ข อจ าก ดของการน าพล งงานลมไปใช ประโยชน ม อะไรบ าง

  • 1. “ลม” เปนแหลงพลังงานสะอาดชนิดหนึ่งที่นานาประเทศมุงพัฒนาใหเกิดประโยชน มากขึ้น เนื่องจากลมมีศักยภาพในการผลิตเปนกระแสไฟฟาไดเปนอยางดี การผลิตกระแสไฟฟาจากพลังงานลม การนําลมมาใชประโยชนจะตองอาศัยเครื่องจักรกลสําคัญ คือ “กังหันลม” ในการเปลี่ยน พลังงานจลนจากการเคลื่อนที่ของลม เปนพลังงานกลกอนนําไปใชประโยชน ที่สําคัญพลังงานลม ใช ไ ม มี วั น หมด และกระบวนการผลิ ต ไฟฟ า จากลมยั ง ไม ป ล อ ยของเสี ย ที่ เ ป น อั น ตรายต อ สภาพแวดลอม แตการใชพลังงานลมเพื่อการผลิตไฟฟาความเร็วลมจะตองสม่ําเสมอ หรือกําลังลม เฉลี่ยทั้งปควรไมนอยกวาระดับ 6.4 – 7.0 เมตรตอวินาที ที่ความสูง 50 เมตร ถึงจะสามารถ ผลิตไฟฟาจากกังหันลมไดดี ภูมิประเทศที่มีความเร็วลมเหมาะสมไดแกบริเวณฝงทะเลแถบยุโรป เหนือ หรือชองเขาในอเมริกา ตัวอยางการติดตั้งกังหันลมเพื่อผลิตกระแสไฟฟา กังหันลมที่เมืองToora ประเทศ ออสเตรเลีย (ภาพจาก upload.wikimedia.org) กังหันลมนอกชายฝง ประเทศอังกฤษ (ภาพจาก www.imcbrokers.com) กังหันลมนอกชายฝงเดนมารก ( ภาพจาก www.talkingnfl.com ) กังหันลมในFort Sumner รัฐNew Mexico สหรัฐอเมริกา (ภาพจาก www.sandia.gov ) 1
  • 2. โดยทั่วไปกังหันลมแบงออกเปน 2 ชนิด ตามแกนหมุนของกังหันลม ไดแก 1. กังหันลมแกนหมุนแนวตั้ง (Vertical Axis Wind Turbine) เปนกังหันลมที่มีแกน หมุน และใบพัดตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของลมในแนวราบ 2. กังหันลมแกนหมุนแนวนอน (Horizontal Axis Wind Turbine) เปนกังหันลมที่มี แกนหมุนขนานกับการเคลื่อนที่ของลมในแนวราบ โดยมีใบพัดเปนตัวตั้งฉากรับ แรงลม ภาพแสดงกังหันลมสาธิตทังแบบแนวตังและแนวนอนของ ้ ้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ที่ติดตั้ง ณ บึงพระราม 9 กังหันลมแกนหมุนแนวตั้ง กังหันลมแกนหมุนแนวนอน (Vertical Axis Wind Turbine) (Horizontal Axis Wind Turbine) 2
  • 3. สวนหลัก ประกอบดวย 1) แกนหมุนใบพัด (Rotor Blade) ทําหนาที่รับแรงลม ซึ่งแกนหมุนประกอบดวย − ดุมแกนหมุน (Rotor Hub) เปนตัวครอบแกนหมุนที่อยูสวนหนาสุด มีรูปรางเปน วงรีคลายไข เพื่อการลูลม − ใบพัด (Blade) ยึดติดกับแกนหมุน ทําหนาที่รับพลังงานจลนจากการเคลื่อนที่ ของลม และหมุนแกนหมุนเพื่อสงถายกําลังไปยังเพลาแกนหมุนหลัก กังหันลม ขนาด 3 ใบพัด จัดวาดีที่สุดในการกวาดรับแรงลมและนิยมใชกันแพรหลายมาก ที่สุด − จุดปรับหมุนใบ (Pitch) อยูระหวางรอยตอของใบกับแกนหมุน ทําหนาที่ปรับ ใบพัดใหมีความพรอมและเหมาะสมกับความเร็วลม 2) หองเครื่อง (Nacelle) มีลักษณะคลายกลองใสของขนาดใหญที่ถูกออกแบบเพื่อ ปองกันสภาพอากาศภายนอกใหกับอุปกรณที่อยูภายใน ซึ่งไดแก − เพลาแกนหมุนหลัก (Main Shaft หรือ Low Speed Shaft) ทําหนาที่รับแรงจาก