หน งส อเร ยน ว ชาเศรษฐก จพอเพ ยง ม.ต น

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชวี ติ

รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง

(ทช11001)

ระดบั ประถมศึกษา

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

หามจาํ หนาย

หนังสอื เรยี นเลม น้ี จดั พมิ พดว ยเงินงบประมาณแผนดินเพอ่ื การศึกษาตลอดชีวิตสาํ หรบั ประชาชน ลขิ สทิ ธิ์เปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

สาํ นกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดําเนินชีวิต

รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพียง (ทช11001)

ระดบั ประถมศึกษา

เอกสารทางวชิ าการหมายเลข 19/2554

คาํ นํา

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการ จัดทําหนังสือเรียนชดุ ใหมน ้ขี ึ้น เพอ่ื สาํ หรบั ใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศกึ ษา นอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคใ นการพฒั นาผเู รยี น ใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอและ สามารถดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนํา หนังสือเรียนไปใชในการเรียนดวยวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม รวมทั้ง แบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา โดยเมื่อศึกษาแลวยังไมเขาใจ สามารถกลบั ไปศกึ ษาใหมไ ดผเู รยี นอาจจะสามารถเพม่ิ พนู ความรหู ลงั จากศกึ ษาหนงั สอื เรยี นน้ี โดยนาํ ความรไู ปแลกเปลย่ี นกบั เพอ่ื นในชน้ั เรยี นศกึ ษาจากภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ จากแหลง เรยี นรู และจากส่อื อน่ื ๆ

ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการ ศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือท่ีดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูเก่ียวของ หลายทา นซง่ึ ชว ยกนั คน ควา และเรยี บเรยี งเนอ้ื หาสาระจากสอ่ื ตา งๆ เพอื่ ใหไ ดส อ่ื ทส่ี อดคลอ ง กบั หลกั สตู รและเปน ประโยชนต อ ผเู รยี นทอี่ ยนู อกระบบอยา งแทจ รงิ สาํ นกั งานสง เสรมิ การ ศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ขอขอบคณุ คณะทป่ี รกึ ษาคณะผเู รยี บเรยี งตลอดจน คณะผูจดั ทาํ ทุกทานทไี่ ดใหความรวมมือดวยดี ไว ณ โอกาสน้ี

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือ เรียนชุดน้ีจะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะ ประการใด สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ขอนอมรับไว ดวยความขอบคณุ ยิง่

สํานกั งาน กศน.

สารบัญ หนา

คํานาํ 1 คาํ แนะนําในการใชหนงั สอื เรยี น 7 โครงสรา งรายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 13 บทที่ 1 เศรษฐกจิ พอเพียง รากฐานการดาํ เนนิ ชีวิตของคนไทย 23 บทที่ 2 ปฏิบัติตนดี มคี วามพอเพยี ง 33 บทท่ี 3 รูใช รูจาย 37 บทท่ี 4 ชวี ิตสดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพยี ง 39 แบบทดสอบหลังเรียน บรรณานุกรม คณะผูจดั ทาํ

คาํ แนะนําในการใชหนงั สือเรยี น

หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั ประถมศกึ ษา เปนหนังสอื เรียนที่จัดทาํ ขึ้น สําหรบั ผูเรยี นท่เี ปน นักศึกษานอกระบบ

ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ผเู รียนควรปฏิบตั ดิ งั น้ี

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และขอบขา ยเนื้อหา

2. ศกึ ษารายละเอยี ดเนอื้ หาของแตล ะบทอยา งละเอยี ดและทาํ กจิ กรรมตามทก่ี าํ หนด แลวตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมที่กําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและ ทําความเขาใจในเนื้อหานั้นใหมใหเขาใจกอนทจ่ี ะศึกษาเร่ืองตอไป

3. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมทา ยเรอื่ งของแตล ะเรอ่ื ง เพอื่ เปน การสรปุ ความรู ความเขา ใจของ เน้ือหาในเรอื่ งน้ันๆ อีกครง้ั และการปฏิบัติกจิ กรรมของแตล ะเน้อื หาแตล ะเร่อื ง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและเพ่ือนๆ ท่ีรวมเรียนในรายวิชาและระดับเดียวกัน ได

4. หนังสอื เรยี นเลมน้ีมี 4 บทคอื บทที่ 1 เศรษฐกิจพอเพียง รากฐานการดําเนินชวี ิตของคนไทย บทที่ 2 ปฏิบัตติ นดี มีความพอเพยี ง บทที่ 3 รใู ช รจู า ย บทท่ี 4 ชวี ติ สดใส พอใจเศรษฐกจิ พอเพียง

โครงสรางรายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับประถมศึกษา (ทช11001)

สาระสําคญั

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระราชดํารัส ชแี้ นะแนวทางการดํารงอยูและการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับใหดําเนินชีวิตไป ในทางสายกลางโดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหก า วทนั ตอ โลกยคุ โลกาภวิ ตั นความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถงึ ความจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งมรี ะบบภมู คิ มุ กนั ในตวั ท่ีดีพอสมควรตอผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ท้ังนี้ จะตอ งอาศยั ความรอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดยี วกนั จะตอ งเสรมิ สรา งพนื้ ฐาน จติ ใจของคนในชาตใิ หม สี าํ นกึ ในคณุ ธรรมความซอ่ื สตั ยส จุ รติ และใหม คี วามรอบรทู เ่ี หมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติปญญาและความรอบคอบ เพ่ือใหสมดุลและ พรอ มตอ การรองรบั การเปลย่ี นแปลงอยา งรวดเรว็ และกวา งขวางทง้ั ดา นวตั ถุสงั คมสง่ิ แวดลอ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปน อยางดี

ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั

1. อธบิ ายแนวคดิ หลกั การ ความหมาย ความสาํ คญั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งได 2. บอกแนวทางในการนาํ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ ชใ นการดาํ เนนิ ชวี ติ 3. เห็นคณุ คา และปฏบิ ตั ติ ามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. แนะนาํ สง เสรมิ ใหส มาชกิ ในครอบครวั เหน็ คณุ คา และนาํ ไปปฏบิ ตั ใิ นการดาํ เนนิ ชวี ติ

ขอบขายเนือ้ หา

บทท่ี 1 เศรษฐกิจพอเพยี ง รากฐานการดําเนินชวี ติ ของคนไทย บทท่ี 2 ปฏิบตั ิตนดี มคี วามพอเพียง บทท่ี 3 รใู ช รจู าย บทที่ 4 ชวี ิตสดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพยี ง

บทท่ี 1

เศรษฐกจิ พอเพียงรากฐานการดาํ เนินชีวติ ของคนไทย

สาระสาํ คัญ

เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดํารัส ชแ้ี นะทางการดาํ เนินชวี ติ แกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดเลานานกวา 30 ป ตง้ั แตก อ น เกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจในป 2540 ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ นับวาเปนบทเรียนสําคัญที่ทําใหประชาชนเขาใจถึงผลการพัฒนา ซ่ึงใชเปนแนวทางการ ดําเนินชีวิตท่ีอยูบนพ้ืนฐานของทางสายกลางและความไมประมาท คํานึงถึงความพอ ประมาณ การมเี หตุผล การสรา งภมู ิคมุ กันท่ดี ตี อ ตนเองตลอดจนใชค วามรแู ละคณุ ธรรม เปนพื้นฐานในการดํารงชีวติ ทส่ี าํ คญั จะตอ งมสี ติ ปญ ญาและความขยนั หมน่ั เพยี ร ซง่ึ จะนาํ ไปสคู วามสขุ ในการดาํ เนนิ ชวี ติ อยา งแทจรงิ

ผลการเรยี นรูทีค่ าดหวัง

อธบิ ายแนวคดิ หลกั การ ความหมาย ความสาํ คญั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได

ขอบขา ยเนอื้ หา

เรื่องท่ี 1 ความเปน มา ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรือ่ งท่ี 2 ความหมาย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เรือ่ งที่ 3 หลักแนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพียง เร่อื งท่ี 4 ความสาํ คัญของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั ประถมศึกษา (ทช11001)

เรอ่ื งที่ 1 ความเปน มาของเศรษฐกิจพอเพียง

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน แนวทางการดาํ เนนิ ชวี ติ และวถิ ปี ฏบิ ตั ิท่พี ระบาท สมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงมีพระราชดํารัสชี้แนะแกพสกนิกรชาวไทยมานานกวา 30 ป ดังจะ เหน็ ไดว า ปรากฏความหมายเปน เชงิ นยั เปน ครงั้ แรกในพระบรมราโชวาทและพระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ในป พ.ศ.2517 ทพ่ี ระองคไ ดท รงเนน ยาํ้ แนวทางการพฒั นา บนหลักแนวคิดท่ีพึ่งตนเอง เพื่อใหเกิดความพอมีกิน พอใชของคนสวนใหญ โดยใชหลัก ความพอประมาณ การคํานึงถึงการมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันท่ีดีในตัวเอง และทรงเตือน สติประชาชนคนไทยไมใหประมาท ตระหนักถึงการพัฒนาอยางเปนข้ันเปนตอนท่ีถูกตอง ตามหลักวชิ า และการมีคณุ ธรรมเปน กรอบในการปฏบิ ัตแิ ละการดาํ รงชวี ิต

ในชวงที่ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 นับเปนบท เรยี นสาํ คญั ทที่ าํ ใหป ระชาชนเขา ใจถงึ ผลจาการพฒั นา ทไ่ี มค าํ นงึ ถงึ ระดบั ความเหมาะสมกบั ศกั ยภาพของประเทศ พง่ึ พงิ ความรู เงินลงทุน จากภายนอกประเทศเปนหลัก โดยไมไดส ราง ความม่ันคงและเขมแข็งหรือสรางภูมิคุมกันท่ีดีภายในประเทศ ใหสามารถพรอมรับความ เส่ียงจากความผันผวนของปจจัยภายในและภายนอกจนเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจครั้ง ใหญสงผลกระทบอยางรุนแรงตอสังคมไทย รัฐบาลตระหนักถึงความสําคัญในการแกไข ปญ หาดงั กลา วใหเ กดิ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ในสงั คมไทยอยา งเปน ระบบ ดว ยการกาํ หนดนโยบาย ดานการศึกษา โดยนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศกึ ษาทกุ ระดบั ใชค ณุ ธรรมเปน พน้ื ฐานของกระบวนการเรยี นรทู เี่ ชอ่ื มโยง ความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษา สถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา ใหมี สวนรว มในการจดั การศกึ ษา เพ่อื ใหผ เู รียนเกิดทกั ษะความรู ทักษะ และเจตคติ สามารถนาํ ไปประยุกตใ ชในชีวติ ประจาํ วันไดอยางสมดลุ และยง่ั ยืน

เรือ่ งที่ 2 ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกจิ พอเพียง คอื อะไร เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน ปรชั ญาชถี้ งึ แนวทางการดาํ รงอยแู ละปฏบิ ตั ติ นของประชาชน ในทุกระดับตง้ั แตครอบครวั ระดบั ชมุ ชนจนถงึ ระดบั รฐั ทง้ั ในการพฒั นาและการบรหิ าร ประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือใหกาวทันตอยุค โลกาภวิ ตั นค วามพอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถงึ ความจาํ เปนท่ี ตองมีระบบคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทง้ั ภายนอกและภายในทงั้ น้ี จะตองอาศยั ความรอบรู ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยางย่ิงในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผน และการดําเนินการทุกขั้นตอนและ ขณะเดยี วกนั จะตอ งเสรมิ สรา งพนื้ ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา หนา ทขี่ องรฐั นกั ทฤษฎี และนกั ธรุ กจิ ในทกุ ระดบั ใหม สี าํ นกึ ในคณุ ธรรม ความซอื่ สตั ยส จุ รติ และใหม คี วาม รอบรูทเ่ี หมาะสม ดาํ เนนิ ชีวติ ดว ยความอดทน มีความเพยี รพยายามมสี ตปิ ญ ญา และความ

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับประถมศึกษา (ทช11001) 3

รอบคอบ เพ่อื ใหส มดุลและพรอมตอการรองรบั ความเปล่ยี นแปลงอยา งรวดเร็ว และกวาง ขวางทัง้ ทางดา นวตั ถุ สังคม ส่งิ แวดลอม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยา งดี

ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล รวมถงึ ความจําเปนท่ี ตอ งมรี ะบบภมู คิ มุ กนั ในตวั ทด่ี พี อสมควรตอ การมผี ลกระทบใดๆ อนั เกดิ จาการเปลย่ี นแปลง ท้ังภายนอก และภายใน ทัง้ น้ีจะตองอาศยั ความรอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวัง อยางย่ิงในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผน และการดําเนินการทุกข้ันตอน และ ขณะเดียวกันจะตอ งเสริมสรา งพน้ื ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา หนา ท่ขี องรัฐ นกั ทฤษฎี และนกั ธรุ กจิ ในทกุ ระดบั ใหม สี าํ นกึ ในคณุ ธรรม ความซอ่ื สตั ยส จุ รติ และใหม คี วาม รอบรทู ่ีเหมาะสม ดําเนินชีวิตดว ยความอดทน ความเพยี ร มสี ติ ปญ ญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ทั้งทาง ดา นวตั ถุ สังคม ส่งิ แวดลอ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเปน อยางดี

เร่อื งท่ี 3 หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน ปรชั ญาชแี้ นะแนวทางการดาํ รงอยแู ละปฏบิ ตั ติ นในทางท่ี ควรจะเปน โดยมพี น้ื

ฐานมาจากวถิ ชี วี ติ ดงั้ เดมิ ของสงั คมไทย สามารถนาํ มาประยกุ ตใ ชไ ดต ลอดเวลา และเปน การ มองโลกเชงิ ในระบบทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงอยตู ลอดเวลา มงุ เนน การรอดพน จากภยั และวกิ ฤติ เพอ่ื ความม่ันคงและ ความย่ังยนื ของการพัฒนา

คุณลกั ษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดย เนนการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพฒั นาตนอยางเปน ข้ันตอน

ทางสายกลาง พอประมาณ

มเี หตผุ ล มภี ูมคิ มุ กัน

เง่ือนไขความรู เงอ่ื นไข คณุ ธรรม (รอบรู รอบคอบ ระมัดระวงั ) (ซ่ือสตั ย สุจริต ขยนั อดทน แบงปนั )

ชีวิต เศรษฐกจิ สังคม สมดลุ มนั่ คง ย่ังยนื

แผนภาพแสดงแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง

4 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดําเนนิ ชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับประถมศึกษา (ทช11001)

ความพอเพยี งจะตองประกอบดว ย 3 หวง 2 เงื่อนไข ดังนี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไมนอยเกินไปและไมมากเกินไปโดยไม เบียดเบยี นตนเองและผอู ื่น เชน การผลิตและการบรโิ ภคทอี่ ยใู นระดับพอประมาณ ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตดั สินใจเกย่ี วกับระดับของความพอเพียงนน้ั จะตอ ง เปนไปอยางมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปจจัยท่ีเกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลท่ีคาดวาจะ เกดิ ขน้ึ จากการกระทาํ น้ันๆ อยา งรอบคอบ การมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงดา นตางๆ ทจี่ ะเกิดขนึ้ โดยคาํ นงึ ถงึ ความเปน ไปไดข องสถานการณต า งๆ ทค่ี าด วาจะเกดิ ขึน้ ในอนาคตท้ังใกลแ ละไกล เง่ือนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหอ ยูในระดบั พอเพยี งนน้ั ตองอาศยั ทง้ั ความรู และคณุ ธรรมเปนพืน้ ฐาน กลาวคอื เงอื่ นไขความรู ประกอบดว ย ความรอบรเู กยี่ วกบั วชิ าการตา งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งอยา ง รอบดา นความรอบคอบทีจ่ ะนาํ ความรเู หลา น้นั มาพิจารณาใหเชื่องโยงกัน เพือ่ ประกอบการ วางแผน และความระมัดระวังในขนั้ ปฏบิ ัติ เงอ่ื นไขคณุ ธรรม ทจ่ี ะตอ งเสรมิ สรา งประกอบดว ย มคี วามตระหนกั ในคณุ ธรรม มคี วามซื่อสัตยสุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใชส ตปิ ญ ญาในการดาํ เนนิ ชีวิต

เร่อื งท่ี 4 ความสําคญั ของเศรษฐกิจพอเพียง

ความสําคญั ของเศรษฐกจิ พอเพยี งทส่ี ง ผลตอ ประชาชน ดังนี้ 1. เกดิ แนวคดิ ทม่ี งุ เนน พง่ึ พาตนเองเปน หลกั ทม่ี อี ยใู นตวั เองเพอ่ื นาํ มาพฒั นาคณุ ภาพ ชวี ติ ใหเ กดิ ประโยชนส ูงสุดตอตนเอง ครอบครัว และชุมชนซึง่ จะทาํ ใหสามารถดํารงชีวิต อยูไ ดอยา งยงั่ ยืน 2. ทาํ ใหม ีความเขมแขง็ ในจิตใจ โดยยึดหลกั การพง่ึ พาตนเองเปน หลัก เม่อื พง่ึ ตน เองไดแ ลวทําใหจ ิตใจสงบเขมแข็ง ไมวติ กกังวล 3. เกดิ ความรวมมอื ความกระตือรอื รน ความสามัคคีในชุมชน และประเทศชาติ 4. เกดิ การมีสว นรว ม คดิ วเิ คราะห แกปญหารวมกนั 5. ทําใหมคี วามเปน อยู พอมี พอกนิ ลดปญ หาความยากจน

หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศึกษา (ทช11001) 5

เมื่อ สังคม ไทย เป น สังคม เศรษฐกิจ พอเพียง คนไทยดาํ รงชวี ติ บนทางสายกลาง มสี ามหว งสาํ คญั คลอ งใจในการดาํ เนนิ ชวี ติ ไดแ ก ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุมกัน ในตัวที่ดี มีสอง เง่ือนไขกํากับชีวิตอยางเครงครัด ไดแก เงื่อนไข ความรูท่ีประกอบดวยรอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง เง่ือนไขคุณธรรม ซ่ึงมีความซื่อสัตยสุจริต อดทน เพียร มีสติปญญา อยูในชีวิต ชีวิตมีแตความสุข เศรษฐกิจ สดใส สังคม อุนใจ สิ่งแวดลอม อุดมสมบูรณ วฒั นธรรม เขมแขง็ ย่ังยืน”

6 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดําเนนิ ชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศกึ ษา (ทช11001) กิจกรรมท่ี 1

ตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงอะไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 2. หลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงเปนอยา งไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .................................................................................................................................. ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 3. เศรษฐกจิ พอเพยี งมคี วามสําคัญอยา งไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 4. เศรษฐกิจพอเพียงนํามาปรบั ใชกับผเู รียนไดห รือไม อยางไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

บทที่ 2

ปฏิบัตติ นดี มีความพอเพียง

สาระสําคญั

การปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดงั พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงมีพระราชดํารัสนํามาปฏิบัติตนคือ ยึดความประหยัด ประกอบอาชีพดวยความถูกตอง สุจริต เลิกแกงแยงผลประโยชนและแขงขันกันในทางการคา ไมหยุดน่ิงท่ีจะหาทางใหชีวิต หลดุ พนจากความทกุ ขยากและปฏบิ ตั ติ นในแนวทางท่ีดี ลด ละสิง่ ช่วั ใหหมดสิ้นไป

ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวัง

1. เหน็ คุณคาและปฏบิ ตั ติ ามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง 2. บอกแนวทางในการนาํ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ตใช

ในการดําเนินชีวิตได

ขอบขายเนื้อหา

เรื่องท่ี 1 วิธคี ิด วิธีปฏิบัติ วิธใี หคณุ คา ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง เรอื่ งที่ 2 การปฏิบตั ิตนตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

8 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดาํ เนนิ ชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั ประถมศึกษา (ทช11001)

เรื่องที่ 1 วธิ คี ดิ วิธปี ฏิบตั ิ วิธีใหคณุ คา ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

วธิ คี ดิ การจะนาํ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ ชใ หไ ดผ ลดใี นการดาํ เนนิ ชวี ติ จาํ เปน จะตอ งเรมิ่ ตน จากการมคี วามรู ความเขา ใจทถี่ กู ตอ งวา เศรษฐกจิ พอเพยี งหมายถงึ อะไร และมีหลักการสําคัญอะไรบางท่ีจะนําไปใชเปนแนวทางสูการปฏิบัติ ตลอดจนเห็นถึง ประโยชนจ ากการทจ่ี ะนาํ ไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั เพอื่ ใหร อดพน และสามารถดาํ รงอยไู ดอ ยา ง มัน่ คงและยง่ั ยืน

วธิ ปี ฏบิ ตั ิ หลงั จากทไ่ี ดท าํ ความเขา ใจอยา งถกู ตอ งแลว กจ็ าํ เปน จะตอ งทดลองนาํ มา ประยกุ ตใ ชก บั ตนเองทงั้ ในชวี ติ ประจาํ วนั และการดาํ เนนิ ชวี ติ สามารถอยรู ว มกบั ผอู นื่ ไดอ ยา ง มคี วามสุข โดยคาํ นึงถึงการพึ่งพาตนเองเปน เบอื้ งตน การทําอะไรทไ่ี มส ุดโดงไปขา งใดขาง หน่ึง การใชเหตผุ ลเปนพน้ื ฐานในการตัดสนิ ใจและการกระทาํ ตา ง ๆ ตลอดการสรา งภูมคิ ุม กนั ทด่ี ี เพอ่ื พรอ มรบั ตอ การเปลย่ี นแปลงจะไมท าํ อะไรทเี่ สยี่ งจนเกนิ ไปจนทาํ ใหต นเองหรอื คนรอบขา งเดอื ดรอ นในภายหลงั การใฝร อู ยา งตอ เนอ่ื งและใชค วามรดู ว ยความรอบคอบและ ระมัดระวงั ความซ่ือสัตย ความไมโลภ ความรจู กั พอ ความขยนั หมน่ั เพียร การไมเ บียดเบยี น กัน การรูจกั แบงปนและชว ยเหลือซ่ึงกนั และกนั

อยางไรก็ตาม การท่ีจะสรางภาวะความรูความเขาใจท่ีถูกตองอยางลึกซ้ึงเก่ียวกับ เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อใหสามารถนําไปประยุกตใชไดน้ัน จําเปนท่ีจะตองเรียนรูดวยตนเอง หรอื รว มกบั ผูอ่ืน

วิธีการใหคุณคา การเรียนรูจากการปฏิบัติ การแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นและ ประสบการณระหวางผูที่มีความสนใจรวมกันจะทําใหสามารถตระหนักถึงประโยชนและ ความสขุ ทจี่ ะไดร บั จากการนาํ หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช แลว เกดิ การปรบั เปลยี่ น ความคดิ เหน็ และนอมนําเอาเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ นการดําเนินชีวติ ตอไป

จิตสํานึกที่ตระหนักถึงความสุขที่เกิดจากความพอใจในการใชชีวิตอยางพอดีและ รจู กั ระดบั ความพอเพยี งจะนาํ ไปสกู ารประกอบสมั มาอาชพี หาเลย้ี งตนเองอยา งถกู ตอ ง ไมใ ห อดอยากจนเบียดเบียนตนเอง หรือไมเกดิ ความโลภจนเบยี ดเบยี นผอู ืน่ แตมคี วามพอเพยี งที่ จะคดิ เผ่อื แผแบง ปน ไปยงั คนอืน่ ๆ ในชมุ ชนหรือองคกรและสงั คมได

อยา งไรก็ตาม ระดบั ความพอเพยี งของแตละคนจะไมเทากนั หรือความพอเพยี งของ คนคนเดยี วกนั แตต า งเวลากอ็ าจเปลย่ี นแปลงไปได แลว แตเ งอ่ื นไขภายในและภายนอก ตลอด จนสภาพแวดลอมท่ีมผี ลตอความพอเพยี ง

เร่ืองท่ี 2 การปฏิบตั ิตนตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง*

ในฐานะทเี่ ปน พสกนกิ รชาวไทย จงึ ควรนอ มนาํ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งทพี่ ระบาท สมเดจ็ พระเจาอยหู วั ภมู พิ ลอดุลยเดช ทรงมีพระราชดาํ รัสมาประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตน ดังนี้

หนงั สือเรียนสาระทักษะการดําเนินชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช11001) 9

1. ยึดความประหยัด ตัดทอนคา ใชจายในทกุ ดาน ลดละความฟุมเฟอยในการดํารง ชีวิตอยา งจริงจัง ดงั กระแสกระราชดาํ รัส ความวา

“ ...ความเปน อยทู ตี่ อ งไมฟมุ เฟอย ตอ งประหยดั ไปในทางท่ถี ูกตอง...” 2. ยดึ ถอื การประกอบอาชีพดว ยความถกู ตอ งสุจรติ แมจ ะตกอยใู นภาวะขาดแคลน ในการดํารงชวี ิตกต็ าม ดังกระแสพระราชดาํ รสั ความวา

“...ความเจรญิ ของคนทง้ั หลายยอ มเกดิ จากการประพฤติชอบและการหาเลย้ี งชพี ชอบเปน หลกั สาํ คญั ...”

