คอมเพรสเซอร ต เย นถ าไม ม น ำยาจะทำงานไหม

คอมเพรสเซอร์ (Compressor) คืออะไร ? | คอมเพรสเซอร์เสียง ทำหน้าที่อะไร? ผู้เล่นเครื่องเสียงมือใหม่หลายๆคนอาจจะยังไม่เข้าทราบ ว่าจำเป็นต้องใช้หรือเปล่า ในบทความนี้ เราจะมาอธิบายไปพร้อมๆกันตั้งแต่เบื้องต้นเลยครับ ไม่จำเป็นต้องมีพื้นฐานก็อ่านได้รู้เรื่อง และสามารถนำไปใช้ได้ครับ หรือสำหรับผู้เล่นเครื่องเสียงระดับโปรแล้ว ก็อ่านได้นะครับ ถือว่าเป็นการทบทวนไปในตัว

คอมเพรสเซอร ต เย นถ าไม ม น ำยาจะทำงานไหม

คอมเพรสเซอร์ (Compressor) คือ อุปกรณ์ด้านระบบเสียงชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่ควบคุมระดับความแรงของสัญญาณเสียง ไมให้เกินค่าที่เรากำหนดไว้ ทำงานโดยการ บีบอัด หรือ กดระดับสัญญาณเสียงนั่นเอง เช่น ขณะทำการแสดงคอนเสิร์ต นักร้องดันร้องตะโกนเสียงดังขึ้นมา เสียงที่เข้ามาในระบบเสียง มีระดับความแรงของสัญญาณ เกินค่าที่เรากำหนดไว้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพเสียง และเป็นตัวการทำให้เกิดความเสียหายต่อดอกลำโพงได้อีกด้วย เพราะฉะนั้น คอมเพรสเซอร์มันจะทำหน้าที่ กดระดับเสียงที่เกินค่าลงมา ให้อยู่ในระดับของสัญญาณที่เรากำหนดเอาไว้ ส่วนเสียงที่ไม่เกินค่า คอมเพรสเซอร์ก้อจะปล่อยให้สัญญาณผ่านออกไปได้ตามปกติ

การทำงานของปุ่มปรับต่างๆ ในส่วนของการใช้งานคอมเพรสเซอร์นี้มีดังนี้...

คอมเพรสเซอร ต เย นถ าไม ม น ำยาจะทำงานไหม

1. THRESHOLD

เป็นปุ่มใช้งานในการตั้งค่า จุดเริ่มการกดระดับสัญญาณที่เราต้องการให้คอมเพรสเซอร์เริ่มทำงาน มีหน่วยเป็นค่า db เช่น หากเราตั้งค่าไว้ที่ 0 dB เมื่อมีสัญญาณที่เข้ามา มีความแรงเกินกว่าที่ระดับ 0 dB คอมเพรสเซอร์ก็จะเริ่มกด และลดระดับสัญญาณไม่ให้เกิน 0 dB ทันทีนั่นเอง แต่หากสัญญาณเข้ามาไม่เกิน 0dB คอมเพรสเซอร์ก็จะปล่อยให้เสียงผ่านได้โดยสะดวก

  • การกด และลดลงอย่างรวดเร็วเราเรียกว่า “ฮาร์ดนี (Hard-Knee)”
  • แต่ถ้าเสียงที่ถูกกดค่อยๆ ลดลงเพื่อให้เสียงฟังดูนุ่มขึ้นเราเรียกว่า “ซอฟต์นี (Soft-Knee)”

ปุ่มกดเลือกใช้งาน “ซอฟต์นี (Soft-Knee)” คอมเพรสเซอร์บางยี่ห้อ ก็จะมีชื่อเรียกทางการค้าที่แตกต่างกันเช่น ยี่ห้อ dbx เรียกปุ่มนี้ว่า Over Easy, ยี่ห้อ Behringer เรียกปุ่มนี้ว่า Interactive Knee ในส่วนของการตั้งค่าในดิจิตอลมิกเซอร์ หรือดิจิตอลโปรเซสเซอร์ต่างๆ จะมีฟังก์ชั่นให้เรากดเลือกใช้งาน การทำงานระหว่าง “ฮาร์ดนี (Hard-Knee)” และ “ซอฟต์นี (Soft-Knee)” ได้อย่างอิสระ

