น เทศศาสตร ม.ศ ลปากร ค ณสมบ ต ผ สม คร

คู่มือ

นกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 2564 / 2021

ค่มู ือนกั ศึกษา

มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

ปีการศึกษา

2564

Ars longa, vita brevis ”ศิลปะยนื ยาว... ชวี ิตสั้น"

ศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พีระศรี

ผู้ก่อตง้ั มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

สารอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

ขอแสดงความยนิ ดี และขอตอ้ นรบั นกั ศกึ ษาใหมป่ ระจาํ ปกี ารศกึ ษา 2564 ทุกคนที่ผ่านการสอบคัดเลือกเข้ามาศึกษาเล่าเรียนในมหาวิทยาลัย ศิลปากร สถาบันการศึกษาช้ันนําระดับประเทศท่ีพัฒนานักศึกษาให้มี ความรคู้ วามสามารถทหี่ ลากหลายทางวชิ าการและวชิ าชพี ตลอดจนปลกู ฝงั ความ คิดสร้างสรรค์ ภายใต้ปรัชญาของมหาวิทยาลัยศิลปากร "ศิลป์และศาสตร์ สรา้ งสรรค์ชาตยิ ่งั ยืน" ตลอดระยะเวลา 77 ปีท่ีผา่ นมา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ได้ดําเนินงานภายใต้วิสัยทัศน์ "ศิลปากรเป็นมหาวิทยาลัยช้ันนําแห่งการ สรา้ งสรรค์” (Silpakorn is a leading creative university) ใหก้ ารศึกษาท่ี ส่งเสรมิ การพัฒนาวชิ าการและวชิ าชีพอยา่ งสร้างสรรค์ใหม้ คี ณุ ภาพทัง้ ทางศิลปะ และวิทยาการทุกแขนง รวมทั้งการให้บริการทางวิชาการแก่สังคมในนามของ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ขอใหน้ กั ศกึ ษาใหมท่ กุ คนตงั้ ใจศกึ ษาเลา่ เรยี นและฝกึ ทกั ษะ ส่ังสมประสบการณต์ า่ ง ๆ รวมถึงการเข้ารว่ มกิจกรรมเสรมิ หลักสตู รต่าง ๆ ของ มหาวทิ ยาลยั เพอ่ื วางรากฐานใหแ้ กช่ วี ติ ของตนอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ เพอ่ื นาํ ความรู้ ความสามารถของตนเองมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมประเทศชาติ พร้อมท่ีจะเจริญเติบโตในทุกด้าน เฉกเช่นเดียวกับความเจริญก้าวหน้าของการ ศกึ ษาของมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร สุดท้ายนี้ขออาราธนาพระพิฆเณศ อัครมหาเทพแห่งความสําเร็จได้ โปรดอํานวยพรให้นักศึกษาใหม่ทุกคน จงประสบความสําเร็จในการศึกษาดังที่ ม่งุ หวัง เปน็ ผู้ถึงพรอ้ มดว้ ยปญั ญาควบคกู่ บั การมีคุณธรรมและจรยิ ธรรม และมี ความสุขตลอดเวลาท่ศี ึกษาในมหาวิทยาลยั แหง่ น้ี

(ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยช์ ยั ชาญ ถาวรเวช) อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยศิลปากร

ศาสตราจารยห์ มอ่ มหลวงปิ่น มาลากลุ

Education is the most powerful weapon which you can use to change the world.

“การศึกษาเปน็ อาวธุ ท่ีทรงพลังทส่ี ุด ทเ่ี ราจะนำ� มาใชใ้ นการเปลย่ี นแปลงโลก.”

เนลสัน แมนเดลา (Nelson Mandela)

สารบญั

สารจากอธิการบดี 4

1. ข้อมูลพน้ื ฐานของมหาวิทยาลัยศิลปากร 11

♦ ประวัติและพัฒนาการของมหาวิทยาลัยศิลปากร 12 ♦ โครงสร้างการบรหิ ารงานมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 18 ♦ โครงสร้างการแบ่งส่วนงานมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 19 ♦ โครงสร้างการแบ่งส่วนบรหิ ารของคณะวิชา 20 ♦ โครงสร้างการแบ่งหนว่ ยงานภายในของสำ�นกั งานอธิการบดี 21 ♦ สภามหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 22 ♦ ผู้บรหิ ารมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 24 ♦ คณะวชิ าและหนว่ ยงานทีอ่ ยใู่ นวังทา่ พระ 26 ♦ คณะวิชาและหนว่ ยงานทอี่ ยใู่ นสำ�นักงานอธกิ ารบดตี ลิง่ ชนั 36 ♦ คณะวิชาและหน่วยงานท่อี ยใู่ นวทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร์ 44 ♦ คณะวิชาและหน่วยงานทอี่ ยู่ในวทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบรุ ี 61 ♦ ผงั แสดงทีต่ ัง้ ของหนว่ ยงานและคณะวชิ าตา่ งๆ ในมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร 70

2 . การจดั การศึกษา 73 ♦ ระบบการศึกษา 74 ♦ การวัดผลการศึกษา 74 ♦ ชื่อปริญญา 76 ♦ โครงสร้างหลกั สตู ร 97

3 . การบริการและสวัสดิการนกั ศกึ ษา 109

4. บทความส�ำ นกั งานประกนั คณุ ภาพการศึกษา 122

♦ ใคร ๆ กต็ อ้ งการศกึ ษาในมหาวิทยาลัยทไี่ ดร้ บั การรับรองมาตรฐาน 123

♦ ไขข้อข้องใจการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ทีน่ กั ศึกษาควรรู้ 125

♦ นกั ศกึ ษาควรมสี ว่ นร่วมในการประกันคุณภาพการศกึ ษา 129

5. ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 130

“Imagination is more important than knowledge. Knowledge is limited. Imagination encircles the world.” “จนิ ตนาการส�ำคญั กว่าความรู้ เพราะความรู้น้นั มจี �ำกดั แต่จินตนาการมอี ยู่ทุกพ้นื ทบ่ี นโลก.”

