเนื้อขณะผลอ่อนจะมีสีเหลืองอมขาวและมียางสีขาว เมื่อ สุกจะมีสีน้ าตาลปนแดง หากยังไม่สุกมากจะมีความกรอบหวาน แต่เมื่อสุกมากเนื้อจะนุ่ม และให้รสหวานจัด และมีกลิ่นหอมคล้ายกลิ่นดอกมะลิ(ภาพ 3) ก. ข. ค. ภำพ 3 ลักษณะผลของละมุด (ก.) ผลทรงรี (ข.) ผลทรงกระสวย (ค.) ผลทรงกลม เมล็ด เมล็ดละมุดจะอยู่บริเวณกลางผล มีลักษณะรูปไข่ หัวและท้ายแหลม ยาวประมาณ 1-2 เซนติเมตร เปลือกเมล็ดแข็งค่อนข้างหนาและเป็นมัน มีสีน้ าตาลแก่หรือสีด า แต่ละผลจะมีตั้งแต่ 1-6 เมล็ด หรือมากกว่าหรือบางผลอาจไม่พบเมล็ดเลย (ภาพ 4)

27 ก. ข. ภำพ 4 ลักษณะการติดเมล็ด (ก.) ติด 3 เมล็ด (ข.) ติด 1 เมล็ด 3. เทคโนโลยีกำรผลิต กำรปลูกละมุด การปลูกละมุดของเกษตรชาวสวนละมุดในจังหวัดสุโขทัย มีการปลูกกันมาตั้งแต่อดีตตั้งแต่สมัยกรุง สุโขทัยเป็นราชธานีแล้ว โดยมีการปลูกเป็นพืชสวนหลังบ้านเพื่อรับประทานภายในครัวเรือน จนถึงปัจจุบันก็ยัง มีการปลูกกันมากในแถบริมฝั่งแม่น้ ายม ตั้งแต่อ าเภอสวรรคโลกไล่ลงมาถึงอ าเภอศรีส าโรง การปลูกมีทั้งการ ปลูกเป็นสวนไม้ผลเดี่ยว ๆ หรือปลูกเป็นสวนผสมผสานซึ่งมีพืชแซมอื่น ๆ เช่น มะปราง มะยงชิด มะม่วง หรือ เพกาและบางสวนยังมีพืชผักสวนครัว หรือพืชสมุนไพรที่ต้องการแสงร าไรปลูกร่วมภายในสวน พันธุ์ละมุดที่ ปลูกร้อยละ 95 จะเป็นพันธุ์มะกอกหรือชื่อที่ชาวสวนละมุดเรียกว่า ละมุดกรอบ ส่วนอีก 5% ก็จะเป็นพันธุ์ ละมุดพันธุ์อื่นที่มีผลค่อนข้างโต ได้แก่ พันธุ์สาลี่ (ไข่จระเข้) ไข่ห่าน กระสวย ตาขวัญ (กรมส่งเสริมการเกษตร. 2564) การปลูกละมุดของชาวสวนทั่วไปจะปลูกแบบไม่มีการจัดระยะให้เป็นรูปแบบชัดเจนแต่จะมีระยะห่าง ระหว่างต้นและระหว่างแถว ตั้งแต่ 8x8, 7x8 หรือ 6x8 เมตร การเตรียมแปลงปลูก หากปลูกจ านวนมากหรือ ปลูกเป็นแปลงใหญ่จะต้องเตรียมดินด้วยการไถพรวนดิน พร้อมก าจัดวัชพืชเสียก่อน หลังจากนั้น ท าการขุด หลุมปลูกขนาดหลุมกว้างประมาณ 50 ซม. ยาว 50 ซม. หรือขุดเป็นวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 50 ซม. ลึก ประมาณ 30 ซม. หลังจากนั้น รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอก อัตรา 500 กรัม/หลุม หรือประมาณ 3-5 ก ามือ/หลุม ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กรัม/หลุม แล้วคลุกผสมให้เข้ากันกับดินใส่ลงในก้นหลุม โดยให้ก้น หลุมสูงขึ้นมาเล็กน้อยพอเหมาะส าหรับน าต้นกล้าลงปลูก(ภาพ 5) ก ข ค ภำพ 5 การย้ายปลูกละมุดและการค้ ายัน (ก) ละมุดอายุ 1 ปี (ข) การค้ าต้นละมุดด้วยโครงไม้ไผ่เพื่อป้องกัน การโยกของต้นละมุด (ค) การใส่ปุ๋ยและการก าจัดวัชพืช กำรดูแลรักษำต้นละมุด

28 1 การใส่ปุ๋ย เกษตรกรผู้ปลูกละมุดจังหวัดสุโขทัยจะไม่มีการใส่ปุ๋ยให้กับละมุด เพราะเชื่อว่าดินใน บริเวณสวนละมุดมีธาตุอาหารเพียงพอส าหรับละมุดแล้วเนื่องจากในฤดูน้ าหลาก สวนละมุดจะถูกน้ าท่วมขัง และน้ าก็จะพัดพาตะกอนมาสะสมในสวนละมุด แต่ความจริงแล้วธาตุอาหารดังกล่าวยังไม่เพียงพอกับความ ต้องการของละมุดเลย ซึ่งสังเกตได้จากขนาดของผลละมุดในสวนทีไม่มีการใส่ปุ๋ยจะมีขนาดเล็กกว่าสวนทีใส่ปุ๋ย ดั้งนั้นถ้าจะผลิตละมุดให้ได้ผลที่มีคุณภาพได้ขนาดผลตรงตามความต้องการของผู้บริโภค จึงสมควรใส่ปุ๋ย ประมาณ 2 ครั้งต่อปีโดยการใช้ปุ๋ยคอกร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในอัตรา 6- 2-3 กิโลกรัมต่อต้น ถ้าต้นยังเล็กอยู่และยังไม่ได้ผลควรใส่ ในต้นฤดูฝน 1 ครั้ง ส่วนละมุดที่ให้ผลผลิตแล้วให้ แบ่งใส่ช่วงต้นฤดูฝน 1 ครั้ง และใส่อีกครั้งหนึ่งเมื่อติดผลขนาดหัวแม่มือแล้วหรือประมาณ 90 วันหลังออกดอก จ านวนปุ๋ยที่ใส่ในปีแรกให้ใส่ครึ่งกิโลกรัม ปีที่ 2 ใส่หนึ่งกิโลกรัม ปีที่3 ใส่สองกิโลกรัม และปีที่ 4 -5 ใส่เพิ่มขึ้น อีกปีละหนึ่งกิโลกรัม จะท าให้ผลละมุดมีขนาดผลโตขึ้นมากกว่าการไม่ใส่ปุ๋ย กำรให้น ำละมุด เกษตรกรผู้ปลูกละมุดจังหวัดสุโขทัยส่วนใหญ่จะไม่มีการให้น้ าละมุด โดยเชื่อว่าน้ าฝนที่ตกในฤดูกาล และน้ าที่ไหลบ่ามาท่วมขังในสวนละมุดเมื่อต้นฤดูนั้นเพียงพอต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของละมุด แล้ว แต่ความจริงแล้วละมุดนั้นมีความต้องการน้ ามากในระยะที่มีการผลิตดอกและติดผลเพื่อขยายขนาดของ ผลให้มีขนาดใหญ่ขึ้น แม้ละมุดจะทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดีก็ตาม แต่ในฤดูแล้งบางปีความชื้นที่มีอยู่หรือน้ า ในดินมีไม่เพียงพอ ก็จะส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและการติดดอกออกผลของละมุดได้เหมือนกัน ดังนั้น จึงสมควรมีการให้น้ าละมุดเพื่อรักษาความชุ่มชื้นไว้เสมอ และควรหาหญ้าหรือเศษฟางมาช่วยคลุมโคนต้นเพื่อ รักษาความชุ่มชื้นไว้ด้วย ละมุดจึงจะเจริญเติบโตโดยไม่ชะงักงัน โดยเฉพาะช่วงระยะติดผลก็มีความจ าเป็นที่ จะต้องให้ดินมีความชุ่มชื้นอยู่เสมอ ผลละมุดที่ได้จึงจะเจริญเติบโตดีและมีรสหวาน กรอบ กำรตัดแต่งกิ่งและทรงพุ่มละมุด เกษตรกรจะท าการตัดแต่งกิ่งละมุดหลังจากเก็บผลผลิตแล้ว โดยจะตัดแต่งเอาเฉพาะกิ่งที่มีร่องรอย การท าลายจากโรค แมลง จะไม่นิยมตัดแต่งทรงพุ่ม ส่งผลท าให้ได้ผลผลิตที่มีขนาดเล็กและมีแมลงท าลายผล จุดประสงค์ของการตัดแต่งกิ่งเพื่อลดความแน่นทึบของทรงพุ่มซึ่งเป็นที่สะสมของโรคและแมลง เพื่อกระตุ้นให้ เกิดตาดอก และบังคับทรงต้นไม่ให้สูงหรือแน่นเกินไปเพื่อสะดวกต่อการเข้าไปปฏิบัติงาน เนื่องจากภายในทรง พุ่มละมุดนั้นมีความชื้นสูงจึงเป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง หากสวนไหนมีการตัดแต่งทรงพุ่มเพื่อให้ แสงแดดส่องถึงพื้นดินก็จะหมดปัญหาเรื่องของศัตรูพืชรบกวน(ภาพ 6) ดังนั้น การปลูกในเชิงพานิชย์หรือปลูก เป็นการค้าจึงมีการตัดแต่งทรงพุ่มเป็นครั้งคราว เป็นการจัดการทรงพุ่มให้อยู่ขนาดปานกลาง จึงจ าเป็นจะต้อง ตัดแต่งทุกปีเพื่อให้ได้ผลผลิตปริมาณมากและมีคุณภาพดี การการตัดแต่งทรงพุ่มเป็นการกระตุ้นกลไกการ ท างานในระบบต่างๆ ของพืชเพื่อให้ผลิตกิ่ง ก้าน ใบ ดอก และผลได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ โดยมี หลักการคือ การจัดต าแหน่งของกิ่งและตัดบางส่วนของพืชออกเพื่อปรับปรุงรูปทรงของพืช เพิ่มการออกดอก ติดผล และปรับปรุงคุณภาพของผล นอกจากนี้ผลผลิตทีได้ยังมีจ านวนมากและมีคุณภาพดี เพราะหลังตัดแต่ง ทรงพุ่มแล้วเมื่อละมุดจะผลิตใบชุดใหม่ออกมาก็จะผลิตช่อดอกออกมาพร้อมด้วย