แกนหมุนใบพัด และสงผานเขาสูหองปรับเปลี่ยนทดรอบกําลัง − หองทดรอบกําลัง (Gear Box) เปนตัวควบคุมปรับเปลี่ยนทดรอบการหมุนและ ถายแรงของเพลาแกนหมุนหลักที่มีความเร็วรอบต่ํา ไปยังเพลาแกนหมุนเล็กของ เครื่องกําเนิดไฟฟาเพื่อใหมีความเร็วรอบสูงขึ้น และมีความเร็วสม่ําเสมอ − เพลาแกนหมุนเล็ก (Shall Shaft หรือ High Speed Shaft) ทําหนาที่รับแรงที่มี ความเร็วรอบสูงของหองทดรอบกําลังเพื่อหมุนเครื่องกําเนิดไฟฟา − เครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator) ทําหนาที่แปลงพลังงานกลที่ไดรับเปนพลังงาน ไฟฟา − เบรก (Brake) เปนระบบกลไกเพื่อใชควบคุมและยึดการหยุดหมุนอยางสิ้นเชิง ของใบพัดและเพลาแกนหมุนของกังหันลม เมื่อตองการใหกังหันลมหยุดหมุน และในระหวางการซอมบํารุง − ระบบควบคุมไฟฟา (Controller System) เปนระบบควบคุมการทํางานและการ จายกระแสไฟฟาออกสูระบบโดยคอมพิวเตอร 3
  • 4. ) เพื่อระบายความรอนจากการทํางานตอเนื่อง ตลอดเวลาของหองทดรอบกําลังและเครื่องกําเนิดไฟฟา อาจระบายดวยลมหรือ น้ําขึ้นกับการออกแบบ − เครื่องวัดความเร็วและทิศทางลม (Anemometer and Wired Vane) เปนสวน เดียวที่ติดตั้งอยูนอกหองเครื่อง ซึ่งไดรับการเชื่อมตอสายสัญญานเขาสูระบบ คอมพิวเตอรเพื่อวัดความเร็วและทิศทางลม 3) เสา (Tower) เปนตัวรับสวนที่เปนชุดแกนหมุนใบพัดและตัวหองเครื่องที่อยูดานบน 4) ฐานราก เปนสวนที่รับน้ําหนักของชุดกังหันลม 1. Blades 2. Rotor 3. Pitch 4. Brake 5. Low-speed shaft 6. Gear box 7. Generator 8. Controller 9. Anemometer 10.Wind Vane 11.Nacelle 12.High-speed shaft 13.Yaw drive 14.Yaw motor 15.Tower สวนประกอบของกังหันลมพลิตไฟฟาแบบแกนหมุนแนวนอน 4
  • 5. การใชพลังงานลมเพื่อการผลิตไฟฟาความเร็วลมจะตองสม่ําเสมอ หรือกําลังลม เฉลี่ยทั้งปควรไมนอยกวาระดับ 6.4 – 7.0 เมตรตอวินาที ที่ความสูง 50 เมตร ถึงจะ สามารถผลิตไฟฟาจากกังหันลมไดดี จากแผนภาพดานลางซึงจัดทําโดย Danish Wind Industry Association จะเห็นวาถา ่ ความเร็วลมต่ํากวา 6 เมตรตอวินาที กระแสไฟฟาที่ไดรับจากพลังงานลมจะนอยมากจนไมคุมคา ในการผลิต แผนภาพแสดงกระแสไฟฟาที่ผลิตไดจากพลังงานลมในความเร็วลมระดับตางๆ กระแสไฟฟาที่ผลิตได ( หนวย : กิโลวัตต ) ความเร็วลม ( หนวย : เมตรตอวินาที ) ที่มา : www.windpower.org 5
  • 6. ประเทศไทยตังอยูในเขตเสนศูนยสูตร ลมที่เกียวของกับภูมิอากาศของไทย คือ ้ ่ ลมประจําป ลมประจําฤดู และลมประจําเวลา • ลมประจําป เปนลมที่พัดอยูเปนประจําตลอดทั้งปในภูมิภาคสวนตางๆ ของโลก มีความแตกตางกันไปในแตละเขตละติจูดของโลก เนื่องจากประเทศไทยอยูในบริเวณเขตศูนยสูตร อิทธิพลของลมประจําปจงไมมีประโยชนในการนํามาใช ึ • ลมประจําฤดู เปนลมที่พัดเปลี่ยนทิศทางตามฤดูกาล เรียกวา ลมมรสุม ไดแก 1. ลมมรสุมฤดูรอน