ภาพหน าปกออสโมซ ส โจนส ม อปราบอณ จ ว

ผลลอตเตอรี่ประจำวันที่ 30 ธันวาคม 2566ตรวจหวย

รางวัลที่ 1625544

เลขท้าย

2 ตัว89

เลขหน้า 3 ตัว

600648

เลขท้าย 3 ตัว

882456

รางวัลข้างเคียงรางวัลที่ 1

625543625545

ตรวจหวย

ราคาทองคำวันนี้อัปเดตล่าสุด 3 ม.ค. 2567 เวลา 10:33 น.-50บาท

ราคาทองคำแท่ง

ซื้อบาทละ 33,400.00

ขายบาทละ 33,500.00

ราคาทองsูปพรรณ

ซื้อบาทละ 32,806.00

ขายบาทละ 34,000.00

  • ราคาทองย้อนหลัง

จะจะ! คลิปแฉ อส.จราจรตบหน้า จยย.หนำซ้ำคว้าโทรศัพท์ถ่ายคู่กรณี (มีคลิป)

เผยแพร่: 11 มิ.ย. 2559 15:42 ปรับปรุง: 11 มิ.ย. 2559 20:27 โดย: *

MGR Online - พลังโซเชียลมีเดียแฉ คลิปอาสาจราจรใช้ฝ่ามือตบหน้าผู้ขับขี่ จยย.ก่อนจะใช้โทรศัพท์ถ่ายคลิปซ้ำ คนขับโวย “ถ่ายด้วยตอนตบผม” เจอชาวบ้านถ่ายซ้อนหลังไม่รู้ตัว

วันนี้ (11 มิ.ย.) จากกรณีมีผู้ที่ใช้ชื่อเฟซบุ๊กว่า Paung ole เผยแพร่คลิปเจ้าหน้าที่แต่งเครื่องแบบคล้ายตำรวจจราจร กำลังปฏิบัติหน้าที่ เข้าสกัดผู้ขับขี่จักรยานยนต์ก่อนจะเกิดการโต้เถียงกัน โดยในคลิปวิดีโอได้ถ่ายจังหวะเจ้าหน้าที่ตำรวจอาสาใช้ฝ่ามือตบเข้าไปที่ใบหน้าผู้ขับขี่จักรยานยนต์แล้วใช้โทรศัพท์ส่วนตัวถ่ายคลิปซ้ำ จนมีเสียงตอบโต้จากผู้ขับขี่จักรยานยนต์ว่า “ถ่ายด้วยตอนคุณตบผม” โดยเจ้าตัวมิทราบมีผู้ถ่ายคลิปขณะเกิดเหตุ

ทั้งนี้ ลักษณะที่เกิดเหตุเป็นบริเวณซุ้มประตูทางออก ใกล้สถานศึกษาแห่งหนึ่งย่านจังหวัดสมุทรปราการ โดยลักษณะเจ้าหน้าที่แต่งเครื่องแบบคล้ายอาสาตำรวจจราจร แต่หมวกที่สวมใส่ไม่มีเลขรหัสบอกหน่วย

ภาพหน าปกออสโมซ ส โจนส ม อปราบอณ จ ว
ออสโมซิส (Osmosis) คือการเคลื่อนที่ของตัวทำละลาย (มักจะกล่าวถึงน้ำ) ผ่านเยื่อเลือกผ่านจากสารละลายที่เข้มข้นต่ำไปยังสารละลายที่เข้มข้นสูง (จำง่ายๆ น้ำมากไปน้ำน้อยและที่สำคัญต้องผ่านเยื่อเลือกผ่าน เช่นเยื่อหุ้มเซลล์ หรือกระดาษเซลโลเฟนที่เราใช่ในการทดลอง)

ภาพหน าปกออสโมซ ส โจนส ม อปราบอณ จ ว
รูปที่ 1 แสดงการออสโมซิส โดยน้ำมากเคลื่อนที่ไปน้ำน้อยผ่านเยื่อบางๆ (semipermeable membrane)

ภาพหน าปกออสโมซ ส โจนส ม อปราบอณ จ ว
การออสโมซิสมีแรงดันที่เกี่ยวข้อง 2 ชนิด คือ (1) แรงดันออสโมติก (Osmotic pressure) คือแรงดันที่เกิดขึ้นเพื่อต้านการเคลื่อนที่ของตัวทำละลายที่ผ่านเยื่อบางๆ เช่นเยื่อหุ้มเซลล์ (แรงดันออสโมติกก็คือแรงที่ใช้ต้านการเคลื่อนที่ของน้ำไม่ให้น้ำเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีน้ำมากไปยังบริเวณที่มีน้ำน้อย ดังนั้น หากมีแรงต้านการเคลื่อนที่ของน้ำไม่มาก น้ำจะเคลื่อนที่ผ่านเยื่อบางๆได้มาก (แรงต้านไม่มาก = แรงดันออสโมติกต่ำ)โดยน้ำมีแรงดันออสโมติกต่ำสุด) (2) แรงดันเต่ง (turgor pressure) คือแรงดันที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ เกิดขึ้นเนื่องมาจากน้ำออสโมซิสเข้าไปภายในเซลล์แล้วดันให้เซลล์แต่งหรือบวมขึ้นมา เมื่อน้ำเข้าไปภายในเซลล์มากเกินไปในกรณีที่เป็นเซลล์สัตว์อาจเกิดการแตกได้ แต่หากเป็นเซลล์พืชมักจะไม่มีการแตกของเซลล์เนื่องจากมีผนังเซลล์คงรูปร่างไว้ โดยที่จุดสมดุลของการแพร่พบว่า แรงดันออสโมติกของสารละลาย = แรงดันแต่งสูงสุด

