ดร.ประภ สสร ช ว เช ยร คณะโบราณคด ม.ศ ลปากร

หลักสูตรประวัติศาสตร์ศิลปะมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมโดยตรงโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านศิลปกรรมในขณะที่ปัจจุบันโบราณวัตถุสถานอันเป็นมรดกสำคัญของชาติและของโลกนับวันจะถูกทำลายสูญหายไปเนื่องด้วยคนไม่เห็นคุณค่าหลักสูตรดังกล่าวจึงออกแบบมาเพื่อให้นักศึกษา“เห็นคุณค่า”และช่วยกันอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมดังกล่าวให้คงอยู่สืบไป

ดร.ประภ สสร ช ว เช ยร คณะโบราณคด ม.ศ ลปากร

รองศาสตราจารย์ ดร.ประภัสสร์ ชูวิเชียร

E-mail : [email protected]

เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103048

ประวัติการศึกษา

ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์ศิลปะ), มหาวิทยาลัยศิลปากร

ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์ศิลปะ), มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปร.ด. (ประวัติศาสตร์ศิลปะไทย), มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

  • โครงการคลังข้อมูลสารสนเทศศิลปวัฒนธรรมระยอง, 2561.

    ผู้วิจัย

    • กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมย์ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี
    • ประภัสสร์ ชูวิเชียร ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี
    • อุเทน วงศ์สถิตย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี
    • ศศิธร ศิลป์วุฒยา ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี
  • การสำรวจและสังเคราะห์ข้อมูลด้านประวัติศาสตร์และการท่องเที่ยวในการพัฒนาเมืองสมุทรสาคร, 2561-2562.

    ผู้วิจัย

    • นายสุวันชัย แสงสุขเอี่ยม
    • ศศิธร ศิลป์วุฒยา ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี
    • อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี
    • ประภัสสร์ ชูวิเชียร ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี
  • ศิลปะล้านช้างที่เมืองโบราณเวียงคุก จังหวัดหนองคาย, 2561-2562.

การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

  • “ปี่ไทย: รูปทรงภายนอกกับโครงสร้างการกำเนิดเสียงภายในที่ขัดแย้งกัน,” สุริยวาทิต ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-ธันวาคม 2560): หน้า 25 – 30.
  • “พระพุทธรูปสมัยอยุธยาตอนต้นในฝั่งธนบุรีกับข้อสันนิษฐานถึงชุมชนระยะแรกของกรุงเทพฯ,” เมืองโบราณ ปีที่ 43 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2560): หน้า 48 - 60.

ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

  • ธรรมเนียมสร้างวัดบนที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพในสมัยอยุธยา เรื่องจริงหรือเรื่องแต่ง. คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2560, 15 หน้า.
  • “ศิลปกรรมชานนครเวียงจันฝั่งตะวันตก ศูนย์กลางในอดีต ชายขอบในปัจจุบัน,” ใน เอกสารประกอบโครงการประชุมวิชาการด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ ศูนย์กลาง-ชายขอบ ตัวตน-คนอื่น ผ่านมุมมองประวัติศาสตร์ศิลป์. 2561.
  • อยุธยาในย่านกรุงเทพฯ ศิลปกรรมที่สัมพันธ์กับแม่น้ำลำคลอง. 2561.

การได้รับรางวัลจากผลงานวิจัย/สร้างสรรค์

  • หลักฐานศิลปกรรมอยุธยาที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล วิเคราะห์ในฐานะชุมชน "ปากใต้" สมัยกรุงศรีอยุธยา. ผลงานวิจัยดี สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2560.

ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห์

ดร.ประภ สสร ช ว เช ยร คณะโบราณคด ม.ศ ลปากร

ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห์

E-mail : [email protected]

เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103043

ประวัติการศึกษา

ศศ.บ. (โบราณคดี) เกียรตินิยมอันดับ 2, มหาวิทยาลัยศิลปากร ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์ศิลปะ), มหาวิทยาลัยศิลปากร D.E.A. (en Histoire de l’ art), Université de Paris Sorbonne (Paris IV), France Doctorat (en Histoire de l’ art et Archéologie), Université de Paris Sorbonne (Paris IV), France

ผลงานวิชาการ/ผลงานสร้างสรรค์

โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์

  • * พุทธศิลป์ไทยในบริบทอาเซียน, 2560-2561.