- อลั เบิรต์ ไอน์สไตน์ -

ข้อมูลพนื้ ฐานของ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

ประวัติ

ของมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

หาวิทยาลัยศิลปากรเป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศ มีฐานะเป็นกรม สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวง

มศกึ ษาธิการ มปี ระวัตคิ วามเปน็ มาดังน้ี

ประวัติ พ.ศ. 2476 ก่อตั้งขึ้นคร้ังแรกภายใต้ช่ือโรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรม

ศิลปากร จัดการศึกษาในสาขาจิตรกรรมและประติมากรรมให้แก่ ข้าราชการและเยาวชนไทยโดยไม่เก็บคา่ เลา่ เรยี น พ.ศ. 2478 โรงเรียนประณีตศิลปกรรมได้รวมกับโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์และ เปลย่ี นช่ือใหมว่ า่ โรงเรียนศิลปากร แบง่ การศกึ ษาเปน็ 3 แผนก คอื แผนกปราณีตศิลปกรรม แผนกศิลปอุตสาหกรรม และแผนกนาฏ ดุรยิ างค์ พ.ศ. 2486 ในวันที่ 12 ตุลาคม 2486 โรงเรียนศิลปากรได้ยกฐานะขึ้นเป็น มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ตามประกาศในราชกจิ จานเุ ษกษา โดยเปดิ การ เรียนการสอนในคณะจิตรกรรมและประติมากรรมเป็นคณะแรก (ปจั จบุ นั เปลย่ี นชอื่ เปน็ คณะจติ รกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ)์ พ.ศ. 2498 จดั ตง้ั คณะสถาปัตยกรรมไทย(ปจั จบุ นั เปลีย่ นชอ่ื เป็น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์) และคณะโบราณคดี พ.ศ. 2499 จัดตัง้ คณะมณั ฑนศิลป์ พ.ศ. 2509 จดั ตงั้ วทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจันทรท์ ีจ่ ังหวดั นครปฐม พ.ศ. 2511 เปดิ สอนคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2513 เปิดสอนคณะศกึ ษาศาสตร์ พ.ศ. 2515 เปดิ สอนคณะวทิ ยาศาสตร์ และจดั ต้ังบัณฑติ วทิ ยาลัย พ.ศ. 2529 เปิดสอนคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2532 มีการแบง่ สว่ นราชการภายในส�ำนกั งานอธิการบดอี อกเปน็ 5 กอง 1 ส�ำนัก คือ กองกลาง (หน่วยงานเดิม) กองกิจการนักศึกษา กองงานวิทยาเขต กองบรกิ ารการศึกษา กองแผนงาน และส�ำนักหอ สมุดกลาง รวมทั้งจัดตั้งสถาบันวัฒนธรรมภูมิภาคตะวันตก ตั้งอยู่ที่ เรอื นทับเจรญิ จงั หวัดนครปฐม (เป็นการภายใน) พ.ศ. 2533 จัดตัง้ ศูนย์คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2534 จดั ตงั้ สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาอยา่ งเปน็ ทางการ และจดั ตงั้ คณะเทคโนโลยี อตุ สาหกรรม รวมทงั้ เสนอโครงการขอจดั ตง้ั หนว่ ยงานใหม่ 2 โครงการ คอื โครงการจดั ตง้ั ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสริ นิ ธร และโครงการจดั ตงั้ สถาบนั ศลิ ปะ (หอศลิ ป์เดมิ ) พ.ศ. 2535 เปิดสอนในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ปัจจุบัน คือ คณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) และจัดต้ัง ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ตลอดจนจัดต้ังศูนย์เครื่องมือวิจัย วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ปจั จบุ นั สงั กัดคณะวทิ ยาศาสตร)์ พ.ศ. 2536 เปดิ พพิ ธิ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ นวดั มว่ ง จงั หวดั ราชบรุ ี (ศนู ยม์ อญศกึ ษาวดั มว่ ง) พ.ศ. 2537 จดั ต้ังหอศลิ ป์ พ.ศ. 2538 จดั ตั้งส�ำนกั งานบริการวิชาการ (เปน็ การภายใน)

คูม่ อื นกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 2564 I 13

พ.ศ. 2539 จัดตั้งศูนย์สันสกฤตศึกษา (เป็นการภายในปัจจุบันเป็นหน่วยงานใน สงั กดั คณะโบราณคด)ี

พ.ศ. 2540 จดั ต้ังวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี จังหวัดเพชรบรุ ี พ.ศ. 2542 จดั ตั้งคณะดรุ ยิ างคศาสตร์ จัดการเรยี นการสอนที่ส�ำนกั งานอธกิ ารบดี

ตลิ่งชันและเริ่มก่อสร้างศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา (แล้วเสร็จปี พ.ศ. 2544) พ.ศ. 2544 เปิดสอนคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร (จัดการเรียนการ สอนที่วทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบรุ )ี พ.ศ. 2545 เปิดสอนคณะวิทยาการจัดการ (จัดการเรียนการสอนที่วิทยาเขต สารสนเทศเพชรบุร)ี พ.ศ. 2546 เปิดสอนคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และวิทยาลัย นานาชาติ (จดั การเรยี นการสอนท่วี ิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี และ ส�ำนกั งานอธิการบดี ตล่งิ ชัน กรุงเทพฯ) พ.ศ. 2548 จัดตัง้ คณะศนู ยบ์ ม่ เพาะธรุ กิจ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2550 ด�ำเนนิ การจดั แบง่ โครงสรา้ งการบรหิ ารงานภายในส�ำนกั งานอธกิ ารบดี ออกเป็น กองกลาง กองการเจ้าหน้าท่ี กองคลัง กองงานวิทยาเขต กองแผนงาน กองกิจการนักศกึ ษา กองบริการการศึกษา กองบรกิ าร อาคารสถานทแ่ี ละยานพาหนะพระราชวงั สนามจนั ทร์ ส�ำนกั งานตรวจ สอบภายใน ส�ำนักงานวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ส�ำนกั งานประกัน คุณภาพการศึกษา และเห็นชอบการปรับโครงสร้างส�ำนักงานสภา มหาวทิ ยาลยั ข้ึนตรงกบั สภามหาวทิ ยาลยั และด�ำเนนิ การโดยสมบรู ณ์ ในปี พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2556 จดั ต้ังกองนติ กิ ารเปน็ หนว่ ยงานภายในส�ำนักงานอธิการบดี พ.ศ. 2557 จัดซ้ือท่ีดินเพ่ือเป็นสถานที่ส�ำหรับจัดการเรียนการสอนแห่งใหม่ City Campus ณ พ้ืนทเ่ี มืองทองธานี อ�ำเภอปากเกร็ด จงั หวดั นนทบรุ ี จาก มติสภามหาวิทยาลัยในการประชุมครั้งที่ 9/2557 เม่ือวันท่ี 10 กนั ยายน 2557 พ.ศ. 2559 วันท่ี 2 มถิ ุนายน 2559 ปรบั เปล่ียนสถานภาพเป็นมหาวทิ ยาลยั ใน ก�ำกับของรัฐ โดยมผี ลบังคับใช้วนั ที่ 2 กรกฎาคม 2559 15 กรกฎาคม 2559 ประกาศจดั ต้ังส่วนงานของมหาวิทยาลัยใหม่ โดยแบ่งสว่ นงานเป็น 4 สว่ นงาน คอื (1) ส�ำนกั งานสภามหาวทิ ยาลยั (2) ส�ำนกั งานอธกิ ารบดี (3) คณะ และ (4) ส่วนงานท่ีเรยี กชอื่ อย่างอนื่ ท่มี ีฐานะเทยี บเท่าคณะ (ประกาศมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เรอื่ ง จดั ตง้ั สว่ นงานของมหาวทิ ยาลยั พ.ศ. 2559 ประกาศ ณ วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2559) 14 กันยายน 2559 ประกาศการแบ่งหน่วยงานภายในของส่วนงานมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2559 โดยสว่ นงานภายในแตล่ ะสว่ นงาน มีดังนี้ •ส�ำนกั งานสภามหาวิทยาลัย ให้แบ่งหนว่ ยงานภายใน ดงั นี้ 1) งาน บรหิ ารธรุ การทวั่ ไป 2) งานประชมุ และเลขานกุ าร 3) งานกจิ การพเิ ศษ และ 4) งานยทุ ธศาสตร์และสารสนเทศ •ส�ำนกั งานอธิการบดี ให้แบง่ หน่วยงานภายในดงั นี้ 1) กองกลาง 2) 14 I คูม่ ือนักศกึ ษา มหาวิทยาลัยศิลปากร 2564

