ระบบเป ด-ป ดไฟอ ตโนม ต ตามระด บความสว างของแสงระบบน ม กระบวนการทำงาน

โครงงาน เรือ่ ง ระบบเปดิ ปดิ ไฟอจั ฉริยะ

จัดทำโดย

นาย ธรรมธวัช กำแหงกิจ ม.4/3 เลขท่ี 8 นาย สรวิชญ์ แสงเขียว ม.4/3 เลขท่ี 9

นาย ณกรณ์ เล็ก ม.4/3 เลขที่ 10 นาย สถติ พล ศรสี วสั ดิ์ ม.4/3 เลขท่ี 11

นำเสนอ อาจารย์ สกล ปริศวงศ์

โครงงานเลม่ นเ้ี ป็นสว่ นหน่ึงของรายวชิ าเทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

โรงเรยี นหาดใหญ่พทิ ยาคม

2

คำนำ

รายงานเลม่ นี้เปน็ สว่ นหน่งึ ของรายวชิ าเทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 จดั ทำขนึ้ เพอ่ื ทำการศกึ ษาขอ้ มลู ในเรอื่ งของการประดิษฐร์ ะบบเปิดปิดไฟอัจฉรยิ ะ เพื่อใหส้ ามารถ นำมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในการประดิษฐ์ระบบเปิดปิดหลอดไฟอจั ฉริยะเพื่อนำมาใช้ในชีวติ ประจำวัน ได้

ผจู้ ัดทำ

สารบัญ 3 เร่ือง หน้า บทคดั ยอ่ กติ ตกิ รรมประกาศ 4 บทที่ 1 บทนำ 5 6 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา วตั ถุประสงคข์ องการจัดทำโครงงาน 7 ขอบเขตของโครงงาน 13 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รบั 14 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี กีย่ วข้อง 15 เอกสารเกีย่ วกบั ส่วนประกอบต่างๆ ของหลอดไฟ บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนินงาน 16 ขั้นตอนการดำเนนิ งาน วัสดุอปุ กรณ์ บทที่ 4 ข้นั ตอนการทดลองและการใช้งาน ข้นั ตอนการทดลอง ข้นั ตอนการใชง้ าน บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ สรปุ ผลของโครงงาน ปัญหาท่ีพบ อภปิ รายและขอ้ เสนอแนะ ประโยชน์ของโครงงาน บรรณานกุ รม

4

บทคดั ย่อ

หัวข้อโครงงาน ระบบเปดิ ปดิ ไฟอจั ฉรยิ ะ ผ้จู ำทำโครงงาน นาย ธรรมธวัช กำแหงกิจ ม.4/3 เลขที่ 8

นาย สรวชิ ญ์ แสงเขยี ว ม.4/3 เลขที่ 9 นาย ณกรณ์ เลก็ ม.4/3 เลขท่ี 10 นาย สถติ พล ศรสี วสั ดิ์ ม.4/3 เลขท่ี 11 อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา อาจารย์ สกล ปริศวงศ์ สาขาวิชา เทคโนโลยี วทิ ยาการคำนวณ สถาบัน โรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม

บทคัดย่อ โครงงานวชิ าเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณน้ี ไดจ้ ัดทำเกี่ยวกบั เร่อื งของระบบเปิดปิดไฟ อัจฉรยิ ะ โดยมจี ุดประสงคก์ เ็ พอื่ ชว่ ยในการประดษิ ฐร์ ะบบเปิดปิดไฟอัจฉรยิ ะ ซง่ึ มีสว่ นช่วยในการ ฝกึ ฝนสมาธิ ในการนำสิง่ ของตา่ งๆมาประดิษฐ์ และกอ่ นทจี่ ะทำการประดิษฐไ์ ด้นนั้ จะตอ้ ง ทำการศกึ ษาหาขอ้ มลู เก่ียวกบั ส่วนประกอบตา่ งๆของระบบเปิดปดิ ไฟ ดงั น้นั จึงมสี ว่ นช่วยในการฝึก สมาธิและการทำงานเป็นทมี เพือ่ หาข้อมลู ความรูต้ ่างๆ