การเผยแพร่ในการประชุมวิชาการ

  • * พระโตเจดีย์ใหญ่จากความศรัทธาในอดีตสู่พุทธพาณิชย์ในยุคจานบิน. โครงการประชุมวิชาการด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ : ศรัทธาข้ามพรมแดน ศิลปวัฒนธรรมวิจารณ์ ก้าวข้าม ศาสนา กาลเวลา และชาติพันธุ์, 30-31 กรกฎาคม 2559.
    • จิตรกรรมในฐานสื่อการรับรู้พระพุทธศาสนา : พัฒนาการทางความคิดและความเชื่อของคนไทย. บันทึกไว้ในงานจิตรกรรม โครงการเสวนาวิชาการด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ เนื่องในโอกาส 72 ปี ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สันติ เล็กสุขุม, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, หน้า 7 – 26, 29-30 กรกฎาคม 2560.
    • "Thai Buddha Art : Buddha Images Thailand" : Brilliant Land of The Buddha. Special Exhibition Celebrating 130 years et Amity Japan and Thailand, Kyushu National Museum and Tokyo National Museum Japan, pages 258 – 261, 4 August 2017.
    • จิตรกรรมเรื่อง ชมพูบดีสูตร ภายในสิม วัดป่ารวก (ป่าฮวก) : รูปแบบ คติการสร้างและภาพสะท้อนสังคมชาวลาวแห่งเมืองหลวงพระบาง, ภาคกลางมองอีสาน อีสานมองภาคกลาง. เสวนาวิชาการจิตรกรรมฝาผนังอีสาน, ห้องประชุม 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, หน้า 5 – 26, 17-18 พฤศจิกายน 2560.

ตำรา/หนังสือ/งานแปล และ ผลงานวิชาการอื่นๆ

  • * ลพบุรีหลังวัฒนธรรมเขมร. มติชน, 2559.
    • เจดีย์ในประเทศไทย : รูปแบบ พัฒนาการและพลังศรัทธา. สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, 2560, 844 หน้า.
    • ศิลปกรรมโบราณในสุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชรและพิษณุโลก. ถ่ายสำเนาเย็บเป็นรูปเล่ม, 2560, 175 หน้า.

การได้รับรางวัลจากผลงานวิจัย/สร้างสรรค์

  • การวิเคราะห์ข้อมูลจากการขุดค้นทางโบราณคดี (ระหว่างปี พ.ศ.2520-2525) ร่วมกับข้อมูลด้านศิลาจารึกและประวัติศาสตร์ สมัยสุโขทัยเพื่อการวิจัยหาประเด็นใหม่ทางวิชาการ. ผลงานวิจัยดี สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2550.
  • การวิเคราะห์ข้อมูลจากการขุดค้นทางโบราณคดี (ระหว่างปี พ.ศ.2520-2525) ร่วมกับข้อมูลด้านศิลาจารึกและประวัติศาสตร์ศิลปะ สมัยสุโขทัยเพื่อการวิจัยหาประเด็นใหม่ทางวิชาการ. ผลงานวิจัยดีเยี่ยม สาขาปรัชญา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2552.
  • พระพุทธรูปสำคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย. รางวัลชมเชย ประเภทหนังสือสารคดี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2555.
  • นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2556.
  • เจดีย์ในประเทศไทย : รูปแบบ พัฒนาการ และพลังศรัทธาของคนไทย. รางวัลชมเชย ประเภทหนังสือสารคดี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2561.

ดร.ประภ สสร ช ว เช ยร คณะโบราณคด ม.ศ ลปากร

ศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ติงสัญชลี

E-mail : [email protected]

เบอร์โทรศัพท์ : 02-1054686 ต่อ 103044

ประวัติการศึกษา

ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์ศิลปะ) เกียรตินิยมอันดับ 1, มหาวิทยาลัยศิลปากร ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์ศิลปะ), มหาวิทยาลัยศิลปากร ปร.ด. (ประวัติศาสตร์ศิลปะไทย), มหาวิทยาลัยศิลปากร