กองการเจา้ หนา้ ท่ี 3) กองกจิ การนกั ศึกษา 4) กองคลัง 5) กองงาน วทิ ยาเขต 6) กองนิตกิ าร 7) กองบริการการศึกษา 8) กองบริการ อาคาร สถานทีแ่ ละยานพาหนะ พระราชวังสนามจนั ทร์ 9) กองแผน งาน 10) ส�ำนกั งานตรวจสอบภายใน 11) ส�ำนกั งานประกันคุณภาพ การศึกษา 12) ส�ำนักงานวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี 13) งาน นกั ศกึ ษาเกา่ สมั พนั ธ์ 14) ศนู ย์สง่ เสริมการศกึ ษาและฝกึ อบรม 15) ศูนยห์ นงั สอื มหาวิทยาลยั ศิลปากร และ 16) ส�ำนักบรกิ ารวิชาการ •คณะ (เปน็ ไปตามประกาศการแบง่ หนว่ ยงานภายในของสว่ นงานของ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2559 ประกาศ ณ วนั ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2559) •ส่วนงานที่เรียกช่ืออย่างอื่นท่ีมีฐานะเทียบเท่าคณะ (เป็นไปตาม ประกาศการแบ่งหน่วยงานภายในของส่วนงานของมหาวิทยาลัย ศลิ ปากร พ.ศ. 2559 ประกาศ ณ วนั ที่ 14 กนั ยายน พ.ศ. 2559) 21 ธนั วาคม 2561 ประกาศการแบ่งหน่วยงานภายในของส่วนงานของมหาวิทยาลัย ศลิ ปากร (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ. 2561 โดยใหย้ กเลกิ การแบง่ สว่ นงานภายใน ส�ำนักงานอธิการบดี ตามประกาศการแบ่งหน่วยงานภายในฯ พ.ศ. 2559 และให้แบ่งหนว่ ยงานภายในของส�ำนักงานอธกิ ารบดี ดงั น้ี •หน่วยงานภายในระดับกองหรือหน่วยงานภายในที่มีฐานะเทียบเท่า กอง ไดแ้ ก่ กองกฎหมาย กองกลาง กองกจิ การนักศึกษา กองคลงั กองงานวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ กองงานวิทยาเขตเพชรบุรี กองทรัพยากรมนุษย์ กองบริหารงานวชิ าการ กองประกันคุณภาพการ ศกึ ษา และกองแผนงาน •หนว่ ยงานภายในระดบั กองทม่ี หี นา้ ทเ่ี ฉพาะหรอื ตามยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ ศูนย์กลางนวัตกรรมอาหารแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ศูนย์บริหาร จดั การวชิ าศกึ ษาทว่ั ไปและพฒั นาการเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ สถาบนั ศลิ ป สถาปัตยกรรมไทยเฉลิมพระเกียรติ ส�ำนักงานตรวจสอบภายใน ส�ำนกั งานบรกิ ารวชิ าการ และส�ำนกั งานบรหิ ารการวจิ ยั นวตั กรรมและ การสรา้ งสรรค์ •หน่วยงานย่อยระดับงานท่ีมีภาระหน้าท่ีเฉพาะหรือตามยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่ งานจดั การทรพั ยากรมหาวทิ ยาลยั งานวเิ ทศสมั พนั ธ์ งานสภา คณาจารยแ์ ละพนกั งาน และงานส่อื สารองค์กร ปัจจุบันมหาวิทยาลัยศิลปากรมีสถานท่ีส�ำหรับจัดการเรียนการสอน ใน 5 แหง่ คอื 1. วงั ท่าพระ เลขที่ 31 ถนนหนา้ พระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร 2. วทิ ยาเขตพระราชวังสนามจนั ทร์ เลขท่ี 6 ถนนราชมรรคาใน ต�ำบล พระปฐมเจดยี ์ อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดนครปฐม 3. ส�ำนกั งานอธกิ ารบดี ตล่งิ ชัน เลขที่ 22 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชนั กรุงเทพมหานคร เปน็ ท่ีจัดการเรยี นการสอนของคณะดุรยิ างคศาสตร์ 4. วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี เลขท่ี 1 ถนนชะอ�ำ-ปราณบรุ ี ต�ำบล สามพระยา อ�ำเภอชะอ�ำ จงั หวดั เพชรบุรี

คูม่ ือนกั ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 2564 I 15

5. มหาวิทยาลัยศลิ ปากร เมอื งทองธานี City Campus เลขที่ 80 ถนน ป๊อปปลู า่ ต.บา้ นใหม่ อ�ำเภอปากเกรด็ จงั หวัดนนทบุรี 11120

ปรัชญา (Philosophy) “ศลิ ปแ์ ละศาสตร์ สรา้ งสรรคช์ าตยิ ัง่ ยนื ” ปณธิ าน (Determination) “สรา้ งสรรค์ศิลปะ วิทยาการ และภมู ิปญั ญาเพอื่ สังคม” วัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture) “สบื สาน สรา้ งสรรค์ ศลิ ปากรเปน็ เลศิ ” อตั ลักษณ์ (Identity) “ชาวศิลปากรเป็นผู้มคี วามคดิ สรา้ งสรรค”์ อัตลักษณเ์ ชงิ พืน้ ที่ (Campus Identity) วงั ท่าพระ การเปน็ ศนู ย์กลางองคค์ วามรู้ดา้ นศิลปะการออกแบบและวฒั นธรรม พระราชวังสนามจันทร์ จงั หวัดนครปฐม Smart and Green Campus วทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี จังหวดั เพชรบรุ ี เป็นท่พี ึ่งของชมุ ชน ผ้นู �ำองค์ความรู้ดา้ นการจดั การท่องเทย่ี วเชงิ อนรุ ักษ์ และวฒั นธรรม บรู ณาการข้ามศาสตร์ City Campus (เมอื งทองธานี) World Class &Smart Campus และสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั

และรายไดก้ บั มหาวทิ ยาลยั วิสัยทัศน์ (Vision) “มหาวทิ ยาลยั ชัน้ น�ำแหง่ การสร้างสรรค”์ (Leading Creative University) พันธกจิ (Mission) ● พัฒนาและถ่ายทอดความรู้ เพ่ือผลิตบณั ฑติ ใหม้ อี ตั ลกั ษณ์ มีคุณลกั ษณะ

ทีพ่ ึงประสงค์ และเป็นพลเมอื งทีม่ คี ุณค่าของประเทศและของโลก ● เป็นศนู ย์กลางแห่งการสรา้ งสรรค์ จากการคน้ คว้า วจิ ยั และสร้างสรรค์