5

กติ ติกรรมประกาศ

รายงานการเขียนโครงงานเรอ่ื งระบบเปดิ ปดิ ไฟอัจฉริยะน้ี สำเรจ็ ลุลว่ งได้ดว้ ยความกรณุ าและ ช่วยเหลือของอาจารย์สกล ปริศวงศ์ ท่ีชว่ ยใหค้ ำปรึกษาและช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ ท้ังในเรื่องของการ ประดิษฐ์ และในการจัดทำรายงาน จนทำให้รายงานฉบบั นี้สำเร็จลลุ ่วงไปไดด้ ว้ ยดี ผู้จัดทำจงึ ขอกราบ ขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสงู มา ณ ที่นี้

และขอขอบคณุ พอ่ แม่ และสมาชิกทกุ คนในกลุ่มทชี่ ว่ ยให้คำแนะนำและข้อเสนอแนะต่างๆที่ เปน็ ประโยชน์ ทำใหโ้ ครงงานชน้ิ นส้ี ำเร็จลุลว่ งไปได้ด้วยดี

ขอขอบพระคณุ

คณะผจู้ ัดทำ นาย ธรรมธวัช กำแหงกจิ

นาย สรวชิ ญ์ แสงเขยี ว นาย ณกรณ์ เลก็

นาย สถิตพล ศรีสวัสด์ิ

6

บทที่ 1 บทนำ

1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา เน่อื งจากในปัจจบุ ันมีความก้าวหนา้ ของการพฒั นาสงิ่ ต่างๆ โดยเฉพาะอุปกรณอ์ ิเล็คทรอนกิ ส์

มากมาย ซึ่งทำใหเ้ กิดความสะดวกสบายต่อผูใ้ ชง้ านมากยิ่งขึ้น แต่ขอ้ เสยี คอื ทำให้ผู้ใชง้ านมีรายจ่าย เพม่ิ ขึน้ อันเนอ่ื งมาจากเกดิ การสนิ้ เปลอื งในการใช้พลังงาน แต่กห็ ลกี เลีย่ งไดย้ ากเนอ่ื งจากเปน็ สง่ิ ที่ จำเปน็ ตอ่ การใชช้ ีวิตประจำวันของทกุ คน ดังนัน้ กลุ่มของเราจงึ ทำการศกึ ษาค้นคว้าวธิ ีทีจ่ ะช่วยลด ปัญหาค่าใช้จ่ายให้ลดลงหรอื หมดไปได้ ซึง่ ในปจั จบุ นั ไดม้ ีความก้าวหนา้ และเกดิ การพฒั นาเทคโนโลยี ระบบใหมๆ่ เพือ่ อำนวยความสะดวกแกผ่ ใู้ ช้งานมากข้ึน ทางกลุ่มผู้จัดทำจงึ ทำการศึกษาและจัดทำ โครงงานระบบเปดิ ปิดไฟอจั ฉรยิ ะเพ่ือชว่ ยอำนวยความสะดวกและช่วยประหยดั พลังงาน รวมถงึ ประหยัดค่าใช้จา่ ยในชวี ิตประจำวนั เพมิ่ ข้ึน

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน โครงงานในครง้ั นม้ี ีวตั ถุประสงคด์ งั ตอ่ ไปน้ี 1.2.1เพอ่ื สรา้ งระบบเปิดปิดไฟอจั ฉริยะแทนการใช้ระบบเดมิ คอื การใชค้ น เพ่ือทำการควบคมุ

การเปดิ ปดิ ไฟ 1.2.2เพ่ือชว่ ยลดคา่ ใชจ้ ่ายและลดคา่ ไฟ 1.2.3เพ่อื เพ่มิ ความสะดวกสบายต่อผู้ใช้งาน

1.3 ขอบเขตของโครงงาน สรา้ งเครอื่ งเปิดปิดไฟอจั ฉรยิ ะข้นึ สองชุดเพ่อื ตดิ ตัง้ บริเวณหน้าบา้ นและหลงั บา้ น

1.4 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รบั ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับจากโครงงาน มดี งั ตอ่ ไปนี้ 1.4.1 เพ่อื ยดื อายกุ ารใช้งานของหลอดไฟ 1.4.2 เพ่อื ช่วยประหยดั พลังงาน 1.4.3 ประหยัดค่าใช้จา่ ยในการจ่ายค่าไฟให้ลดลง

