ข อจ าก ดของข อม ลทางบ ญช ม อะไรบ าง

คุณตรวจสอบประวัติการท่องเว็บใน Chrome ได้ และยังท่องเว็บต่อจากสิ่งที่เริ่มไปแล้วในคอมพิวเตอร์เดสก์ท็อปหรือแล็ปท็อป รวมถึงดูการค้นหาที่เกี่ยวข้องได้ด้วย

คุณลบประวัติการท่องเว็บทั้งหมดหรือบางส่วนได้หากไม่ต้องการบันทึกหน้าเว็บที่เข้าชมใน Chrome หากลบประวัติการท่องเว็บ การดำเนินการนี้จะมีผลในอุปกรณ์ทุกเครื่องที่คุณลงชื่อเข้าใช้ Chrome และซิงค์ประวัติการเข้าชมกับบัญชี Google

นอกจากนี้ คุณยังลบประวัติการค้นหาใน Google ออกจากบัญชีแยกต่างหากได้ด้วย

ข้อมูลในประวัติการเข้าชม

ประวัติการเข้าชมจะแสดงหน้าเว็บที่คุณเข้าชมใน Chrome ในช่วง 90 วันที่ผ่านมา โดยจะไม่เก็บข้อมูลต่อไปนี้

  • หน้าของ Chrome เอง เช่น chrome://settings
  • หน้าที่คุณเคยเข้าชมในการเรียกดูแบบส่วนตัว
  • หน้าที่ลบออกจากประวัติการท่องเว็บแล้ว

เคล็ดลับ: หากคุณลงชื่อเข้าใช้ Chrome และซิงค์ประวัติการเข้าชม ระบบจะแสดงหน้าเว็บที่เคยเข้าชมในอุปกรณ์ที่ซิงค์ไว้ด้วย

ค้นหาประวัติการเข้าชม

ค้นหาหน้าเว็บจากประวัติการเข้าชม

  1. เปิด Chrome ในคอมพิวเตอร์
  2. ป้อน @history ในแถบที่อยู่
  3. กด Tab หรือ Space หรือจะคลิก "ประวัติการค้นหา"
    ข อจ าก ดของข อม ลทางบ ญช ม อะไรบ าง
    ในคำแนะนำก็ได้
  4. ป้อนคีย์เวิร์ดของหน้าเว็บที่เคยเข้าชมก่อนหน้านี้
  5. เลือกหน้าเว็บจากรายการ

ล้างประวัติการเข้าชม

ลบรายการออกจากประวัติการเข้าชม

เคล็ดลับ: หากต้องการค้นหาสิ่งใดโดยเฉพาะ ให้ใช้แถบค้นหาที่ด้านบน

นำรูปภาพทางลัดออกจากหน้าแท็บใหม่

หากต้องการดูเว็บไซต์ที่คุณเข้าชมบ่อยที่สุด ให้เปิดแท็บใหม่

วิธีนำรูปภาพทางลัดออก

  1. ชี้ไปยังรูปภาพที่ต้องการนำออก
  2. ที่ด้านขวาบนของรูปภาพ ให้คลิกเพิ่มเติม
    ข อจ าก ดของข อม ลทางบ ญช ม อะไรบ าง
    ข อจ าก ดของข อม ลทางบ ญช ม อะไรบ าง
    นำออก
    ข อจ าก ดของข อม ลทางบ ญช ม อะไรบ าง

ค้นหาประวัติการเข้าชมตามกลุ่ม

ในแท็บ "ตามกลุ่ม" ของหน้าประวัติการเข้าชม Chrome จะจัดระเบียบการท่องเว็บและประวัติการค้นหาเป็นกลุ่มๆ คุณสามารถดูกิจกรรมการท่องเว็บก่อนหน้านี้และหาข้อมูลต่อจากการค้นหาที่เกี่ยวข้องได้โดยง่ายจากที่นี่

​ที่ปรึกษาทางการเงิน (Financial Advisor : FA) มีบทบาทสำคัญในการคัดเลือกและกลั่นกรองคุณภาพของบริษัทที่จะเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดูแลให้บริษัทเปิดเผยข้อมูลให้ครบถ้วน ถูกต้อง และเพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุน และให้ความเห็นต่อผู้ถือหุ้นเมื่อบริษัทจดทะเบียนมีการทำรายการสำคัญที่อาจกระทบต่อสิทธิและผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น เช่น รายการเกี่ยวกับการเข้าครอบงำกิจการ รายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการได้มาหรือจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์สำคัญ ซึ่งผลงานของ FA มีความสำคัญอย่างมาก​กับผู้ลงทุนและผู้ที่เกี่ยวข้องในวงกว้าง


