ทฤษฎี การ เรียน รู้ ของ บ ลู ม แบบ ใหม่

สมรรถนะ/พฤติกรรม (Competence) ความหมาย (Definition) คํากริยาที่ใช้ (Useful Verbs) ทักษะที่แสดงออก (Skills Demonstrated) ตัวอย่างคําถาม (Sample Question Stems) ผลผลิตและกิจกรรมที่มีศักยภาพ (Potential Activities and Products) 1. ความรู้ ความจํา มีความรู้และความจำประสบการณ์ในสิ่งที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ บอก, ชี้, บ่ง, ให้, รายการ, จับคู่, บอกข้อ, ให้นิยาม, ระบุ - การสังเกตและการระลึก ข้อมูล - ความรู้เกี่ยวกับวันที่เหตุการณ์ สถานที่ - ความรู้เกี่ยวกับความคิดหลัก - ความรอบรู้ในเนื้อหาวิชา - เกิดอะไรขึ้นหลังจาก...? - มี...จำนวนเท่าใด? - นั่นใครที่กำลัง..? - คุณสามารถบอกชื่อ...ได้ไหม? - จงบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่... - ใครพูดกับ..? - อะไรคือ...? - ข้อไหนถูกหรือผิด? - จงทำรายการเหตุการณ์สำคัญ - จงลำดับเวลาที่เกิดเหตุการณ์ - จงทำแผนภูมิข้อเท็จจริง - จงเขียนข้อมูลต่าง ๆ ที่คุณจำได้ - จงระบุ...ทั้งหมดในเรื่อง - จงเขียนแผนภูมิที่แสดง... - จงเขียนกลอนที่มีสัมผัสอักษร - จงท่องโคลงมาหนึ่งโคลง 2. ความเข้าใจ มีความเข้าใจเรื่องราวหรือเหตุการณ์ความหมายสัญลักษณ์ ความสัมพันธ์ ข้อมูล คติ พจน์และหลักการ แปลเปลี่ยน, บอกความแตกต่าง, บอกความคล้ายคลึง, ขยายความ, ยกตัวอย่าง, อธิบาย ความหมาย, สรุป, จัดเรียง, เรียงใหม่, สาธิตเผยแพร่, พรรณา, ให้เหตุผลอธิบาย, อภิปราย - ความเข้าใจข้อมูล - จับความหมาย - แปลความรู้ไปสู่บริบทใหม่ - ตีความเปรียบเทียบ - เทียบเคียงข้อเท็จจริง - จัดระเบียบ จัดกลุ่มอ้างอิง - ข้อมูลหรือสาเหตุ - คาดเดาผลต่อเนื่อง - คุณเขียน...เป็นคำพูดของตนเองได้ไหม? - คุณสามารถเขียนโครงร่างย่อๆ ของ...ได้ไหม? - คุณคิดว่าอะไรจะเกิดขึ้นต่อไป - คุณคิดว่าใคร...? - ใจความสำคัญของ...คืออะไร? - ใครคือตัวละครหลัก...? - คุณสามารถแยกความแตกต่างระหว่าง...? - มีข้อแตกต่างอะไรบ้างระหว่าง...? - พอจะยกตัวอย่างประกอบคำอธิบายได้ไหม? - หาคำจำกัดความของ...ได้ไหม? - ตัดแปะหรือวาดภาพเพื่อแสดงเหตุการณ์พิเศษเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง - ขยายความสิ่งที่คุณคิดว่าเป็นใจความสำคัญ - จงวาดการ์ตูน 3 ช่องแสดงลำดับเหตุการณ์ - จงเขียนและแสดงละครตามเรื่องที่อ่าน - จงวาดภาพสถานที่ที่คุณชอบ - จงเขียนรายงานสรุปเหตุการณ์ - จงเตรียม flow chart แสดงลำดับความต่อเนื่องของเหตุการณ์ต่าง ๆ 3. การนำไปใช้ สามารถนำความรู้ที่ได้เรียนมาใช้ทำสิ่งใหม่ ๆ ได้ ประยุกต์, จัดระบบ, แก้ปัญหา, เปลี่ยนแปลง, ใช้, จัดชั้น, เลือก, การโชว์, การคำนวณ, การจัดทำโครงการใหม่, เสนอ - ใช้ข้อมูล - ใช้วิธีการ แนวคิด ทฤษฎีในสถานการณ์ใหม่ - แก้ปัญหาโดยใช้ทักษะหรือความรู้ที่กำหนดให้ - คุณรู้จักตัวอย่าง/กรณีที่..... - เรื่องนี้อาจจะเกิดขึ้นได้ ใน...? - คุณจัดกลุ่มโดยอุปนิสัยเช่น...ได้ไหม? - คุณจะเปลี่ยนองค์ประกอบตัวใด ถ้า...? - คุณสามารถประยุกต์วิธีการที่ใช้เข้ากับประสบการณ์ของตนเองในด้าน...ได้ไหม - คุณจะถามคำถามอะไรเกี่ยวกับ...? - จากข้อมูลที่ให้ คุณสามารถพัฒนา/เขียนวิธีทำหรือคำสั่งเกี่ยวกับ...