7

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง

ในการจะทำงานชน้ิ นี้ผู้วิจัยไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานทีเ่ กยี่ วข้องต่างๆ เพอื่ เปน็ แนวทางสำหรับ การทำหลอดไฟอัจฉริยะ ดังตอ่ ไปน้ี

2.1 เอกสารเกย่ี วกับส่วนประกอบต่างๆ ของหลอดไฟ สว่ นแรกของการทำโครงงานนจี้ ำเป็นทีจ่ ะตอ้ งรู้ถงึ ส่วนประกอบตา่ งๆของหลอดไฟกอ่ น

เพอ่ื ให้สามารถเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงานได้ ซงึ่ ทางกลมุ่ ของพวกเราไดท้ ำการคน้ ควา้ หาข้อมูล และมีหวั ขอ้ ดังต่อไปน้ี

1 หลักการทำงาน PIR motion sensor 2 หลักการทำงานของหลอด LED 3 หลกั การเขยี นโปรแกรม ARDUINO 4 Ambient Light Sensor 5 Relay

1.หลักการทำงาน PIR motion sensor

อปุ กรณ์ Sensor ชนดิ หนึง่ ทใ่ี ชต้ รวจจับคลนื่ รังสี Infrared ท่ีแพรจ่ าก มนษุ ย์ หรอื สตั ว์ ที่มีการ เคล่อื นไหว ทำให้มกี ารนำเอา PIR มาประยคุ ใชง้ านกันเป็นอย่างมากใช้เพอื่ ตรวจจบั การเคลอื่ นไหว ของสง่ิ มีชวี ิต หรอื ตรวจจับการบกุ รกุ ในงานรักษาความปลอดภัย โดยมหี ลกั การทำงานดงั ต่อไปนี้

ภายใน PIR จะมีอปุ กรณต์ รวจจับรงั สี Infrared อยู่ 2 ชดุ ด้วยกนั ดังรูป เม่ือมี คน หรอื สตั ว์ ทีม่ ี ความอบอุ่นในร่างกายเคล่ือนท่ีผ่านเข้ามาใน พื้นท่โี ซนที่ PIR สามารถตรวจจับคล่นื รังสี Infrared ที่ แพร่ออกมาจากส่ิงมชี ีวิตได้ PIR จะเปล่ียนคล่ืนรังสี Infrared ใหก้ ลายเปน็ กระแสไฟฟา้ ดงั รูป จะเห็น

8

ว่าเมอื่ มีส่ิงมีชีวติ เคล่ือนที่ผา่ น อปุ กรณ์ตรวจจบั รังสี Infrared ตัวที่ 1 จะไดส้ ัญญาณ Output ออกมาสงู กว่าแรงดนั ปรกติ และ เม่อื ส่ิงมชี วี ติ เคล่อื นที่ผ่าน อุปกรณต์ รวจจับรังสี Infrared ตัวท่ี 2 จะ ได้แรงดัน Output ตำ่ กว่าค่าแรงดนั ปรกติ นำมาใช้เพ่อื ชว่ ยตรวจจับความเคลอื่ นไหวจากความรอ้ น เมือ่ มคี นเดนิ ผ่านจะสง่ คา่ สัญญาณทมี่ ไี ฟออกมา ซึง่ สามารถช่วยนำคำสงั่ นไ้ี ปควบคุมตัว Arduino ได้ 2.หลกั การทำงานของหลอด LED

เปน็ หลอดทใี่ ชท้ ดแทนหลอดฟลูออเรสเซนต์ 1.2 m ขนาด 36W โดยที่ไมต่ ้องใช้บัลลาดและ สตาร์ตเตอรเ์ หมาะสำหรับใช้ในสำนกั งานหรอื บา้ นเรอื นเพอ่ื ชว่ ยรักษาสภาพแวดล้อมและไมป่ ล่อยรังสี ยวู ที ำให้ประหยัดไฟและมีอายกุ ารใชง้ านท่ียาวนาน