2. RATIO

เป็นปุ่มปรับอัตราส่วนของการตั้งค่าของการกดระดับสัญญาณ ซึ่งจะทำงานสัมพันธ์กันกับค่า THRESHOLD ที่เราตั้งค่าเอาไว้

ตัวอย่าง

  1. เราตั้งค่าอัตราส่วนไว้ที่ 1:1 สัญญาณด้านออกจะไม่ถูกกดลงเลย (คอมเพรสเซอร์จะไม่ทำงาน)
  2. เราตั้งค่าอัตราส่วนไว้ที่ 2:1 สัญญาณขาออก จะถูกกดให้ลดลง 2 เท่า จากค่า THRESHOLD ที่เราตั้งไว้ เช่น สัญญาณเข้า +20dB สัญญาณขาออกจะถูกกด และลดลงไม่ให้เกิน +10dB
  3. เราตั้งค่าอัตราส่วนไว้ที่ 4:1 สัญญาณออกจะถูกกดให้ลดลง 4 เท่า จากค่า THRESHOLD ที่เราตั้งไว้ เช่น สัญญาณเข้า +20dB สัญญาณขาออกจะถูกกด และลดลงไม่ให้เกิน +5dB
  4. Infinite (หมุนตามเข็มนาฬิกาสุด) สัญญาณด้านขาออกจะถูกกดให้ลดลง เท่ากับค่า THRESHOLD ที่เราตั้งไว้ นั่นเอง

3. ATTACT

เป็นปุ่มสำหรับปรับตั้งค่า การหน่วงเวลาของการเริ่มต้นกดสัญญาณ ให้คอมเพรสเซอร์ทำงานในเวลาที่เร็วหรือช้าแค่ไหน เมื่อระดับสัญญาณมีความแรงเกินค่าที่เรากำหนดไว้ มีหน่วยเป็น MS.(Millisecond)

4. RELEASE

เป็นปุ่มสำหรับปรับตั้งค่าหน่วงเวลา ช่วงของการหยุด และยกเลิกการกดสัญญาณ ให้คอมเพรสเซอร์หยุดทำงานในเวลาที่เร็วหรือช้าแค่ไหน มีหน่วยเวลาเป็นวินาที (SEC)

5. OUTPUT GAIN

เป็นปุ่มปรับลด หรือเพิ่มระดับความแรงของสัญญาณด้านขาออกของเครื่อง เพื่อลดระดับเสียงที่ดังเกินไป หรือชดเชยระดับความดังของเสียงที่เบาลง (หลังจากที่เราได้ทำการกดระดับสัญญาณ) ให้เพิ่มขึ้น ตามระดับเสียงที่เราต้องการ

สรุป

หน้าที่ของ คอมเพรสเซอร์ (Compressor) คือทำให้ระดับสัญญาณเสียงที่เบา กับระดับเสียงที่ดัง ไม่ให้เกิดระยะห่าง ที่แตกต่างกันมากเกินไป และยังมีการนำคอมเพรสเซอร์ มาใช้ในการช่วยให้ได้เสียงที่หนักแน่น และมีพลังมากขึ้น ช่วยเพิ่มให้เสียง มีความเป็นดนตรีเพิ่มขึ้นอีกด้วย ซึ่งนิยมใช้ทั้งในงานไลฟ์ซาวด์ ห้องประชุมสัมนา หรือใช้ในห้องบันทึกเสียง และอื่นๆ อีกมากมาย