29 ก ข ค ภำพ 6 การตัดแต่งทรงพุ่มละมุด (ก) การตัดแต่งทรงปิด-เปิดกลาง (ข) ตัดแต่งทรงเปิดแกนกลาง (ค) การตัด แต่งทรงสี่เหลี่ยม 4. กำรป้องกันก ำจัดศัตรูพืช 5.1 แมลงศัตรูที่ส ำคัญและกำรป้องกันก ำจัด 1) หนอนเจำะกิ่งและล ำต้น ชื่อวิทยำศำสตร์ Zeuzera coffeae ลักษณะและกำรท ำลำย ตัวหนอนเจาะเข้าท าลายกิ่งท าให้หัก และเจาะส่วนของล าต้นด้วย หนอนมัก หลบซ่อนตัวอยู่ภายในกิ่งหรือล าต้น หนอนวัยสุดท้ายมีล าตัวสีแดงเข้มล าตัวยาว 4-7 เซนติเมตร ระยะหนอน นาน 5-7 เดือน เข้าดักแด้ในกิ่งหรือล าต้น ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน มีขนสีครีมขึ้นปกคลุมตามล าตัวและปีก มีจุดสีด ากระจายบนปีกคู่หน้า และขอบปีกคู่หลัง เพศเมียโตกว่าเพศผู้ ผีเสื้อเพศเมีย 1 ตัววางไข่ได้สูงสุดเกือบ 1,000 ฟอง อัตราการมีชีวิตอยู่รอดต่ า มีศัตรูธรรมชาติเป็นแตนเบียนหนอน 2 ชนิด และเชื้อรา ช่วงเวลำระบำด ช่วงเดือนกันยายน-ตุลาคม ระยะหนอนนาน 5-7 เดือน กำรป้องกันก ำจัด หมั่นท าความสะอาดสวน ตัดแต่งกิ่งหลังการเก็บเกี่ยวผล เก็บและเผาท าลายกิ่ง แห้ง หรือกิ่งที่มีหนอนเจาะอยู่ภายใน ใช้ไส้เดือนฝอย Steinerema carpocapsae อัตรา 2 ล้าน ตัวต่อน้ า 1 ลิตร ฉีดเข้ารูนอนเจาะตามกิ่ง และล าต้น และพ่นตามขุยทางเดินของหนอน ควรใช้ในเวลาเย็นและมีความชื้น สูง ใช้สารฆ่าแมลง ฉีดเข้ารูหนอนเจาะ 1-2 ซีซี หรือพ่นทางเดินหนอนอัตรา 30 มิลลิลิตรต่อน้ า 20 ลิตร 2) เพลี ยหอย ชื่อวิทยำศำสตร์ Pinnaspis strachiani (Cooley) ลักษณะและกำรท ำลำย เป็นแมลงชนิดปากดูดน้ าเลี้ยงพืช อยู่เป็นกลุ่ม โดยเกาะแน่นตามใบ ซอกกาบ ใบ ล าต้น ท าให้พืชชะงักการเจริญเติบโต ทรุดโทรม ใบมีสีเหลือง ช่อดอกสั้น ขนาดดอกเล็กลงอย่างมาก และ ถ้ามีการท าลายมาก ๆ พืชอาจเหี่ยวจนถึงตายได้ ช่วงเวลำระบำด ระบาดมากในช่วงเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม ส่วนฤดูกาลอื่นก็พบกระจายอยู่ทั่วไปไม่มาก กำรป้องกันก ำจัด ก่อนน าพืชจากที่อื่นเข้ามาปลูกในส่วน ควรตรวจดูไม่ให้มีเพลี้ยหอยติดไป หมั่น ตรวจดูโดยเฉพาะในสวน ถ้าพบเพลี้ยหอยก็แยกมาท าการรักษา หรือถ้าเป็นมาก ๆ ก็ควรเผาทิ้งเสีย ใช้ยาฆ่ามด เพื่อไม่ให้มีการเคลื่อนย้ายของเพลี้ยหอย เช่นสารพวกคาร์บาริล หรือไดอะซินอน ฉีดพ่นหรือราดตามรังมด ถ้า มีการระบาดท าลายไม่มากนัก ท าการรูดเพลี้ยหอยออกจากพืชแล้วท าลาย ข้อควรระวัง ที่ส าคัญห้ามใช้ไวท์ออยล์ร่วมกับยาฆ่าแมลงพวกสารคาร์บาริล เช่น S-85 จะท าให้เกิด พิษต่อพืช การฉีดพ่นให้ฉีดพ่นช่วงเย็น ถ้าฉีดตอนอากาศร้อนจะท าให้เป็นพิษกับพืชและหลังจากใช้ไวท์ออยล์ แล้วห้ามใช้สารก ามะถันหรือยาฆ่าเชื้อราที่มีก ามะถัน ในระยะ 60 วัน(ถ้าก่อนหน้าที่จะฉีดไวท์ออยล์ถ้ามีการใช้ ก ามะถันต้องเว้นระยะไม่ต่ ากว่า 2 อาทิตย์)

30 3) แมลงวันผลไม้ ชื่อวิทยำศำสตร์ Bactrocera dorsalis และ Bactrocera correcta ลักษณะและกำรท ำลำย เกิดจากแมลงวันผลไม้ตัวเมียมาวางไข่ที่ผิวหรือในเนื้อผลไม้ โดยใช้อวัยวะ วางไข่ที่เป็นปลายแหลม อยู่บริเวณก้นของมันแทงทะลุเปลือกเข้าไปในเนื้อผลไม้ แล้วก็ปล่อยไข่ของมันลงไปฝัง ไว้ในเนื้อผลไม้นั้นด้วย แมลงวันผลไม้ตัวเมียนี้ จะมาวางไข่ได้ในขณะที่ผลยังอ่อนอยู่ และในระยะจวนจะสุกแก่ แล้วด้วย และเมื่อไข่ฟักตัวเป็นหนอนก็เกือบจะพอดีหรือพอดีกับระยะที่ผลไม้นั้นสุก เนื้อนิ่มพอดีตัวหนอนซึ่งฟัก ออกมาแล้ว ก็จะเริ่มกัดกินอยู่ภายในผล โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่บริเวณรอบ ๆ ของขั้วผล ซึ่งเป็นสาเหตุส าคัญที่ท า ให้ผลร่วงหล่นเสียหาย (ภาพ 7) ช่วงเวลำระบำด ตลอดทั้งปี พบมากที่สุด ช่วงเดือนสิงหาคม กำรป้องกันก ำจัด เก็บผลละมุดที่ถูกแมลงวันผลไม้เข้าท าลาย ที่หล่นอยู่ตามโคนต้น หรือติดค้างอยู่บนต้น แล้วน าไปฝัง ดิน ไม่ปล่อยให้กลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงวันผลไม้ต่อไป ห่อหุ้มผลตั้งแต่ผลยังไม่แก่ ด้วยกระดาษสีน้ าตาลที่หนา และเหนียวพอสมควร อย่างเช่น ถุงกระดาษสี น้ าตาล หรือถุงพลาสติกใส ควรเจาะเป็นรูเล็ก ๆ ที่ก้นถุงเพื่อระบายอากาศ และระเหยไอน้ าที่อาจเกิดขึ้น ออกไปจากถุง เพื่อป้องกันถุงเปียกชื้นและเกิดเชื้อรา ควรห่อผลเมื่ออายุผล 190 วันหลังดอกบาน ภำพ 7 ผลละมุดที่ถูกแมลงวันทองเจาะท าลายและการห่อผลละมุดเพื่อป้องกันแมลงวันทอง ใช้เหยื่อพิษล่อ ก าจัดตัวแก่เต็มวัยของเจ้าแมลงวันทองนี้โดยตรงโดยการใช้ผลไม้ที่ถูกแมลงวันทองเจาะ ท าลายเน่าเสียแล้วนี้ มากองสุมไว้เป็นจุด ๆ แล้วใช้สารฆ่าแมลง เช่น พวกสารไบกอน จ านวน 20 กรัม ผสมน้ า 1 ลิตร ฉีดพ่นให้ผลไม้ที่กองล่อไว้นั้น พอแมลงวันทองมาถูกสารนี้เข้ามันก็จะถึงแก่ความตายได้ไม่ยากเลย แต่ วิธีนี้ควรท าติต่อกันไปหลาย ๆ ครั้งตลอดช่วงระยะที่มีแมลงนี้ระบาดอยู่ ใช้กรงหรือกับดัก อย่างกรงเล็ก ๆ ที่ใช้สารเมทธิลยูจินอลผสมยาฆ่าแมลง เป็นสารล่อให้แมลงวันทอง ตัวผู้บินเข้ามาติดกรง ถูกยาก็จะตายไปได้โดยง่าย ซึ่งชาวสวนปัจจุบันก็มีใช้วิธีนี้กันอยู่มาก การใช้กรงดักอย่าง ว่านี้มุ่งท าลายแต่เฉพาะแมลงตัวผู้เท่านั้น พอตัวผู้ตายไป แมลงตัวเมียไม่ได้รับการผสมพันธุ์ก็จะสูญสิ้นพันธุ์ ลด จ านวนลงได้ในที่สุด(ภาพ 8)

