พระพรหม หลวงพ อเพ ม ว ดป อมแก ว

พระพรหมวชิรญาณ นามเดิม โรเบิร์ต คาร์ แจ็คแมน สุเมโธ หรือ พระอาจารย์สุเมโธ เป็นพระราชาคณะ​เจ้าคณะ​รอง​ชั้น​หิรัญ​บัฎฝ่ายวิปัสสนา​ธุระ​ เป็นพระเถระสายพระป่าในประเทศไทย ศิษย์ชาวตะวันตกรูปแรกของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) เคยดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่านานาชาติ ใน ประเทศไทย วัดอมราวดี ซึ่งตั้งอยู่ทางเหนือของกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร นับตั้งแต่ พ.ศ. 2527 ตราบจนเกษียณตนเองจากตำแหน่งเมื่อ พ.ศ. 2553 และเป็นผู้นำรูปสำคัญในการเผยแพร่คำสอนเรื่องอริยสัจ 4 ในพระพุทธศาสนามาสู่สังคมชาวตะวันตก

ประวัติ[แก้]

พระพรหมวชิรญาณ เป็นชาวอเมริกัน มีนามเดิมว่า โรเบิร์ต คาร์ แจ็คแมน (Robert Karr Jackman) เกิดที่เมืองซีแอตเติล รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1934 (พ.ศ. 2477) ท่านออกจากประเทศสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1964 (พ.ศ. 2507) เพื่อมาบวชเป็นพระภิกษุที่จังหวัดหนองคาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย หลังจากนั้นไม่นานท่านก็มีโอกาสไปอยู่กับพระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภัทโท) พระอาจารย์ผู้มีชื่อเสียงในการสอนกรรมฐาน ณ วัดหนองป่าพง จังหวัดอุบลราชธานี ระเบียบการปฏิบัติธรรมของหลวงพ่อชาในวัดหนองป่าพงนี้เป็นที่รู้กันว่าเข้มงวดและเคร่งครัด โดยเน้นที่ความเรียบง่ายและเคร่งครัดต่อพระธรรมวินัย พระอาจารย์สุเมโธได้ฝึกปฏิบัติตามแนวของหลวงพ่อชาเป็นเวลาถึง 10 ปี จึงได้รับเชิญจากมูลนิธิสงฆ์แห่งประเทศอังกฤษ (The English Sangha Trust) ให้เดินทางไปอยู่ที่ลอนดอน ร่วมกับคณะศิษย์ของหลวงพ่อชา อีก 3 รูป

มูลนิธิสงฆ์แห่งประเทศอังกฤษมีจุดมุ่งหมายจะเสริมสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การฝึกพระภิกษุในประเทศตะวันตก โดยมีสำนักสงฆ์บ้านแฮมสเตด (The Hampstead Buddhist Vihara) ณ เมืองลอนดอนเป็นจุดเริ่มต้น สำนักสงฆ์แห่งนี้มีความเหมาะสมพอสมควร แต่คณะสงฆ์ก็เห็นข้อดีของการมีสิ่งแวดล้อมที่สงบกว่า เช่น บรรยากาศในชนบท จึงพยายามตั้งวัดป่าขึ้นในประเทศอังกฤษ และสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1979 (พ.ศ. 2522) โดยดัดแปลงบ้านที่ทรุดโทรมหลังหนึ่งในเวสต์ซัสเซกซ์ (West Sussex) ในเวลาต่อมาสถานที่นี้จึงเป็นที่รู้จักกันในนามว่า Chithurst Buddhist Monastery หรือวัดป่าจิตตวิเวก (Cittaviveka) นั่นเอง

เมื่อมีวัดที่เหมาะสมขึ้นแล้ว คณะสงฆ์จึงเริ่มเติบโต มีจำนวนพระภิกษุเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งเริ่มมีการฝึกสีลธรา (Siladhara) มีทั้งผู้ที่ต้องการจะมาฝึกมาปฏิบัติในวัด และผู้ที่ต้องการจะถวายปัจจัยสนับสนุนวัด ซึ่งมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เป็นเหตุให้ต้องก่อตั้งวัดสาขาเพิ่มอีกหลายแห่ง ทั้งในอังกฤษ และประเทศอื่น ๆ ขณะเดียวกันก็มีการจัดตั้งศูนย์กลางการสอน ปฏิบัติธรรมขนาดใหญ่ขึ้น ณ วัดอมราวดี (Amaravati Buddhist Monastery) ในปี ค.ศ. 1884 (พ.ศ. 2527) วัดแห่งนี้ต่อมาเป็นสถานที่ที่พระอาจารย์สุเมโธพำนักอยู่เป็นส่วนใหญ่

