ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

1. หลังจากผู้ใช้ได้รับเงินมัดจำจากลูกค้าและได้บันทึกเอกสารรับเงินมัดจำเรียบร้อยแล้ว ให้ทำการสร้างเอกสารใบกำกับภาษีโดยเลือกชื่อลูกค้าและกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วน

วิธีบันทึกเอกสารรับเงินมัดจำ สามรดูเพิ่มได้จาก link นี้ค่ะ https://support.getmycrm.com/Article/Detail/137283

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

2. Tab สินค้า ให้เลือกรายการสินค้าที่ต้องการทำรายการเอกสาร

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

3. จากนั้นให้ผู้ใช้เลือก Tab รับเงินมัดจำ กดปุ่ม "+"

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

เลือกรายการเงินมัดจำที่แสดงใน pop-up ได้เลยค่ะ

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

ผู้ใช้สามารถแก้ไขยอดเงินที่จะใช้หักมัดจำได้ค่ะ หากถูกต้องแล้วให้กดปุ่ม "

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า
" เพื่อยืนยันยอดเงินที่จะใช้หัก

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

4. ให้ผู้ใชเลือก Tab สินค้าอีกครั้ง ในส่วนสรุปจะเห็นว่ามีการแสดงยอดเงินราคาที่หักเงินมัดจำเรียบร้อยแล้ว

ใช้สำหรับการชำระค่าสินค้า หรือบริการล่วงหน้าบางส่วนก่อนทำการซื้อขายสินค้า ซึ่งเป็นการตกลงกันระหว่างลูกหนี้กับเจ้าหนี้ในการชำระเงินมัดจำล่วงหน้า เพื่อเป็นการประกันการซื้อขายสินค้า

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

วิธีกาารพิมพ์เอกสารใบมัดจำ

1. สร้างรายการซื้อ/ ขาย บันทึกการชำระเงินในหน้ารายละเอียดรายการซื้อ/ ขาย โดยสามารถใส่ยอดเงินมัดจำตามต้องการ

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

จากรายการขายตัวอย่างมีรายละเอียดดังนี้

· สีแดง : ยอดสุทธิในรายการ 4950 บาท

· สีส้ม : ชำระเงินมัดจำ 500 บาท

· สีเขียว : ยอดคงเหลือชำระ 4,450 บาท

2. ไปที่การชำระเงิน คลิก “พิมพ์” หลังรายการชำระเงินที่ต้องการพิมพ์เอกสาร

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

3. เลือกประเภท “ใบมัดจำ” หรือ “ใบมัดจำ/ใบกำกับภาษี”

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

ตัวอย่างเอกสารใบมัดจำ หรือใบมัดจำ/ใบกำกับภาษี

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

4. เมื่อครบกำหนด หรือมีการชำระเงินยอดที่เหลือ กด “ชำระเพิ่ม” เพื่อบันทึกชำระเงินอีกครั้ง

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

5. ใส่ยอดเงินคงเหลือ

6. กด “ยืนยันการชำระเงิน”

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

7. ไปที่การชำระเงิน คลิก “พิมพ์” หลังการชำระเงินงวดที่ 2

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

8. เลือกประเภทเอกสาร “ใบกำกับภาษี/ใบเสร็จรับเงิน” หรือ “ใบเสร็จรับเงิน”

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

ตัวอย่างเอกสารใบเสร็จรับเงิน หรือใบกำกับภาษี/ใบเสร็จรับเงิน ในกรณีมีการชำระเงินมัดจำ

ตัวอย่าง ใบ กำกับ ภาษี รับ เงิน ล่วงหน้า

การแสดงผลการคำนวณค่ามัดจำบนหน้าเอกสาร

กรณีรายการขายที่มีการชำระเงินเข้ามาบางส่วน เมื่อร้านค้ากดพิมพ์เอกสารตรงหัวข้อการชำระเงินในหน้ารายละเอียดของรายการขายนั้น ๆ จะสามารถพิมพ์เอกสารได้เฉพาะยอดที่ลูกค้าชำระเงินมัดจำเข้ามา ซึ่งเอกสารจะแสดงตัวเลขของราคารายสินค้า, ส่วนลด และค่าส่ง แบบเฉลี่ยเป็นเปอร์เซ็นต์ที่เท่ากัน โดยอ้างอิงจากจำนวนเงินที่ชำระเข้ามาในรอบนั้น ๆ เท่านั้น ตามตัวอย่างดังนี้

ลูกค้าจ่ายเงินล่วงหน้าเพื่อสั่งผลิตสินค้า สมมุติค่ะ สั่งผลิตเสื้อ 100 ตัว ตัวละ 150 บาท เป้นเงินจำนวน15,000 บาท บวกภาษีมูลค่าเพิ่มเป็น 16,050 บาท ลูกค้าจ่ายเงินล่วงหน้า 6,000 บาท ส่วนที่เหลือจะจ่ายเมื่อรับสินค้าครบ เงินจำนวน 6,000 บาทที่จ่ายมานั้นในช่องรายการจำนวนสินค้าและช่องราคาต่อหน่วยจะลงรายละเอียดอย่างไรค่ะ ถ้าลงแบบนี้ได้ไหมค่ะ

รับเงินมัดจำ ออกใบกำกับภาษียังไง

รับเงินมัดจำล่วงหน้า ต้องรับรู้รายได้อย่างไร !!.

มัดจำค่าสินค้า ออกใบกำกับภาษี แต่ยังไม่ต้องรับรู้รายได้เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล รับรู้รายได้เมื่อส่งมอบ.

มัดจำ ค่าบริการ - เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ต้องออกใบกำกับภาษี ... .

มัดจำค่าขนส่ง - ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ออกใบกำกับภาษีไม่ได้ ... .

มัดจำค่าเช่า.

รายได้รับล่วงหน้า มี VAT ไหม

1. เงินรับล่วงหน้าค่าขายสินค้าหรือบริการ เมื่อมีการรับเงินค่าขายสินค้าหรือบริการ จะต้องเรียกเก็บเงิน ค่าสินค้าหรือบริการ พร้อมกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) โดยจะต้องออกใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี ให้แก่ลูกค้าและ ต้องนำส่งภาษีขายให้กรมสรรพากร และเมื่อมีการส่งมอบสินค้าหรือบริการจะรับรู้รายได้ โดยการลดเงินรับ ล่วงหน้า และออกใบ ...

รับเงินมัดจำต้องออกใบกำกับภาษีไหม

เมื่อมีการรับเงินสำหรับค่าสินค้า แม้ว่าจะยังไม่ได้ส่งมอบสินค้า นั่นคือ “เงินมัดจำ”ก็ต้องออกใบกำกับภาษีด้วยเช่นกัน

ใบกำกับภาษีมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

ดังนั้น หากกิจการใดมีการจดภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ ก็มีหน้าที่ต้องออก ใบกำกับภาษี ให้กับผู้ซื้อทุกครั้ง ตลอดจนเมื่อมีการซื้อของเข้าบริษัท ก็ต้องขอ ใบกำกับภาษี ทุกครั้งเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางภาษี ซึ่งใบกำกับภาษีแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปและใบกำกับภาษีอย่างย่อ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่างกันดังนี้