หลกั การทำงานของหลอดไฟ LED ไมม่ ีอะไรซับซอ้ น เพยี งจา่ ยไฟบวกกระแสตรงเข้าทขี่ า อาร์โนด (Anode) หรอื ขาที่ยาวกวา่ และต่อไฟลบเข้ากบั ขา แคโธด (Cathode) หรอื ขาสน้ั จะทำให้ เกิดแรงดนั ตกครอ่ มตวั LED ทเี่ รียกว่า Vf หรอื Farword Voltage เมือ่ มีแรงดันตกครอ่ ม Vf ท่วี ่าน้ี ด้วยคุณสมบัติของสารกึ่งตัวนำภายใน LED กจ็ ะเปล่งแสงออกมา แตเ่ พอ่ื จำกัดไมใ่ หก้ ระแสไหลผ่าน LED มากจนเกินไป กจ็ ำเป็นต้องตอ่ ตัวตา้ นทาน หรือ R หรอื Resistor อนกุ รมเขา้ ไปในวงจร ดังรปู ข้างลา่ ง

9

แสงจากหลอดไฟ LED มอี ตั ราการกระพรบิ ท่ีสูงมาก (แทบจะไมม่ ีการกระพริบ) จงึ ออกมา เปน็ ธรรมชาติ สบายตา ถนอมสายตา เหมาะสำหรบั งานแสงสวา่ งทวั่ ไป รวมถึงไม่เป็นอนั ตรายตอ่ มนุษย์ และส่ิงแวดลอ้ มอกี ด้วย เน่อื งจากไมม่ สี ารพษิ และปรอทท่ีเปน็ อนั ตรายบรรจุอยภู่ ายในหลอด และความไวต่ออุณหภมู ิ ประสิทธิภาพ LED สว่ นใหญ่จึงขึ้นอยู่กบั อณุ หภูมิแวดล้อมของ สภาพแวดลอ้ มการทำงานหรอื การเร่งอณุ ภมู ิของแอลอีดีจะทำให้ลดอายกุ ารใช้งานได้ หรืออาจะทำให้ เกดิ ความเสยี หายได้ จึงจำเป็นตอ้ งติดต้งั Heat Sink ท่ีเหมาะกับการใช้งานควบคู่ไปดว้ ย 3.หลักการเขยี นโปรแกรม ARDUINO

เปน็ บอรด์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูล AVR ทม่ี กี ารพฒั นาเพอ่ื ช่วยเปิดเผยข้อมลู ทางดา้ น ฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟตแ์ วรจ์ ึงเหมาะกับผเู้ ริ่มตน้ ใชง้ านและสามารถดัดแปลงและแกไ้ ขเพม่ิ เติมเพื่อพัฒนา ต่อยอดตัวบอรด์ ได้

10

4.Ambient Light Sensor ambient light sensor คือ เซน็ เซอร์วัดแสงโดยรอบ เพ่อื ปรบั ความสวา่ งของหนา้ จอให้มี

ความพอเหมาะ ในแตล่ ะสภาพแวดลอ้ ม โดยแปลงความเข้มแสงเป็นแรงดนั o/p ไฟใช้งานในวงจร ตอบสนองสงู ตอ่ รงั สีอินฟราเรดและกระจายกระแสไฟฟา้ ตำ่

5.Relay เป็นอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกสท์ ท่ี ำหนา้ ที่ชว่ ยเป็นสวติ ตัดต่อวงจร โดยการใช้แม่เหลก็ ไฟฟ้าและ

จ่ายไฟตามทก่ี ำหนด เมื่อจ่ายไฟใหก้ บั ตวั รเี ลย์จะทำใหห้ น้าสมั ผัสติดกนั กลายเป็นวงจรปิด ซงึ่ ไฟทเี่ รา ใชป้ ้อนใหก้ ับตัวรีเลยเ์ ปน็ ไฟทม่ี าจากพาวเวอร์ของเคร่ืองเราเอง เม่ือเคร่อื งเปิดกจ็ ะทำใหร้ ีเลยท์ ำงาน