สมณศักดิ์[แก้]

  • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2535 เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่ พระสุเมธาจารย์
  • 12 สิงหาคม พ.ศ. 2547 เป็นพระราชาคณะชั้นราช ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่ พระราชสุเมธาจารย์ พิศาลภาวนากิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี
  • 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่ พระเทพญาณวิเทศ วิเศษโพธิธรรมคุณ วิบูลภาวนานุสิฐ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี
  • 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ฝ่ายวิปัสสนา​ธุระ​ ที่ พระพรหมวชิรญาณ ไพศาลวิเทศศาสนกิจ วิจิตรธรรมปฏิภาณ วิปัสสนาญาณวงศวิสิฐ ราชมานิตวชิราลงกรณ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

อ้างอิง[แก้]

  • ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์ เก็บถาวร 2015-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม 109, ตอนที่ 155 ง ฉบับพิเศษ, 5 ธันวาคม 2535, หน้า 17
  • ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์พระสงฆ์ไทยในต่างประเทศ เก็บถาวร 2017-01-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม 121, ตอนที่ 17 ข, 15 กันยายน 2547, หน้า 15 ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์ เก็บถาวร 2019-07-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม 136, ตอนที่ 40 ข, 28 กรกฎาคม 2562 , หน้า 11 เทพเจ้าแห่งความเมตตา พระพรหมวัชรเมธี กับปณิธานอันแรงกล้าในการพัฒนาบูรณะปฏิสังขรณ์โบราณสถานโบราณวัตถุของวัดอรุณราชวราราม ให้เจริญก้าวหน้าที่สุด ข่าววงการพระเครื่อง

พระพรหม หลวงพ อเพ ม ว ดป อมแก ว

  • สนับสนุนเนื่อหา

พระพรหม หลวงพ อเพ ม ว ดป อมแก ว

เทพเจ้าแห่งความเมตตา พระพรหมวัชรเมธี กับปณิธานอันแรงกล้าในการพัฒนาบูรณะปฏิสังขรณ์โบราณสถานโบราณวัตถุของวัดอรุณราชวราราม ให้เจริญก้าวหน้าที่สุด

ถือเป็นความโชคดีของคณะสงฆ์วัดอรุณราชวรารามและพวกเราพี่น้องประชาชนชาววัดอรุณ ที่มีร่มโพธิ์ร่มไทร มีพระผู้นำที่ท่านมีความเมตตา จัดตั้งโครงการเยี่ยมพระสงฆ์อาพาธ/สูงวัย ภายในวัดอรุณราชวราราม และมอบชุดถุงยังชีพเยี่ยมผู้ป่วยติดเตียง ชุมชนปรกอรุณ กำหนดเยี่ยมพระสงฆ์อาพาธ/สูงวัย ภายในวัดอรุณราชวราราม และผู้ป่วยติดเตียง ชุมชนปรกอรุณ เป็นประจำทุกวันที่ 6 ของเดือน

พระพรหม หลวงพ อเพ ม ว ดป อมแก ว

ท่านมีปณิธานอันแรงกล้าในการจะพัฒนาบูรณะปฏิสังขรณ์โบราณสถานโบราณวัตถุของวัดอรุณราชวราราม ให้เจริญก้าวหน้าที่สุด เพื่อเป็นหน้าตาของประเทศ เพื่ออำนวยความสดวกสบายแก่พี่น้องชาวไทยที่เดินทางมาร่วมทำบุญกับทางวัดอรุณราชวราราม และเพื่ออำนวยความสดวกสบายแก่เพื่อนแขกนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศจากทั่วโลก ที่เดินทางมาเที่ยวชมความสวยสดงดงามของโบราณสถานโบราณวัตถุวัดอรุณราชวราราม

พระพรหม หลวงพ อเพ ม ว ดป อมแก ว

พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระพรหมวัชรเมธี กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค ๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม เทพเจ้าแห่งความเมตตา พระผู้เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของคณะสงฆ์วัดอรุณราชวรารามและพวกเราพี่น้องประชาชนชาววัดอรุณ ท่านได้เมตตามอบหมายให้คณะสงฆ์สำนักงานกลาง โดย พระวชิรรัตนาภรณ์ ดร. (ชุมพร) เลขานุการเจ้าคณะภาค ๙ ผู้ช่วยเจ้าอาวาส/เลขานุการวัดอรุณราชวราราม เป็นผู้ประสานงานกับคณะช่างคณะทำงานในทุกๆด้าน