ภาพหน าปกออสโมซ ส โจนส ม อปราบอณ จ ว
ประเภทของสารละลายจำแนกตามแรงดันออสโมติก สารละลายที่มีความเข้มข้นต่างกันจะมีผลต่อเซลล์แตกต่างกันด้วย จึงทำให้แบ่งสารละลายที่อยู่นอกเซลล์ออกได้เป็น 3 ชนิด ตามการเปลี่ยนขนาดของเซลล์ เมื่ออยู่ภายในสารละลายนั้น คือ 1. สารละลายไฮโพโทนิก (Hypotonic solution) คือสารละลายที่มีแรงดันออสโมติกต่ำ หรือสารละลายที่มีความเข้มข้นต่ำ(มีน้ำมาก)เมื่อนำเซลล์มาแช่ในสารละลายไฮโพโทนิก น้ำจากสารละลายจะเข้าสู่เซลล์ส่งผลให้เกิดการเต่งของเซลล์หรือที่เรียกว่า Plasmoptysis ตัวอย่างเช่น สมมติว่านำเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีความเข้มข้น 0.85% ไปแช่ในสารละลาย 0.25% พบว่าน้ำจากสารละลายจะแพร่จาก0.25% ไปยัง 0.85% จนทำให้เซลล์แต่งและหากน้ำยังเข้าได้เรื่อยก็จะส่งผลให้เซลล์เม็ดเลือดแดงแตกหรือที่เรียกว่า ฮีโมไลซิส (Haemolysis) เซลล์พืชจะแตกได้หากเป็นเซลล์อ่อนๆเท่านั้นเนื่องจากผนังเซลล์ยังไม่แข็งแรง แต่หากมีผนังเซลล์แข็งแรงแล้วจะไม่แตก 2. สารละลายไฮเพอร์โทนิก (Hypertonic solution) สารละลายที่มีแรงดันออสโมติกสูง หรือสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงแต่น้ำน้อย ดังนั้นหากนำเซลล์มาแช่ในสารละลายไฮเพอร์โทนิกจะทำให้น้ำจากเซลล์จะที่เคลื่อนที่ออกมายังสารละลายจนทำให้เซลล์เหี่ยวที่เรียกว่า plasmolysis ตัวอย่างเช่น การนำเม็ดเลือดแดงไปแช่ในสารละลายไฮเพอร์โทนิกก็จะส่งผลให้เซลล์เหี่ยว หรืออื่นๆ เช่น เมื่อนำเกลือใส่ไปในผลไม้ทิ้งไว้ซักพักจะมีน้ำไหลออกมา นั้นแสดงว่าน้ำออสโมซิสออกมาจากเซลล์ของผลไม้หรือ เมื่อเราล้างจานซักพักมือจะเหี่ยวนั้นก็เพราะว่าน้ำออกจากเซลล์ชองเราเช่นกัน 3. สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution) สารละลายที่มีความเข้มข้นระหว่างภายในเซลล์และภายนอกเซลล์เท่ากัน เพราะฉะนั้นหากนำเซลล์ไปแช่ในสารละลายไอโซโทนิกจะทำให้เซลล์ไม่เปลี่ยนรูปร่าง สารละลายไอโซโทนิกที่ควรจะจำไว้สอบเนื่องจากเซลล์เหล่านี้จะช่วยรักษาสภาพเซลล์ เช่น 1. น้ำเกลือ (Normal saline) 0.85% รักษาสภาพเม็ดเลือดแดง 2. น้ำเลือด (Plasma) รักษาเซลล์เม็ดเลือด 3. น้ำเหลือง (Lymph) รักษาเซลล์ร่างกาย

ภาพหน าปกออสโมซ ส โจนส ม อปราบอณ จ ว
รูปที่ 2 แสดงประเภทของสารละลายที่มีผลต่อเม็ดเลือดแดง

ที่มาของภาพ http://www.thaigoodview.com/files/u15445/isotonic1.png

ภาพหน าปกออสโมซ ส โจนส ม อปราบอณ จ ว
สารละลาย hypertonic จะมีผลให้น้ำออกจากเซลล์เม็ดเเดงจนทำให้เซลล์เหี่ยว
ภาพหน าปกออสโมซ ส โจนส ม อปราบอณ จ ว
สารละลาย Isotonic น้ำเข้าเเละออกจากเซลล์เท่ากัน รักษาสภาพเซลล์
ภาพหน าปกออสโมซ ส โจนส ม อปราบอณ จ ว
สารละลาย hypotonic น้ำเข้าเซลล์จนทำให้เซลล์เเตก

ภาพหน าปกออสโมซ ส โจนส ม อปราบอณ จ ว
ภาพหน าปกออสโมซ ส โจนส ม อปราบอณ จ ว