คำถามก็คือว่า เราควรจะซื้อใหม่(ขนาดเล็กกว่าเดิม เอาสักไม่เกิน12คิว ราคาหมื่นกว่า ไม่เกินสองหมื่น) หรือซ่อมเจ้านี่อีกรอบดีคะ ถ้าซ่อม ก็จะเป็นว่าจ่ายค่าซ่อมไปรวมทั้งสิ้นหมื่นกว่าบาท กับสภาพตู้ที่ถูกซ่อมมาแล้วสองรอบโดยที่ไม่รู้ว่ามันจะใช้งานได้ดีไปอีกกี่เดือนกี่ปี

คอมเพรสเซอร์ ( Compressor ) หรือเครื่องอัดไอ เป็นอุปกรณ์หลักที่สำคัญอันหนึ่งของระบบทำความเย็น ทำหน้าที่ในการดูดและอัดสารทำความเย็นในสถานะแก๊ส คอมเพรสเซอร์จะดูดสารทำความเย็นที่เป็น Superheatแก๊สความดันต่ำ และอุณหภูมิต่ำจากอีวาพอเรเตอร์ผ่านเข้ามาทางท่อซักชั่น เข้ายังทางดูดของคอมเพรสเซอร์ แล้วอัดแก๊สนี้ให้มีความดันสูงขึ้นและมีอุณหภูมิสูงขึ้นด้วย ส่งเข้ายังคอนเดนเซอร์ โดยผ่านเข้าทางท่อดิสชาร์จเพื่อไปกลั่นตัวเป็นของเหลวใน คอนเดนเซอร์ด้วยการระบายความร้อนออกจากสารทำความเย็นอีกทีหนึ่ง

จะเห็นได้ว่าในวงจรเครื่องทำความเย็น คอมเพรสเซอร์เป็นอุปกรณ์ที่แบ่งความดันในระบบระหว่างด้านความดันสูงและความดันต่ำ สารทำความเย็นที่ถูกดูดเข้ามาในคอมเพรสเซอร์จะมีสถานะเป็นแก๊สที่มีความดันต่ำและสารทำความเย็นที่อัดส่งจากคอมเพรสเซอร์จะมีสถานะเป็นแก๊สที่มีความดันสูง

คอมเพรสเซอร ต เย นถ าไม ม น ำยาจะทำงานไหม

คอมเพรสเซอร์ (Compressor) มีกี่แบบ กี่ชนิด

คอมเพรสเซอร์ที่ใช้กันอยู่ในระบบทำความเย็น มีแตกต่างกันอยู่หลายชนิดคือ

1. แบบลูกสูบ ( Reciprocating Type )

2. แบบโรตารี ( Rotary Type )

3. แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย์ ( Centrifugal Type )

4. แบบสกรู ( Screw Type )

5. แบบสโครล์หรือแบบก้นหอย ( Scroll Type )

6. แบบไดอะแฟรม ( Diaphragm Type )

7. แบบสวอชเพลต ( Swash Plate Type )

คอมเพรสเซอร์ แบบลูกสูบ ( Reciprocating Type )

หน้าที่และการทำงานของคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบคือจะดูดและอัดสารทำความเย็นในสถานะที่เป็นแก๊สโดยดูดสารทำความเย็นในสถานะแก๊สที่มีความดันต่ำและอุณหภูมิต่ำจากอีวาพอเรเตอร์ เข้ามาอัดตัวให้เป็นแก๊สที่มีความดันสูงและอุณหภูมิสูงขึ้นแล้วส่งไปยังคอนเดนเซอร์

หลักการทํางานของคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบมีดังนี้คือ ในแต่ละกระบอกสูบจะประกอบด้วย ชุดของลิ้นทางดูดและลิ้นทางอัดซึ่งติดอยู่กับวาล์วเพรต ( Valve plate ) ขณะที่ลูกสูบหนึ่งเคลื่อนที่ลงในจังหวะดูดลูกสูบหนึ่งจะเคลื่อนที่ขึ้นในจังหวะอัด