พัดในแนวทิศใต และตะวันตกเฉียงใต ในชวงเดือนมิถนายน- ุ สิงหาคม 2. ลมมรสุมฤดูหนาว พัดในแนวทิศเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ ในชวงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ • ลมประจําเวลา เปนลมที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเปลียนแปลงความกดอากาศ ่ ระหวาง 2 บริเวณในระยะเวลาสั้นๆ ไดแก ลมบก ลมทะเล ลมภูเขา และลมหุบเขา บริเวณที่อยูตามชายฝงจะไดรับอิทธิพลของลมบก ลมทะเลสูงมาก จากภูมิประเทศของประเทศไทย ทําใหเรามี ความเร็วลมเฉลี่ยของประเทศอยูในระดับปานกลาง - ต่ํา มีความเร็วลมเฉลี่ยต่ากวา 4 เมตร/วินาที แต ํ เทคโนโลยีกงหันลมเพื่อผลิตไฟฟาในยุโรปสวนใหญ ั ออกแบบใหทํางานเหมาะสมกับความเร็วลมเฉลีย ่ เกินกวา 8 เมตรตอวินาทีขึ้นไป ซึ่งเปนความเร็วลม เฉลี่ยในพื้นที่ของภูมิภาคแถบยุโรปเหนือ หรือประเทศอืนๆ ่ ในเขตหนาวทีมีศักยภาพลมเพียงพอ ่ เมื่อเทียบความเร็วลมทีมีในประเทศไทยกับตาราง ่ Power Class พบวาลมในประเทศไทยสวนใหญอยูใน ระดับที1.1-1.4 มีเพียงพืนที่ทางชายฝงทะเลภาคใต ่ ้  ตอนลางที่อยูPower Class ระดับ 2 ดังรูปที่แสดงดานขาง  6
  • 7. ประเทศไทยมีการผลิตไฟฟาจากพลังงานลมอยูที่ 332.5 kW เกือบทั้งหมดเปนโครงการ สาธิต ตั้งอยูในอุทยานแหงชาติภูกระดึง จังหวัดเลย ขนาด 2.5 kW 1 ชุด และที่อุทยานแหงชาติ ตะรุเตา จังหวัดสตูล ขนาด 10 kW 1 ชุด เปนโครงการศึกษาทดลองของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี นอกจากนี้ ยั ง มี จุ ด ติ ด ตั้ ง ที่ แ หลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต ขนาด 10 kW 2 ชุด ของการไฟฟาฝายผลิต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) และของเอกชน 1 ชุ ด ที่ กิ่ ง อําเภอเกาะจันทร จังหวัดชลบุรี 150 kW 1 ชุด ดําเนินการ โดยบริ ษั ท รี ไ ซเคิ ล เอ็ น จี เ นี ย ร ริ่ ง จํ า กั ด เป น การผลิ ต ไฟฟาใชในอาคาร กังหันลมที่แหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต สถานที่ติดตังกังหันลมผลิตไฟฟา ้ ที่มา : “ทิศทางพลังงานไทย” กระทรวงพลังงาน 7
  • 8. ี พื้นที่ ความเร็วลมเฉลี่ย Power Class (เมตร/วินาที)* • พื้นที่บริเวณชายฝงภาคใตดานอาวไทย 6.4 3 ตั้งแตจังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา ปตตานี • เทือกเขาในจังหวัดเพชรบุรี กาญจนบุรี 5.6 2 และตาก ที่เปนรอยตอประเทศพมา • บริเวณพื้นที่สูงที่เปนเทือกเขาในภาคใต 5.6 2 • พื้ น ที่ สู ง ในเขตอุ ท ยานแห ง ชาติ ด อย 5.1 2 อินทนนท จังหวัดเชียงใหม • พื้นที่ชายฝงทะเลอาวไทย จังหวัดชลบุรี 4.4 1 ระยอง เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ ชุมพร สุราษฏรธานี นครศรีธรรมราช • พื้นที่ชายฝงทะเลอันดามัน จังหวัดสตูล 4.4 1 ตรัง กระบี่ ภูเก็ต พังงา • ภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม 4.4 1 • ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ที่ จั ง หวั ด 4.4 1 เพชรบูรณ และเลย ที่มา : “ทิศทางพลังงานไทย” กระทรวงพลังงาน * หมายเหตุ : กําลังลมยอดเขา กรมพัฒ นาพลัง งานทดแทนและอนุรัก ษพ ลั ง งาน (พพ.) กระทรวงพลั ง งานมีก าร ประเมินวา พื้นที่ตั้งแตจังหวัดประจวบคีรีขันธจนถึงจังหวัดปตตานี ดานเลียบชายฝงทะเลอาวไทย มีศักยภาพของกําลังลมที่จะนํามาผลิตกระแสไฟฟามากที่สุดกวา 1,600 MW 8
  • 9. • ไทยมีความเร็วลมเฉลี่ยของประเทศอยูในระดับปานกลาง - ต่ํา มีความเร็วลม เฉลี่ยต่ํากวา 4 เมตร/วินาที แตเทคโนโลยีกังหันลมเพื่อผลิตไฟฟาในยุโรปสวน ใหญ ออกแบบใหทํางานเหมาะสมกับความเร็วลมเฉลี่ยเกินกวา 8 เมตรตอวินาที ขึ้นไป • มีการนําเขากังหันลมจากตางประเทศมาใชในประเทศไทย โดยไมมีการดัดแปลง ที่เหมาะสม จะไมคุมทุนเปนอยางมาก • ความเร็วลมในประเทศไทยไมสม่ําเสมอ โอกาสทํางานที่ประสิทธิภาพสูงสุดของ กังหันลมตามคาความเร็วลมเฉลี่ยที่ออกแบบไวจะมีเพียงไมกี่ชั่วโมง การแกไขปญหา ที่เกิดกับการผลิตไฟฟาจากพลังงานลมในประเทศไทย ปจจุบันมีการ พัฒนาไปมากทั้งในดานการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของกังหันลม เพื่อผลิตไฟฟาใหมีตนทุนตอ หนวยต่ําในระดับที่แขงขันไดในเชิงพาณิชยสําหรับประเทศไทย การสนับสนุนการผลิตไฟฟาจากพลังงานลม จากภาครัฐ กระทรวงพลังงาน ไดมีนโยบายใหการสนับสนุนอยางเต็มที่ในการนําพลังงานทางเลือกที่ หลากหลายมาใชประโยชน ทั้งการสงเสริมดานวิชาการและการสรางแรงจูงใจดวยการกําหนด นโยบายให ส ว นเพิ่ ม ราคารั บ ซื้ อ ไฟฟ า (Adder) กั บ โครงการผลิ ต ไฟฟ า จากพลั ง งาน หมุนเวียน ซึ่งสวนเพิ่มที่ใหนั้นจะบวกจากคาไฟฟาที่ผูผลิตจําหนายเขาระบบของการไฟฟาสวน ภูมิภาค (กฟภ.) โดยคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ไดมีมติเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2550 กําหนดใหสวนเพิ่มราคารับซื้ออีก 2.50 บาทตอหนวย และขยายเวลาในสวนเพิ่มจาก 7 ป เปน 10 ป หากเปนการผลิตในสามจังหวัดชายแดนภาคใต ใหสวนเพิ่มอีก 1.50 บาทตอหนวย 9
  • 10. ปจ จุ บั น มี บ ริษั ท เอกชนได ให ค วามสนใจที่ จ ะผลิต ไฟฟ า จากพลัง งานลมมากขึ้ น และ หน ว ยงานรั ฐก็ได ขยายโครงการต น แบบในหลาย ๆ พื้น ที่ เพื่อ พิสูจน ศัก ยภาพพลั ง งานลมใน ประเทศไทย อาทิ • บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) (EGCO) ั บริษัท ผลิตไฟฟาพลังงานลม จํากัด (WEGCO) และบริษัท Eurus Energy Japan Corporation (EURUS) ไดรวมพัฒนาโครงการผลิตไฟฟาจากพลังงานลม ในเชิงพาณิชย บนพืนที่ชายฝงทะเลภาคใต กําลังการผลิต 35 MW วงเงินลงทุน ้ กวา 1,800 ลานบาท • การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย พัฒนาโครงการบนพื้นที่ 60 ไร บริเวณอาง เก็บน้าตอนบนของเขื่อน ํ ลําตะคอง อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ซึงเปน ่ พื้นที่ทมีความเร็วลม เฉลี่ยกวา 6 เมตร/วินาที ติดตั้งกังหันลม 2 ชุด ๆ ละ 1 MW ี่ สามารถจายไฟฟาไดตั้งแตความเร็วลมทีระดับ 3 เมตร/วินาที ขึ้นไป กําหนดแลว ่ เสร็จป 2551 • การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ไดสนับสนุนโครงการวิจัยใหกับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เพื่อพัฒนากังหันลมผลิตไฟฟาตนแบบ กําลังผลิต 50 kW • การไฟฟาสวนภูมิภาค มีโครงการนํารองผลิตไฟฟาจากพลังงานลม ขนาด 1.5 MW 1 ชุดที่ อําเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา • กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน อยูระหวางกอสรางโครงการที่ อําเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยโครงการหนึ่งใชเทคโนโลยีจากอินเดีย สวนอีกโครงการหนึงใชเทคโนโลยีจากจีน ขนาด 1.5 MW ที่ความเร็วลมเฉลี่ย ่ 5 เมตร / วินาที กําหนดแลวเสร็จ ป 2552 10
  • 11. ผลิตไฟฟาจากพลังงานลม ที่แหลมตาชี อ.ยะหริ่ง จ.ปตตานี ขนาด 250 kW 1 ชุด และ 1.5 MW 1 ชุด เริมโครงการป 2551 ่ ขอดี - ขอจํากัดของการผลิตไฟฟาจากพลังงานลม ขอดี − เปนแหลงพลังงานที่ไดจากธรรมชาติ ไมมีตนทุน − เปนแหลงพลังงานที่ไมมีวันหมดสิ้น − เปนพลังงานสะอาด − ไมกินเนื้อที่ ดานลางยังใชพื้นที่ไดอยู − มีแคการลงทุนครั้งแรก ไมมีคาเชื้อเพลิง − สามารถใชระบบไฮบริดเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด คือ กลางคืนใชพลังงานลม กลางวันใชพลังงานแสงอาทิตย − ภาครัฐใหการสนับสนุนการผลิตไฟฟาจากพลังงานลมแกผูผลิตไฟฟารายเล็ก/ราย เล็กมาก โดยกําหนดอัตราสวนเพิ่มการรับซื้อไฟฟาที่ผลิตจากพลังงานลม 2.50 บาทตอหนวย หากเปนโครงการใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ใหอัตราเพิ่มพิเศษ อีก 1.50 บาทตอหนวย เปน 4.00 บาทตอหนวย ระยะเวลา 10 ป ขอจํากัด − ลมในประเทศไทยมีความเร็วคอนขางต่ํา − พื้นที่ที่เหมาะสมมีจํากัด − ขึ้นอยูกับสภาวะอากาศ บางฤดูอาจไมมีลม − ตองใชแบตเตอรี่ราคาแพงเปนแหลงเก็บพลังงาน − ขาดเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับศักยภาพลมในประเทศ และขาดบุคคลากร ผูเชี่ยวชาญ 11
  • 12. สาธิตตนแบบ เทคโนโลยีกังหันลมผลิตไฟฟาความเร็วลมต่ํา โดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ดร.