ผลงานทางวชิ าการและวชิ าชพี และน�ำผลไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการสรา้ ง องค์ความรูแ้ ละพัฒนาประเทศ ● น�ำองค์ความรู้ทั้งศาสตร์และศิลป์ท่ีเป็นทุนแห่งการสร้างสรรค์ที่มีความ เชย่ี วชาญของมหาวทิ ยาลยั ไปให้บรกิ ารทางวชิ าการแกส่ งั คม เพื่อเสริม สร้างความเข้มแขง็ ใหแ้ กส่ ังคม และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ● เปน็ ศนู ยก์ ลางองคค์ วามรู้ และท�ำนบุ �ำรงุ ศลิ ปวฒั นธรรมของชาตทิ กุ ระดบั ท้ังระดบั ทอ้ งถนิ่ ระดบั ชาติ และนานาชาติ คา่ นยิ มหลกั (Core Value) TEAM-SU T = Transparency มคี วามโปร่งใส

16 I คมู่ อื นักศึกษา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 2564

E = Excellence ม่งุ เนน้ ความเปน็ เลศิ การบูรณาการศาสตรแ์ ละศิลป์ A = Amicability มีความเปน็ กัลยาณมติ ร M = Moral Courage มีความกลา้ หาญทางจริยธรรม S = Spirit มีจติ วญิ ญาณความเปน็ ศลิ ปากร U = Unity มคี วามเป็นหน่งึ เดยี ว ขดี ความสามารถหลกั (Core Competency) S = Scientific Thinking คิดอย่างเป็นระบบเชงิ วิทยาศาสตร์ I = Integrity มีศกั ดิศ์ รแี หง่ ตน L = Love of Wisdom มีสติปญั ญา P = Public Mind มจี ิตสาธารณะ A = Art Appreciation ตระหนักซึง้ ในคุณค่าแหง่ ศิลปะ K = Knowledgeable มีความรอบรู้ O = Outcomes Oriented Person มุง่ เนน้ ผลลัพธข์ องงานท่ีเปน็ เลิศ R = Responsible Man เปน็ ทรพั ยากรมนษุ ย์ทมี่ ีความรับผิดชอบสงู N = Need for Achievement เปน็ ผทู้ ีม่ ีแรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธ์ิ สัญลกั ษณม์ หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร สัญลักษณ์ของมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร คอื พระพิฆเนศวร ซึง่ เปน็ เทพเจา้ แหง่

ความส�ำเรจ็ ทงั้ ยงั เปน็ เทพแหง่ ศลิ ปวทิ ยาการและการประพนั ธ์ พระหตั ถข์ วาบนถอื ตรีศลู พระหตั ถข์ วาล่างถอื งาชา้ ง พระหัตถ์ ซา้ ยบนถอื ปาศะ (เชอื ก) พระหัตถ์ซ้ายลา่ งถอื ครอบน้�ำ ประทับ บนบัลลังก์เมฆที่เขียนด้วยลายกนก ภายใต้มีอักษรว่า “มหาวิทยาลัยศิลปากร” โดยประกาศใช้เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2494 และเม่ือมหาวิทยาลัยปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็น มหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ มหาวิทยาลัยได้มีประกาศใช้ตรา สัญลักษณ์ใหม่แทนตราสัญลักษณ์ครุฑเพ่ือใช้ในหนังสือราชการ หนงั สือประทับตรา บันทึกข้อความ ค�ำสั่ง และประกาศตา่ ง ๆ ของมหาวิทยาลัย โดยประกาศใช้เม่ือวันท่ี 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559 วันสถาปนามหาวทิ ยาลัย 12 ตลุ าคม ของทกุ ป ี สีประจ�ำมหาวทิ ยาลัย เขียวเวอรร์ เิ ดียน ซง่ึ เป็นสขี องน้ำ� ทะเล หรอื สีโทนไทย สเี ขียวตังแซ ต้นไมป้ ระจ�ำมหาวิทยาลัย ตน้ จัน

โครงสร้างการบริหารงานมหาวิทยาลัยศิลปากร

สภามหาวิทยาลัย (นายกสภามหาวทิ ยาลัย)

สภาวชิ าการ คณะกรรมการบริหาร มหาวทิ ยาลัย(ก.บ.ม.) สภาคณาจารย์ และพนักงาน อธิการบดี

รองอธิการบดี ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดี

สำ�นักงาน อสธำ�นกิ ากั รงบานด ี คณะ สว่ นงานท่ี สภามหาวิทยาลยั เทยี บเท่าคณะ

กอง ภาควชิ า ฝา่ ย สาขาวิชา

สำ�นักงาน สำ�นักงาน คณบด ี สว่ นงาน

18 I คมู่ อื นกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 2564

โครงสร้างการแบง่ ส่วนงานของมหาวทิ ยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

สำ�นกั งาน สำ�นักงานอธกิ ารบดี คณะ ส่วนงานทเ่ี ทียบเทา่ คณะ สภามหาวทิ ยาลยั 1. กองกฎหมาย 2. กองกลาง 3. กองกจิ การนกั ศึกษา 1. บณั ฑติ วทิ ยาลยั 1. สำ�นักหอสมดุ กลาง 4. กองคลงั 2. สำ�นกั ดิจิทัลเทคโนโลยี 5. กองงานวิทยาเขต 2. คณะจิตรกรรม พระราชวงั สนามจันทร์ ประตมิ ากรรมและภาพพิมพ์ 3. หอศิลป์ 6. กองงานวิทยาเขตเพชรบรุ ี 7. กองทรพั ยากรมนษุ ย์ 3. คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ 8. กองบริหารงานวิชาการ 9. กองประกนั คณุ ภาพ 4. คณะโบราณคดี การศกึ ษา 10. กองแผนงาน 5. คณะมัณฑนศิลป์ 1 1. ศูนยก์ ลางนวตั กรรมอาหาร แห่งมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร 6. คณะอักษรศาสตร ์ 12. ศูนยบ์ รหิ ารจัดการวิชาศกึ ษา ท่วั ไปและพฒั นาการเรียนรู้ 7. คณะศึกษาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ 13. สถาบนั ศลิ ปสถาปัตยกรรมไทย 8. คณะวทิ ยาศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ 14 สำ�นักงานตรวจสอบภายใน 9. คณะเภสัชศาสตร์ 15. สำ�นกั งานบรกิ ารวชิ าการ 16. สำ�นกั งานบรหิ ารการวจิ ยั 10. คณะวศิ วกรรมศาสตร์ นวตั กรรมและการสร้างสรรค์ 17. ศนู ยอ์ นรุ ักษ์ศลิ ปกรรมนานาชาติ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ศิลปากร 18. ศูนยน์ วตั กรรมการศกึ ษาแหง่ 11. คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 19. สำ�นกั งานจัดการทรัพยส์ ิน 12. คณะสัตวศาสตรแ์ ละ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร เทคโนโลยีการเกษตร