พระพรหม หลวงพ อเพ ม ว ดป อมแก ว

โดยพระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระพรหมวัชรเมธี กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค ๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม ท่านจะเมตตาลงพื้นที่ก่อสร้างเพื่อให้คำปรึกษาแก่คณะช่าง และร่วมดูแลในการทำงานของคณะช่างในการพัฒนาบูรณะปฏิสังขรณ์โบราณสถานโบราณวัตถุของวัดอรุณราชวราราม ตลอดทุกข้้นตอน

จุก วัดแจ้ง 27 พ.ย 2566

พระพรหม หลวงพ อเพ ม ว ดป อมแก ว

กำหนดการพิธีมังคลาภิเษก เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี ณ พระอุโบสถน้อย วัดอรุณราชวราราม วันอาทิตย์ที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ************************** ๑๓.๑๕ น. - ขบวนแห่เชิดสิงโต ๙ หัว เข้าบริเวณมณฑลพิธี ๑๓.๓๐ น. - คณะกรรมการทุกฝ่ายพร้อมกัน ณ มณฑลพิธีพระอุโบสถน้อย ๑๓.๔๕ น. - ประกอบพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์อัญเชิญบารมีสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช บริเวณแท่นบวงสรวงหน้าองค์พระพุทธปรางค์ - คุณอัครวิทย์ รัตนประสิทธิ์ ประธานคณะกรรมการจัดสร้าง เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี ประกอบพิธีบวงสรวง ๑๔.๓๐ น. - พิธีทำลายบล็อค โดย พระวชิรรัตนาภรณ์ ดร. (ชุมพร นิติสาโร) เลขานุการเจ้าคณะภาค ๙ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสและเลขานุการวัดอรุณราชวราราม ประธานที่ปรึกษาฝ่ายสงฆ์ คณะกรรมการการจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี ๑๕.๐๐ น. - พิธีเจริญพระพุทธมนต์ - พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ ๑๐ รูป ประจำอาสนะ - ประธานในพิธีฝ่ายฆราวาสจุดธูป เทียน บูชาพระรัตนตรัย - เจ้าหน้าที่อาราธนาศีล/สมาทานศีล - เจ้าหน้าที่อาราธนาพระปริตร - พระสงฆ์ทั้งนั้นเจริญพระพุทธมนต์ - ถวายเครื่องไทยธรรม - พระสงฆ์ทั้งนั้นอนุโมทนา ๑๕.๔๕ น. - พิธีมังคลาภิเษก - พระเถราจารย์ผู้ทรงคุณ ๑๐ รูป ขึ้นสู่อาสนะ - ประธานฝ่ายฆราวาสถวายสักการะพระเดชพระคุณ พระพรหมวัชรเมธี เจ้าคณะภาค ๙ , เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม - พระเดชพระคุณพระพรหมวัชรเมธี เจ้าคณะภาค ๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม เจิมเทียนชัย จากนั้นประธานฝ่ายฆราวาสถวายเทียนชนวนแด่พระเดชพระคุณฯเพื่อจุดเทียนชัย - พระพิธีธรรมเจริญคาถาจุดเทียนชัย - เจ้าหน้าที่อาราธนาพระปริตร - พระเถราจารย์นั่งปรกอธิษฐานจิต - ขณะนั้นเชิญผู้มีเกียรติ จำนวน ๑๐ ท่าน จุดเทียนที่ขันน้ำพระพุทธมนต์ ๑๖.๔๕ น. - ประกอบพิธีดับเทียนชัย - ถวายเครื่องไทยธรรม - พระสงฆ์ทั้งนั้นอนุโมทนา ๑๗.๐๐ น. - พระเดชพระคุณพระพรหมวัชรเมธี เจ้าคณะภาค ๙ , เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม เมตตามอบของที่ระลึกแก่คณะกรรมการบริเวณด้านหน้าพระอุโบสถน้อย และมอบพระผงของขวัญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี แก่ คุณมนตรี วิไลสมสกุล (ติ๊ก จันทบุรี) ผู้แทนศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จังหวัดจันทบุรี ๑๗.๓๐ น. - พระเดชพระคุณพระพรหมวัชรเมธี เจ้าคณะภาค ๙ , เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม เมตตาแจกพระผงของขวัญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี แก่พุทธศาสนิกชนผู้เข้าร่วมพิธี - เป็นอันเสร็จพิธี