31 ภำพ 8 การวางกับดักอมลงวันทองในสวนละมุด 4) แมลงค่อมทอง ชื่อวิทยำศำสตร์ Hycomeces squamosus Fabricius ลักษณะและกำรท ำลำย กัดกินใบอ่อน และดอกของพืช ท าให้พืชชะงักการเจริญเติบโต และตัวดอก ไม่เจริญท าให้ไม่พร้อมส าหรับการผสมเกสร ช่วงเวลำระบำด อยู่ในช่วงต้นฤดูแล้งจนถึงต้นฤดูฝน ประมาณช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม จนถึง พฤษภาคม กำรป้องกันก ำจัด วิธีง่าย ๆ ที่ใช้ได้ทั้งในช่วงเริ่มระบาด และระบาดแล้ว คือ การจับสั่นหรือเขย่าต้น ไม่ว่าจะเป็นพืชผัก หรือไม้ยืนต้น ซึ่งเมื่อเขย่าแล้ว แมลงค่อมทองจะร่วงลงดินแน่นิ่ง จากนั้น ค่อยเก็บรวบรวมก าจัดต่อไป 2. ฉีดพ่นด้วยสารเคมีก าจัดแมลง ทั้งในระยะที่เริ่มระบาดหรือระบาดมากแล้ว ด้วยการใช้สารเคมีก าจัด แมลงจ าพวกคาร์บาริล ในอัตรา 30-45 กรัมต่อน้ า 20 ลิตร หรือสารจ าพวกคาร์บาเมท ในอัตรา 10-15 กรัมต่อ น้ า 20 ลิตร หรือสารจ าพวกอะซีเฟต 75% เอสพี ในอัตรา 30 กรัมต่อน้ า 20 ลิตร เพลี ยแป้ง ชื่อวิทยำศำสตร์ Pseudococvs sacchari Cola Takahashi ลักษณะกำรท ำลำย เพลี้ยแป้งพบระบาดท าความเสียหายต่อละมุดในแปลงปลูกทั่วไปโดยการดูดกิน น้ าเลี้ยงจากบริเวณกิ่งช่อดอกผลอ่อนผลแก่โดยมีมดด าเป็นตัวช่วยคาบพาไปตามส่วนต่าง ๆ ของพืชส่วนที่ถูก ท าลายจะแคระแกร็นนอกจากนี้เพลี้ยแป้งจะขับน้ าหวาน (honey dew) ออกมาเป็นเหตุให้ราด าเข้าท าลายซ้ า ถ้าเพลี้ยแป้งเข้าท าลายละมุดผลเล็กจะท าให้ผลแคระแกร็นไม่เจริญเติบโตต่อไปแต่ถ้าเป็นละมุดผลใหญ่ถึงแม้ จะไม่ท าให้เนื้อของละมุดเสียหายแต่ก็จะทาให้คุณภาพของผลละมุดเสียไปราคาตกและเป็นที่รังเกียจของ ผู้บริโภค กำรป้องกันก ำจัด เมื่อพบเพลี้ยแป้งระบาดในแปลงละมุดอาจใช้น้ าพ่นให้เพลี้ยแป้งหลุดไป หรือการ ใช้น้ าผสมไวท์ออยส์ อัตรา 200 มิลลิลิตรต่อน้ า 200 ลิตร จะช่วยในการก าจัดเพลี้ยแป้งได้ดีเช่นเดียวกัน และ เนื่องจากเพลี้ยแป้งแพร่ระบาดโดยมีมดพาไป การป้องกันโดยใช้ผ้าชุบสารฆ่าแมลง เช่น มาลาไธออน (มาลาไธ ออน 83% อีซี) อัตรา 200 มิลลิลิตร หรือ คาร์บาริล (เซฟวิน 85% ดับบลิวพี อัตรา 100 กรัม พันไว้ตามกิ่ง หรือการฉีดพ่นไปที่โคนต้นและกิ่งจะช่วยป้องกันมดและลดการเข้าท าลายของเพลี้ยแป้งได้มาก 5.2 วัชพืชที่ส ำคัญและกำรป้องกันก ำจัด ในแปลงปลูกละมุด ในช่วงปลูกใหม่ ๆ ต้นยังเล็กอยู่จะมีวัชพืชขึ้นมามากและรวดเร็วโดยเฉพาะพืช ตระกูลหญ้า ถ้าดูแลรักษาไม่ดีแปลงละมุดจะรกมาก มีผลให้ละมุดชะงักการเจริญเติบโต และเป็นพืชอาศัยของ โรคและแมลงศัตรูได้ วัชพืชในแปลงละมุดที่ส าคัญมีดังนี้