คอมเพรสเซอร ต เย นถ าไม ม น ำยาจะทำงานไหม

คอมเพรสเซอร์ แบบโรตารี ( Rotary Type )

คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี่ทำหน้าที่ดูดและอัดสารทำความเย็นในสถานะแก๊ส โดยอาศัยการกวาดตัวตามแกนโรเตอร์ ( Rotor ) เนื่องจากคอมเพรสเซอร์แบบโรตารี่นี้มีขีดจำกัดในการทำงาน คือจะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง กินไฟน้อย กับระบบเครื่องทำความเย็นขนาดเล็กไม่เกิน 1-2 ตัน แต่ถ้าระบบขนาด ใหญ่เกินกว่านี้แล้ว คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี่จะใช้งานไม่สู้ดีนัก คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี่นี้จบพบมากในแอร์บ้าน ที่ใช้ฟินคอยล์ในการระบายความร้อน ขนาดมักไม่เกิน 36,000 BTU

คอมเพรสเซอร ต เย นถ าไม ม น ำยาจะทำงานไหม

คอมเพรสเซอร์ แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย์ ( Centrifugal Type )

คอมเพรสเซอร์แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย์นี้ใช้ได้ดีกับระบบเครื่องทำความเย็นขนาดใหญ่ๆ โดยทั่วไปพบใช้ตั้งแต่ 50 ตันขึ้นไป คอมเพรสเซอร์แบบนี้มีโครงสร้างเป็นใบพัด มีการดูดและอัดสารทำความเย็นในสถานะที่เป็นแก๊สให้มีความดันสูงขึ้นโดยไม่ต้องใช้กระบอกสูบ ลูกสูบและวาล์วทางดูด – ทางอัดเลย แต่สารทำความเย็นในสถานะแก๊สซึ่งมีความดันต่ำจะถูกดูดเข้ามาใกล้กับแกนกลางของคอมเพรสเซอร์ และถูกเหวี่ยงตัวด้วยตัวใบพัดทำให้เกิดแรงเหวี่ยงหนีศูนย์ (Centrifugal force) สารทำความเย็นจึงเกิดการอัดตัวโดยอาศัยแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางของสารทำความเย็นนี้ ความแตกต่างแรงดันของสารทำความเย็นที่ถูกดูดเข้ามาและถูกอัดส่งออกไปจะไม่มากนัก ดังนั้นเพื่อให้ได้แรงดันที่สูงขึ้นจึงต่อแก๊สที่ถูกเหวี่ยงอัดตัวและเข้าไปเหวี่ยงอัดตัวในช่วงต่อไป

คอมเพรสเซอร ต เย นถ าไม ม น ำยาจะทำงานไหม

คอมเพรสเซอร์ แบบสกรู ( Screw Type )

คอมเพรสเซอร์แบบสกรูดูดอัดสารทำความเย็นในสถานะแก๊สโดยใช้สกรู 2 ตัวซึ่งขบกัน ช่องว่างระหว่างสกรูทั้งสองห่างกันน้อยมาก ขณะที่สกรูถูกหมุนจะดูดสารทำความเย็นเข้าและอัดออกทางด้านปลายของสกรู แล้วส่งออกทางด้านอัดของคอมเพรสเซอร์

คอมเพรสเซอร ต เย นถ าไม ม น ำยาจะทำงานไหม

คอมเพรสเซอร์ แบบสโครล์หรือแบบก้นหอย ( Scroll Type )

คอมเพรสเซอร์แบบสโครล์หรือแบบก้นหอย เป็นคอมเพรสเซอร์ขนาดเล็กถึงกลาง (1 – 50 Ton ) เป็นการเอาข้อดีของคอมเพรสเซอร์แบบลูกสอบและแบบโรตารี่มารวมกันทำให้มีประสิทธิภาพที่เพิ่มมากขึ้น ลักษณะของคอมเพรสเซอร์ จะเป็นแผ่นวงกลมสองวงมีครีบหมุนแบบก้นหอยสองแผ่นประกบคู่กัน แผ่นก้นหอยตัวบนจะถูกยึดติดกับที่ ตัวล่างจะถูกเหวี่ยงเป็นวงโคจรโดยเพลาของมอเตอร์