ซึ่งอปุ กรณท์ ีเ่ ปลยี่ นพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลงั งานแมเ่ หลก็ นี เพ่ือใชใ้ นการดึงดูดหน้าสัมผัส ของคอนแทคใหเ้ ปลีย่ นสภาวะ โดยการป้อนกระแสไฟฟ้าให้กบั ขดลวด เพื่อทำการปิดหรอื เปดิ หน้าสมั ผสั คล้ายกบั สวติ ชอ์ ิเล็กทรอนิกส์ ซงึ่ เราสามารถนำรเี ลย์ไปประยุกต์ใช้ ในการควบคุมวงจรต่าง ๆ ในงานชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์มากมาย

รีเลย์ประกอบด้วยสว่ นสำคัญ 2 สว่ นหลกั ก็คือ 1. สว่ นของขดลวด (coil) เหนยี่ วนำกระแสต่ำ ทำหนา้ ท่สี ร้างสนามแม่เหล็กไฟฟา้ ให้แกน

โลหะไปกระท้งุ ให้หนา้ สัมผสั ต่อกนั ทำงานโดยการรับแรงดันจากภายนอกตอ่ ครอ่ มท่ีขดลวดเหนี่ยวนำ นี้ เมอ่ื ขดลวดไดร้ บั แรงดนั (คา่ แรงดนั ทรี่ เี ลย์ต้องการขน้ึ กบั ชนดิ และรนุ่ ตามที่ผู้ผลติ กำหนด) จะเกดิ สนามแม่เหลก็ ไฟฟา้ ทำใหแ้ กนโลหะดา้ นในไปกระทงุ้ ให้แผ่นหน้าสมั ผสั ตอ่ กนั

2. ส่วนของหนา้ สมั ผสั (contact) ทำหน้าท่เี หมอื นสวิตช์จ่ายกระแสไฟใหก้ ับอปุ กรณท์ ่เี รา ตอ้ งการนน่ั เอง

11

จดุ ตอ่ ใชง้ านมาตรฐาน ประกอบด้วย จุดตอ่ NC ย่อมาจาก normal close หมายความวา่ ปกตดิ ปิด หรือ หากยังไม่จ่ายไฟใหข้ ดลวดเหนี่ยวนำหนา้ สัมผสั จะตดิ กนั โดยท่วั ไปเรามักต่อจดุ นีเ้ ขา้ กบั อปุ กรณ์หรอื เครื่องใช้ไฟฟา้ ท่ีตอ้ งการใหท้ ำงานตลอดเวลา

จุดตอ่ NO ย่อมาจาก normal open หมายความวา่ ปกตเิ ปิด หรือหากยงั ไมจ่ า่ ยไฟให้ ขดลวดเหน่ียวนำหนา้ สมั ผสั จะไมต่ ดิ กนั โดยทว่ั ไปเรามักตอ่ จุดนีเ้ ข้ากับอุปกรณ์หรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้าที่ ต้องการควบคุมการเปดิ ปิดเช่นโคมไฟสนามหนอื หน้าบา้ น

จุดตอ่ C ยอ่ มากจาก common คือจุดรว่ มทตี่ อ่ มาจากแหลง่ จ่ายไฟ

ขอ้ คำนงึ ถึงในการใชง้ านรีเลย์ท่วั ไป 1. แรงดันใช้งาน หรือแรงดันทที่ ำใหร้ ีเลย์ทำงานได้ หากเราดูทีต่ วั รีเลย์จะระบุคา่ แรงดันใชง้ าน

ไว้ (หากใช้ในงานอิเล็กทรอนิกส์ สว่ นมากจะใชแ้ รงดันกระแสตรงในการใชง้ าน) เชน่ 12VDC คอื ตอ้ ง ใชแ้ รงดันที่ 12 VDC เทา่ น้ันหากใชม้ ากกว่าน้ี ขดลวดภายใน ตัวรเี ลยอ์ าจจะขาดได้ หรอื หากใช้ แรงดันตำ่ กว่ามาก รีเลยจ์ ะไมท่ ำงาน สว่ นในการตอ่ วงจรนัน้ สามารถตอ่ ข้วั ใดก็ได้ครบั เพราะตัวรเี ลย์ จะไมร่ ะบุขัว้ ตอ่ ไว้ (นอกจากชนิดพเิ ศษ)

