ค ม อการเล ยงแพลงก ตอน ศ.ล ดดา วงศ ร ตน

แพลงก์ตอนพืช = phytoplankton / ลัดดา วงศ์รัตน์

โดย: ลัดดา วงศ์รัตน์
ค ม อการเล ยงแพลงก ตอน ศ.ล ดดา วงศ ร ตน

เลขเรียกหนังสือ: 581.526.325 วงศ Language: Thai ข้อมูลการพิมพ์: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2542 รายละเอียดตัวเล่ม: 851 หน้า ภาพประกอบ 20 ซม.ISBN: 9745536407หัวเรื่อง: แพลงก์ตอน

ค ม อการเล ยงแพลงก ตอน ศ.ล ดดา วงศ ร ตน

แพลงก์ตอนสัตว์ คือ สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้จึงกินแพลงก์ตอนพืชเป็นอาหาร โดยแพลงก์ตอนสัตว์จะเป็นอาหารของปลา กุ้ง และสัตว์น้ำขนาดใหญ่อื่น ๆ อีกทอดหนึ่ง แพลงก์ตอนสัตว์ประกอบด้วยสัตว์หลายขนาดตั้งแต่โปรโตซัวขนาดเล็กไปจนถึงสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยส่วนใหญ่เป็นในรูปแบบของตัวอ่อนของปลาและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ซึ่งต่อมาจะเจริญเติบโตและกลายเป็นตัวเต็มวัยนั่นเอง การเคลื่อนไหวของแพลงก์ตอนสัตว์ที่เคลื่อนที่ไปพร้อมกับกระแสน้ำทำให้มันสามารถหาอาหารและยังป้องกันตัวเองจากนักล่าได้อีกด้วย (Department of Conservation Te Papa Atawbai, n.d.)

ค ม อการเล ยงแพลงก ตอน ศ.ล ดดา วงศ ร ตน
ความสำคัญของแพลงก์ตอน แพลงก์ตอนพืช (รูปที่ 2) เป็นแหล่งอาหารสำคัญของระบบนิเวศทางทะเล เนื่องจากเป็นผู้ผลิตปฐมภูมิที่สามารถผลิตอาหารได้เองผ่านกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งจะถูกบริโภคโดยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอย่างแพลงก์ตอนสัตว์จนไปถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ที่สุดในโลกอย่างวาฬ เมื่อแพลงก์ตอนสัตว์บริโภคแพลงก์ตอนพืชเพื่อการเจริญเติบโตแล้ว สัตว์ขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ ก็จะบริโภคแพลงก์ตอนสัตว์ต่อกันไปเป็นทอดและกลายเป็นสายใยอาหารนั่นเอง เพราะฉะนั้นแพลงก์ตอนจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อสายใยอาหารในมหาสมุทร หากขาดแพลงก์ตอนไป สิ่งมีชีวิตทุกชนิดในมหาสมุทรที่อยู่ในสายใยอาหารจะได้รับผลกระทบทั้งหมด (Kirby, 2015; Agar, 2019)

นอกจากนั้นทั้งแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ยังมีความสำคัญในด้านเศรษฐกิจ เป็นอาหารของสัตว์น้ำและมนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ได้นำแพลงก์ตอนมาใช้ในอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยใช้แพลงก์ตอนหลายชนิดเป็นอาหารในการอนุบาลสัตว์น้ำตัวอ่อนที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นลูกกุ้งก้ามกราม ลูกปลากะพงขาว ลูกหอยสองฝา และลูกกุ้งทะเล เพราะแพลงก์ตอนมีขนาดและสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของลูกสัตว์น้ำ แพลงก์ตอนพืชจะเป็นอาหารของแพลงก์ตอนสัตว์ ในขณะที่สัตว์น้ำขนาดเล็กและขนาดใหญ่สามารถบริโภคแพลงก์ตอนทั้งพืชและสัตว์ ขี้นอยู่กับประเภทของสัตวน้ำนั้น ๆ ตัวอย่างของแพลงก์ตอนพืชที่ใช้ในอุตสาหกรรมเหล่านี้ เช่น คลอเรลลา สไปรูลินา ตัวอย่างของแพลงก์ตอนสัตว์ เช่น โคพีพอด ไรน้ำ โรติเฟอร์ ไรแดง นอกจากนี้ยังใช้เป็นอาหารของมนุษย์ เช่น สาหร่ายบางชนิด เคยซึ่งใช้ในการทำกะปิ และแมงกะพรุน (ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งตรัง, 2556; Singh, et al., 2020)

หนังสือ

ค ม อการเล ยงแพลงก ตอน ศ.ล ดดา วงศ ร ตน

ชื่อหนังสือ แพลงก์ตอนพืช ผู้แต่ง ศ.ลัดดา วงศ์รัตน์ ภาควิชาชีววิทยาประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 2 ปีที่พิมพ์ 2544 ขนาด 18.50 x 26 ซม. จำนวน 851 หน้า ราคา 600 บาท ISBN 974-553-902-3