3. ละเลกิ การแกง แยง ผลประโยชนแ ละแขง ขนั กนั ในทางการคา ขาย ประกอบอาชพี แบบตอสกู นั อยา งรนุ แรงดังอดีต ดงั กระแสพระราชดาํ รสั ในเรือ่ งน้ี ความวา

“...ความสุขความเจรญิ อันแทจ รงิ น้นั หมายถงึ ความสุขความเจรญิ ทีบ่ คุ คลแสวง หาไดดวยความเปน ธรรม ท้ังในเจตนาและการกระทํา ไมใ ชไ ดมาดวยความบังเอญิ หรอื ดว ย การแกง แยง เบียดบงั มาจากผอู นื่ ...”

4. ไมห ยดุ นง่ิ ทจี่ ะหาทางใหช วี ติ หลดุ พน จากความทกุ ขย ากครงั้ นโี้ ดยตอ งขวนขวาย ใฝหาความรูใหเกิดมีรายไดเพิ่มพูนข้ึนจนถึงข้ันพอเพียงเปนเปนเปาหมายสําคัญ ดังกระแส พระราชดาํ รสั ตอนหนงึ่ ท่ีใหค วามหมายชัดเจนวา

“...การทต่ี อ งการใหท กุ คนพยายามทจ่ี ะหาความรู และสรา งตนเองใหม น่ั คงน้ี เพอ่ื ตนเอง เพอ่ื จะใหต นเองมคี วามเปน อยทู ก่ี า วหนา ทม่ี คี วามสขุ พอมพี อกนิ เปน ขน้ั หนง่ึ และ ขน้ั ตอ ไปกค็ อื การมเี กยี รตวิ า ยนื ไดด ว ยตนเอง...”

5. ปฏบิ ตั ติ นในแนวทางทด่ี ีลดละสงิ่ ชวั่ ใหห มดสน้ิ ไปทงั้ ดว ยสงั คมไทยทล่ี ม สลาย ลงในครั้งน้ี เพราะยังมีบุคคลจํานวนมิใชนอยที่ดําเนินการโดยปราศจากละอายแผนดิน ดัง กระแสพระราชดํารัส ความวา

“... พยายามไมกอ ความช่ัวใหเ ปน เคร่อื งทาํ ลายตัว ทาํ ลายผูอ่ืน พยายามลด ละความ ชัว่ ท่ีตัวเองมีอยู พยายามกอ ความดีใหแ กตัวอยเู สมอ พยายามรักษาและเพิ่มพูนความดีทมี่ ีอยู น้ันใหง อกงามสมบูรณข น้ึ ...”

------- * จากหนงั สอื เศรษฐกจิ พอเพียง

สาํ นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ หนา 27 พมิ พค ร้งั ที่ 3 กรกฎาคม 2548

10 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดาํ เนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั ประถมศึกษา (ทช11001)

หลักของความประมาณ (พอ ด)ี 5 ประการ (จากขอสรปุ ของสภาพฒั น)

1. พอดดี านจิตใจ เขมแข็ง มีจิตสํานึกท่ีดี เอื้ออาทร ประนีประนอม

นึกถงึ ประโยชนส วนรวม

2. พอดีดา นสังคม ชวยเหลือเก้ือกูล รูจักสามัคคี สรางความเขมแข็งให

ครอบครวั และชมุ ชน

3. พอดดี านทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ ม รูจ กั ใชแ ละจดั การอยา ง

ฉลาด และรอบคอบ เกิดความยงั่ ยนื สงู สุด

4. พอดดี า นเทคโนโลยี รูจักใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคลองตอ

ความตองการเปนประโยชน สภาพแวดลอมและเกิดประโยชนตอสวนรวมและพัฒนาจาก

ภมู ปิ ญญาชาวบานกอน

5. พอดดี า นเศรษฐกิจ เพิ่มรายได ลดรายจาย ดํารงชีวิตอยางพอควร

พออยู พอกิน สมควรตามอตั ภาพและฐานะของตน

หลกั ของความมเี หตุผล

1. ยดึ ความประหยดั ตดั ทอนคา ใชจ า ยในทกุ ดา น ลดความฟมุ เฟอ ยในการดาํ รงชวี ติ 2. ยึดถอื การประกอบอาชพี ดวยความถูกตองสจุ รติ แมจะตกอยูใ นภาวะขาดแคลน ในการดํารงชวี ิต 3. ละเลิกการแกงแยงผลประโยชน และแขงขันในทางการคาขายประกอบอาชีพ แบบตอ สูกนั อยางรุนแรง 4. ไมหยุดนิ่งทห่ี าทางในชีวติ ใหห ลดุ พน จากความทุกขย าก 5. ปฏิบัติตนในแนวทางทด่ี ี ลด เลิก สง่ิ ยั่วยกุ เิ ลสใหห มดส้ินไป ไมกอความชั่วให

เปนเครื่องทาํ ลายตัวเอง ทาํ ลายผอู ื่น

หลักของการมภี มู คิ ุมกนั

1. มีความรู รอบคอบ และระมัดระวัง

2. มีคุณธรรม ซื่อสตั ยสจุ รติ ขยัน อดทนและแบง ปน

การปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนแบบอยางและแนวทางใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน นาํ มาประยกุ ตใ ชใ นการดาํ รงชีวติ ดังน้ี

1. ยึดหลักความประหยัด ไมใชจายฟุมเฟอย ใชในส่ิงท่ีจําเปนและรูจักเก็บออมไว ใชใ นอนาคต

2. ยึดหลักความซื่อสัตยสุจริต ความถูกตองในการประกอบอาชีพและการดําเนิน ชีวติ ไมเหน็ แกต ัว

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาํ เนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั ประถมศึกษา (ทช11001) 11

3. ยดึ หลกั ความไมแ กง แยง ชงิ ดกี นั รจู กั การพง่ึ พากนั ไมเ อารดั เอาเปรยี บและแขง ขนั โดยใชวธิ รี นุ แรง

4. ยึดหลักการใฝรูใฝเรียน หมั่นศึกษาหาความรู ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต การประกอบอาชีพเพอื่ ใหม รี ายไดไ วใชจาย โดยยึดความพอเพยี งเปน หลัก

5. ยึดหลักการทําความดี ลดละความชั่วและสิ่งอบายมุขท้ังปวงเพ่ือใหตนเอง ครอบครัวและสังคม อยอู ยา งเปน สขุ



กจิ กรรมท่ี 2

ใหผ ูเ รียนทาํ กจิ กรรมตอไปน้ี

  1. การดําเนินชีวิตของผูเรียนสอดคลองกับหลักแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงอยางไร 1. ความพอประมาณ

..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ....................................................................................................................................

2. ความมเี หตุผล ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

3. ภูมคิ ุมกนั ในตัวท่ีดี ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

4. เง่ือนไขความรู ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

5. เงอ่ื นไขคุณธรรม ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................

บทท่ี 3 รใู ช รูจา ย

สาระสําคญั

เมอ่ื เราประกอบอาชพี มีรายได การนาํ เงนิ ไปใชจ า ยส่ิงใดตองจดทกุ อยาง ทกุ ครั้งที่ จา ยออกไปการบันทกึ รายรบั รายจา ยเปน หลักฐาน แสดงแหลงที่มาของรายได รายจา ยและ เงินออม อีกทั้งเปนการเตอื นตนเองและครอบครวั วา ในแตล ะเดือนมคี าใชจายอะไรบางทไี่ ม จาํ เปน รายการใดสามารถตดั ทงิ้ ไปไดใ นเดอื นตอ ไป ครอบครวั ควรเรม่ิ ตน จดรายรบั -รายจา ย จนเปน นิสัย ครอบครวั เราจะไดไ มย ากจน

ผลการเรียนรูทคี่ าดหวัง

1. วางแผนการใชจ า ยของตนเองและครอบครวั ได 2. วเิ คราะหสภาพรายรับ-รายจายของครอบครวั ได 3. บันทกึ รายรบั -รายจา ยของตนเองและครอบครัวได 4. อธบิ ายวิธีการลดรายจา ยและเพิม่ รายได 5. อธิบายวิธกี ารออมเงนิ ได

ขอบขายเนอื้ หา

เรอ่ื งท่ี 1 การวางแผนการใชจ าย เรอ่ื งท่ี 2 การบนั ทึกรายรบั -รายจา ยของตนเองและครอบครวั เรือ่ งที่ 3 การลดรายจา ยในครัวเรือน เรื่องท่ี 4 การออม

14 หนังสือเรยี นสาระทักษะการดาํ เนนิ ชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช11001)

เร่ืองท่ี 1 การวางแผนการใชจาย

กอนที่จะใชจายเงิน เราควรจัดสรรเงินท่ีมีอยูใหตรงกับความตองการ โดยการวาง แผนการใชจ า ยเงินไวก อน

การวางแผนการใชจ ายเงิน หมายถึง การที่บุคคลจดั สรรรายรบั -รายจา ย ของตนเอง ซึง่ มแี นวทางในการปฏบิ ัติ ดังน้ี

1. การหารายได ทุกคนตองประกอบอาชีพ เพื่อใหมีรายไดประจําและหากมีเวลา วา งควรหารายไดเ สรมิ เพ่ือจะไดมีรายไดพ อกบั การใชจายในการดาํ รงชพี

2. การใชจ า ยใหพ จิ ารณาใชจ า ยในสง่ิ ทจี่ าํ เปน จรงิ ๆ เชน ใชจ า ยเปน คา อาหาร เครอ่ื ง นุง หม ท่ีอยูอาศยั ยารักษาโรค โดยคํานงึ ถึงคุณคา ของสงิ่ ที่ซื้อวามคี ณุ ภาพและคมุ คาเงิน ไม ใชซ ้อื เพราะคาํ โฆษณาชวนชื่อ

การประหยัด ควรรูจักเก็บออมเงินไวใชจายเม่ือคราวจําเปน เชน เม่ือเจ็บปวย โดย วางแผนใหม รี ายจา ยนอ ยกวา รายไดม ากทสี่ ดุ กจ็ ะมเี งนิ เกบ็ เครอื่ งใชท ชี่ าํ รดุ เสยี หาย ควรซอ ม แซมใหใ ชไ ดอ ยเู สมอ ประหยัดพลงั งานและทนุถนอมเครื่องใชใหมอี ายุการใชงานไดนาน

การเปนหนโี้ ดยไมจาํ เปน เพราะยมื เงินมาใชจา ยสุรยุ สุรา ย เชน การยมื เงินมาจดั งาน เลี้ยงในประเพณีตางๆ จะทําใหชีวิตมีความลําบาก สรางความเดือดรอนใหตนเองและ ครอบครัว แตถาหากเปนหน้ีเพราะนําเงินมาลงทุนในกิจการท่ีสามารถใหผลคุมคาก็อาจจะ เปนหน้ีได

3. การบนั ทกึ รายรบั -รายจา ย เปน วธิ กี ารวางแผนทส่ี าํ คญั การบนั ทกึ รายรบั -รายจา ย ในชีวิตประจําวัน เพื่อใหทราบวาในวันหนึ่ง สัปดาหหน่ึง เดือนหน่ึง เรามีรายไดจากอะไร เทาไรและจายอะไร อยางไร ควรจะวางแนวทางในการใชจายอยางไรจึงจะพอและท่ีเหลือ สะสมไวเ ปน ทนุ หรอื เกบ็ สะสมไวใ ชจ า ยในยามจาํ เปน การบนั ทกึ รายรบั -รายจา ยจงึ เปน ขอ มลู หลักฐานแสดงใหเห็นแหลงท่ีมาของรายไดและที่ไปของรายจาย ซึ่งจะนําไปสูการตั้งเปา หมายลดรายจา ย การเพมิ่ รายไดและการออมตอไป