13. คณะวทิ ยาการจัดการ

14. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสอื่ สาร

15. วทิ ยาลัยนานาชาติ

ค่มู ือนกั ศึกษา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 2564 I 19

โครงสรา้ งการแบ่งส่วนบริหารของคณะวิชา มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

คแลณะะภจาติ พรพกรมิ รพม์ ประติมากรรม คณะอกั ษรศาสตร์ คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละ (1) ส�ำนกั งานคณบดี ((12)) หส�นำน่วักยงงาานนคบณริหบาดรี วิชาการของคณะ เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม -- ภภภภาาาาคคคคววววิชิชิชิชาาาาภภภภาาาาษษษษาาาาฝไเอทยังรอยกงั่ รเฤศมษสนั (1) ส�ำนกั งานคณบดี (2) หนว่ ยงานบรหิ ารวชิ าการของคณะ -- ภภภภาาาาคคคคววววิิชชชิิชาาาาปภปนาูรรมฏัชะศิ วญยาตั สสาิศังตาครสีต์ ตร์ - ภาควิชาจติ รกรรม (3-) หภภภนาาาคคคว่ วววยิชิชิชงาาาาบภสนังารทครษม่ี ณมาีภปศาาารัจรักสจกษตบุจิ รศันเ์ฉาตพสะตาวะรนั ห์ อรออื ก (2) หน่วยงานบริหารวิชาการของคณะ - ภาควชิ าประติมากรรม ตามยทุ ธศาสตรค์ ณะ - ภาควชิ าวิทยาการและวศิ วกรรมวัสดุ - ภาควชิ าภาพพมิ พ์ - ศนู ยบ์ ริการวิชาการคณะอักษรศาสตร์ - ภาควิชาเทคโนโลยอี าหาร - ภาควชิ าศลิ ปไทย - ภาควิชาเทคโนโลยชี วี ภาพ - ภาควิชาทฤษฎีศลิ ป์ คณะศึกษาศาสตร์ - ภาควชิ าวศิ วกรรมอตุ สาหการและการจดั การ ((12-)) สหภ�นาำนคว่ ักวยชิงงาาานกนคาบรณรบิหบราดิหรี าวริชกาากราศรึกขษอางคณะ - ภาควิชาวศิ วกรรมเคร่ืองกล คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ ภภาาคคววชชิิ าาจกิตารวศิทึกยษาาแตลละอกดารชแีวนิตะแนว - ภาควชิ าวศิ วกรรมเคมี - ภาควิชาพื้นฐานทางการศกึ ษา - ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (1) ส�ำนกั งานคณบดี ภภภโ(โรรมาาางงธัคคคเเรรยวววียียมชิชชิิ นนาาาศสสกเหกึ ทาาาลษคธธรกัาสติิตโ)สนอูตโมมนลรหหภยแาากีาลววษาะททิิ รวาศยยนธิ ึกาาสีาลลษนอยัยัาานศศชิิลลาตปปิ าากกรร (3) หน่วยงานทีม่ ีภารกิจเฉพาะหรือ (2) หนว่ ยงานบริหารวชิ าการของคณะ - ตามยทุ ธศาสตรค์ ณะ - ภาควิชาสถาปตั ยกรรม (ปฐมวัยและประถมศึกษา) - ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ และนวตั กรรม - ภาควชิ าศิลปสถาปัตยกรรม ทางดา้ นวศิ วกรรมและเทคโนโลยี - ภาควิชาเทคนคิ สถาปตั ยกรรม คณะวทิ ยาศาสตร์ - ภาควชิ าการออกแบบและวางผัง ((21--)) สหภภ�นาาำนคค่วักววยิชชิงงาาาานคเนคคณบมณรติ ี หิบศาดารสี วติชรา์ การของคณะ คณะดุริยางคศาสตร์ ชุมชนเมอื ง (1) ส�ำนกั งานคณบดี - สาขาวิชาภูมสิ ถาปัตยกรรม (3ต---)าหภภภภภภศมนูนาาาาาายคคคคคคยวุ่ทววววววยเ์ธคชชิิิิชชิิชชงศราาาาาาาาื่อฟคจชวสนสงิทีวุลถอทิสตมวชิตมยิกม่ีรอืทิวีิาพสค์ภี ววศย์ณิวาทิทิาาเระสยตยกตาอาจิ ศรรเ์สาฉ์ สง่ิพแตาวระด์หลรอ้ือม (3) หนว่ ยงานทม่ี ีภารกิจเฉพาะหรือ --- แศศศลูนูนูนะยยยเ์์์คบคทววรคกิาาโมมนารเเโปปลวิชย็็นนาีเเลลกศิิศารดขอา้ นงวสัสแี ดลุแะนกวารใหเคมล่ ือบผิว (2) หนว่ ยงานทม่ี ภี ารกจิ เฉพาะหรอื ตามยทุ ธศาสตรค์ ณะ ตามยทุ ธศาสตรค์ ณะ - ศนู ย์บรกิ ารวชิ าการและวิจยั - ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรคแ์ ละดนตรี

กคาณระเกสษัตวตศราสตร์และเทคโนโลยี คณะโบราณคดี (1) ส�ำนักงานคณบดี (1) ส�ำนกั งานคณบดี (2) หนว่ ยงานท่ีมภี ารกจิ เฉพาะหรือ (2) หนว่ ยงานบริหารวชิ าการของคณะ ตามยทุ ธศาสตร์คณะ - ภาควชิ าโบราณคดี - ศนู ย์ฝกึ อบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี - ภาควชิ าประวตั ิศาสตรศ์ ลิ ปะ การเกษตร - ภาควิชามานษุ ยวิทยา - ภาควิชาภาษาตะวนั ออก คณะวิทยาการจัดการ - ภาควิชาภาษาตะวนั ตก (1) ส�ำนักงานคณบดี (3) หนว่ ยงานทีม่ ีภารกจิ เฉพาะหรือ ตามยุทธศาสตร์คณะ (2) หน่วยงานบรหิ ารวิชาการของคณะ - ศูนย์สนั สกฤตศกึ ษา - สาขาวิชาการจัดการนวตั กรรมทางธรุ กิจ - ศนู ย์วจิ ัยและบริการวชิ าการ - สาขาวิชาการจดั การการท่องเทีย่ ว มรดกวฒั นธรรมโบราณคดี - สาขาวิชาการจัดการชมุ ชน - ศนู ย์วจิ ยั สุวรรณภมู ศิ ึกษา - สาขาวิชาการตลาด - สาขาวชิ าการจดั การโรงแรม คณะมัณฑนศิลป์ - สาขาวชิ าการจดั การธรุ กจิ และภาษา (1) ส�ำนกั งานคณบดี - สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ - สาขาวิชาการจดั การงานนิทรรศการและ (2) หน่วยงานบริหารวิชาการของคณะ งานอีเว้นท ์ - ภาควิชาออกแบบตกแตง่ ภายใน - ภาควชิ าออกแบบนิเทศศลิ ป์ คแลณะะกเทารคสโนือ่ โสลายรสี ารสนเทศ - ภาควชิ าออกแบบผลติ ภัณฑ์ - ส�ำนกั งานคณบดี - ภาควิชาประยุกตศลิ ปศกึ ษา - ภาควชิ าเคร่ืองเคลือบดินเผา - ศนู ยส์ อบเทยี บเครื่องวัดรังสอี าทติ ย์ วิทยาลยั นานาชาติ - ภาควชิ าออกแบบเครื่องประดับ - ส�ำนักงานคณบดี - ภาควิชาการออกแบบเคร่ืองแต่งกาย ((ค12ณ)) ะหสเ�นำภน่วกัสยงงัชาานศนคบาณสริหบตาดรรี ว์ ชิ าการของคณะ บัณฑิตวทิ ยาลยั (3) หน่วยงานท่ีมภี ารกิจเฉพาะหรอื ตาม - ส�ำนักงานคณบดี ยุทธศาสตรค์ ณะ ภภภภาาาาคคคคววววิชิชิชิชาาาาชเเเภภภีวสสสเภชัชัชั สกเกคชัรรมรรศมมีาสชุมตรช์น - ศูนย์วสิ าหกิจมัณฑนศิลป์ ภภภภาาาาคคคคววววชิชิิชชิ าาาาสเเเภภทาสคสรสชัชัโนวเนวโทิเลททยยศาีเภศแาลสสะชั ตพกรรษิ ์ทรวมาิทงยสาุขภาพ