32 1) หญ้ำแพรก เป็นวัชพืชข้ามปีต้นเล็กเจริญเลื้อยแผ่ราบไป ตามพื้นดิน ออกรากตามข้อที่ติดแตะดิน ล าต้นสีเขียว สีม่วงหรือสีม่วงแดง มีขนตรงรอยต่อระหว่างใบและกาบใบ ใบเรียวเล็กแหลมและม้วนห่อง่าย ช่อดอกเกิดที่ส่วนยอด และแตกแยกเป็น 3-4 แฉกแต่ละแฉกยาวประมาณ 3-6 เซนติเมตร ความยาวของ ดอกเล็ก ๆ เหล่านั้นจะยาวดอกละ 2 มิลลิเมตร เกิดชิดกันไม่มีก้านดอก ออกดอกตลอดปี 2) หญ้ำแห้วหมูเป็นวัชพืชข้ามปี ประเภทใบแคบ ต้นสูง 10-60 เซนติเมตร มีหัวใต้ดิน ต้นอาจมี ไหลยาวเลื้อยไปตามผิวดิน ใบเรียบเป็นมัน เส้นกลางใบด้านหลังเป็นสัน ท าให้ด้านหน้าใบเป็นร่อง กาบใบหุ้ม โคนล าต้นจะมีสีม่วง มีใบประดับสั้นซึ่งรองรับช่อดอกอยู่ประมาณ 3-5 ใบ ช่อดอกยาว 1-3 เซนติเมตร สีม่วง อมสีน้ าตาล ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด พร้อมทั้งมี หัวอยู่ใต้ดิน 3) หญ้ำขน เป็นวัชพืชข้ามปี ประเภทใบแคบ มีล าต้นขนาดดินสอด า ผิวสีเขียว กาบใบและใบมีขน ใบยาว ต้นอาจสูงถึง 2 เมตร ส่วนใหญ่จะมีรากเกิดตามข้อของล าต้นซึ่งอยู่ในน้ าหรือที่ทอดไปตามผิวดิน ช่อ ดอกมีขนาดใหญ่สีคล้ า ชอบขึ้นตามดินที่มีความชื้นสูง หรือ ริมน้ า ขึ้นเป็นกลุ่มแพร่ระบาดอย่างหนาแน่น แพร่ พันธุ์ด้วยเมล็ดในช่วงเดือนสิงหาคม 4) ไมยรำบ เป็นวัชพืชข้ามปี ประเภทใบกว้าง ต้นมีลักษณะคล้ายเถาสีน้ าตาลแดงแผ่ไปตามพื้น ส่วน ยอดชูขึ้นข้างบน ความยาวของล าต้นประมาณ 25-100 เซนติเมตร มีหนามสั้นปลายโค้งงอ ใบเป็นใบประกอบ คือมีใบย่อยเล็ก ๆ เกิดเป็นคู่ตรงข้ามกัน ก้านใบประกอบยาว ไวต่อการสัมผัสมาก ดอกสีชมพู เกิดรวมกระจุก กลมเหมือนดอกกระถิน ก้านช่อดอกยาว ฝักเล็กอยู่เป็นกลุ่ม ฝักยาวเรียว ขอบโค้งเว้าเข้าหากันทั้งสองด้าน เมื่อแก่จะแตกให้เมล็ดกระจายแพร่ออกไป 5) ตดหมูตดหมำ เป็นพืชเถาเลื้อย มีขนสีขาวปกคลุม ใบเรียงตรงข้าม ใบผอมยาว ปลายใบแหลม ดอกมีลักษณะเป็นช่อแบบกลุ่มย่อย ออกตามง่ามใบ ช่อดอกมีกิ่งแขนง บนกิ่งแขนงมีจะดอกซึ่งมักจะออกเป็น กลุ่ม ดอกมีกลีบเลี้ยงขนาดเล็กเป็นซี่ ผลกลมรูปไข่ ทั้งส่วนกลีบดอกและผลมีขนปกคลุม ส่วนใบ ล าต้น และ รากจะมีกลิ่นแรง 6) กะทกรกป่ำ เป็นไม้เถาเลื้อยคล้ายต าลึง เถาค่อนข้างคดไปงอมา เถามีหนามเล็ก ๆ ขึ้นอยู่ห่าง ๆ โดยทั่วไป ใบเป็นใบเดี่ยว รูปใบมนโค้งผิวเรียบปลายใบแหลมโดยแยกเป็นสามแฉก ใบและเส้นใบบริเวณที่ ติดต่อกันมีสีแดงเรื่อ บริเวณใกล้โคนก้านใบมีแฉกแหลมเล็กเรียงตรงกันข้ามสลับกัน ก้านใบ มีขนาดก้านไม้ขีด ยาว 5–6 เซนติเมตร มีขนอ่อนเป็นฝอยขนาดเล็ก ดอกมีลักษณะก้านดอกยาวกว่าใบ ดอกบานออกกลมกว้าง กลีบดอกสีขาวแซมด้วยริ้วสีม่วง ผลค่อนข้างกลมขนาดปลายนิ้วมือ และห่อหุ้มด้วย “รก” ผลสุกมีสีเหลือง ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด นิเวศวิทยาและการแพร่กระจายขึ้นอยู่ตามที่รกร้างหรือขอบไร่ชายนา และบริเวณ ป่าพื้นราบ โดยเลื้อยพันกิ่งต้นไม้อื่น ๆ 7) สำบเสือ เป็นไม้ล้มลุก แตกกิ่งก้านสาขามากมายจนดูเป็นทรงพุ่ม ล าต้นและกิ่งก้านปกคลุม ด้วยขน อ่อนนุ่ม ก้านและใบเมื่อขยี้จะมีกลิ่นแรงคล้ายสาบเสือ มีล าต้น สูง 1-2 เมตร ใบเดี่ยวออกจากล าต้น ที่ข้อ แบบ ตรงกันข้าม รูปรีค่อนข้างเป็นสามเหลี่ยมขอบใบ หยัก ปลายใบแหลม ฐานใบกว้าง เรียวสอบเข้าหากัน สีเขียว อ่อน เส้นใบเห็นชัดเจน 3 เส้น มีขนปกคลุม ผิวใบทั้งสองด้าน ดอกเป็นช่อ สีขาวหรือฟ้าอมม่วง ดอกย่อย 10- 35 ดอก ดอกวงนอกบานก่อน กลีบดอก หลอมรวมกันเป็นหลอด ผลขนาดเล็ก รูปร่างเป็น ห้า เหลี่ยมสีน้ าตาล หรือด า มีหนามแข็งบนเส้นของผล ส่วน ปลายผลมีขนสีขาว ช่วยพยุงให้ผลและเมล็ดปลิวตามลม 8) หญ้ำพง เป็นพืชอายุหลายปี มีลักษณะคล้ายอ้อหรือแขม ล าต้นตั้งตรง สูง 3-4 เมตร เส้นผ่าน ศูนย์กลางล าต้น 15-20 มิลลิเมตร เนื้อไม้ในล าต้นนุ่ม ใบเป็นแบบรูปใบหอก(lanceolate) ใบมีขนาดใหญ่ ยาว 170-190 เซนติเมตร กว้าง 3.5-4.5 เซนติเมตร หน้าใบมีขนปกคลุมเล็กน้อย ลูบด้วยมือไปปลายใบผิวใบเรียบ ถ้าลูบย้อนกลับจะสากมือ หลังใบไม่มีขน เส้นกลางใบ (mid rib) สีขาวนวลเด่นชัด กาบใบไม่มีขน ยาว 25.5- 37.0 เซนติเมตร ลิ้นใบ(ligule)เป็นขอบชายครุยเป็นเส้น (fringe of hair) ออกดอกช่วงเดือนธันวาคมถึง

33 มิถุนายน ช่อดอกออกที่ปลายยอดแบบช่อแยกแขนง (panicle) มีขนแบบเส้นไหมสีขาวเงิน ช่อดอก (inflorescence) มีขนาดใหญ่และหนัก ยาว 170-220 เซนติเมตร ส่วน Head ของช่อดอกยาว 50.0-75.5 เซนติเมตร ช่อดอกจะลู่เอนไปด้านใดด้านหนึ่ง กลุ่มช่อดอกย่อย (spikelet) มีดอกย่อย (floret) 4-8 ดอก ดอก ล่างสุดเป็นดอกหมัน (infertile) กลีบดอกมีขนยาวตรงเส้นนูนของกลีบ 2 เส้น 9) ผักเสี ยนผีเป็นพรรณไม้ล้มลุกที่มีขนาดเล็กหรือจัดอยู่ในจ าพวกหญ้า แตกกิ่งก้านสาขาตามล าต้น จะมีขนอ่อนสีเหลืองปกคลุมทั้งต้นและมีเมือกเหนียวๆอยู่ภายในล าต้น ใบ เป็นใบรวม ช่อหนึ่งจะมีใบอยู่ 3 - 5 ใบ ซึ่งจะออกสีเขียวอมเหลือง ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปไข่ เนื้อในบางนุ่ม ตามผิวใบจะมีขนอ่อนๆ ปกคลุม เช่นกัน มีกลิ่นฉุน กว้าง 0.5 - 1 นิ้ว ยาว 0.5 - 2 นิ้ว ดอก ออกเป็นช่อ อยู่ตามง่ามใบ ช่อดอกยาวแหลม ดอกมี สีเหลืองบางที่ปลายดอกแหลมและมีขนปกคลุมอยู่เล็กน้อย ผล เป็นฝักยาว คล้ายฝักถั่วเขียว แต่จะมีขนาดเล็ก กว่ามาก ตรงปลายผลแหลม ผลกว้างประมาณ 2 - 4.5 มิลลิเมตร ยาว 1 - 4 นิ้ว เมล็ด สีน้ าตาลแดง ผิวย่น ใน 1 ผล มีเมล็ดจ านวนมาก เมล็ดมีรูปร่างกลม ขนาดประมาณ 2 มิลลิเมตร 10) หญ้ำปล้อง เป็นพืชวงศ์หญ้าและพืชหลายฤดู สูงมากกว่า 2 เมตร ออกรากตามข้อ บริเวณปล้อง มีเนื้อเยื่อพิธ (pith) ซึ่งมีรูพรุน ใบเป็นเส้นตรงยาว 15-30 เซนติเมตร ดอกช่อ เป็นรูป ทรงกระบอก ยาว 15- 20 เซนติเมตร ขยายพันธุ์ด้วยการแตกหน่อและเพาะเมล็ด การสังเคราะห์ด้วยแสงใช้การตรึงคาร์บอน ชอบ ขึ้นในดินที่ชื้นแฉะหรือมีน้ าขัง หรือในท้องนา 11) หญ้ำตีนตุ๊กแก ไม้ล้มลุก ทอดนอนตามพื้น ล าต้นมีขน ใบเดี่ยว เรียงรอบข้อหรือเรียงสลับ รูป ขอบขนานหรือรูปไข่กลับยาว 0.5-2 เซนติเมตร กว้าง 0.2-1 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ฐานใบเฉียง ขอบใบ หยักมน หรือหยักซี่ฟัน ผิวใบทั้งสองด้านมีขน แต่ผิวใบด้านล่างมีหนาแน่นกว่า ดอกเดี่ยว ออกที่ซอกใบ ก้าน ดอกสั้นหรือไม่มีก้านดอก กลีบเลี้ยง เชื่อมกันที่ฐาน เล็กน้อยปลายแยกเป็น 4 แฉก แต่ละแฉกรูปใบหอก ขนาดแตกต่างกันเล็กน้อย ยาว 1-3 มิลลิเมตร กว้าง 0.3-1 มิลลิเมตร ผิวด้านนอกมีขน กลีบดอกสีขาวหรือสี เหลืองอ่อน รูประฆัง เชื่อมกันเป็นหลอดที่ฐานยาว 1-1.5 มิลลิเมตร ปลายแยกเป็น 4 แฉกเล็กน้อย แต่ละ แฉกยาว 0.1-0.2 มิลลิเมตร สูงกว่ากลีบเลี้ยงเล็กน้อย เกสรเพศผู้มี 4 อัน ติดที่กลางหลอดกลีบดอก อับเรณู รูปกลม ยาว 0.1-0.2 มิลลิเมตร ติดกับก้านชูเกสรที่ด้านหลัง ก้านชูเกสรเพศเป็นแท่งยาว 0.3-0.5 มิลลิเมตร เกสรเพศเมีย รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รูปใบหอก 2 อันประกบกัน แต่ละอันยาว 0.5-1 มิลลิเมตร ก้านชูเกสรยาว 0.1-0.2 มิลลิเมตร ยอดเกสรเพศเมีย แยกเป็น 2 แฉกแต่ละแฉก รูปรียาว 0.05-0.1 มิลลิเมตร ผลรูปหอก 2 อันประกบกัน กว้าง 1-3 เซนติเมตร ด้านข้างของผลมีจะงอยเล็กน้อย ผิวมีขน มีกลีบเลี้ยงหุ้มผล 12) หญ้ำยำง พืชล้มลุก มีระบบรากแก้วล าต้นตั้งตรง กลางสูงประมาณ 30-50 ซม. ตามล าดับ ต้นมี ขนอ่อนปกคลุม มียางสีขาว ล าต้นมีสีม่วงแดง ทรงพุ่มต้นโปร่ง ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกจากล าต้นแบบสลับ ยกเว้นใบคู่ล่างสุดกับคู่บนสุดจะออกจากล าต้นในลักษณะตรงข้าม ใบส่วนมากมีรูปรี หรือรูปไข่ ปลายใบ แหลม ขอบใบอาจจะเรียบหรือมีจักเล็กๆอาจจะมีขึ้นปกคลุมผิวใบ ขอบใบอาจจะเรียบหรือมีจักเล็ก ๆ อาจจะ มีขนขึ้นปกคลุมผิวใบ ก้านใบมีสีม่วงแดงและมีขนขึ้นปกคลุม ออกดอกที่ปลายยอดเป็นกลุ่ม ประกอบด้วย ดอกตัวผู้ และดอกตัวเมีย มีใบเขียว ดอกย่อยจะมีก้านดอกสั้น ผล เป็นชนิดแคปซูล รูปร่างกลมไม่มีขน ผล แก่จะแตกออกเป็น 3 กลีบ แต่ละกลีบมี 1 เมล็ด เมล็ดมีรูปร่างกลมมีสันขรุขระมีลักษณะเป็นปลายแหลมอยู่ ข้างหนึ่ง เมล็ดมีสีน้ าตาลหรือด า 13) น ำนมรำชสีห์ไม้ล้มลุกขนาดเล็ก ล าต้นมีขนสีน้ าตาลปนเหลือง ใบ ใบเรียงตรงข้าม ใบเดี่ยว รูป รี ปลายใบแหลม โคนใบสอบเบี้ยวเล็กน้อย ขอบใบหยักฟันเลื่อย ผิวใบมีขนทั้งสองด้าน ดอก ดอกช่อออกตาม ซอกใบ ดอกแยกเพศ ไม่มีกลีบดอกและกลีบเลี้ยง ใบประดับเป็นรูปถ้วยสีเขียว เกสรตัวผู้มี 5 อัน เกสรตัวเมีย มี 1 อัน รังไข่รูปกลมแกมสามเหลี่ยม มีท่อรังไข่ 3 อัน ผล ผลแห้งแตกได้ 3 พู ผลกลม กำรป้องกันก ำจัดวัชพืช