ได้ไหม? - ข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์ไหม ถ้าคุณมี...? - จงทำรูปแบบจำลองเพื่อสาธิตว่ามันทำงานอย่างไร - จงสร้างฉากจำลองเหตุการณ์สำคัญเหตุการณ์หนึ่ง - จงทำสมุดภาพเกี่ยวกับขอบเขตการศึกษา - จงทำแผนที่กระดาษนูนที่รวบรวมข้อมูลที่สัมพันธ์กับเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง - รวบรวมภาพถ่ายเพื่อนำเสนอประเด็นสำคัญ - ออกแบบยุทธศาสตร์การตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์ของตนโดยเลียนแบบยุทธศาสตร์ที่เป็นที่รู้จัก 4. การวิเคราะห์ สามารถแยกวัตถุสิ่งของเป็นส่วน ๆ เป็นชิ้นเป็นอันทำให้ทราบถึงองค์ประกอบของวัตถุ สิ่งของนั้น ๆ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อการศึกษาระดับ ชั้นสูงต่อไป เปรียบเทียบ, แยกแยะ, ความแตกต่าง, ทดสอบ, ทดลอง, วิเคราะห์ , ตรวจสอบ, โต้แย้ง, ถามสังเกต, ให้เหตุผล, จัดประเภท, จำแนก - การเห็นวิธีการต่าง ๆ - การจัดการส่วนต่าง ๆ - การจดจำความหมายต่าง ๆ ที่ซ่อนอยู่ - การระบุลักษณะขององค์ประกอบ - เหตุการณ์ใดสามารถเกิดขึ้นได้...? - ถ้า...เกิดขึ้นจุดจบน่าจะเป็นอย่างไร? - สิ่งชี้คล้ายคลึงกับ...อย่างไรประเด็นที่ซ่อนเร้นของ...คืออะไร? - มีผลลัพธ์อื่นใดบ้างที่มีทางจะเป็นไปได้? - ทำไมการเปลี่ยนแปลงใน...จะเกิดขึ้นได้? - คุณเปรียบเทียบ...กับที่แสดงใน...? - อธิบายได้ไหมว่าอะไรจะเกิดขึ้นเมื่อ...? - มีอะไรเป็นแรงจูงใจอยู่เบื้องหลัง...? - มีอะไรเป็นจุดเปลี่ยนในเกมนั้น? - ออบแบบแบบสอบถามเพื่อรวบรวมข้อมูล - เขียนประชาสัมพันธ์เพื่อขายผลิตภัณฑ์ใหม่ - จงสำรวจหาข้อมูลเพื่อสนับสนุนทัศนะใดทัศนะหนึ่ง - ทำ flow chart เพื่อแสดงสภาวะวิกฤตต่าง ๆ - จงทำกราฟเพื่อแสดงข้อมูลที่เลือกมา - จงทำผังครอบครัวแสดงถึงสัมพันธภาพ - ให้จัดงานปาร์ตี้ จงเตรียมการทุกอย่างและบันทึกขั้นตอนที่จำเป็น 5. การสังเคราะห์ สามารถรวมความคิดเห็น ความเชื่อที่ แตกต่างกัน เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อความ รวมสิ่งย่อยเข้า เป็นสิ่งใหญ่ รวม, บูรณาการ, เปลี่ยน, จัดแจง, ใช้แทน, วางแผน, สร้างสรรค์, ออกแบบ, ประดิษฐ์อะไรจะเกิดขึ้นถ้า...? สร้างประกอบ, เตรียม, สรุปกฎเขียนใหม่ - ใช้ความคิดเดิมมาสร้างแนวคิดใหม่ - สรุปกฎเกณฑ์จากข้อเท็จจริงที่ให้ - เชื่อมโยงความรู้จากหลาย ๆ สาขา - คาดคะแน - ลงข้อสรุป - ให้ออกแบบ...เพื่อ... - ทำไมไม่แต่งเพลงเกี่ยวกับ...? - ให้คิดหาวิธีแก้ปัญหาโจทย์เพื่อ... - ทำไมไม่เปลี่ยนวิธีการของตนเพื่อจัดการกับ...? - อะไรจะเกิดขึ้นถ้า...? - มีวิธีการกี่วิธีที่สามารถ...? - คุณเห็นว่าควรมีการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้างสำหรับ...? - คุณเชื่อไหม? - ให้ออกแบบที่เก็บงานที่ศึกษา - ให้สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ตั้งชื่อและวางแผนรณรงค์การตลาด - ให้เตรียมเกณฑ์การตัดสินสำหรับกรรมการตัดสินการแสดง...ระบุเงื่อนไขข้อยกเว้นและน้ำหลักคะแนน - จัดการโต้วาทีเกี่ยวกับประเด็นที่อยู่ในความสนใจเป็นพิเศษ - ให้คิดกฎกติกา 5 อย่างที่เห็นว่าสำคัญในการปฏิบัติตนเพื่อโน้มน้าวคนอื่นให้ปฏิบัติตาม - จัดอภิปรายเกี่ยวกับทัศนะต่าง ๆ เช่น การเรียนที่โรงเรียน - เขียนจนหมายหนึ่งฉบับถึง...เสนอแนะการเปลี่ยนแปลงที่จำเป็นในเรื่อง... - เขียนรายงานเกี่ยวกับ..... - เตรียมเรื่องสำหรับนำเสนอข้อคิดเห็นของตนเกี่ยวกับ.....