(3-ต) าหศ“มปูนนยรย่วทุะย์ภโธชงูมศาตปิานิ สญั เทปตญม่ี ลรภีาค์่งทาวณริทาะกงยเจิ าภเ”ฉสพชั ศาะาหสตรือร์ --“ปเศศรภะูนนูสกยยชั อศ์บเ์ บคารดลริกว้าือยา”ขรสแ่าสถลยาขุ ะเนภภปคาสฏลพัชนบิิ คสกิตั ณนเกิ วเาะชทรเกเภศภรสรส“มชัชั ปชศกรมุราะรชสชมนตาชอรนมุบ์ าชอถนนุ่ ”

โครงสรา้ งการแบ่งหน่วยงานภายในของสำ�นกั งานอธิการบดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ส�ำนักงาน สภามหาวิทยาลยั ศิลปากร สำ�นักงานอธกิ ารบดี

หนว่ ยงานยอ่ ยระดบั งานทม่ี ภี าระหนา้ ทเี่ ฉพาะ หน่วยงานภายในระดับกอง หรือหน่วยงาน หรอื ตามยทุ ธศาสตรข์ องมหาวทิ ยาลยั ภายในทเี่ รยี กชอ่ื อยา่ งอน่ื ทม่ี ฐี านะเทยี บเทา่ กอง (1) งานจัดการทรพั ยากรมหาวทิ ยาลัย (2) งานวิเทศสัมพันธ์ (1) กองกฎหมาย (6) กองงานวิทยาเขตเพชรบรุ ี (3) งานสภาคณาจารยแ์ ละพนักงาน (2) กองกลาง - งานบริการกลาง (4) งานสอ่ื สารองคก์ ร - งานบรกิ ารการสอน - งานบรกิ ารกลาง - งานบริหารทั่วไป หน่วยงานภายในระดบั กองที่มภี าระ - งานบรหิ ารทัว่ ไป - งานพัฒนานักศึกษา หนา้ ทีเ่ ฉพาะ หรือตามยทุ ธศาสตร์ (7) กองทรัพยากรมนษุ ย์ ของมหาวทิ ยาลยั (3) กองกจิ การนกั ศึกษา - งานบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์ (1) ศูนยก์ ลางนวตั กรรมอาหาร - งานบรกิ ารและสวสั ดกิ ารนกั ศกึ ษา - งานพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ แห่งมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร - งานศษิ ย์เก่าและชุมชน (8) กองบรหิ ารงานวิชาการ (2) ศูนยบ์ ริหารจดั การวชิ าศกึ ษาทั่วไป - งานสง่ เสริมและพัฒนาศักยภาพ - งานจดั การศึกษา นกั ศึกษา - งานทะเบียนและสถติ ิ และพฒั นาการเรยี นร้ภู าษาองั กฤษ (9) กองประกันคุณภาพการศึกษา (3) สถาบันศลิ ปสถาปตั ยกรรมไทย (4) กองคลงั - งานการเงิน (10) กองแผนงาน เฉลิมพระเกยี รติ - งานบรหิ ารงบประมาณ - งานยุทธศาสตร์และวจิ ัยสถาบัน (4) ส�ำนักงานตรวจสอบภายใน - งานบัญชี - งานวางแผนและพัฒนากายภาพ - งานตรวจสอบ - งานพัสดุ - งานวิเคราะห์งบประมาณ - งานบรหิ ารกลยทุ ธต์ รวจสอบ (5) ส�ำนักงานบรกิ ารวิชาการ (5) กองงานวทิ ยาเขต (6) ส�ำนักงานบริหารการวจิ ยั พระราชวังสนามจนั ทร์ นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ - งานกิจการพิเศษ (7) ศนู ย์อนุรักษศ์ ิลปกรรมนานาชาติ - งานจัดการทรพั ยส์ นิ - งานชา่ งและซอ่ มบ�ำรุง มหาวทิ ยาลัยศิลปากร - งานบรกิ ารกลาง (8) ศูนยน์ วตั กรรมการศึกษา - งานบรหิ ารงานท่วั ไป - งานพัสด ุ แห่งมหาวทิ ยาลัยศิลปากร (9) ส�ำนักงานจัดการทรัพยส์ ิน

มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

สภามหาวิทยาลัยศลิ ปากร

คณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลัยศิลปากร

สภามหาวิทยาลัยศิลปากร คือ องค์กรสูงสุดท่ีควบคุมดูแลการด�ำเนินงานของ มหาวิทยาลัย ประกอบด้วย นายกสภามหาวิทยาลัย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ อธิการบดี ประธานสภาคณาจารย์ ประธานกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย กรรมการสภา มหาวิทยาลัยประเภทผูบ้ ริหารและประเภทคณาจารย์ และเลขานุการสภามหาวิทยาลัย

กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยศิลปากร

นายกสภามหาวทิ ยาลยั คุณหญิงไขศรี ศรีอรณุ

กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผ้ทู รงคณุ วุฒิ

1. ศาสตราจารย์ ดร. จตุรนต์ ถริ ะวัฒน์ อปุ นายกสภามหาวทิ ยาลัย 2. นายกมล จนั ทิมา 3. คุณหญงิ กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา 3. ศาสตราจารย์ ดร.จตรุ นต์ ถิระวัฒน์ 4. นายชัยณรงค์ อนิ ทรมีทรพั ย์ 5. นางดวงสมร วรฤทธิ์ 6. ศาสตราจารยก์ ิตติคณุ ดร.บวรศกั ด์ิ อุวรรณโณ 7. นายปญั ญา วิจินธนสาร 8. นางพรรณขนติ ตา บุญครอง 9. นายเลอศักด์ิ จุลเทศ 10. ศาสตราจารย์ ดร.สนทิ อกั ษรแกว้ 11. ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณ ดร.สนั ติ เลก็ สุขุม 12. นายสุมนต์ สกลไชย 13. นายอนุชาติ คงมาลยั 14. นายอภิสิทธิ์ ไลศ่ ัตรูไกล 15. ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ุณ ดร.อรศริ ิ ปาณนิ ท์