34 1. ใช้แรงงานหรือเครื่องจักรกล ตัดวัชพืชระหว่างแถว และระหว่างต้นต้นละมุด ก่อนที่วัชพืชจะออก ดอก 2. ควรคลุมดินด้วยฟางข้าว หรือเศษวัชพืช ในรัศมีของทรงพุ่ม รอบ ๆ ต้นละมุด เพื่อป้องกันการงอก ของวัชพืช และให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหน้าดิน 3. ปลูกพืชคลุมดิน โดยปลูกพืชที่มีระบบรากตื้น และสามารถให้อินทรีย์วัตถุเป็นพืชคลุม บ ารุงดิน หรือพืชเสริมรายได้ ได้แก่ พืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วพร้า ตระกูลแตง เช่น แตงกวา ฟักทอง ฟักเขียว ตระกูลพริกมะเขือ เช่น พริกชี้ฟ้า พริกขี้หนู มะเขือยาว มะเขือเปราะ และพืชผักอื่น ๆ เช่น แมงลัก ผลิตเมล็ด และมันเทศ เป็นต้น 4. ใช้สารเคมีก าจัดวัชพืช วัชพืชฤดูเดียวใช้สารกลูโฟซิเนตแอมโมเนีย อัตรา 200-250 มิลลิลิตรต่อ น้ า 20 ลิตร ส่วนวัชพืชข้ามปีใช้สารกลูโฟซิเนตแอมโมเนีย อัตรา 400-500 มิลลิลิตรต่อน้ า 20 ลิตร พ่นก่อน วัชพืชออกดอก เฉพาะบริเวณที่มีวัชพืช ระวังละอองสารสัมผัสต้น และใบชองละมุดด้วย 5. กำรเก็บเกี่ยวเทคโนโลยีหลังกำรเก็บเกี่ยวและกำรตลำด 5.1 กำรเก็บเกี่ยว ละมุดเป็นพืชที่ออกดอกและผลตลอดทั้งปี ดังนั้นวิธีการเก็บเกี่ยวผลผลิตละมุดต้องอาศัยความช านาญ ของผู้เก็บ การสังเกตผลละมุดว่าพร้อมเก็บเกี่ยวได้แล้วหรือไม่ โดยการสังเกตลักษณะต่างๆ เช่น ผลที่มีขนาด ใหญ่ ผิวจะเป็นสีออกเหลืองจ าปาแต่ถ้าผิวยังเขียวสดแสดงว่ายังเป็นผลอ่อน ผลแก่เมื่อแช่น้ าแล้วผลจะจม เป็น ต้น การเก็บเกี่ยวผลละมุดจากต้น ผลที่อยู่ในระดับไม่สูงมาก สามารถใช้มือหรือกรรไกรตัดผล ส่วนผลที่ อยู่สูงขึ้นไปต้องใช้ตระกร้อสอย เมื่อเก็บผลมาแล้วควรน ามาล้างให้สะอาด ผึ่งให้แห้งจากนั้นท าการคัดขนาด ผล โดยแบ่งออกเป็น 3 ขนาด คือ ใหญ่ กลาง และเล็ก คัดผลที่มีรอยช้ าหรือมีต าหนิออก ส าหรับเกษตรกรที่มี การผลิตละมุดเป็นจ านวนมากส่งพ่อค้ารายใหญ่ การล้างผลละมุดต้องท าในปริมาณมากและต้องใช้ความ รวดเร็ว สามารถล้างด้วยการใช้กรงหุ้มไนร่อนติดตั้งมอเตอร์เมื่อน าผลละมุดใส่กรงแล้วเปิดสวิทย์ เมื่อมอเตอร์ ท างานจะหมุนกรงไปรอบ ๆ เพื่อให้ผลละมุดเกิดการเสียดสีกันท าให้คอร์ก (crok) ซึ่งเป็นขนหยาบแข็งทั่วผล หรือที่ท้องถิ่นเรียกว่าไคล หลุดออกไป รูปแบบการเก็บเกี่ยวผลละมุดของเกษตรกร แบ่งออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ รูปแบบแรกเป็นการเลือกเก็บ ผลผลิตละมุดที่อยู่ในระยะสุกแก่ ท าให้ได้ละมุดที่มีคุณภาพจ าหน่ายได้ราคาสูง ซึ่งเป็นรูปแบบที่กลุ่มเกษตรกร เจ้าของสวน ปฏิบัติ โดยจะน าละมุดที่เก็บเกี่ยวได้มา ล้าง บ่ม และจ าหน่ายเอง รูปแบบที่สอง เป็นการขายแบบ ตกลงราคาแบบเหมาให้กับพ่อค้าท้องถิ่น การเก็บเกี่ยวจะเป็นการเก็บผลละมุดให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่ตกลง กัน จึงเป็นการเก็บเกี่ยวผลผลิตแบบรวมทั้งผลแก่และผลอ่อน ท าให้ได้ผลผลิตละมุดที่บางส่วนมีคุณภาพไม่ดี การเก็บเกี่ยวรูปแบบนี้จะท าให้เกษตรกรขายผลผลิตได้ในราคาถูก 5.2 กำรล้ำงและกำรบ่มละมุด หลังจากเก็บผลละมุดแล้วเกษตรกรจะน าผลละมุดมาแช่ในอ่างน้ าและท าการล้างละมุดเพื่อขัดไคลที่ผิว ผลและเป็นการล้างน้ ายางออกจากผลละมุด แล้วน าขึ้นมาผึ่งลมให้แห้ง จากนั้นก็ท าการย้อมสีเพื่อให้ผิวละมุดมี สีสวยสม่ าเสมอ และไม่มีรอยช้ า เสร็จแล้วจึงน าผลละมุดไปบ่มด้วย แก็สแคลเซี่ยมคาร์ไบด์ หรือ สารเอทิฟอน ประมาณ 2 – 3 คืน เมื่อครบก าหนดจึงน าผลผลิตออกมาจ าหน่ายได้ ขั้นตอนการบ่ม เกษตรกรบางรายใช้วิธีบ่มแบบธรรมชาติ โดยน าผลละมุดใส่กล่องที่มีกระดาษรองแล้ว ปิดฝา รอ 2-4 วันละมุดจะทยอยสุก นอกจากนี้ยังภูมิปัญญาชาวบ้านใช้ใบก้ามปูช่วยเร่งให้ละมุดสุกอีกด้วย แต่

35 ที่นิยมคือบ่มด้วยแก๊สบ่มผลไม้(เอททีลีน) ซึ่งการบ่มด้วยวิธีนี้จะท าให้ละมุดสุกพร้อมกันทั้งกล่องและง่ายต่อการ ส่งตลาดเพื่อจ าหน่าย บรรณำนุกรม กรมส่งเสริมการเกษตร. 2564. สถานการณ์การปลูกพืชของสุโขทัย ปี 2554-2563. สารสนเทศการผลิต ทางด้านเกษตร. ค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2564. จาก https://production.doae.go.th/service/data-state-product/index. กรมอนามัย. 2544. ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. กรมอนามัย. หน้า 42 กลุ่มบริการส่งออกสินค้าเกษตร. 2564. ข้อมูลการส่งออกสินค้าเกษตรไป ต่างประเทศ ปี 2554-2563 (เฉพาะที่มีใบรับรองสุขอนามัยพืช) ส านักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กระทรวง เกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพมหานคร. ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2555. มาตรฐานสินค้าเกษตร: ประกาศใน ราชกิจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม 129 ตอนพิเศษ 12 ง. สุเมษ เกตุวราภรณ์. 2537. เทคโนโลยีการจัดการสวนผลไม้. ค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2564. จาก http://www. champtechno.blogspot.com/2008/02/blog:post.22 html.