เร่อื งท่ี 2 การบันทกึ รายรบั -รายจา ยของตนเองและครอบครัว

เมอื่ เรามรี ายไดแ ละนาํ เงนิ รายไดไ ปใชจ า ยซอื้ สงิ่ ทจ่ี าํ เปน สง่ิ ใดทม่ี รี าคาสงู กไ็ มจ าํ เปน ตองซ้ือทันทแี ตใหต ั้งเปา หมายไวว า จะเก็บหอมรอบริบไวจนมากพอแลว จงึ ซ้อื ดงั น้ันเราจึง ควรวางแผนการใชจ า ยไวลวงหนาวา เราตองซ้ืออะไร เทาไหร เม่ือใด

เราคงเคยไดย นิ ขา วชาวนาขายทน่ี าไดเ งนิ เปน แสนเปน ลา น แตเ มอ่ื เวลาผา นไปไมก ป่ี  เขากลบั ไมเ หลอื เงนิ เลย ตอ งไปเชา ทน่ี าของคนอน่ื ทาํ กนิ เรอื่ งดงั กลา วเปน ตวั อยา งของบคุ คล ทไี่ มม กี ารวางแผนการใชเ งนิ ดงั นน้ั กอ นทเี่ ราจะใชจ า ยเงนิ เราควรจดั สรรเงนิ ทมี่ อี ยใู หต รงกบั

หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับประถมศกึ ษา (ทช11001) 15

ความตองการดวยการวางแผนไว วธิ ีการวางแผนทีส่ ําคัญวธิ ีการหน่ึงคอื การบนั ทึกรายรบั - รายจาย

“หากอยากมีชีวิตที่มงั่ ค่งั สมบูรณ ตองลงมอื บันทกึ รายรับ-รายจา ยตงั้ แตบัดนี้”

ขอ ควรคํานึงในการใชจ า ยเงนิ และจดบนั ทึกรายรับ รายจา ย

1. กําหนดความคาดหวงั และเปา หมายวาจดบนั ทึกเพ่อื อะไร 2. วางแผนรบั -จา ยกอนใชเ งนิ 3. กอ นซอ้ื ส่ิงใดตอ งพจิ ารณาใหด ีกอ นวาส่งิ น้นั จาํ เปน หรือไม 4. จดบันทึกทกุ ครงั้ ทกุ วัน ทกุ บาท ทกุ สตางคท มี่ กี ารรบั และจา ยเงิน 5. หมน่ั ตรวจสอบบัญชวี ามีรายการใดท่ใี ชเ งนิ ไมเ หมาะสม หากมีตอ งแกไขทนั ที 6. เกบ็ ใบเสร็จหรอื หลักฐานการรบั เงนิ -จายเงนิ ไวเ พ่ือตรวจสอบกับบญั ชีที่จด “การจดบนั ทกึ รายรับ-รายจา ย” หรอื การจดบญั ชี จะชว ยใหเ ราทราบวา เรามรี ายรับ มากนอ ยแคไ หน เราสามารถลดคาใชจ า ยรายการใดออกไปไดบ า ง “การจดบัญชี” ทําใหเรา สรา งสมดลุ ระหวางรายไดและรายจายทีเ่ หมาะสมแกฐานะการเงนิ ของเราไดเ ปนอยา งดี การจดบญั ชีครวั เรอื น เปน การจดั ทาํ บญั ชีรายรบั รายจา ยของครอบครวั เราสามารถ จดั ทาํ บญั ชแี บบทง่ี า ย ผทู ไ่ี มเ คยมคี วามรเู รอื่ ง การบญั ชมี ากอ นกท็ าํ เองไดโ ดยการแยกรายการ ออกเปน รายรบั และรายจา ย รายรับ ไดแก เงนิ เดือน คาจาง ผลตอบแทนท่ีไดจ ากการทํางาน เงนิ ที่ไดจากการขาย ผลผลติ การเกษตร หรอื ทรพั ยส ิน เปน ตน รายจายไดแก คา ใชจายเพื่อ ซอื้ สินคาสาํ หรับในการอปุ โภค บรโิ ภค คา นา้ํ ประปา คาไฟฟา คา โทรศัพท คาซอมแซม

คาอปุ กรณเ ครือ่ งใช เครอ่ื งไม เครอ่ื งมอื คา รถ คาอาหาร คา เชา เปนตน

ตัวอยาง รายรับ รายจาย ขายผลผลติ ทางการเกษตร 2,500 บาท จา ยเงินซ้ือของใชในบาน 500 บาท 1 มี.ค. 52 จา ยเงนิ ซ้ือขา วสาร 300 บาท 5 มี.ค. 52 จา ยคา นํ้า คาไฟ 250 บาท 7 ม.ค. 52 ขายผลผลติ ทางการเกษตร 1,250 บาท 10 มี.ค. 52 จา ยคาซ้ือปยุ 300 บาท 15 มี.ค. 52 จา ยคา อาหาร 200 บาท 20 ม.ี ค. 52 25 ม.ี ค. 52

16 หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนนิ ชวี ติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช11001)

ตวั อยา ง การจดบัญชคี รัวเรือน

วัน เดอื น ป รายการ รายรบั รายจา ย คงเหลือ 1 ม.ค. 52 ขายผลผลติ 2,500 - 2,500 5 ม.ค. 52 ซอื้ ของใช 500 - 2,000 7 ม.ค. 52 ซอ้ื ขาวสาร 1,200 - 300 - 1,700 10 ม.ค. 52 จายคา นํ้า คา ไฟ 3,700 - 250 - 1,450 15 ม.ค. 52 ขายผลผลิตทางการเกษตร 2,650 20 ม.ค. 52 จา ยคา ซือ้ ปุย 300 - 2,350 25 ม.ค. 52 จายคาอาหาร 200 - 2,150 1,500 - 2,150 รวม รายรบั สงู กวารายจาย 2,150

การบันทึกรายรับ-รายจาย หรือการจดบัญชีทั้งของตนเองและครอบครัวมีความ สาํ คญั ตอ ชวี ติ ของคนไทยเปน อยา งยง่ิ ดงั พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั พระราชทานแกค ณะบคุ คลตา ง ๆ ทเี่ ขา เฝา ถวายพระพรชยั มงคลเนอ่ื งในวโรกาสวนั เฉลมิ พระ ชนมพรรษา วนั ท่ี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 ณ ศาลาดสุ ิดาลัย พระราชวงั ดสุ ิต ความวา “...เมื่อ 4 0 กวาป มีผูหนง่ึ เปนขาราชการช้นั ผูนอ ยมาขอเงนิ ทจ่ี ริงไดเคยใหเงินเขาเลก็ ๆ นอ ย ๆ แต เขาบอกวา ไมพ อเขากม็ าขอยมื เงนิ ขอกูเ งนิ กบ็ อก...เอา ให...แตข อใหเขาทาํ บญั ชรี ายรบั -ราย จาย รายรับก็คือ เงินเดือนของเขาและรายรับที่อุดหนุนเขา สวนรายจายก็เปนของท่ีใชใน ครอบครวั ...ทหี ลัง เขาทํา...ตอ มา เขาทําบญั ชีมาไมข าดทุน แลว เขาสามารถท่ีจะมีเงินพอใช เพราะวา บอกใหเ ขาทราบวา มเี งินเดือนเทา ไหรจะตองใชภายในเงินเดอื นของเขา...”

บคุ คลตัวอยา ง การสรา งชีวติ ใหมอยางพอเพยี งดว ยบญั ชคี รัวเรือน

นายเจน ชใู จ ราษฎร หมู 4 ตาํ บลพนมทวน จงั หวดั กาญจนบรุ ี ผปู ระสบความสาํ เรจ็ จากการทาํ บัญชคี รวั เรือน กลา ววา “จบเพียงประถมศกึ ษาปท่ี 4 พอ แมยากจน มีอาชีพทาํ นา เปน หลกั ตอมาไดร บั มรดกเปน ท่นี า 10 ไร จงึ ทาํ นาเรื่อยมา แตก็สามารถสงลกู เรียนสูง ๆ ได เนื่องจากสรางวินัยในการใชจายเงินอยางมีระบบ มีพอแมเปนแบบอยางท่ีดีในเร่ืองความมี ระเบยี บในการใชเ งนิ ทองแตล ะบาทแตล ะสตางคโดยในสมยั พอ ใชถ า นหงุ ขา วเขยี นคา ใชจ า ย ในแตล ะวนั ทขี่ า งฝาขา งบา น จงึ จดจาํ มาปฏบิ ัติ เรม่ิ จากจดบันทึกชวั่ โมงการทาํ งานวา ภายใน 1 เดอื น มีความขยนั หรือข้ีเกยี จมากนอ ยแคไหน ภายหลงั มาทําบัญชกี ารใชจ า ยในครัวเรือน ในชวงทาํ ไรนาสวนผสม เมื่อป 2528”

หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศึกษา (ทช11001) 17

กวา 20 ปท ที่ าํ บญั ชคี รวั เรอื นมาทาํ ใหท กุ วนั นม้ี ชี วี ติ ในครอบครวั อยอู ยา งมคี วามสขุ ปจ จบุ ันมีทนี่ ารวมกวา 50 ไร โดยการซ้อื สะสมมา มเี งนิ ฝากธนาคาร โดยมีคติวา จากนํ้าทตี่ กั มาจนเตม็ โอง เวลานา้ํ พรอ งตองเตมิ ใหเ ต็ม ถาปลอยใหน ้ําแหงขอด ชวี ติ ก็จะเหน่ือยจะทาํ ให ชีวติ บัน้ ปลายลาํ บาก” นายเจนกลาว

นั่นคือประโยชนที่เห็นไดชัดจากการทําบัญชีครัวเรือนท่ีไมเพียงแตจะชวยใหความ เปน อยขู องครอบครวั ดีขึน้ เทา นัน้ แตยังสรา งสงั คมใหเ ปนปก แผน สงผลไปถงึ เศรษฐกจิ อัน ม่นั คงของประเทศในอนาคตขางหนา อีกดวย

---- จตุพร สุขอนิ ทร/ ปญ ญา มังกโรทยั เดลนิ วิ ส หนา 30

วนั จันทรท ี่ 20 เมษายน พ.ศ. 2552

เรอื่ งท่ี 3 การลดรายจายในครวั เรอื น

การลดรายจา ยในครวั เรอื น ปญ หาเรอ่ื งหนสี้ นิ ในครอบครวั หรอื ปญ หารายรบั ไมพ อ กบั รายจาย เปน ปญ หาทีท่ ําใหประชาชนหนกั ใจ การปองกันและแกไขปญ หาเรื่องหนี้สิน มี หลักงา ย ๆ วาตอ งลดรายจายและเพ่ิมรายไดใหม ากขึ้น การลดรายจายสามารถทําไดโดยการ สํารวจคาใชจายในเดือนท่ีผานมา แลวจดบันทึกดูวาในครอบครัวมีการใชจายอะไรไปบาง และรายการใดทไี่ มจ าํ เปน นา ตดั ออกไปได กใ็ หต ดั ออกไปใหห มดในเดอื นถดั ไปกจ็ ะสามารถ ลดรายจายลงได แตทุกคนในครอบครัวตองชวยกัน เพราะถาคนหนึ่งประหยัดแตอีกคนยัง ใชจายฟุมเฟอยเหมือนเดิมก็คงไมไดผล ตองชี้แจงสมาชิกทุกคนในบาน เม่ือลดรายจายได แลวก็เอารายรับของท้ังบานมารวมกันดูวาจะพอกับรายจายหรือไม ถาพอและยังเหลือก็คง ตอ งเอาไปทยอยใชห นแ้ี ละเกบ็ ออมไวเ ผอื่ กรณฉี กุ เฉนิ เชน การเจบ็ ปว ย อบุ ตั เิ หตุ เปน ตน แต ถารายไดยังนอ ยกวา รายจายกต็ องชว ยกันคิดวา จะไปหารายไดเพิม่ มาจากไหนอกี