วิรชัย โรยนรินทร แหง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ไดทําการพัฒนา พลังงานลมเพือใชประโยชน โดยทําการศึกษารูปแบบกังหันลมผลิตไฟฟาใหมีความเหมาะสมกับ ่ ความเร็วลมทีมีอยูในประเทศไทย เนนการใชประโยชนจากกังหันลมความเร็วลมต่ําและสามารถ ่ ผลิตชิ้นสวนเพื่อประกอบระบบกังหันลมผลิตไฟฟามาใชงานในประเทศ เพื่อลดตนทุนและสราง ความเชื่อมันในการใชประโยชนจากกังหันลมผลิตไฟฟา ซึ่งตอไปหากไดตนแบบกังหันลมผลิต ่ ไฟฟาขนาดเล็ก มีเทคโนโลยีไมซับซอน ติดตั้งงาย จะสามารถสงเสริมเปนอุตสาหกรรม การผลิตเทคโนโลยีกังหันลมภายในประเทศ เพื่อชวยลดตนทุนนําเขากังหันลมจากตางประเทศ ที่มี ราคาแพง และสามารถขยายผลเพื่อนําไปพัฒนาพลังงานลมใหเหมาะกับประเทศไทยตอไป การติดตั้งกังหันลมสาธิตที่บงพระราม 9 ึ การทําระบบฐานรากเพื่อรองรับการติดตั้งกังหันลม การติดตั้งเสากังหันลม ( ภาพ : www.thaiwindy.com ) 12
  • 13. กังหันลมแนวนอน 1 ตัว ขนาด 5 kW และกังหันลมขนาดเล็ก 1 ตัว เพื่อทดสอบ และเก็บขอมูล หาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.thaiwindy.com ขอเสนอแนะจากการวิจัยขางตน สรุปไดดังนี้ • รูปแบบกังหันลมที่เหมาะสมจําเปนตองมีการออกแบบใหทางานไดดีทความเร็ว ํ ี่ ลมเฉลี่ย 5-6 เมตรตอวินาที ซึ่งเปนความเร็วลมทีมีอยูเ ปนสวนใหญในประเทศ ่ ไทย • ควรผลิตเต็มกําลังสูงสุดที่ความเร็วลมไมเกิน 10 เมตรตอวินาที จึงจะเปนรูปแบบ กังหันลมที่มีความเหมาะสมสําหรับความเร็วลมต่ําไปจนถึง ปานกลาง • ไมควรออกแบบกังหันลมใหมีกําลังการผลิตสูงสุดที่ความเร็วลมต่ํามากๆ เพราะจะไมคุมคาในทางเศรษฐศาสตรวิศวกรรม • กังหันลมผลิตไฟฟาสามารถใชงานไดจริง หากมีการออกแบบ วิเคราะห และ สรางขึ้นมาเพือความเร็วลมที่เหมาะสมตอการใชงานในประเทศ ซึ่งจะทําใหมี ่ ประสิทธิภาพโรงไฟฟากังหันลมสูงขึ้น • หากมีการสงเสริมใหมีการผลิตและติดตั้งกังหันลมที่ไดจากการวิจยและพัฒนาใน ั ครั้งนี้เปนจํานวนมากขึน จะทําใหราคาของกังหันลมที่ผลิตในประเทศลดลงได ้ อีกไมต่ํากวา 15-20% ของราคากังหันลมตนแบบในโครงการนี้ จะทําใหราคา ของกังหันลมขนาด 5 กิโลวัตตติดตั้งแลวเสร็จอยูที่ประมาณ 1,000,000 บาท ถึง 1,250,000 บาท ซึ่งจะมีราคาต่ํากวากังหันลมที่นาเขามาจากตางประเทศ ํ 13
  • 14. ที่มา : www.gwec.net ปจจุบันการใชพลังงานลมเพื่อการผลิต ไฟฟ า มี ก ารพั ฒ นาไปมาก เนื่ อ งจากแนวโน ม ในการหาพลั ง งานทางเลื อ กที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอมมีมากขึ้น ทุกวันนี้จึงมีหลายประเทศ โดยเฉพาะในประเทศที่ใหความสํา คัญกับการ พัฒนาเทคโนโลยีกังหันลม ตางขยายการผลิต ไฟฟาจากพลังงานลมอยางตอเนื่อง พบวา ณ สิ้นป 2550 ทั่วโลกมีกําลังผลิต ไฟฟาจากพลังงานลมรวมทั้งสิ้น 93,864 MW จากกวา 70 ประเทศทั่วโลก โดยประเทศที่เปน ผูนําดานการใชพลังงานลม 5 อันดับแรก ไดแก เยอรมนี สหรัฐอเมริกา สเปน อินเดีย และจีน 14
  • 15. สหรัฐอเมริกา ภาพ wind farm ที่เมืองปาลมสปริง รัฐแคลิฟอรเนียร สหรัฐอเมริกา ซึ่งติดตั้ง กังหันลมกวา 4,000 ตัว บริเวณชองเขา สามารถผลิตไฟฟาใชในเมืองปาลมสปริง ไดทั้งเมือง ภาพกังหันลมเพื่อผลิตไฟฟาขนาด 5 MW ชายฝง Thornton ในประเทศเบลเยี่ยม 15