ข้อใดเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม Bloom’S Taxonomy ?

ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bloom (Bloom's Taxonomy)ทางการศึกษาออกเป็น 3 ด้าน คือ พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และด้านทักษะพิสัย โดย พฤติกรรมที ต้องการศึกษาคือพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย แบ่งออกเป็น 6 ด้านคือ ด้านความรู้ความจํา ความเข้าใจ การนําไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า

องค์ประกอบด้านวัตถุประสงค์การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบลูม มี 3 ประกอบด้วยอะไรบ้าง

ผลการเรียนรู้เป็น 3 ด้าน 1. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) 2. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) 3. จิตพิสัย (Affective Domain) การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ BLOOM. Benjamin S. Bloom.

ทฤษฎีของบลูมมีกี่ระดับ

ทฤษฎีของบลูม (Bloom's Taxaonomy) โดย เบนจามิน บลูม (Benjamin Bloom) นักจิตวิทยาการศึกษาชาวอเมริกา ได้ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ของมนุษย์ และกำหนดฤติกรรมเกี่ยวกับสติปัญญา (Cognitive Domain) ขึ้นในปี 2499 และได้ปรับแก้ไขในปี 2544 ซึ่งพฤติกรรมการเรียนรู้แบ่งเป็น 6 ระดับ คือ

การเรียนรู้ ของบลูมด้านความรู้ คือข้อใด

Bloom ได้กล่าวว่า การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิม ไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร และพฤติกรรมใหม่นี้เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการ ฝึกฝน มิใช่เป็นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติหรือสัญชาตญาณ วุฒิภาวะ หรือความบังเอิญ พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะต้องเปลี่ยนไปอย่างค่อนข้างถาวร จึงจะถือว่าเกิดการเรียนรู้ขึ้น ...