​สรุปหลักเกณฑ์​

หน้​าที่​

  • ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ โดยใช้ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และระมัดระวัง ในการปฏิบัติงานเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ
  • รักษาจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
  • จัดทำกระดาษทำการ (working paper) เพื่อเป็นหลักฐานการทำงาน โดยต้องเก็บไว้อย่างน้อย 3 ปี
  • หาก FA ไม่ได้รับความร่วมมือจากลูกค้า​ ให้แจ้งต่อ ก.ล.ต. หากไม่แจ้งจะถือว่า FA ปฏิบัติหน้าที่บกพร่อง ไม่เหมาะสม หรือไม่ครบถ้วน
  • FA อาจใช้ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญได้ โดยต้องตรวจสอบจนเชื่อได้ว่าผู้เชี่ยวชาญรายนั้นมีความรู้ความสามารถในเรื่องนั้นเป็นอย่างดี
  • FA ต้องให้ผู้ควบคุมการปฏิบัติงานที่ได้รับความเห็นชอบจาก ก.ล.ต. ร่วมลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลที่เปิดเผยในแบบคำขอ/ filing รายงานและเอกสารต่าง ๆ ที่ยื่นต่อ ก.ล.ต.

ขอบเขตง​าน​ ​

  • ร่วมกับผู้ออกหลักทรัพย์ (issuer) จัดเตรียมและยื่นแบบคำขออนุญาต / แบบ filing / หนังสือชี้ชวน และเอกสารต่าง ๆ ต่อ ก.ล.ต. พร้อมทั้งรับรองความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้ลงทุนเป็นสำคัญ
  • ให้ความเห็นต่อ ก.ล.ต. ว่า issuer มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะได้รับอนุญาต
  • ให้ความรู้ คำแนะนำ แก่ issuer เกี่ยวกับหน้าที่ ความรับผิดชอบ กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง และวิธีปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
  • กรณีมีการทำประมาณการ FA ต้องให้ความเห็นเกี่ยวกับความสมเหตุสมผลและความเป็นไปได้ของสมมติฐาน
  • ดำเนินการไม่ให้ผู้บริหารของ issuer/FA เผยแพร่ข้อมูลที่ไม่ได้ปรากฏในแบบ filing
  • ร่วมกับ issuer ในการชี้แจงต่อ ก.ล.ต. กรณีเกิดเหตุการณ์ต่อไปนี้ในช่วง 1 ปี นับจาก filing มีผลใช้บังคับ (ก) issuer เปลี่ยนแปลงการดำเนินงานอย่างมีนั​​ยสำคัญ (ข) issuer ใช้เงินไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ ไม่ปฏิบัติตาม ม. 81 (การรายงานผลการขายหลักทรัพย์) หรือ (ค) issuer ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในการอนุญาตหรือข้อผูกพันที่เปิดเผยใน filing
  • ร่วมกับ issuer ในการชี้แจงต่อ ก.ล.ต. กรณีผลการดำเนินงานจริงต่างจากประมาณการอย่างมีนัยสำคัญ
  • กรณีเป็นผู้จัดเตรียม​​คำเสนอซื้อ
    • จัดทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์และเอกสารอื่นตามที่กำหนดร่วมกับผู้ทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์
    • ศึกษาข้อมูลของผู้ทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องจนเป็นที่เข้าใจและดำเนินการจนมั่นใจว่าข้อมูลในคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ถูกต้อง ครบถ้วน และไม่มีลักษณะที่อาจจะทำให้ผู้ใช้ข้อมูลสำคัญผิด ไม่มีข้อมูลที่อาจกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหลักทรัพย์ของกิจการที่ยังไม่ได้เปิดเผย
    • ประเมินมูลค่าสิ่งตอบแทนที่ผู้ทำคำเสนอซื้อจ่ายไปกรณีจ่ายสิ่งตอบแทนอื่นที่มิใช่ตัวเงิน
    • ให้ความเห็นต่อผู้ถือหลักทรัพย์ของกิจการที่ถูกเสนอซื้อว่าผู้ทำคำเสนอซื้อจะสามารถทำตามข้อเสนอได้หรือไม่และข้อเสนอมีความสมเหตุสมผลแล้วหรือไม่
    • ไม่ร่วมมือกับผู้ทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ในการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับผู้ทำคำเสนอซื้อที่แท้จริง
    • กระทำการใด ๆ เพื่อให้ผู้คำเสนอซื้อรับทราบหน้าที่และความรับผิดชอบตามหลักเกณฑ์ว่าด้วยการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ
  • กรณีเป็นที่ปรึกษาผู้ถือหุ้น แยกเป็นกรณีทำคำเสนอซื้อ และกรณีการขอผ่อนแบบ whitewash
    ​​- กรณีทำคำเสนอซื้อ
  • จัดทำความเห็นเกี่ยวกับคำเสนอซื้อหลักทรัพย์และเอกสารอื่นตามที่กำหนด
  • วิเคราะห์และประเมินฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของกิจการ รวมทั้งวิเคราะห์และประเมินผลกระทบต่อผู้ถือหุ้น โดยคำนึงถึงประโยชน์ของผู้ถือหลักทรัพย์ของกิจการ เพื่อให้ความเห็นต่อผู้ถือหลักทรัพย์ของกิจการว่าสมควรตอบรับหรือปฏิเสธคำเสนอซื้อ
  • ประโยชน์/ผลกระทบหากผู้ถือหุ้นปฏิเสธคำเสนอซื้อ (กรณีขอเพิกถอนหลักทรัพย์ออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดห​ลักทรัพย์ (delist))
    ​- กรณีการขอผ่อนแบบ whitewash
  • ให้ความเห็นต่อผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับการขอผ่อนผันการทำคำเสนอซื้อ
  • ทำความเข้าใจสมมติฐาน นโยบายแบะแผนงานของผู้ขอผ่อนผัน เพื่อให้ความเห็นต่อผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับความสมเหตุสมผลและความเป็นไปได้
  • วิเคราะห์และประเมินผลกระทบของการขอผ่อนผันต่อสิทธิประโยชน์ของผู้ถือหุ้น และดูความครบถ้วนของข้อมูลที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น
  • ความเหมาะสมของราคาหลักทรัพย์ออกใหม่ที่บริษัทจดทะเบียนจะเสนอขายให้แก่ผู้ขอผ่อนผัน
  • การสอบทานข้อมูล (due diligence) เกี่ยวกับรายชื่อ จำนวนหุ้นและจำนวนสิทธิออกเสียงของบุคคลเหล่านั้นของบุคคลที่มีหน้าที่นับรวมการถือครองหลักทรัพย์กับผู้ขอผ่อนผันในการพิจารณาหน้าที่ตามมาตรา 246 และมาตรา 247
  • จำนวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดผู้ขอผ่อนผันจะมีภายหลังการได้มาซึ่งหลักทรัพย์และที่จะสามารถได้มาเพิ่มเติมในอนาคตโดยไม่เกิดหน้าที่ในการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของบริษัทจดทะเบียน
  1. กรณี​อื่น​​
  • ก​​รณีการทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน
    ​​กำห​นดให้ต้องมีคว​ามเห็​นของที่ปรึกษาทางการเงินอิสระ (IFA) ในเรื่อง
  • ลักษณะและรายละเอียดของรายการที่เกี่ยวโยงกัน
  • ความสมเหตุสมผลและประโยชน์ของรายการ
    • วัตถุประสงค์และความจำเป็นของการทำรายการ
    • เปรียบเทียบข้อดีข้อด้อยของการทำรายการกะบไม่ทำรายการที่จะมีผลกระทบต่อบริษัทในด้านต่าง ๆ
    • เปรียบเทียบข้อดีและข้อด้อยระหว่างการทำรายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับทำรายการกับบุคคลภายนอก
  • ความเป็นธร​รมของราคาและเงื่อนไข
    • ความเหมาะสมของราคาและสิ่งตอบแทนอื่น โดยพิจารณาเปรียบเทียบราคาที่คำนวณได้หลาย ๆ วิธี
    • ความเหมาะสมของเงื่อนไขของรายการ
  • ให้ควา​​มเห็นว่าผู้ถือหุ้นควรลงมติเห็นชอบรายการหรือไม่ อย่างไร พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล ข้อสมมุติฐานและปัจจัยที่ใช้ประกอบการพิจารณา
    • กรณีการได้มาแ​​ละจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ กำหนดให้ต้องมีความเห็นของที่ปรึกษาทางการเงินอิสระ (IFA) ในเรื่อง
    • ความสมเหตุสมผลและประโยชน์ของรายการต่อบริษัท
    • ความเป็นธรรมของราคาและเงื่อนไขของรายการ
    • ให้ความเห็นว่าผู้ถือหุ้นควรลงมติเห็นชอบรายการหรือไม่ พร้อมเหตุผลประกอบ
    • ความเพียงพอของเงินทุนหมุนเวียนของบริษัทจดทะเบียน กรณีบริษัทจดทะเบียนหรือบริษัทย่อยทำการจดทะเบียนทางอ้อม (backdoor listing) ​​​ ​​การเปิดเผยความสมเหตุสมผลของรายการ อย่าง​น้อยควรพิจารณาในเรื่อง​ดัง​​นี้ ​​​
  • ​เงื่อนไขของรายการ
  • การทำให้เกิดความขัดแย้งของผลประโยชน์ (conflict of interest)
  • ผลกระทบทางการเงิน​
  • การทำธุรกิจในอนาคต​​