โดยสรุปการใชจายเงนิ มี 3 แบบ คือ 1. ใชต ามใจชอบเปน การใชไ ปเรอ่ื ยๆแลว แตว า ตอ งการอะไรกซ็ อ้ื เงนิ หมดกห็ ยดุ ซอ้ื 2. ใชต ามหมวดทแี่ บง ไว เชน

- คาอาหารและคา เสื้อผา - คารกั ษาพยาบาล - คาทาํ บญุ กศุ ล - เกบ็ ออมไวใ ชใ นอนาคต ฉุกเฉนิ - คาศึกษาเลา เรียนของบตุ ร

ฯลฯ

18 หนังสอื เรียนสาระทักษะการดาํ เนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั ประถมศึกษา (ทช11001)

3. ใชตามแผนการใชที่กาํ หนดไวล ว งหนา เปนการใชต ามโครงการทไี่ ดว างแผนไว ลวงหนาแลวน้ัน ซ่ึงเปนวิธีการที่ถูกตอง ซ่ึงสามารถนําหลักการทางวิชาการมาใชในการ ปฏบิ ตั กิ ารวางแผนการใชจ า ยในครอบครวั ขอ ปฏบิ ตั ขิ องการใชจ า ยภายในครอบครวั มสี งิ่ ท่ี พึงปฏิบตั ิ 3 ประการคือ

- การทาํ บญั ชีรายรบั -รายจาย - การประหยดั - การออมทรพั ย ครอบครวั ตอ งมกี ารวางแผนจดั การรายรบั -รายจา ย เพอื่ ใหม ที รพั ยส นิ เพยี งพอจะ ซอ้ื หรือจดั หาสิ่งทค่ี รอบครวั ตอ งการเพือ่ ความสงบสขุ และความเจริญของครอบครัว

เรื่องที่ 4 การออม

การออมคือ การสะสมเงินทีละเล็กทลี ะนอ ยเมื่อเวลาผา นไปเงินก็จะเพมิ่ พนู ขนึ้ การ ออมสวนใหญจะอยูในรูปการฝากเงินกับธนาคาร จุดประสงคหลักของการออม เพื่อใชจาย ในยามฉุกเฉิน ยามเราตกอยูในสภาวะลําบาก การออมจึงถือวาเปนการลงทุนใหกับความ มั่นคงในอนาคตของชีวติ

หลกั การออม ธนาคารออมสนิ ไดใ หแ นวคดิ วา “ออม 1 สว นใช 3 สว น เนอ่ื งจากการ ออมมคี วามสาํ คญั ตอ การดาํ รงชวี ติ แมบ างคนมรี ายไดไ มม ากนกั คนเปน จาํ นวนมากออมเงนิ ไมไ ด เพราะมคี า ใชจ า ยมาก ใชเ งนิ เกนิ ตวั รายรบั มไี มพ อกบั รายจา ย เมอ่ื เรามรี ายไดเ ราจะตอ ง บรหิ ารจดั การเงนิ ของตนเอง หากเราคดิ วา เงนิ ออมเปน รายจา ยอยา งหนงึ่ เชน เดยี วกบั รายจา ย อนื่ ๆ เงนิ ออมจะเปน รายการแรกทต่ี อ งจา ยทกุ เดอื น โดยอาจกาํ หนดวา อยา งนอ ยตอ งจา ยเปน รอยละเทาไรของรายไดและทําจนเปนนิสัยแลวคอยวาง แผนเพ่ือนําเงินสวนที่เหลือไปเปน คา ใชจ า ยตา ง ๆ เทาน้เี ราก็มเี งินออม



หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดําเนินชวี ติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับประถมศึกษา (ทช11001) 19 กิจกรรมที่ 4

1. ผูเรียนไดขอคิดอะไรบางจากกรณีตัวอยาง “สรางชีวิตใหมอยางพอเพียงดวย บัญชคี รัวเรอื น .................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

2. ผเู รียนไดจดั ทาํ บญั ชีครวั เรือนหรอื ไม อยา งไร .................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

3. ในชุมชนของผเู รยี นมใี ครจดั ทาํ บัญชคี รัวเรือน พรอมยกตวั อยาง 1 ครอบครัว วา เขาจัดทาํ อยางไรและไดผ ลอยางไร .................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

20 หนังสอื เรียนสาระทักษะการดําเนนิ ชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศึกษา (ทช11001)

กิจกรรมที่ 5 ใหผ เู รยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี

1. การบนั ทกึ บญั ชคี รวั เรอื น หมายถงึ ผเู รยี นและครอบครวั มกี ารวางแผนการใชจ า ย อยา งไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

2. รายรบั หมายถึงอะไร พรอ มยกตวั อยาง ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

3. รายจาย หมายถึงอะไร พรอมยกตัวอยาง ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .................................................................................................................................... 4. ผูเรยี นมวี ิธลี ดรายจา ยและเพม่ิ รายไดอยางไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 5. ผูเรียนมีวิธกี ารออมเงินอยา งไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 6. ใหผ เู รียนบนั ทกึ บัญชีครวั เรอื นตามรายการดงั ตอ ไปนี้ 1 มี.ค. 52 ขายผลไมไ ดเงนิ 1,900 บาท 3 ม.ี ค. 52 ขายผลไมไดเ งนิ 1,500 บาท 5 มี.ค. 52 จา ยคาของใชในบา น 500 บาท 7 ม.ี ค. 52 จา ยคา น้าํ -คา ไฟ 400 บาท 10 มี.ค. 52 จายคาปุย 600 บาท 15 มี.ค. 52 จา ยคาอาหาร 500 บาท 20 มี.ค. 52 ขายผลไม 1,800 บาท 25 มี.ค. 52 จายคาซอ มรถ 300 บาท 27 มี.ค. 52 จายคา ของใช 700 บาท

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั ประถมศึกษา (ทช11001) 21

กจิ กรรมท่ี 6 ใหผ เู รยี นบนั ทกึ รายรบั -รายจา ยของครอบครวั ใน 1 เดอื น ลงในแบบบนั ทกึ

แบบบนั ทกึ รายรับ-รายจาย

วัน เดือน ป รายการ รายรบั รายจาย คงเหลือ (บาท) (บาท) (บาท)

ยอดรวมรายรบั ยอดรวมรายจา ย

คงเหลือ

สรุปผลการบันทกึ รายรบั -รายจา ยของครอบครัว

1. ครอบครัวของฉนั มรี ายรับ  มากกวา  นอยกวา รายจา ยอยู ..............บาท 2. ในระยะเวลา 1 เดือน  ครอบครวั ของฉนั มเี งนิ ออมจาํ นวน .................บาท

 ครอบครวั ของฉันไมมีเงนิ ออม 3. รายจายทค่ี วรปรบั ลด ได แก

  1. ...............................จํานวนเงนิ .......................บาท เพราะ ..............................
  2. ...............................จํานวนเงนิ .......................บาท เพราะ ..............................
  3. ...............................จาํ นวนเงิน .......................บาท เพราะ ............................. ฉันสามารถลดรายจา ยไดท ง้ั หมด ................................ บาท



บทที่ 4

ชีวติ สดใส พอใจเศรษฐกจิ พอเพียง

สาระสาํ คัญ

เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั ทฤษฎใี หมเ ปน แนวทางปฏบิ ตั เิ พอื่ ตอ งการใหค นสามารถพงึ่ พา ตนเองได อยา งเปน ขน้ั ตอน โดยลดความเสย่ี งเกย่ี วกบั ความผนั แปรของธรรมชาติ โดยอาศยั ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล การสรางความรู ความขยันหมั่นเพียร การอดออม สติ ปญ ญา การชวยเหลือซึง่ กนั และกันและความสามคั คี

เมอื่ เราศกึ ษาเรยี นรปู รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอยา งถอ งแทแ ละนาํ ไปประยกุ ตใ ช ในการดําเนินงานและการประกอบอาชีพจนเห็นผลจากการปฏิบัติแลวควรจะสงเสริมให สมาชิกในครอบครัวมองเห็นคุณคาและนําแนวทางไปสูการปฏิบัติในการดํารงชีวิตบนพ้ืน ฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง

แนะนํา สงเสริมใหสมาชิกในครอบครัวเห็นคุณคา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และนําแนวทางไปสกู ารปฏบิ ัติในการดาํ เนินชีวติ อยางยงั่ ยนื

ขอบขา ยเน้อื หา

เรอื่ งที่ 1 ทฤษฎีใหม เรือ่ งที่ 2 แผนชวี ิต

หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับประถมศึกษา (ทช11001) 23

เร่ืองท่ี 1 ทฤษฎีใหม

เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหมเปนแนวทางปฏิบัติเพ่ือตองการใหคนสามารถ พึ่งพาตนเองไดในระดับตางๆ อยางเปนข้ันตอน โดยลดความเส่ียงเกี่ยวกับความผันแปร ของธรรมชาติ หรอื การเปล่ียนแปลงของปจจัยตางๆ โดยอาศยั ความพอประมาณและความ มเี หตมุ ผี ล การสรา งความรู ความขยนั หมนั่ เพยี ร และความอดทน สตปิ ญ ญา การชว ยเหลอื ซึ่งกนั และกันและความสามคั คี

1. ความเปนมาของทฤษฎใี หม ตลอดระยะเวลาทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงครองราชยน นั้ พระองคไ ดเ สดจ็ พระราชดาํ เนนิ แปรพระราชฐานไปประทบั แรมยงั ภมู ภิ าคตา งๆ ทว่ั ประเทศ พระราชประสงค ทแี่ ทจ รงิ ของพระองคค อื การเสดจ็ ฯ ออกเพอ่ื ซกั ถามและรบั ฟง ความทกุ ขย ากในการดาํ เนนิ ชีวิตของพสกนิกรชาวไทย จึงมีพระราชดําริแนวคิดใหมในการบริการจัดการท่ีดินของ เกษตรกรใหมีสัดสวนในการใชพ้ืนที่ดินใหเกิดประโยชนสูงสุด รูปแบบหน่ึงคือ การเกษตร ทฤษฎใี หม 2. หลักการและข้ันตอนของเกษตรทฤษฎใี หม แนวคดิ ใหมใ นการบรหิ ารจดั การทด่ี นิ ของเกษตรกรใหม สี ดั สว นในการใชพ นื้ ทดี่ นิ ใหเกิดประโยชนสงู สุดตามแนวทางทฤษฎีใหม มหี ลกั การและขั้นตอนดงั น้ี 1. ทฤษฎใี หมข้นั ตน หลักการของทฤษฎีใหมข้นั ตน ประกอบดวย

  1. มที ดี่ นิ สาํ หรบั การจดั แบง แปลงทดี่ นิ เพอ่ื ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ น้ี พระบาท สมเด็จพระเจาอยูหวั ทรงคํานวณจากอตั ราถอื ครองท่ดี ินถัวเฉล่ยี ครัวเรือนละ 15 ไร อยางไร กต็ ามหากเกษตรกรมพี น้ื ทถ่ี อื ครองนอ ยกวา หรอื มากกวา น้ี กส็ ามารถใชอ ตั ราสว น 30 : 30 : 30 : 10 ดังนี้

พน้ื ทีส่ ว นท่ี 1 รอยละ 30 ใหขุดสระเก็บกักน้าํ เพอ่ื ใชเ กบ็ กักนํา้ ในฤดฝู นและ ใชเสริมการปลกู พืชในฤดแู ลง ตลอดจนการเล้ียงสัตวน าํ้ และพืชน้ําตา งๆ

พ้ืนทส่ี วนท่ี 2 รอ ยละ 30 ใหป ลกู ขาวในฤดฝู นเพือ่ ใชเปนอาหารประจาํ วนั สาํ หรบั ครอบครวั ใหเ พยี งพอตลอดป เพ่อื ตัดคาใชจา ยและพ่ึงตนเองได

พน้ื ทส่ี ว นท่ี 3 รอ ยละ 30 ใหป ลกู พชื ผกั พชื ไร พชื สมนุ ไพร ไมผ ล ไมย นื ตน ฯลฯ เพ่ือใชเปน อาหารประจาํ วนั หากเหลือบริโภคก็นาํ ไปจาํ หนาย