2. การใชง้ านกระแสผา่ นหน้าสัมผัส ซง่ึ ทตี่ วั รีเลย์จะระบไุ ว้ เชน่ 10A 220AC คือ หนา้ สัมผัส ของรเี ลย์น้ันสามาถทนกระแสได้ 10 แอมแปร์ท่ี 220VAC ครบั แต่การใช้ก็ควรจะใช้งานทร่ี ะดับ กระแสตำ่ กว่านจี้ ะเปน็ การดกี วา่ ครับ เพราะถา้ กระแสมากหนา้ สมั ผสั ของรเี ลย์จะละลายเสยี หายได

3. จำนานหนา้ สัมผสั การใช้งาน ควรดูว่ารีเลย์นนั้ มหี น้าสัมผัสใหใ้ ชง้ านกี่อนั และมขี ว้ั คอมมอน ดว้ ยหรือไม่

12

ชนิดของรเี ลย์ รีเลย์ทีน่ ิยมใช้งานและรู้จักกันแพร่หลาย 4 ชนดิ

1.อารเ์ มเจอร์รเี ลย์ (Armature Relay) 2.รดี รเี ลย์ (Reed Relay) 3.รีดสวติ ช์ (Reed Switch) 4.โซลิดสเตตรเี ลย์ (Solid-State Relay)

ประเภทของรีเลย์ เปน็ อุปกรณ์ทำหน้าท่เี ปน็ สวิตชม์ หี ลักการทำงานคล้ายกับ ขดลวดแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าหรอื โซลนิ อยด์

(solenoid) รีเลยใ์ ชใ้ นการควบคุมวงจร ไฟฟา้ ไดอ้ ย่างหลากหลาย รีเลย์เปน็ สวิตช์ควบคมุ ท่ีทำงาน ด้วยไฟฟา้ แบง่ ออกตามลักษณะการใช้งานได้เปน็ 2 ประเภทคอื

1.รเี ลยก์ ำลงั (power relay) หรอื มกั เรียกกันวา่ คอนแทกเตอร์ (Contactor or Magneticcontactor)ใช้ในการควบคุมไฟฟา้ กำลัง มขี นาดใหญ่กวา่ รีเลย์ธรรมดา

2.รเี ลย์ควบคมุ (control Relay) มขี นาดเล็กกำลังไฟฟา้ ตำ่ ใช้ในวงจรควบคุมทวั่ ไปทม่ี ี กำลงั ไฟฟ้าไม่มากนัก หรอื เพอื่ การควบคุมรีเลย์หรือคอนแทกเตอร์ขนาดใหญ่ รีเลย์ควบคุม บางครั้ง เรยี กกนั ง่าย ๆ ว่า "รเี ลย"์

13

บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนนิ งาน

3.1 ข้นั ตอนการดำเนินงาน 1 คิดหวั ข้อโครงงาน 2 ศึกษาข้อมลู เรอ่ื งระบบเปิดปดิ ไฟอจั ฉริยะวา่ มขี อ้ มูลมากนอ้ ยเพยี งใด 3 ศกึ ษาการเขียนโปรแกรม Arduino , การทำงานของ Infrared Motion Sensor และการทำงาน ของหลอดฟลูออเรสเซนต์ 4 สบื คน้ และหาขอ้ มลู ในการตดิ ตั้งอปุ กรณ์ 5 ตดิ ตั้งอปุ กรณ์ตามตำแหนง่ ตา่ งๆทไ่ี ดท้ ำการศึกษาหาข้อมลู ไว้ 6 ทดลองใช้งานและเขียนสรปุ ผลการทดลอง

3.2 วสั ดุอุปกรณ์ 1 PIR motion sensor จำนวน 1 2 หลอด LED จำนวน 1 3 โปรแกรม ARDUINO จำนวน 1 4 Ambient Light Sensor จำนวน 1 5 Relay จำนวน 1

14

บทที่ 4 ขน้ั ตอนการทดลองและการใช้งาน

4.1 ขั้นตอนการทดลอง 4.1.1 ข้ันตอนแรก คือประกอบระบบเปดิ ปิดไฟและทำการทดสอบว่าสามารถใช้งานได้