การให้ความ​เห็นชอบ

​นิติบุคคล

  1. เป็นสถาบันการเงิน หรือนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักในการประกอบธุรกิจเป็นที่ปรึกษาทางด้านการเงิน ที่ปรึกษาทางด้านการบัญชี หรือที่ปรึกษาทางด้านกฎหมาย
  2. ​มีสายงานที่รับผิดชอบการปฏิบัติหน้าที่เป็น FA ที่ชัดเจน
  3. มีหลักเกณฑ์และแนวทางการปฏิบัติงานเป็น FA ที่ชัดเจน รัดกุมและเพียงพอตามมาตรฐานและจรรยาบรร​ณในการประกอบวิชาชีพ
  4. ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนด เช่น เคยมีพฤติกรรมที่เป็นการขาดจรรยาบรรณหรือมาตรฐานในการปฏิบัติงานเป็น FA เป็นต้น
  5. กรรมการ ผู้จัดการ ผู้บริหารสายงานวาณิชธนกิจ ต้องมีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ FA มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความตั้งใจที่จะดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง มีความเข้าใจและรับผิดชอบต่อสาธารณชน และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนด เช่น เป็นบุคคลที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ บุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ เป็นต้น
  6. มีผู้ควบคุมการปฏิบัติงานที่ได้รับความเห็นชอบจาก ก.ล.ต. อย่างน้อยหนึ่งคนซึ่งปฏิบัติงานเต็มเวลา
  7. เป็นสมาชิกชมรมวาณิชธนกิจ​​​

ผู้ควบคุมการปฏิบัติงาน

1. ​มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามทำนองเดียวกับผู้บริหารสายงานวาณิชธนกิจ

2. ผ่านการสอบ/อบรมตามหลักสูตรของชมรมวาณิชธนกิจ​

ความเป็นอิสระของที่ปรึกษาทางการ​เงิน​​​

FA จะทำหน้าที่ได้ ต้องมีความเป็นอิสระ โดยเกณฑ์พิจารณาเกี่ยวกับความเป็นอิสระมีดังนี้

  • FA เป็นผู้ถือหุ้นในผู้ issuer ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม
  • FA มี issuer เป็นผู้ถือหุ้น ไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อม
  • FA มีกรรมการ ผู้บริหาร ผู้ควบคุมการปฏิบัติงาน หรือพนักงาน ซึ่งรับผิดชอบ ดูแล หรือปฏิบัติงานในสายงาน FA เป็นบุคคลหรือกลุ่มบุคคลเดียวกับกรรมการของ issuer
  • FA มีความเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสียกับ issuer ที่ทำให้ขาดความเป็นอิสระ

ตามรายละเอียดในภาคผนวกท้ายประกาศที่ สช. 59/2562​


​คู่มือ/ แนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง

​​ชมรมวาณิชธนกิจ
* ​ประกาศ / มาตรฐาน / แนวปฏิบัติ

​กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง​

  • รวมกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง​
  • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับห​ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ว่าด้วยการให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดำเนินงาน พ.ศ. 2552 (ฉบับประมวล) - ภาคผนว​ก (ท้ายประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สช. 59/2562 เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดำเนินงาน พ.ศ. 2552 (ฉบับที่ 9))​​
  • ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สจ. 36/2546 เรื่องหลักเกณฑ์ในการขอผ่อนผันการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของกิจก​าร โดยอาศัยมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นของกิจการ
  • ประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องการเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ. 2546 ข้อ 20(5)
  • ประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในการได้มาหรือจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ พ.ศ. 2547 ข้อ 30

แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง ​

  • หนังสือรับรองประวัติกรรมการหรือบุคลากรของที่ปรึกษาทางการเงิน MS W​ord | PDF
  • หนังสือรับรองการปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน MS Word | PDF
  • แบบ FA-1 คำขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน MS Word | PDF
  • แบบ FA-2 คำขอความเห็นชอบเป็นผู้ควบคุมการปฏิบัติงาน MS Word | PDF

แบบ FA-3 แบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมกรรมการ / ผู้จัดการ / ผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไปที่รับผิดชอบงานด้านที่ปรึกษาทางการเงิน / ผู้ควบคุมการปฏิบัติงาน