พ้ืนท่ีสวนท่ี 4 รอ ยละ 10 เปนทอ่ี ยูอ าศัย เล้ียงสัตวและโรงเรือนอนื่ ๆ

  1. มคี วามสามัคคี เนือ่ งจากการเกษตรทฤษฎีใหมขัน้ ตน เปนระบบการผลิต แบบพอเพียงท่ีเกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองไดในระดับที่ประหยัดกอน ทั้งนี้ชุมชนตองมี ความสามัคครี วมมือรว มใจในการชวยเหลอื ซึง่ กันและกนั ทํานองเดยี วกบั การลงแขก แบบ ดัง้ เดมิ เพือ่ ลดคาใชจ าย
  2. ผลผลติ เน่อื งจากขาวเปน ปจ จัยหลักท่ีทุกครวั เรือนจะตอ งบริโภค ดังนนั้ จงึ ประมาณวา ครอบครวั หนงึ่ ทาํ นา 5 ไร จะทาํ ใหม ขี า วพอกนิ ตลอดป โดยไมต อ งซอ้ื เพอ่ื ยดึ

24 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดําเนนิ ชวี ติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศกึ ษา (ทช11001)

หลกั พ่งึ ตนเองได

  1. มนี า้ํ เนอ่ื งจากการทาํ การเกษตรทฤษฎใี หมต อ งมนี า้ํ เพอ่ื การเพาะปลกู สาํ รอง

ไวใ ชใ นฤดูแลง ดงั นน้ั จงึ จาํ เปน ตอ งกนั ทด่ี นิ สว นหนง่ึ ไวข ดุ สระนาํ้ โดยมหี ลกั วา ตอ งมนี าํ้ เพยี ง พอทจ่ี ะทาํ การเพาะปลกู ไดต ลอดป

2. ทฤษฎใี หมขัน้ ท่ีสอง หรือเรียกวา ทฤษฎใี หมข น้ั กา วหนาเปนขน้ั ทเ่ี กษตรกร จะพัฒนาตนเองไปสขู ั้นพออยพู อกนิ เพอ่ื ใหมีผลสมบูรณย่ิงขน้ึ โดยใหเกษตรกรรวมพลัง กันในรูปกลุม หรอื สหกรณร วมแรงรว มใจกันดําเนนิ การในดา นตา งๆ ดงั น้ี

  1. ดานการผลติ เกษตรกรจะตองรว มมอื ในการผลิตโดยเรม่ิ ต้งั แตข ั้นเตรยี ม ดนิ การหาพนั ธพุ ชื ปยุ การหานํา้ และอื่นๆ เพือ่ การเพาะปลกู
  1. ดานการตลาด เมือ่ มผี ลผลิตแลวจะตอ งเตรยี มการตา งๆ เพอ่ื การขายผล ผลิตใหไดประโยชนสูงสุด เชน การเตรียมลานตากขาวรวมกัน การจัดหายุงรวบรวมขาว เตรยี มเครือ่ งสีขาว ตลอดจนการรวมกนั ขายผลผลติ ใหไดร าคาดีและลดคาใชจ ายลงดวย
  1. ดา นความเปนอยู เกษตรกรตอ งมคี วามเปนอยูท่ีดีพอสมควร โดยมปี จจยั พื้นฐานในการดาํ รงชวี ติ เชน อาหาร ท่อี ยูอาศยั เครอ่ื งนุงหม เปน ตน
  1. ดา นสวสั ดกิ าร แตล ะชมุ ชนควรมสี วสั ดกิ ารและบรกิ ารทจ่ี าํ เปน เชน สถานี อนามัยเมอื่ ยามเจบ็ ไขห รือมีกองทนุ ไวกยู ืมเพ่ือประโยชนในกิจกรรมตางๆ ของชมุ ชน
  1. ดา นการศกึ ษา ชมุ ชนควรมบี ทบาทในการสง เสรมิ การศกึ ษา เชน มกี องทนุ เพ่อื การศึกษาใหแ ก เยาวชนในชุมชน
  1. ดา นสังคมและศาสนา ชมุ ชนควรเปนท่รี วมในการพฒั นาจติ ใจและสังคม โดยมีศาสนาเปนทย่ี ึดเหน่ียว

3. ทฤษฎใี หมข นั้ ทส่ี าม เปน ขนั้ พฒั นาเกษตรกรหรอื กลมุ เกษตรกรใหก า วหนา ดวยการตดิ ตอ ประสานงานเพือ่ จัดหาทนุ หรอื แหลงเงิน เชน ธนาคาร หรือเอกชนมาชวย ในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชวี ติ ซึ่งทั้งสองฝายจะไดรบั ประโยชนร ว มกัน ดังนี้

  1. เกษตรกรสามารถขายขาวไดใ นราคาสูง โดยไมถกู กดราคา
  2. ธนาคารกับบริษัทสามารถซ้ือขาวบริโภคในราคาต่ํา เพราะซื้อขาวเปลือก โดยตรงจากเกษตรกรและนาํ มาสเี อง
  3. เกษตรกรสามารถซ้ือเคร่ืองอุปโภคบริโภคไดในราคาต่ํา เพราะรวมกันซื้อ เปน จํานวนมาก เนือ่ งจากเปน กลุมสหกรณ สามารถซือ้ ไดในราคาขายสง
  4. ธนาคารกับบริษัทจะสามารถกระจายบุคคลเพื่อไปดําเนินการในกิจกรรม ตางๆ ใหเ กิดผลดยี ิง่ ขนึ้

3. ประโยชนข องทฤษฎีใหม

1. การพง่ึ ตนเอง ทฤษฎีใหมย ดึ ถือหลักการท่ีวา ตนเปนท่ีพงึ่ แหงตน โดยมุงเนน การผลติ พชื ผลใหเ พยี งพอกบั ความตอ งการบรโิ ภคในครวั เรอื นเปน อนั ดบั แรก เมอ่ื เหลอื พอ จากการบริโภคแลว จงึ คํานึงถงึ การผลติ เพื่อการคา เปนอนั ดับรองลงมา ผลผลิตสวนเกินท่ี ออกสตู ลาดกจ็ ะเปนกําไรของเกษตรกร

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดําเนนิ ชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับประถมศกึ ษา (ทช11001) 25

2. ชุมชนเขมแข็ง ทฤษฎีใหมใหความสําคัญกับการรวมกลุมของชาวบาน ท้ังนี้ กลมุ ชาวบา นจะทาํ หนา ทเ่ี ปน ผดู าํ เนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ตา งๆ ใหห ลากหลาย ครอบคลมุ ทัง้ การเกษตรแบบผสมผสาน หตั ถกรรม การแปรรปู อาหาร การทาํ ธุรกจิ การคาขาย การ ทอ งเทย่ี วระดบั ชมุ ชน ฯลฯ เมอื่ องคก รชาวบา นเหลา นไ้ี ดร บั การพฒั นาใหเ ขม แขง็ และมเี ครอื ขา ยทกี่ วา งขวางมากขน้ึ แลว เกษตรกรในชมุ ชนกจ็ ะไดร บั การดแู ลใหม รี ายไดเ พม่ิ ขนึ้ รวมทง้ั การไดรับการแกปญหาในทุกดาน เมื่อเปนเชนนี้เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศก็สามารถ เติบโตไปไดอ ยา งมเี สถยี รภาพ

3. ความสามัคคี ทฤษฎใี หมตั้งอยบู นพืน้ ฐานของการมคี วามเมตตา ความเอ้ือ อาทรและความสามคั คขี องสมาชกิ ในชุมชน ในการรว มมือรว มใจเพอ่ื ประกอบอาชพี ตา งๆ ใหบ รรลผุ ลสาํ เรจ็ ประโยชนท เี่ กดิ ขนึ้ จงึ มไิ ดห มายถงึ รายไดแ ตเ พยี งดา นเดยี ว หากแตร วมถงึ ประโยชนใ นดา นอน่ื ๆ ดว ย ไดแ ก การสรา งความมนั่ คงใหก บั สถาบนั ครอบครวั สงั คม ชมุ ชน และความสามารถในการอนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

ตัวอยางการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนแนวทางปฏิบัติของเกษตรทฤษฎี ใหม ซ่ึงเปนแนวทางในการพฒั นาดา นการเกษตรอยา งเปน ขนั้ ตอนในพืน้ ทีท่ เี่ หมาะสม ซง่ึ แบง เปน 3 ข้ันดังน้ี * กรณีตัวอยา งปลูกทุกอยา งทกี่ นิ กนิ ทุกอยา งทปี่ ลกู ชวี ติ อยไู ดอ ยา งย่ังยนื *

มุงสู ความสําเรจ็

ขน้ั ท่ี 3 การจัดการ เศรษฐกิจ พอเพยี ง 3. สรางเครือขายกลมุ อาชีพ และขยาย แบบกาวหนา กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ใหหลากหลาย มงุ เนน ความพอเพียงระดับประเทศ เศรษฐกิจ พอเพียง ขน้ั ท่ี 2 พงึ่ พาตนเอง แบบพ้นื ฐาน

2. รวมพลังในรูปกลมุ เชน สหกรณเพ่ือการผลติ การตลาด การจัดการ รวมทั้งดานสวัสดกิ าร การศึกษา และการพฒั นาสงั คม มุงเนน ความพอเพียงระดับชมุ ชนและองคกร

ข้ันท่ี 1 พ่งึ ตนเอง

1. พอเพยี งเล้ียงตนเองได บนพืน้ ฐานของความประหยัด มุง เนน ความพอเพยี งระดับตนเองและครอบครัว

* เอกรินทร สมี่ หาศาลและคณะ. คณุ ธรรมนําความรสู ูเศรษฐกจิ พอเพียง ป.6 หนา 6 :

26 หนังสอื เรียนสาระทักษะการดาํ เนนิ ชีวติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช11001)

กรณีตัวอยา ง ปลูกทกุ อยา งทีก่ นิ กินทกุ อยา งท่ีปลกู ชีวติ เปน สขุ ไดอ ยา งยัง่ ยืน

นายบญุ เปง จนั ตะ ภา เกษตรกรบา นหว ยถา งปตู า น ตาํ บลไมย า อาํ เภอพญาเมง็ ราย จงั หวดั เชียงราย ดําเนินชีวิตโดยยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งจนเปน ทย่ี อมรับโดยท่ัวไป

เดมิ นายบญุ เปง จนั ตะ ภา มฐี านะยากจน เคยออกไปขอทานเพอ่ื หาอาหารมาใสท อ ง หลังจากไปเรียนในวัดไดนําหลักคุณธรรมมาใชในชีวิตและการประกอบอาชีพโดยยึดหลัก อิทธบิ าท 4 และพรหมวิหาร 4 ในป 2529 ไปทํางานประเทศบรไู น หวงั ใหฐานะครอบครวั ดขี นึ้ แตไ มส าํ เรจ็ จงึ เดนิ ทางกลบั มาเกบ็ เงนิ ไดเ พยี งสองพนั กวา บาท ตอ มาไดป รบั ความคดิ วา ถา มคี วามขยนั เหมอื นทาํ งานทป่ี ระเทศบรไู น อยเู มอื งไทยกม็ รี ายไดอ ยา งพอเพยี ง ป 2542 รฐั บาลใหม ีการพกั ชําระหน้ี แตบญุ เปง พกั ไมไ ด เนอ่ื งจากมยี อดหน้เี ปนแสน ไดน าํ เอารูป ในหลวงมาต้ังสจั จอธิษฐานวา ขาพเจา และครอบครัวจะขยนั เพม่ิ ขนึ้ ลด ละ เลิก ในส่งิ ที่ไม จําเปน กนิ ทกุ อยา งทป่ี ลูก ปลูกทุกอยา งที่กิน และจะขอปลดหนภี้ ายใน 4 ป

นายบุญเปง พ่ึงพาตนเองดว ยการทาํ เกษตรทฤษฎใี หม ลงแรงทุกอยางดว ยตนเอง ใชภ มู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ ประยกุ ตก บั ความรใู หม ๆ ทไ่ี ดไ ปศกึ ษาดงู านอกี การใชท รพั ยากรอยา ง รคู ุณคาทาํ ใหประหยัดเงนิ ลงทนุ เกดิ รายไดจากการขายผลผลติ การเกษตรตลอดทงั้ ป รจู ัก อดออม ไมเปนหน้ีทําใหดําเนินชีวิต ไมเดือดรอน ไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น พัฒนา ปรบั ปรงุ การประกอบอาชพี จนประสบความสาํ เร็จและยงั ถา ยทอดความรู ชวยเหลอื สังคม