22 I คู่มือนกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 2564

กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั โดยตำ� แหน่ง

1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชยั ชาญ ถาวรเวช อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 2. อาจารย์ ดร.คุณัตว์ พิธพรชัยกลุ ประธานสภาคณาจารยแ์ ละพนกั งาน 3. นางฉนั ทนา ดาวราย นายกสมาคมนกั ศกึ ษาเกา่ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยประเภทผูบ้ รหิ าร

1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. เชาวรีย์ อรรถลังรอง รองอธกิ ารบดฝี ่ายวชิ าการ

2. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. นนท์ คณุ คำ้� ชู คณบดีคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์

3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมุ าลี ลม้ิ ประเสรฐิ คณบดีคณะอกั ษรศาสตร์

4. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. มาเรียม นิลพันธุ์ คณบดีคณะศกึ ษาศาสตร์

5. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ณฐั พร กาญจนภูม ิ คณบดคี ณะเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร

6. อาจารย์ ดร. ปรมพร ศริ ิกุลชยานนท์ ผู้อ�ำนวยการหอศลิ ป์

กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยประเภทคณาจารยป์ ระจ�ำ

1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุพิชญา เขม็ ทอง คณะมัณฑนศิลป์

2. รองศาสตราจารย์ วเิ ชษฎ์ สุวิสิทฐ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

3. ศาสตราจารย์ ดร. ศกั ดิ์ชัย สายสงิ ห์ คณะโบราณคดี

4. รองศาสตราจารย์ ดร.วรางคณา นิพทั ธส์ ุขกิจ คณะอักษรศาสตร์

5. ศาสตราจารย์ ดร. พรศกั ด์ิ ศรีอมรศักดิ์ คณะเภสชั ศาสตร์

6. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ดเิ รกฤทธิ์ บวั เวช คณะวิทยาศาสตร์

เลขานกุ ารสภามหาวทิ ยาลยั

1. อาจารยป์ ญั จพล เหล่าพูนพฒั น์ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวางแผนและพฒั นา เลขานุการสภามหาวทิ ยาลัย 2. นางสาวญาณิฐา หลมิ วฒั นา ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั งานสภามหาวทิ ยาลยั ผชู้ ่วยเลขานกุ ารสภามหาวิทยาลยั

คู่มือนักศกึ ษา มหาวิทยาลัยศิลปากร 2564 I 23

ผูบ้ รหิ ารมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

อธิการบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชยั ชาญ ถาวรเวช

รองอธกิ ารบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จรุงแสง ลกั ษณบญุ ส่ง ศาสตราจารย์ ดร. คณิต เขียววชิ ยั รองอธกิ ารบดีฝ่ายบรหิ าร อาจารยอ์ �ำมฤทธ์ิ ชูสวุ รรณ รองอธิการบดี พระราชวงั สนามจันทร์ อาจารยป์ ัญจพล เหล่าพนู พฒั น์ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยศิลปวฒั นธรรม รองศาสตราจารย์ ดร. พิทักษ์ ศริ วิ งศ์ รองอธกิ ารบดีฝา่ ยวางแผนและพฒั นา ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. เชาวรีย์ อรรถลังรอง รองอธกิ ารบดีฝา่ ยพฒั นากจิ การเพ่ือสังคม ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ จอมภคั คลงั ระหัด รองอธิการบดฝี า่ ยวิชาการ อาจารย์ ดร. วิชติ อ่ิมอารมย์ รองอธกิ ารบดี เพชรบรุ ี รองศาสตราจารย์ ดร. นนั ทนิตย์ วานิชาชีวะ รองอธิการบดฝี ่ายกิจการนกั ศึกษา รองอธกิ ารบดฝี ่ายวิจยั

ผู้ช่วยอธิการบดี

ผู้ชว่ ยอธิการบดี พระราชวงั สนามจนั ทร ์ รองศาสตราจารย์ ดร. สาโรช พลู เทพ

ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดีฝ่ายพฒั นาองคก์ ร รองศาสตราจารย์ ดร. สุชาดา พริ ยิ ะประสาธน์

ผูช้ ่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยกจิ การพเิ ศษ อาจารย์ ดร. ปริญญา หรุน่ โพธิ์

ผชู้ ่วยอธกิ ารบดฝี ่ายสื่อสารองค์กร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ศักด์สิ ทิ ธิ์ ราชรักษ์

ผชู้ ่วยอธกิ ารบดฝี ่ายวชิ าการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. นพดล ชมุ ชอบ

ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดีฝา่ ยประกนั คุณภาพการศึกษา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ไพโรจน์ ขาวสิทธวิ งษ์

ผ้ชู ่วยอธิการบดฝี ่ายกจิ การนักศึกษา วังทา่ พระ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ศภุ วัฒน์ วัฒนภิโกวทิ

ผู้ช่วยอธกิ ารบดีฝ่ายวางแผนกายภาพ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปองพล ยาศรี

ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดีฝา่ ยพัฒนาการศกึ ษา ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. วรญั ญู พลู สวัสด์ิ

‪ผู้ช่วยอธกิ ารบดีฝ่ายคลัง อาจารยช์ าญชัย อรรคผาติ

ผู้ช่วยอธิการบดีฝา่ ยวจิ ยั รองศาสตราจารย์ ดร. รฐั พล อน้ แฉ่ง

คณบดี

คณบดีบัณฑติ วทิ ยาลยั รองศาสตราจารย์ ดร.จไุ รรัตน์ นนั ทานชิ

คณบดคี ณะจติ รกรรมประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ ์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. วิชญ มุกดามณี

คณบดคี ณะสถาปัตยกรรมศาสตร ์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นนท์ คุณค�้ำชู

คณบดคี ณะโบราณคดี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ชวลิต ขาวเขยี ว

คณบดคี ณะมัณฑนศลิ ป์ อาจารย์ ดร.ธนาทร เจยี รกลุ

คณบดีคณะอกั ษรศาสตร ์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี ล้มิ ประเสรฐิ

คณบดคี ณะศกึ ษาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาเรียม นิลพันธ์ุ

คณบดคี ณะวิทยาศาสตร์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นรงค์ ฉมิ พาลี

24 I ค่มู ือนักศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 2564

คณบดีคณะเภสัชศาสตร ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ธนะเศรษฐ์ ง้าวหิรญั พัฒน์ คณบดคี ณะวศิ วกรรมศาสตร์และ เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อรุณศรี ลจี รี จ�ำเนยี ร คณบดคี ณะดรุ ิยางคศาสตร ์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ วฒุ ชิ ยั เลศิ สถากจิ คณบดคี ณะสตั วศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยกี ารเกษตร อาจารย์ ดร.วัชราภรณ์ รวมธรรม คณบดคี ณะวทิ ยาการจัดการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วนั ชัย สุทธะนันท์ คณบดีคณะเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอื่ สาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั พร กาญจนภูมิ คณบดีวทิ ยาลยั นานาชาต ิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมพิศ ขัตติยพิกลุ