บทที่ 3 กล้วยไข่ 1. สถำนกำรณ์กำรผลิตและกำรตลำด รายงานสถิติการเกษตร ปี 2559-2563 จังหวัดก าแพงเพชร พื้นที่ปลูกกล้วยไข่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ใน ปี 2560-2561 และลดลงใน ปี 2562-2563 (ภาพที่ 1) ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้เพิ่มขึ้นใน ปี 2560 โดยเพิ่มขึ้น สูงสุดใน ปี 2561 และลดลงต่อเนื่องใน ปี 2562-2563 (ภาพที่ 2) ซึ่งแตกต่างจากผลผลิตเฉลี่ยสูงสุดใน ปี 2559 ลดลงต่ าสุดใน ปี 2560 จากนั้นเพิ่มมากขึ้นอีกใน ปี 2561 และลดลงอย่างต่อเนื่องใน ปี 2562-2563 (ภาพที่ 3) เมื่อพิจารณาเป็นรายอ าเภอ พบว่า อ าเภอเมืองก าแพงเพชร พื้นที่ปลูกมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นใน ปี 2560-2561 ลดลงใน ปี 2562 และเพิ่มขึ้นใน ปี 2563 ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นใน ปี 2560- 2561 และลดลงในปี 2562-2563 ผลผลิตเฉลี่ยมีแนวโน้มลดลงใน ปี 2560 เพิ่มขึ้นใน ปี 2561-2652 และ ลดลงใน ปี 2563 โดยจัดเป็นอ าเภอที่มีพื้นที่ปลูก ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ และผลผลิตเฉลี่ยมากที่สุดในจังหวัด (ตาราง 1 และ 2) ในขณะที่อ าเภอลานกระบือมีพื้นที่ปลูก ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ และผลผลิตเฉลี่ยน้อยที่สุดใน จังหวัด (ตาราง 2) ด้วยความอร่อยมีเอกลักษณ์และความมีชื่อเสียงของกล้วยไข่ก าแพงเพชร จึงได้รับการยอมรับจาก ผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ จนกลายมาเป็นพืชสัญลักษณ์ประจ าจังหวัด และเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัด ก าแพงเพชรดังค าขวัญประจ าจังหวัดที่ว่า “กรุพระเครื่อง เมืองคนแกร่ง ศิลาแลงใหญ่ กล้วยไข่หวาน น้ ามัน ลานกระบือ” ประกอบกับเกษตรกรมีการจ าหน่ายผลผลิตให้พ่อค้า/แม่ค้าที่มาซื้อในสวน จ าหน่ายโดยการขาย ส่งผู้ที่รับซื้อผลผลิตเป็นพ่อค้า/แม่ค้าในทองถิ่น มีการคัดเกรด รูปแบบการจ าหน่ายและราคามีการขายเป็นตั้ง พ่อค้า/แม่ค้าเป็นผู้ก าหนดราคาการช าระเงินค่าผลผลิตกล้วยไข่ช าระตามจ านวนผลผลิตที่ซื้อขายเป็นครั้งๆ ไป ไม่มีการรวมกลุ่มในการจ าหน่ายผลผลิต และไม่มีการแปรรูปผลผลิต ภำพ 1 แนวโน้มพื้นที่ปลูกกล้วยไข่ ปี 2559-2563 จังหวัดก าแพงเพชร 2,762 3,029 3,075 2,809 2,323 0 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 3,500 2559 2560 2561 2562 2563 พื นที่ปลูก (ไร่)

37 ภำพ 2 แนวโน้มผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ของกล้วยไข่ ปี 2559-2563 จังหวัดก าแพงเพชร ภำพ 3 แนวโน้มผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ของกล้วยไข่ ปี 2559-2563 จังหวัดก าแพงเพชร ตำรำง 1 พื้นที่ปลูก ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ และผลผลิตเฉลี่ยของกล้วยไข่ ปี 2559-2563 จังหวัดก าแพงเพชร อ ำเภอ พื นที่ ผลผลิต ปี 2559 2560 2561 2562 2563 เมืองก าแพงเพชร พื้นที่ปลูก (ไร่) 1,087 1,134 1,196 966 1,070 ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ (กิโลกรัมต่อไร่) 727,200 1,531,900 3,588,200 2,479,200 2,218,000 ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัมต่อไร่) 3,189 1,884 3,858 3,935 3,798 คลองลาน พื้นที่ปลูก (ไร่) 246 276 246 282 262 ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ (กิโลกรัมต่อไร่) 0 0 0 14,500 0 ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัมต่อไร่) - - - 100 - ขาณุวรลักษบุรี พื้นที่ปลูก (ไร่) 21 21 21 21 21 ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ (กิโลกรัมต่อไร่) 0 0 0 0 0 1,349,900 2,070,800 4,214,200 2,964,800 2,407,200 0 1,000,000 2,000,000 3,000,000 4,000,000 5,000,000 2559 2560 2561 2562 2563 ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ (กก./ไร่) 23,517 7,985 24,255 12,058 8,667 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 2559 2560 2561 2562 2563 ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่)

38 อ ำเภอ พื นที่ ผลผลิต ปี 2559 2560 2561 2562 2563 ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัมต่อไร่) - - - - - คลองขลุง พื้นที่ปลูก (ไร่) 631 636 636 636 397 ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ (กิโลกรัมต่อไร่) 30,000 48,000 0 0 0 ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัมต่อไร่) 3,000 480 - - - ตำรำง 2 พื้นที่ปลูก ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ และผลผลิตเฉลี่ยของกล้วยไข่ ปี 2559-2563 จังหวัดก าแพงเพชร อ ำเภอ พื นที่ ผลผลิต ปี 2559 2560 2561 2562 2563 พรานกระต่าย พื้นที่ปลูก (ไร่) 265 530 530 530 265 ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ (กิโลกรัมต่อไร่) 0 5,300 0 0 0 ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัมต่อไร่) - 20 - - - ลานกระบือ พื้นที่ปลูก (ไร่) 61 13 13 13 13 ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ (กิโลกรัมต่อไร่) 0 0 13,100 0 0 ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัมต่อไร่) - - 1,008 - - ทรายทองวัฒนา พื้นที่ปลูก (ไร่) 93 27 22 18 6 ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ (กิโลกรัมต่อไร่) 99,650 7,500 1,500 34,500 8,500 ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัมต่อไร่) 12,456 1,250 250 3,450 1,417 บึงสามัคคี พื้นที่ปลูก (ไร่) 170 156 162 159 70 ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ (กิโลกรัมต่อไร่) 371,000 411,500 144,100 128,400 178,200 ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัมต่อไร่) 3,500 3,578 1,221 1,3956 3,427 โกสัมพีนคร พื้นที่ปลูก (ไร่) 188 236 249 184 219 ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ (กิโลกรัมต่อไร่) 122,050 66,600 467,300 308,200 2,500 ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัมต่อไร่) 1,371 793 4,818 3,177 26 2. ประวัติ การปลูกกล้วยไข่ในจังหวัดก าแพงเพชรเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2479 โดยชาวจีนชื่อนายฮะคลึ้ง แซ่เล้า เดิม มีอาชีพรับจ้างอยู่จังหวัดนครปฐม ได้เปลี่ยนอาชีพเป็นพ่อค้าเรือเร่ เดินทางค้าขายระหว่างจังหวัด และได้มา ปักหลักประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่จังหวัดก าแพงเพชร โดยน าหน่อกล้วยไข่จากจังหวัดนครสวรรค์มาปลูก ท าให้เป็นสวนกล้วยไข่แห่งแรกที่หมู่ 6 ต าบลเกาะตาล อ าเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดก าแพงเพชร ต่อมาได้มี การขยายพื้นที่ปลูกกล้วยไข่ก าแพงเพชรไปสู่หมู่บ้านข้างเคียงโดยชาวจีนเป็นส่วนใหญ่ จนท าให้จังหวัด ก าแพงเพชร ได้รับฉายาว่า “เมืองกล้วยไข่” มีการจัดงาน “สารทไทยกล้วยไข่เมืองก าแพงเพชร” ขึ้นเป็นครั้ง แรกเมื่อปี พ.ศ. 2524 โดยมีการประกวดกล้วยไข่ ประกวดธิดากล้วยไข่ สร้างชื่อเสียงให้กับจังหวัด และเป็น ส่วนหนึ่งของงานประเพณีที่นิยมบุญเดือน 10 หรือสารทไทย และในงานนี้มีของหวานที่นิยมท ากันคือกระยา