บนพื้นท่ี 10 ไร 1 งาน 35 ตารางวา มกี ารแบง สัดสวนตามหลกั ทฤษฎีใหมไ ดอยา ง ลงตวั เปน นาขา ว 5 ไร ปลกู ขา วเหนียวปล ะ 1 คร้งั โดยปลูกสลบั กับขา วโพด แตงโม แตง ไทย อีก 5 ไร ปลูกผกั สมนุ ไพร ไมผ ล เชน ลําไย มะมวง กลว ย และสวนสุดทายเปนเรอื น พกั อาศยั พอเหมาะกบั ครอบครวั มีโรงเลยี้ งสัตว กระบือ สุกร ไกพืน้ เมอื งและจง้ิ หรีด

ความสําเร็จในชีวิตของนายบุญเปง นับเปนบทพิสูจนไดเปนอยางดีวา “เศรษฐกิจ พอเพยี ง” สามารถนาํ มาปรับใช ใหเกิดประโยชนส ูงสดุ ตอครอบครวั ชุมชน หากรูจกั คิด ใช กิน อยูอยา งพอเพียง ชีวิตกด็ าํ รงไดอยา งยงิ่ ขน้ึ มัน่ คง * จากหนังสือพมิ พเดลนิ วิ ส หนา 10 ฉบบั วนั พฤหัสบดีที่ 12 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2552

หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดาํ เนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับประถมศึกษา (ทช11001) 27

การแนะนําสงเสริมใหสมาชิกในครอบครัวเห็นคุณคาและนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยกุ ตใช

เมอ่ื เราเรยี นรปู รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งจนเกดิ ความเขา ใจอยา งถอ งแทแ ละนาํ สกู ารปฏบิ ตั ใิ นการดาํ เนนิ ชวี ติ และการประกอบอาชพี แลว เราจะเหน็ ประโยชนแ ละคณุ คา ของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงสมควรอยางยิ่งที่เราจะตองแนะนําสงเสริมใหสมาชิกใน ครอบครัวเห็นคุณคาและนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการดําเนินชีวิต และการประกอบอาชีพดว ยเชนกัน หลักในการแนะนําคอื การทสี่ มาชกิ ในครอบครวั ใชช ีวติ บนพ้ืนฐานของการรูจักตนเอง สามารถพึ่งตนเองไดและดําเนินชีวิตอยางพอกินพอใชโดย ไมเบียดเบียนผูอ่ืน ทําใหเกิดความสุขและความพอใจในการดําเนินชีวิตอยางพอเพียง พยายามพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง เพ่ือใหสามารถอยูอยางพอเพียงไดในทุกสถานการณ ทงั้ นส้ี มาชิกในครอบครวั อาจจะรว มกันทําแผนชีวติ

เร่อื งท่ี 2 แผนชีวติ

ในการดําเนินชีวิตทุกคนตองการไปใหถึงเปาหมายดวยกันทั้งส้ิน แตการที่จะไป ถึงเปาหมายไดจ ะตองมกี ารวางแผนชวี ิตที่ดี มคี วามมุง ม่นั ในการทจ่ี ะกา วไปใหถ งึ

การวางแผนอยางนอยก็ทําใหเรารูวาเราจะเดินไปทิศทางไหน ย้ําเตือนวาตองทํา อะไร ยงั ไมไ ดท าํ อะไร แมแ ตแมบ า นจะทาํ อาหารในแตละมอื้ ยงั ตอ งวางแผนและเหน็ อาหาร จานนน้ั อยใู นจิตนาการเหลอื แตอ อกไปหาวัตถดุ บิ และลงมอื ปรุงอาหารใหส าํ เร็จ ซงึ่ แมบ า น กต็ อ งเขยี นรายการวตั ถดุ บิ ทต่ี อ งซอ้ื เปน การวางแผนกอ นปรงุ อาหารซง่ึ จะไดไ มม ปี ญ หาวา กลบั บา นแลว ลมื ซอื้ ซงึ่ เหตกุ ารณน มี้ กั เกดิ ขน้ึ บอ ย ๆ ชวี ติ คนเรากเ็ ชน เดยี วกนั ตอ งคดิ กอ น ปรงุ โดยตอ งรวู าจะปรงุ ใหเ ปน อะไร ซงึ่ เรยี กวา แผนชวี ติ แตส าํ หรบั คนทย่ี งั ไมร กู ต็ อ งเขยี นวา ตวั เองชอบอะไร หรอื ตอ งการอะไรจะดีกวาดําเนินชีวติ โดยไรจุดหมาย

แผนชวี ิต คอื ส่งิ ที่เราฝน หรือคาดหวงั อยากจะใหเกิดขน้ึ จริงในอนาคตโดยเรา จะตองวางแผน กาํ หนดทศิ ทางหรือแนวทางในการดําเนนิ ชวี ิต เพือ่ ใหเ ราไปถึงเปา หมาย ทาํ ใหเ ราเกิดความพึงพอใจและสขุ

แผนชีวติ มีหลายดา น เชน แผนชวี ิตดา นอาชีพ แผนชีวิตดา นครอบครวั เปนตน แผนชีวิตแตละคนแตละครอบครัวจะแตกตางกันขึ้นอยูกับวาใครจะใหความสําคัญกับแผน ชวี ิตดานใดมากกวากนั

แผนดานการพัฒนาอาชีพ ใหมองถึงศักยภาพท่ีมีการพัฒนาได ความถนัด ความสามารถของตนเอง มองถงึ ทุนที่มใี นชมุ ชน เชน ทรัพยากร องคค วามรู ภูมิปญญา

28 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดําเนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับประถมศึกษา (ทช11001)

แหลงเงินทุน การตลาด ความตองการของคนในชุมชน โดยมีการจดั การความรขู องตนเอง เพ่อื ใหเ กิดความรูใหม

แผนชวี ติ ดา นครวั เรอื น ใหม องถงึ หลกั ธรรมในการดาํ รงชวี ติ การสรา งภมู คิ มุ กนั ให กบั คนในครอบครวั ทม่ี กี ารเรยี นรตู ลอดชวี ติ เพอ่ื นาํ องคค วามรมู าสรา งภมู คิ มุ กนั ทดี่ ี นอกจาก นก้ี ารนําบัญชีครวั เรอื นมาวเิ คราะหร ายจายทไ่ี มจําเปนมาจดั ทาํ แผนการลดรายจา ย เพ่ิมราย ไดแ ละตอ งมกี ารประเมนิ แผนทท่ี าํ ดว ยวา สาํ เรจ็ มากนอ ยเพยี งใด แผนชวี ติ ดา นครวั เรอื น เชน

(1) การจัดทําบัญชีรายรับ - รายจา ยในครวั เรอื น มีการวางแผนการใชจา ย เชน จา ย 3 สว น ออม 1 สว น เพอ่ื ใหเ กดิ การมรี ะเบยี บวนิ ยั ในการใชจ า ย การลด ละ เลกิ อบายมขุ การศกึ ษาใหร เู ทาทนั กระแสบรโิ ภคนิยม การวางแผนควบคมุ รายจา ยในครวั เรอื น

(2) การลดรายจา ยในครวั เรือน เชน การปลกู ผกั สวนครัว การผลิตปยุ ชวี ภาพไว ใชทดแทนปุย เคมี การผลิตผลติ ภณั ฑเ ครื่องใชภายในครัวเรอื น

(3) การเพม่ิ รายไดใ นครวั เรอื น แปรรปู ผลผลติ การทาํ เกษตรแบบผสมผสาน ปลกู พืชสมนุ ไพร ฯลฯ หรอื อาจจะเริม่ จาก การจดั ทําแผนชีวิตครวั เรอื น อาจจะดาํ เนนิ การ ดงั นี้

1. จัดทําขอ มูลของครวั เรอื น 2. คน หาศกั ยภาพของตนเอง ทกั ษะในการประกอบอาชพี ทนุ สถานการณใ นการ

ประกอบอาชพี 3. คน หาปญหาของครวั เรอื น 4. กาํ หนดเปาหมายของครวั เรือนเพ่ือใหห ลุดพนจากความยากจน 5. วางแผนการแกป ญ หาของครัวเรอื น 6. บันทึกการปฏบิ ตั ิตามแผน 7. บันทึกการประเมนิ ผล



กรณีตัวอยา ง สุรชัย มรกตวิจิตรการ เกษตรพอเพียง แหงบานปาไผ *

บา นเกษตรกรพอเพียงตามแนวพระราชดาํ รขิ อง สุรชยั มรกตวจิ ิตรการ ตั้งอยูที่ บานปา ไผ ต.แมโ ปง อ.ดอยสะเกด็ จ.เชยี งใหม สรุ ชยั ไดเลา ชีวติ ของตนเองวา “ชวี ิตคง

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนินชีวติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศึกษา (ทช11001) 29

ไมม าถึงวันนห้ี ากไมม ศี รัทธาแรงกลาตอองคพ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ผมเริม่ ตนจาก ศูนย เดิมผมคาขายเสื้อผาสําเร็จรูป ป 2540 เจอวิกฤตเศรษฐกิจ มีหนี้สินแปดแสนบาท คดิ จะฆา ตวั ตาย แมใ หส ตวิ า ทาํ ไมไมส ู ทาํ ใหผ มคดิ ใหม ตง้ั สตแิ ลว มงุ หนา ไปทศี่ นู ยก ารศกึ ษา การพัฒนาหวยฮอ งไคร อนั เนอื่ งมาจากพระราชดําริ ดว ยใจท่ีมงุ มัน่ วา มกี ินแนห ากเดินตาม แนวทางของในหลวง ที่น่ีเองไดเรียนรูและทําความเขาใจคําวา “เศรษฐกิจพอเพียง” อยา งถอ งแท”

เราเริ่มตน จากการเลีย้ งสตั วต ามความถนดั ท้งั ปลา ไก วัว กบ ตอ มาปลูกพืช ผกั สวนครัว โรงเพาะเห็ด กลายเปนไรน าสวนผสมท่ที าํ ทกุ อยา งเชือ่ มโยงกันอยา งเปนระบบ และมีประสิทธิภาพ

เวลาผานไปไมกี่ป สุรชัยกลายเปนผูเช่ียวชาญ มีความรูในส่ิงท่ีตนเองลงมือทํา ไมวา จะเปน การทําปยุ หมกั ปยุ อินทรยี  การเลีย้ งหมูหลุม การเล้ยี งไก วัว ปลา กบ การทํา กาซชีวภาพจากมูลสัตว การนําของเหลวจากสัตวไปเลี้ยงพืช การนําของเหลวจากพืชไป ใชกบั สัตว

“ในหลวงสอนคนไทยมากวา 20 ป วา ใหเ ชอ่ื มธรรมชาตเิ ขา ดว ยกนั คนไทยไมช อบ คิด ไมช อบวเิ คราะห ไมลงมือทํา แตใ ชเ งินนําหนา ตองแกด ว ย 5 ร คือ รวมพลงั รวมคดิ รวมกันทํา รวมกันสรุปบทเรียน และรวมกันรับผล และยึดคําสอนที่วา ตองระเบิดจาก ขางใน คอื เขา ใจตวั เองกอน สงิ่ แรกคอื ตนทนุ ตํา่ ทาํ บัญชคี รวั เรอื น ตดั ส่งิ ฟมุ เฟอ ยออกจาก ชวี ติ คิดอยา งรอบคอบ ไมข ้ีเกยี จ สรางภมู ิคุมกนั ไมห ลงกระแส ไมห ลงวัตถนุ ิยม ท่ีสาํ คญั ไมแ ขงกับคนรวย แตท กุ คนตอ งคดิ ตอ งฝนเองวาอะไรเหมาะทส่ี ดุ จะสาํ เรจ็ หรือลมเหลวอยู ท่คี ณุ ภาพคน

ปจ จุบัน สุรชยั ยังเดนิ หนาตามแผนชวี ติ ของตนเอง เพือ่ หวังปลดหนีภ้ ายในไม เกนิ 5 ป ดว ยการกเู งิน 2 ลา นบาท ซ้ือท่ีดินหลงั บานเพ่อื สรางฐานการผลติ

ผมตอ งการพิสูจนวา คนจนหากมงุ มน่ั ทีจ่ ะสแู บบเขาใจศักยภาพตนเองรับรองอยู ไดอ ยา งมีศกั ดศิ์ รี และเปนชีวติ ที่ยงั่ ยนื ปลอดภัย” ----

* จนิ ตนา กจิ มี หนังสอื พมิ พม ติชน หนา 10 วันเสารท ่ี 28 มนี าคม พ.ศ. 2552

30 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั ประถมศึกษา (ทช11001)

กิจกรรมท่ี 7

ใหผ เู รยี นวางแผนชวี ติ ของตนเองดา นอาชพี และดา นชวี ติ ครอบครวั โดยคาํ นงึ ถงึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แผนชวี ิต รายละเอียดแผนชีวิต 1. แผนชีวิต 1. จะประกอบอาชีพ ................................................................. ..................................................................................................