หรอื ไม่ หากเกดิ ปัญหาขน้ึ จะทำการเปล่ยี นและแก้ไขเพ่ือใหส้ ามารถกลับมาทำงานไดต้ รงตามความ ตอ้ งการ

4.1.2 ขั้นตอนการเริม่ ทดลองคอื เรมิ่ ตอ่ วงจรเพือ่ สามารถทดสอบไดว้ า่ เกิดปญั หาหรือไม่

4.2 การใชง้ าน 1. เมื่อเราเดินผา่ นระบบเซ็นเซอร์ จะทำใหร้ ะบบเซนเซอร์เร่ิมทำงาน 2. ระบบส่งขอ้ มลู ไปที่ตวั หลอดไฟ 3. ระบบสั่งการให้ตัวหลอดไฟเร่ิมทำงานและเปดิ ไฟอตั โนมตั ิ

15

บทที่ 5 สรุปผล อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรปุ ผลของโครงงาน จากการดำเนินโครงงานและทดลองประดษิ ฐร์ ะบบเปดิ ปิดไฟอจั ฉรยิ ะและนำไปใช้จรงิ ผลการ

ทดสอบว่าใชไ้ ด้ไมเ่ กิดปญั หา เป็นไปตามขอ้ มลู ท่ีไดท้ ำการศกึ ษามา และตรงตามวัตถปุ ระสงคท์ ี่ไดว้ าง ไว้ ช่วยให้เกิดความสะดวกสบายในการใช้งาน และประหยดั ไฟเพม่ิ มากข้นึ ทงั้ ยงั สามารถนำไปตอ่ ยอดการประดษิ ฐไ์ ดใ้ นอนาคต

5.2 ปญั หาทีพ่ บ เกดิ ความยากลำบากเล็กน้อยในการหาอุปกรณใ์ นการประดษิ ฐ์ แต่กส็ ามารถหามาได้ในที่สดุ

5.3 อภิปรายและขอ้ เสนอแนะ การประดษิ ฐ์ระบบเปิดปดิ ไฟอจั ฉริยะไมย่ ากเกินความสามารถ ผทู้ ตี่ อ้ งการประดษิ ฐส์ ามารถ

ศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และเรม่ิ ลงมือปฏิบตั ิในการประดิษฐ์ได้ แต่กค็ วรอยู่ภายใตก้ ารดแู ลและ ช่วยเหลอื ของผู้ปกครอง

5.4 ประโยชน์ของโครงงาน 1 ช่วยยดื อายุการใชง้ านของหลอดไฟ 2 ชว่ ยประหยดั พลังงาน 3 ช่วยประหยัดคา่ ใช้จา่ ยในการจา่ ยคา่ ไฟใหล้ ดลง 4 เกดิ ความคดิ สร้างสรรค์ในการประดิษฐ์ 5 ฝึกการทำงานรว่ มกนั เปน็ ทมี

16

บรรณานกุ รม

CyberTice. PIR Motion Sensor. สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 15 มกราคม 2565, จาก https://www.cybertice.com/product/28/pir Mayko. อะไรคอื LED. สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 15 มกราคม 2565, จาก http://www.mayko.co.th/main/index.php/th/9-news-article/3-what-is-light-emitting-diode CyberTice. บทความสอนใชง้ าน Arduino เร่ิมตน้ ติดต้งั โปรแกรม Arduino IDE. สืบคน้ เมือ่ วนั ท่ี 14 มกราคม 2565, จาก https://www.cybertice.com/article/74 -arduino-ide Wiko. หนา้ ท่ีของเซนเซอร์แตล่ ะประเภท สืบคน้ เม่ือวนั ที่ 15 มกราคม 2565, จาก https://th- th.wikomobile.com/a2216-wiko

Ambient Light Sensor การทางานและการใชง้ าน. สืบคน้ เม่อื วนั ที่ 14 มกราคม 2565, จาก https://th.jf-parede.pt/ambient-light-sensor-working

Misumi Thailand. รีเลยค์ อื อะไร มหี ลกั การทางานอย่างไรบา้ ง. สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 14 มกราคม 2565, จาก https://misumitechnical.com/technical/electrical/relay-working-principles/