39 สารท ซึ่งมีรสชาติหวานจัด จึงต้องรับประทานกับกล้วยไข่เป็นเครื่องเคียง โดยกล้วยไข่มีฤดูการผลิตในช่วงเดือน กันยายนพอดี ท าให้เป็นจุดเด่นของงานประเพณีนี้ 3. ลักษณะประจ ำพันธุ์ กล้วยไข่ก าแพงเพชร มีล าต้นเทียมสูงประมาณ 2.4 เมตร สีเขียวแกมเหลือง มีปื้นสีน้ าตาลเล็กน้อย เส้นรอบวงยาวประมาณ 52.5 เซนติเมตร ก้านใบยาวประมาณ 40 เซนติเมตร สีเขียวเป็นร่องเปิด ขอบกว้างมี ครีบ ใบอ่อนที่ยังม้วนอยู่สีเขียว เมื่อคลี่กางออกเต็มที่มีสีเขียวเป็นมัน แผ่นใบเป็นคลื่นกว้างประมาณ 59 เซนติเมตร ยาวประมาณ 225 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบสอบเรียวทั้งสองด้าน ก้านช่อดอกไม่มีขน สี เขียวเข้ม กว้างประมาณ 2.5 เซนติเมตร ปลีรูปคล้ายลูกข่าง กาบปลีสีแดงแกมม่วง ซ้อนทับกันบางส่วน ปลาย ม้วนขึ้น ด้านในสีส้ม มีร่องปานกลาง ไหล่กาบปลีกว้างปานกลาง เครือรูปทรงกระบอกมี 12 หวี ผลตรง พบ ซากก้านยอดเกสรเพศเมียติดที่ปลายผล ก้านผลเรียบ เชื่อมกันบางส่วน ไม่มีขน ผลดิบสีเขียวอ่อน เนื้อผลสีครีม ผลสุกผิวสีเหลือง มีจุดด าเล็ก ๆ ประปรายบนเปลือก ผิวเรียบเงา เนื้อผลสีครีม นุ่ม รสหวาน ไม่มีเมล็ด เมื่อสุก มีความหวานไม่ต่ ากว่า 24 องศาบริกซ์ กำรขยำยพันธุ์ไข่ แบ่งเป็น 2 วิธีกำร ได้แก่ 1. การขยายพันธุ์โดยใช้หน่อ เป็นวิธีขยายพันธุ์ที่นิยมในสวนที่มีหน่อกล้วยมากพอ โดยขุดหน่อหรือ แยกหน่อสาว (maiden sucker) จากต้นแม่ ซึ่งหน่อที่เกิดจากต้นแม่มี 3 ชนิด คือ 1) หน่ออ่อน (peeper) เป็น หน่อที่เกิดจากต้นแม่แต่มีขนาดเล็ก โผล่ขึ้นจากดินรอบ ๆ โคนต้นแม่ ยังมีส่วนต่าง ๆ ไม่ครบ อ่อนแอ ไม่เหมาะ น าไปปลูก 2) หน่อใบแคบ (sword sucker) เป็นหน่อที่เกิดจากล าต้นแม่ โคนใหญ่ มีอาหารสะสมมาก ใบยังไม่ คลี่ (cigar leaf) เป็นหน่อที่ดีเหมาะน าไปปลูก และ 3) หน่อใบกว้าง (water sucker) เป็นหน่อที่เกิดจากต้นแม่ ที่เก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว หรือจากต้นที่ตัดทิ้งแล้ว หรือจากหน่อใบแคบ มีล าต้นเทียมขนาดเล็ก ใบคลี่แผ่กว้าง ไม่ เหมาะน าไปปลูก เพราะมีอาหารสะสมในล าต้นน้อย 2. การขยายพันธุ์โดยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ใช้ส่วนเนื้อเยื่อเจริญปลายยอด (apical meristem)ของล า ต้นเทียม มีข้อดีคือเป็นวิธีที่เพิ่มจ านวนต้นกล้ากล้วยให้ได้จ านวนมากในเวลาอันรวดเร็ว ได้ต้นพันธุ์สะอาด ปราศจากโรคและแมลง ต้นกล้าที่ได้มีขนาดสม่ าเสมอ และให้ผลผลิตในเวลาใกล้เคียงกัน แต่มีข้อเสียคือต้นกล้า ที่ได้มีราคาแพง เพราะผลิตจ านวนน้อย ต้นทุนในการผลิตสูงจากสารเคมีที่ใช้ในการเพาะเลี้ยง ประกอบกับ ช่วงแรกของการออกขวดต้องดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อให้ต้นกล้าแข็งแรงก่อนน าไปปลูกในแปลง 4. กำรจัดกำรเทคโนโลยีกำรผลิต การปลูกกล้วยไข่ก าแพงเพชรให้ได้คุณภาพดี มีวิธีการ ดังนี้ 1. การเตรียมต้นพันธุ์ เป็นต้นพันธุ์ที่ได้จากการขุดหน่อจากต้นที่ตัดเครือแล้วไปปลูก เลือกหน่อที่ สมบูรณ์ แข็งแรง ควรเลือกหน่อใบแคบไปปลูก เพราะเป็นหน่อที่แข็งแรง โคนต้นใหญ่ เหง้าใหญ่ มีรากใหม่สี ขาว และให้ผลผลิตสูงกว่าหน่อใบกว้าง ต้นกล้าที่ได้จากการผ่าหน่อควรมีอายุ2-3 เดือน และต้นกล้าที่ได้จาก การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อควรมีอายุ 3-4 เดือน 2. การเตรียมดิน ไถตากดิน 7-14 วัน เก็บเศษไม้และวัชพืชออกจากแปลง ระยะปลูกที่เหมาะสมคือ 2×2 เมตร ขนาดหลุม 50×50 เซนติเมตร ลึก 50 เซนติเมตร ได้ต้นกล้วยจ านวน 400 ต้นต่อไร่ ใส่ปุ๋ยคอกหรือ ปุ๋ยหมักอัตรา 5-10 กิโลกรัมต่อหลุม คลุกเคล้ากับดินพร้อมที่จะปลูก จากนั้นใส่ปุ๋ยหมักที่ขยายเชื้อไตรโคเดอร์ มาสายพันธุ์ TH-DOA ของกรมวิชาการเกษตร อัตรา 100-200 กรัมต่อหลุม (1 กระป๋องนมข้น) ป้องกันโรค ตายพราย และคลุกเคล้าดินในหลุมปลูก 3. การปลูก น าต้นกล้าลงปลูกลึกประมาณ 30-40 เซนติเมตร กลบดินให้ทั่วโคนต้น ระหว่างปลูกควร ระวังไม่ให้ใบกล้วยหักเกิดความเสียหาย ได้แก่