พระพรหม หลวงพ อเพ ม ว ดป อมแก ว

วัตถุมงคลเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี วัตถุประสงค์ 1.เพื่อหารายได้เข้ากองทุนการศึกษาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วัดอรุณราชวราราม จำนวน 1,000,000 บาท 2.สร้างพระผงของขวัญแจกฟรีแก่ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทั่วประเทศ จำนวน 50,000 เหรียญ

พระพรหม หลวงพ อเพ ม ว ดป อมแก ว

รายการวัตถุมงคล เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี

ลำดับที่ 1 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขนาด 3.5 เซนติเมตร 1.1 เนื้อทองคำ น้ำหนัก 22 กรัม ขึ้น - ลง จำนวนการสร้าง 59 เหรียญ บูชาเหรียญละ 75,000 บาท 1.2 เนื้อเงิน จำนวนการสร้าง 800 เหรียญ บูชาเหรียญละ 2,000 บาท 1.3 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา สร้าง 8 สี 1.ลงยาสีธงชาติ 2.ลงยาสีแดง 3.ลงยาสีเหลือง 4.ลงยาสีชมพู 5.ลงยาสีเขียว 6.ลงยาสีส้ม 7.ลงยาสีฟ้า 8.ลงยาสีม่วง จำนวนการสร้างสีละ 800 เหรียญ รวมสร้าง 6,400 เหรียญ บูชาเหรียญละ 400 บาท 1.4 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช จำนวนการสร้าง 6,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 300 บาท 1.5 เนื้อทองแดง จำนวนการสร้าง 10,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 200 บาท

พระพรหม หลวงพ อเพ ม ว ดป อมแก ว

ลำดับที่ 2 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขนาด 2.5 เซนติเมตร 2.1 เนื้อทองคำ น้ำหนัก 10 กรัม ขึ้น - ลง จำนวนการสร้าง 59 เหรียญ บูชาเหรียญละ 38,000 บาท 2.2 เนื้อเงิน จำนวนการสร้าง 800 เหรียญ บูชาเหรียญละ 1,500 บาท 2.3 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา สร้าง 8 สี 1.ลงยาสีธงชาติ 2.ลงยาสีแดง 3.ลงยาสีเหลือง 4.ลงยาสีชมพู 5.ลงยาสีเขียว 6.ลงยาสีส้ม 7.ลงยาสีฟ้า 8.ลงยาสีม่วง จำนวนการสร้างสีละ 800 เหรียญ รวมสร้าง 6,400 เหรียญ บูชาเหรียญละ 350 บาท 2.4 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช จำนวนการสร้าง 6,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 250 บาท 2.5 เนื้อทองแดง จำนวนการสร้าง 10,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 150 บาท

พระพรหม หลวงพ อเพ ม ว ดป อมแก ว

ลำดับที่ 3 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เนื้อผงพุทธคุณ 108 3.1 ฝังตะกรุดทองคำ 1 คู่ จำนวนการสร้าง 300 เหรียญ บูชาเหรียญละ 1,500 บาท 3.2 ฝังตะกรุดเงิน 1 คู่ จำนวนการสร้าง 500 เหรียญ บูชาเหรียญละ 600 บาท

พระพรหม หลวงพ อเพ ม ว ดป อมแก ว

ลำดับที่ 4 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ชุดกรรมการ จัดรวม 100 ชุด (หมายเลขเดียวกัน) บูชาชุดละ 12,500 บาท (ชุดกรรมการ 1 ชุด ได้รับเหรียญทั้งหมด 24 เหรียญ ประกอบด้วย 4.1 เนื้อเงิน ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.2 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา 8 สี ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.3 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.4 เนื้อทองแดง ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.5 เนื้อผงพุทธคุณ 108 แบบฝังตะกรุดทองคำ และแบบฝังตะกรุดเงิน)

พระพรหม หลวงพ อเพ ม ว ดป อมแก ว

รายนามพระเกจิอาจารย์ผู้เรืองวิทยาคมร่วมอธิษฐานจิตปลุกเสก เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่มมหาเศรษฐี