เนื้อหาโดยย่อ

แพลงก์ตอนพืช เป็นสิ่งมีชีวิตที่ล่องลอยอยู่ในน้ำ สุดแต่คลื่นลมและกระแสน้ำจะพัดพาไป แพลงก์ตอนพืช มีบทบาทที่สำคัญอย่างยิ่งต่อระบบนิเวศน์ของแหล่งน้ำ เนื่องจากเป็นผู้ผลิตเบื้องต้น (primary producer) โดยใช้พลังงานจากแสงแดดหรือพลังงานจากแหล่งอื่นเพื่อผลิตอาหารในรูปของโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ฯลฯ ดังนั้นชนิด ปริมาณ ความหลากหลายของรูปร่างลักษณะการแพร่กระจาย ฯลฯ ของแพลงก์ตอนพืชจึงมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับระบบนิเวศ ฉะนั้นการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ การจัดการสิ่งแวดล้อมในน้ำและการจัดการทรัพยากรประมง จำเป็นต้องใช้ความรู้เรื่องแพลงก์ตอนพืชเป็นความรู้พื้นฐาน เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน้ำ เป็นต้น ตำราเล่มนี้นับว่าเป็นตำราเล่มแรกของประเทศไทยที่ได้รวบรวมความรู้ทั้งหมดของแพลงก์ตอนพืชทั้งน้ำจืดและน้ำทะเล โดยรวมแพลงก์ตอนพืชที่พบเสมอในประเทศไทยไว้เป็นจำนวนถึง 11 classes รวมทั้งแพลงก์ตอนพืชที่คาดว่าจะมีการศึกษากันมากขึ้นในอนาคต เช่น Class Prymnesiophyceae และ Prasinophyceae ไว้ด้วย

bonusuri case de pariuri online omnibet.ro bonusuri pariuri online

เนื้อหาสาระของตำราแพลงก์ตอนพืชมี 5 บทด้วยกัน บทที่ 1 เป็นคำนำว่าด้วยคำจำกัดความของแพลงก์ตอนพืช ประวัติการศึกษา ประโยชน์และโทษ และการจำแนกเบื้องต้นของแพลงก์ตอนพืช บทที่ 2 ถึง บทที่ 4 ว่าด้วยเรื่องเฉพาะของแพลงก์ตอนพืช 3 ดิวิชัน (รวมทั้งหมด 11 Classes) เรียงตามลำดับ ได้แก่ Cyanophyta, Chlorophyta และ Chromophyta ซึ่งจะกล่าวถึงคุณลักษณะจำเพาะของแต่ละกลุ่มของแพลงก์ตอนพืช ชีววิทยา การแพร่กระจาย การจำแนกหมวดหมู่ และการจำแนกชนิด ส่วนบทที่ 5 กล่าวถึงวิธีการศึกษาและการจำแนกแพลงก์ตอนพืชออกเป็นกลุ่มย่อย บทนี้จะเป็นเรื่องแพลงก์ตอนพืชทะเลที่มีหนวดโดยเฉพาะ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ศึกษาสามารถศึกษาตัวอย่างได้รวดเร็วและถูกต้องมากขึ้น เนื่องจากมีคีย์และภาพประกอบอยู่ในหน้าเดียวกัน ทำให้ผู้ศึกษาสามารถจำแนกแพลงก์ตอนพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนที่ดีที่สุดของตำราเล่มนี้คือ มีภาพประกอบคำอธิบาย (text figure) ในเล่มถึง 104 ภาพ และการเขียนคำศัพท์ในเรื่องมีทั้งที่เขียนเป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษ เพื่อให้ผู้อ่านได้คุ้นเคยกับศัพท์เทคนิค ซึ่งจะช่วยให้สามารถค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่สนใจจากตำรา หรือวารสารต่างประเทศได้ ที่สำคัญที่สุดคือ มีภาพของแพลงก์ตอนพืชจำนวนมากกว่า 1,500 ภาพ ใน 112 แผ่นภาพ ซึ่งอยู่ท้ายเล่ม ภาพเหล่านี้มีประโยชน์มากในการจำแนกชนิดแพลงก์ตอนพืช ถึงแม้ว่าผู้อ่านที่ไม่ได้เรียนวิชาแพลงก์ตอนพืชมาก่อน ก็สามารถใช้ภาพประกอบและคำอธิบายในเล่มช่วยให้ศึกษาแพลงก์ตอนพืชได้ด้วยตัวเอง นับว่าตำราเล่มนี้มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อนิสิต นักศึกษา นักวิชาการในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเกษตรกรเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และผู้สนใจเป็นจำนวนมาก ในที่สุดจะช่วยให้วงการศึกษาแพลงก์ตอนพืชของไทยพัฒนายิ่งขึ้น

ช่องทางจัดจำหน่าย

2ebook.com

Ookbee.com

Meb

สำนักพิมพ์ มก. (ไม่มีจำหน่ายแล้ว)