2. ปจ จัยท่พี จิ ารณา .................................................................... ทุนเปนอยางไร .....................................................................

.................................................................................................. ความรูความสามารถ .............................................................

.................................................................................................. ตลาด ....................................................................................

.................................................................................................. อุปกรณ .................................................................................

..................................................................................................

2. แผนครัวเรือน 1. ที่อยอู าศัย ............................................................................. .................................................................................................. 2. สขุ ภาพ ................................................................................. .................................................................................................. 3. การศึกษา (ของตนเอง/คนในครอบครวั ) ............................... .................................................................................................. 4. ลดรายจาย ............................................................................ .................................................................................................. 5. รายได ................................................................................... .................................................................................................. 6. การมีสว นรวมกับสังคม .......................................................... .................................................................................................. 7. หลกั ธรรมในการดาํ เนินชวี ติ ................................................... ..................................................................................................

หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศกึ ษา (ทช11001) 31

กจิ กรรมท่ี 8

ผเู รยี นและครอบครวั มแี ผนการปรบั ปรงุ วถิ ชี วี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอ เพยี งอยางไร เร่อื งทตี่ อ งการปรบั ปรงุ ................................................................................................. วธิ ีการปรบั ปรุง ............................................................................................................. ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .................................................................................................................................. ..................................................................................................................................... เมอ่ื ปรบั ปรุงแลว จะเกดิ ผล ............................................................................................ ผลการปรับปรุง ............................................................................................................ ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .................................................................................................................................... บุคคลท่มี ีสว นรวมในการปรับปรุง .................................................................................. ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ปญหาอุปสรรค ............................................................................................................. .................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... แนวทางแกไ ข ............................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ....................................................................................................................................

32 หนังสอื เรียนสาระทักษะการดาํ เนนิ ชวี ิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช11001)

แบบทดสอบหลังเรียน

คาํ ช้ีแจง เลอื กคําถามท่ีถกู ท่สี ดุ เพียงคาํ ตอบเดียว 1. เศรษฐกิจพอเพียงเปนเรือ่ งเกย่ี วกบั อะไร ก. การเกษตร ข. การคาขาย ค. การดําเนนิ ชีวิต ง. การอุตสาหกรรม 2. หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งเปน แนวทางในการดาํ เนินชวี ติ ของคนกลุมใด ก. พอคา นกั ธุรกจิ ข. นักเรียน นกั ศกึ ษา ค. ขาราชการ นกั การเมอื ง ง. ประชาชนทุกคน 3. เปา หมายหลักแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียงคอื ขอ ใด ก. พึง่ พาตนเองเปน หลกั ข. ชว ยเหลอื ซึ่งกันและกัน ค. มีอาชพี เกษตรกรรมทุกครอบครัว ง. ใชจ า ยแตสิ่งจาํ เปนตอ การดาํ เนนิ ชีวิต 4. คาํ วา “เดินทางสายกลาง” ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง หมายถงึ การดําเนินชีวิต

แบบใด ก. รูจกั คาํ วาพอดี พอประมาณ ข. ลดรายจา ย และเพิ่มรายไดใ หส มดลุ ค. ประหยัดรายจายใหม ากท่ีสดุ เทา ท่ีจะทาํ ได ง. ดาํ เนินชวี ิตแบบใดกไ็ ดข อเพยี งแตใหมีความสุข

5. การเตรียมตัวใหพรอมท่ีจะเผชิญผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ หมาย ถงึ ขอ ใด

ก. การมปี ระสบการณ ข. การมคี วามรู ความสามารถ ค. มภี มู คิ มุ กันท่ีดีในตัว ง. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม 6. ขอ ใดคอื เงอ่ื นไขทส่ี าํ คัญของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ก. มีความรู มีคุณธรรม ข. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ค. มเี หตผุ ล มคี วามรอบคอบ ง. มีภมู คิ ุมกนั ในตัวท่ีดี มเี หตุผล

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั ประถมศึกษา (ทช11001) 33

7. ขอ ใดคือวธิ กี ารจัดสรรเงนิ หรอื วางแผนการใชจ ายทดี่ ีทีส่ ดุ ก. จัดสรรจายใหเ ทา กบั รายได ข. การบันทึกรายรับ-รายจาย ค. ปรึกษาเพื่อนบา นกอนซือ้ ง. เปรียบเทียบคาํ โฆษณาตามหนงั สือพมิ พ

8. ขอ ใดถูกตองท่สี ุดในการจดบันทกึ รายรบั -รายจา ย ก. จดทกุ ครั้ง ข. จดทกุ วันเวนวัน ค. จดทุกเดอื น ง. จดทกุ อาทติ ย

9. การใชจา ยทเ่ี หมาะสมกับฐานะความเปน อยหู รือความสามารถของตนตรงกับสาํ นวนใน ขอใด

ก. มือใครยาวสาวไดส าวเอา ข. นกนอยสรา งรงั แตพ อตัว ค. ฝนทั่งใหเปนเข็ม ง. นา้ํ ขึ้นใหร บี ตัก 10. ขอใดสมั พนั ธก ับ “เกษตรทฤษฎใี หม” มากทส่ี ุด ก. การบริหารจัดการเกษตรกรที่ยากจน ข. การจัดระบบวถิ ชี ีวิตของเกษตรกรใหม ค. การเกษตรผสมผสานในทด่ี นิ ที่มีอยูจ ํากดั ง. การบริหารจัดการท่ีดินใหเกดิ ประโยชนสูงสุด



34 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช11001) คําชีแ้ จง เขียนเครอื่ งหมาย  หนา ขอ ความทถ่ี ูก และเขียนเคร่อื งหมาย  หนาขอ

ความที่ผดิ 1. แนวเศรษฐกจิ พอเพียงมีไวส าํ หรับผทู ีป่ ระกอบอาชพี ทางการเกษตรเทานน้ั 2. ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถงึ ความจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งมีระบบภูมคิ ุม กนั ในตัวทดี่ ี 3. แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียงเนน ใหประชาชนพ่งึ ตนเองเปนหลกั 4. แนวเศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถนาํ มาปรบั ใชไ ดก บั ตนเองและครอบครวั เทา นน้ั 5. แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถนาํ มาปรบั ใชไ ดก บั บคุ คลทกุ ระดบั ทกุ อาชพี 6. การออมคือ การสะสมเงนิ ทีละเล็กละนอ ยใหพอกพนู 7. ธนาคารออมสินใหแ นวคดิ ในทางออมวา ออม 1 สวน ใช 2 สวน 8. แผนชีวิตคือ แผนของผูท่ีตองการกเู งนิ ธนาคารมาลงทุน

เฉลย 1.  2.  3.  4.  5.  6.  7.  8. 

หนังสือเรยี นสาระทักษะการดาํ เนนิ ชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั ประถมศึกษา (ทช11001) 35

บรรณานกุ รม

สาํ นกั บรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น.สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. แนวทางการ จดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี งชมุ ชน โดยกระบวนการ การศึกษานอกโรงเรียน. กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัด โรงพิมพอักษรไทย (นสพ. ฟา เมืองไทย).2550.

ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง.สํานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน. สํานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงศึกษาธิการ.หลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียง สาํ หรบั เกษตรกร. ศนู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นภาคกลาง. 2549. (เอกสารอดั สาํ เนา)

สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาต.ิ คณะอนกุ รรมการขบั เคลอ่ื น เศรษฐกจิ พอเพยี ง. นานาคาํ ถามเกย่ี วกบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง. 2548.

สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ. เศรษฐกจิ พอเพยี ง. 2548.

จตุพร สุขอินทร และมังกโรทัย. “สรางชีวิตใหมอยางพอเพียงดวยบัญชีครัวเรือน” เดลนิ วิ ส หนา 30 ฉบับวนั จนั ทรท ี่ 20 เมษายน พ.ศ. 2522

“ปลูกทุกอยางท่ีกิน กินทุกอยางท่ีปลูก ชีวิตอยูไดอยางย่ังยืน” เดลินิวส หนา 10 ฉบับวนั พฤหสั บดีท่ี 12 กุมภาพันธ พ.ศ. 2552

จนิ ตนา กจิ ม.ี “เกษตรพอเพยี ง แหง บา นปา ไผ” . มตชิ น หนา 10 ฉบบั วนั เสารท ี่ 28 มนี าคม พ.ศ. 2552.

เอกรนิ ทร สม่ี หาศาล และคณะ, คณุ ธรรมนาํ ความรสู .ู ...เศรษฐกจิ พอเพยี ง ป.6 กรงุ เทพฯ : บริษทั อักษรเจรญิ ทศั น อาท จํากัด. มปพ.

ภาคผนวก

หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช11001) 37

หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

รายชอ่ื ผเู ขา รว มประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาหนงั สอื เรยี นวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ครง้ั ท่ี 1 ระหวา งวนั ท่ี 10 – 13 กมุ ภาพนั ธ 2552 ณ บา นทะเลสคี รมี รสี อรท จงั หวดั สมทุ รสงคราม

1. นายศรายทุ ธ บรู ณเ จรญิ ผอ. กศน. อาํ เภอจอมพระ จงั หวดั สรุ นิ ทร 2. นายจาํ นง หนนู ลิ กศน. อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั นครศรธี รรมราช

ครง้ั ท่ี 2 ระหวา งวนั ท่ี 29 มถิ นุ ายน 2552 – วนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2552 ณ โรงแรมแกรนด

เดอวลิ ล กทม.

นางพฒั นส ดุ า สอนซอ่ื กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

รายชอ่ื ผเู ขา รว มประชมุ บรรณาธกิ ารหนงั สอื เรยี นวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ครง้ั ท่ี 1 ระหวา งวนั ท่ี 7 – 10 กนั ยายน 2552 ณ โรงแรมอทู องอนิ น จงั หวดั

พระนครศรอี ยธุ ยา

นางพฒั นส ดุ า สอนซอ่ื กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

ครง้ั ท่ี 2 ระหวา งวนั ท่ี 12 – 15 มกราคม 2553 ณ โรงแรมอทู องอนิ ท จงั หวดั

พระนครศรอี ยธุ ยา

1. นางพฒั นส ดุ า สอนซอ่ื ขา ราชการบาํ นาญ

2. นายอชุ ุ เชอ้ื บอ คา กศน. อาํ เภอหลงั สวน จงั หวดั ชมุ พร

3. นางสาวพชั รา ศริ พิ งษาโรจน สาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั กระบ่ี

4. นายวทิ ยา บรู ณะหริ ญั สาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั พงั งา

38 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับประถมศกึ ษา (ทช11001)

คณะผจู ดั ทํา

ทป่ี รกึ ษา บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน. อิ่มสุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. 1. นายประเสรฐิ จาํ ป รองเลขาธิการ กศน. 2. ดร.ชยั ยศ แกวไทรฮะ ทป่ี รึกษาดานการพฒั นาหลักสูตร กศน. 3. นายวชั รนิ ทร ตัณฑวุฑโฒ ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. ดร.ทองอยู 5. นางรกั ขณา

คณะทํางาน มัน่ มะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ศรีรัตนศิลป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นายสุรพงษ ปทมานนท กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นายศภุ โชค กุลประดิษฐ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาววรรณพร เหลืองจติ วัฒนา กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวศรญิ ญา 5. นางสาวเพชรินทร

ผูพมิ พตน ฉบบั คะเนสม กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน เหลอื งจิตวฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นางปย วดี กวีวงษพพิ ัฒน กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นางเพชรินทร ธรรมธษิ า กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาวกรวรรณ บานชี กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวชาลนี ี 5. นางสาวอรศิ รา

ผอู อกแบบปก ศรรี ัตนศลิ ป กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

นายศภุ โชค

บนั ทกึ

บนั ทกึ