40 3.1 การใช้หน่อ หน่อกล้วยไข่ที่เหมาะสมควรเป็นหน่อใบแคบ สูงประมาณ 25-30 เซนติเมตร โดย น าหน่อพันธุ์ที่ปาดหน้าดินและรากเดิมออกหมดชุบยากันรา วางที่ก้นหลุมที่เตรียมไว้ให้แผลของแต่ละหน่อไป ทางเดียวกัน เพื่อให้ผลออกทางตรงข้ามกับแผล วางหน่อให้ตรงแล้วจึงกลบดินให้แน่น รดน้ าให้ชุ่ม และใช้ฟาง ข้าวหรือหญ้าแห้งคลุมเพื่อป้องกันการระเหยของน้ า 3.2 การใช้ต้นกล้าที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ควรน ามาท าการอนุบาลในโรงเรือนโดยปลูกใน กระบะช าประมาณ 1-2 เดือน เพื่อปรับสภาพและท าให้ต้นกล้ามีความแข็งแรง จากนั้นจึงย้ายลงถุงช าอีก ประมาณ 2 เดือน หรือให้ต้นกล้ามีขนาด 20 เซนติเมตร และมีเส้นรอบวงประมาณ 5 เซนติเมตร 4. การใส่ปุ๋ย ให้กล้วยไข่มีคุณภาพ มีวิธีการใส่ ดังนี้ 4.1 ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักก่อนปลูก อัตรา 3-5 กิโลกรัมต่อหลุม 4.2 ใส่ปุ๋ยเคมีครั้งที่ 1 และ 2 หลังจากปลูก 1 และ 3 เดือน เป็นระยะที่กล้วยมีการเติบโตทางล า ต้น ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 20-10-10 หรือ 15-15-15 อัตรา 125-250 กรัมต่อต้นต่อครั้ง 4.3 ใส่ปุ๋ยเคมีครั้งที่ 3 และ 4 หลังจากปลูก 5 และ 7 เดือน เป็นระยะที่กล้วยไข่เริ่มให้ผลผลิต ใช้ ปุ๋ยเคมีสูตร 12-12-24 หรือ 14-14-21 อัตรา 125-250 กรัมต่อต้นต่อครั้ง 4.4 ปุ๋ยเคมี ใส่โดยโรยห่างต้นประมาณ 30 เซนติเมตร หรือใส่ในหลุมลึกประมาณ 10 เซนติเมตร 4 ด้าน แล้วพรวนดินกลบ 5. การให้น้ า ในฤดูฝน เมื่อฝนทิ้งช่วง สังเกตหน้าดินแห้งและเริ่มแตก ควรรีบให้น้ า ในฤดูแล้ง เริ่มให้ น้ าตั้งแต่หมดฝน ประมาณปลายเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม วิธีการให้น้ านิยมปล่อยน้ าให้ไหลเข้าไปในแปลง ย่อยเป็นแปลง ๆ เมื่อดินมีความชุ่มชื้นดีแล้วจึงให้กับแปลงอื่นต่อไป ปริมาณน้ าที่ให้ สังเกตดินในแปลงเปียกชื้น แฉะเล็กน้อย จึงหยุดให้ ซึ่งการให้น้ าแบ่งเป็นหลายวิธี ดังนี้ 5.1 การให้น้ าแบบร่อง โดยพูนโคนระหว่างต้นเป็นโคกหรือรอบต้น แล้วให้น้ าตามร่องหรือรอบต้น สัปดาห์ละ 2 ครั้ง 5.2 การให้น้ าแบบท่วมโดยกั้นดินเป็นแนวระหว่างแถว 3-4 แถว แล้วปล่อยน้ าให้ท่วมทั้งแปลง หลังจากที่น้ าซึมลงดินได้ตามความต้องการแล้ว ท าการไขน้ าออกไปยังแปลงอื่นโดยให้สัปดาห์ละครั้ง 5.3 การให้น้ าหยด มีการลงทุนสูงแต่ให้ผลคุ้มค่า เพราะปริมาณน้ าที่ให้เกินความต้องการของต้น กล้วย ปริมาณน้ าที่ให้ประมาณ 8 ลิตรต่อต้นต่อวัน แต่ในกรณีที่แหล่งน้ ามีตะกอนมากอาจท าให้หัวน้ าอุดตัน 5.4 การให้น้ าแบบพ่นฝอย ให้ผลดีใกล้เคียงกับการให้น้ าหยด และสร้างความชุ่มชื้นให้กับ บรรยากาศภายในสวน แต่ถ้าในบริเวณดังกล่าวมีลมแรงและแรงดันน้ าไม่แรงพอ ลมจะพัดเอาน้ าไปบริเวณอื่น 5.5 การให้น้ าจากสายยาง รดน้ าลงดิน ลงทุนน้อย ควรให้น้ าสัปดาห์ละ 2 ครั้ง 6. การก าจัดวัชพืช หลังจากปลูก 2-3 เดือน ใช้จอบถากวัชพืชแล้วตกแต่งปากหลุมให้มีขนาดกว้าง ท า เป็นแอ่ง เข้าเดือนที่ 4 กล้วยไข่เริ่มมีใบแผ่กว้างคลุมแปลงมากขึ้น ท าให้วัชพืชเติบโตได้ลดลง 7. การตัดแต่งหน่อและใบ หลังจากปลูก 3-4 เดือน กล้วยไข่จะมีหน่อเจริญมาพร้อมกับต้นแม่ โดย หน่อขนาดใหญ่ที่อยู่ตรงข้ามต้นแม่จะแย่งอาหารจากต้นแม่ ท าให้เครือที่ออกจากต้นแม่มีขนาดเล็ก จึงต้องมี การปาดหน่อและตัดก้านใบทิ้งอย่างน้อย 15 วันครั้ง เพื่อให้ล าต้นโปร่ง ระบายอากาศได้ดี และลดการระบาด ของโรคในช่วงฤดูฝน 8. การตัดปลี เมื่อกล้วยไข่อายุประมาณ 5-7 เดือน จะมีความสมบูรณ์เต็มที่พร้อมที่จะออกปลี สังเกต จากล าต้นส่วนยอดจะอวบอ้วนกว่าปกติ กาบใบแยกออกห่าง มีใบธงชี้ขึ้นท้องฟ้า หลังจากนั้นอีก 5-7 วันกล้วย ไข่จะแทงปลี กาบปลีจะบานเรื่อย ๆ จนกระทั่งหวีสุดท้าย (หวีตีนเต่า) มีขนาดไม่เท่ากันถึงจะตัดปลี หลังจาก ตัดปลี35-45 วัน ถึงจะตัดเครือได้ ขึ้นกับสภาพอากาศ

41 9. การห่อเครือกล้วย หลังจากตัดปลีกล้วยแล้ว ผลกล้วยจะเริ่มพัฒนาและขยายขนาดใหญ่ขึ้น จึงมี ความจ าเป็นต้องห่อเครือให้ผิวมีสีสวยงาม โดยใช้ถุงพลาสติกสีฟ้า สีขาวขุ่น ฯลฯ ปลายเปิดทั้งสองข้าง ซึ่ง เกษตรกรจะใช้บันไดปีนขึ้นไปน าถุงห่อเครือกล้วย และโน้มใบธงมาปิดผลกล้วยด้านบน เพื่อกันแสงแดดไม่ท า ให้ผิวไหม้ 10. การค้ ายัน น าไม้รวกมาเสี้ยมปลายด้านที่จะปักลงดิน 2 อัน ห่างกัน 100 เซนติเมตร แล้วผูกเชือก ที่ปลายไม้ทั้ง 2 อัน โดยให้เหลือปลายไม้ด้านบน 30 เซนติเมตร เพื่อท าหน้าที่รับน้ าหนักต้นกล้วย จากนั้นกาง ไม้ทั้งสองไขว้กันเป็นลักษณะคีม แล้วน าไปค้ าต้นกล้วยไข่บริเวณที่ต่ าจากต าแหน่งเครือประมาณ 30-50 เซนติเมตร หรือขึ้นอยู่กับความหนักและชนิดไม้ที่น ามาใช้ค้ ายัน 5. กำรป้องกันก ำจัดศัตรูพืช โรคกล้วยไข่ มีหลายโรค ดังนี้ 1. โรคใบจุดซิกาโตก้าสีเหลือง (yellow sigatoka) สาเหตุ : เชื้อรา Pseudocercospora musae ลักษณะอาการ : อาการของโรคมักพบบนใบแก่ พื้นที่ใบที่โรคเข้าท าลายประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ พบอาการของโรคได้ทุกช่วงการเติบโต ตั้งแต่ระยะต้นกล้า ระยะเติบโต และระยะให้ผลผลิต แผลเป็นจุดสี น้ าตาลขอบสีด า ภายในพบจุดสีด าขนาดเล็ก รอบแผลมีสีเหลือง การป้องกันก าจัด ได้แก่ 1. ตัดแต่งใบกล้วยอายุ 4 เดือน และตัดไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งเก็บเกี่ยว รวมประมาณ 8-10 ครั้ง 2. เก็บซากใบกล้วยและก าจัดวัชพืช น าไปเผาท าลายหรือฝังกลบนอกแปลงปลูก 3. พ่นด้วยสารเคมี เช่น โพรพินาโคล สลับกับ แมนโคเซ็บ อัตราแนะน าตามฉลาก 2. โรครากเน่าและต้นกล้าเหี่ยว สาเหตุ : เชื้อรา Fusarium oxysporum ลักษณะอาการ : ต้นกล้าแสดงอาการเหี่ยว บริเวณรากบางส่วนเปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีน้ าตาล พบ ในช่วงอนุบาลต้นกล้าในเรือนเพาะช า การป้องกันก าจัด ได้แก่ 1. ใช้วัสดุเพาะกล้าที่เป็นขุยมะพร้าว ขี้เถ้าแกลบ หรือวัสดุอื่น ๆ ผสมกับดินปลูกในอัตราส่วนที่ พอเหมาะ 2. ควรแยกต้นกล้าที่เริ่มแสดงอาการเหี่ยวออกจากต้นปกติ และรีบเปลี่ยนวัสดุปลูกใหม่ 3. ก่อนปลูกจุ่มต้นกล้าในสารเคมีก าจัดเชื้อรา เช่น คอปเปอร์ออกซี่คลอไรด์ ฟอสอีทิล อะลูมิเนียม หรือพีซีเอ็นบี ผสมอิทิไดอะโซล เพื่อยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุที่อาจปนเปื้อนอยู่บนกล้า 4. ผสมเชื้อราปฏิปักษ์ไตรโคเดอร์มา (Trichoderma harzianum) ในวัสดุเพาะกล้า 3. โรคโคนหวีเน่า (crown rot) สาเหตุ : เชื้อรา Colletotrichum musae และ Fusarium spp. ลักษณะอาการ : พบในช่วงที่เก็บเกี่ยวผลผลิตและกล้วยอยู่ในระยะสุกแก่ เชื้อราเข้าท าลายตรงรอย แผลตัดโคนหวีแยกออกจากเครือ ท าให้เนื้อเยื่อเน่าเป็นสีด า บริเวณแผลจะปรากฏเส้นใยรา เช่น เส้นใยราสีขาว สีเทา สีชมพู หรือสีน้ าตาลอ่อนปกคลุมอยู่ การป้องกันก าจัด ได้แก่ 1. ท าความสะอาดสวนให้สะอาด 2. ท าความสะอาดโรงเรือนที่ใช้บรรจุผลผลิต