คอมเพรสเซอร ต เย นถ าไม ม น ำยาจะทำงานไหม

คอมเพรสเซอร์ แบบไดอะแฟรม ( Diaphragm Type )

คอมเพรสเซอร์แบบไดอะแฟรมเป็นอีกแบบหนึ่งที่ไม่ค่อยพบใช้โดยทั่วไป การทำงานของคอมเพรสเซอร์แบบนี้อาศัยการสั่นของไดอะแฟรม ทำให้เกิดการดูดอัดสารและความเย็นในสถานะแก๊ส ให้มีความดันสูงขึ้นส่งไปยังคอนเดนเซอร์ คอมเพรสเซอร์แบบไดอะแฟรมนี้พบใช้กับตู้เย็นขนาดเล็ก ๆ

คอมเพรสเซอร์ แบบสวอชเพลต ( Swash Plate Type )

ปัจจุบันคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลตนี้เป็นที่นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางในการติดตั้งเครื่องปรับอากาศรถยนต์ เพราะคอมเพรสเซอร์แบบนี้มีขนาดเล็กกะทัดรัด มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง และฉุดแรงเครื่องยนต์น้อยกว่าแบบลูกสูบ ในขนาดของการทำความเย็นจำนวนแคลอรี่เท่ากัน

จะรู้ได้ไงว่าคอมเพรสเซอร์ตู้เย็นเสีย

ปัญหาคอมเพรสเซอร์หลังตู้เย็นเกิดการชำรุด อาจส่งผลให้ตู้เย็นไม่เย็นทั้งช่องด้านบนและช่องด้านล่าง สังเกตง่าย ๆ หากระหว่างการใช้งานตู้เย็นแล้วไม่ได้ยินเสียงคอมเพรสเซอร์ที่อยู่บริเวณด้านหลังตู้เย็นทำงาน นั่นแสดงว่าคอมเพรสเซอร์เสีย แนะนำให้เปลี่ยนคอมเพรสเซอร์ทันที

คอมเพรสเซอร์ตู้เย็นทำงานอย่างไร

เครื่องอัด (Compressor) ทำให้น้ำยาเดือดแล้วกลายเป็นไอ และใน ระหว่างนี้จะดูดความร้อนที่อยู่ภายในตู้เย็นเพื่อทำให้ตัวเองเปลี่ยนสถานะเป็นไอสาร ความเย็นด้วย ทำให้ภายในตู้เย็นมีความเย็น แล้วไอนี้จะถูกควบแน่นกลับมาเป็นน้ำยา ทำความเย็นในสถานะของเหลวอีก โดยถ่ายเทความร้อนออกมาภายนอกตู้เย็นที่บริเวณ หลังตู้เย็นหรือใต้ตู้เย็น

ซ่อมคอมเพรสเซอร์ตู้เย็นราคากี่บาท

ซ่อมตู้แช่แข็ง ตู้แช่เครื่องดื่ม.

คอมเพรสเซอร์ แอร์ หมุน ตลอดเวลา ไหม

ถ้าแอร์บ้านลูกค้านั้นเป็นระบบ INVERTER คอมเพรสเซอร์จะทำงานตลอดเวลา เมื่อทำความเย็นได้ตามอุณหภูมิที่ตั้งไว้ คอมเพรสเซอร์ก็จะลดรอบการทำงานให้น้อยลง เพื่อรักษาการทำงานและให้อุณหภูมิภายในห้องให้คงที่มากที่สุด ต่างจากระบบ FIXED SPEED ที่จะตัดการทำงานคอมเพรสเซอร์เมื่อทำอุณหภูมิถึงในระดับที่ตั้งค่าไว้ และเมื่ออุณหภูมิในห้อง ...