หวั หนา้ ส่วนงานที่เรยี กชอ่ื อย่างอน่ื ทมี่ ฐี านะเทยี บเทา่ คณะ ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั หอสมดุ กลาง ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ นันทพล จั่นเงนิ

ผูอ้ �ำนวยการส�ำนกั ดิจทิ ลั เทคโนโลย ี อาจารย์ ดร.สภุ าพ เกดิ แสง

ผอู้ �ำนวยการหอศลิ ป ์ อาจารย์ ดร.ปรมพร ศริ กิ ลุ ชยานนท์

q

คณะวิชาและหน่วยงานท่อี ย่ใู น

วงั ท่าพระ

1. คณะจติ รกรรม ประตมิ ากรรมและภาพพมิ พ์ จดั ตง้ั เมอื่ พ.ศ. 2486 นับเป็นคณะแรกของมหาวิทยาลัยศลิ ปากร โดย มศี าสตราจารยศ์ ิลป์ พีระศรี เป็นคณบดคี นแรก ปจั จบุ นั จัดให้มกี ารเรยี นการ สอนทั้งที่วังท่าพระ กรุงเทพมหานคร และวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ นครปฐม ด�ำเนินการสอนเพ่ือผลิตบัณฑิตสาขาวิชาทัศนศิลป์แขนงต่างๆ ทางดา้ น จติ รกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ศิลปไทย ทฤษฎศี ลิ ป์ สอ่ื ผสม ใน ระดบั ปรญิ ญาตรี และระดบั ปรญิ ญาโท ในสาขาวชิ าทศั นศลิ ปแ์ ละสาขาวชิ าทฤษฎี ศลิ ป์ และระดบั ปรญิ ญาเอกในสาขาวชิ าทศั นศลิ ป์ นอกจากงานการเรยี นการสอน แลว้ ยงั ม่งุ มัน่ สง่ เสรมิ การอนุรกั ษ์ สืบสาน วิจยั พฒั นาและสร้างสรรค์ศลิ ปะ ตลอดจนการใหบ้ รกิ ารทางดา้ นวชิ าการและรว่ มมอื กบั องคก์ รหนว่ ยงานตา่ งๆ ของ รัฐและเอกชนในการเผยแพร่ส่งเสริมงานด้านศิลปวัฒนธรรมท้ังในและต่าง ประเทศ นอกจากนี้ ยงั มหี ลกั สตู รมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าทศั นศลิ ปศกึ ษา ซงึ่ รว่ มมอื กบั คณะศกึ ษาศาสตร์ เพอ่ื ผลติ บณั ฑติ ใหม้ คี วามรู้ ความสามารถทงั้ ในดา้ นปฏบิ ตั ิ และดา้ นวจิ กั ษท์ างทศั นศลิ ปใ์ นระดบั สงู ตลอดจนพฒั นาบคุ คลใหเ้ ปน็ ผสู้ อนศลิ ปะ ทจ่ี ะน�ำคณุ ประโยชนม์ าสรู่ ะบบการศกึ ษาศลิ ปะตอ่ ไป

ค่มู อื นกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 2564 I 27

2. คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตรจ์ ดั ตง้ั ขนึ้ เมอื่ พทุ ธศกั ราช 2498 นบั เปน็ คณะ วชิ าล�ำดบั ที่ 2 ของมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ตลอดระยะเวลากว่าหกทศวรรษที่ ผา่ นมานน้ั คณะสถาปตั ยกรรมศาสตรไ์ ดม้ งุ่ มน่ั พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษามาอยา่ ง ตอ่ เน่ืองเพือ่ น�ำไปสกู่ ารผลติ บัณฑติ ที่พร้อมไปดว้ ยความรู้ ความสามารถ และ ความรบั ผิดชอบต่อสังคม ในปัจจบุ นั คณะสถาปัตยกรรมศาสตรไ์ ดจ้ ัดการเรยี น การสอน ณ วงั ท่าพระ กรุงเทพมหานคร ท้ังระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และ ปรญิ ญาเอก รวมทัง้ ส้ิน 16 หลักสตู ร ไดแ้ ก่ ระดับปริญญาตรี

•หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม •หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย

ระดับปริญญาโท

•หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง •หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม •หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย •หลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการจัดการมรดกทางสถาปตั ยกรรม และการท่องเท่ียว(หลักสตู รนานาชาต)ิ •หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม •หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถ่ิน •หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโครงการก่อสร้าง •หลักสูตรการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมมหาบัณฑิต •หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต

28 I คมู่ อื นกั ศึกษา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 2564

ระดับปริญญาเอก

•หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการมรดกทางสถาปัตยกรรม และการท่องเท่ียว(หลักสูตรนานาชาต)ิ •หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม •หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม •หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม •หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น

ปรัชญา สืบสาน สร้างสรรค์ ปณิธาน รากฐานของนวัตกรรมแห่งการออกแบบ วิสัยทัศน์

เปน็ สถาบนั การศกึ ษาชน้ั น�ำดา้ นการออกแบบในอาเซยี น เพอ่ื สบื สานวฒั นธรรม วจิ ยั และสรา้ งสรรค์นวัตกรรม

คา่ นยิ ม

สืบสาน / สร้างสรรค์ / ร่วมกัน / ค�ำนึงถึงผู้อ่ืน

(Transmission / Creativity / Teamwork / Outward Mindset) 3. คณะโบราณคดี ก่อต้ังเม่ือ พ.ศ.2498 เป็นคณะที่ 3 ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ปัจจุบัน ประกอบด้วยภาควิชาต่างๆ 5 ภาควิชา ด�ำเนินการสอนเพื่อผลิตบัณฑิตระดับ ปรญิ ญาตรี 7 สาขาวิชาเอก คือสาขาวชิ าโบราณคดี สาขาวิชาประวัตศิ าสตร์ศิลปะ สาขาวชิ ามานุษยวทิ ยา สาขาวิชาภาษาไทย สาขาวิชาภาษาองั กฤษ สาขาวชิ าภาษา ฝรั่งเศส และสาขาวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ระดับปริญญาโท โครงการปกติ 5 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาโบราณคดี สาขาวชิ าประวตั ิศาสตร์ศลิ ปะ สาขาวชิ าสันสกฤต

คมู่ อื นักศึกษา มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 2564 I 29

ศึกษา สาขาวิชาจารึกภาษาไทยและภาษาตะวันออก และสาขาวิชาการจัดการ ทรพั ยากรวัฒนธรรม และโครงการพิเศษ 3 สาขาวชิ า คอื สาขาวิชาโบราณคดี สาขา วชิ าประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะ และสาขาวชิ าการจดั การทรพั ยากรวฒั นธรรม ระดบั ปรญิ ญา เอก 4 สาขาวชิ า คือ สาขาวิชาโบราณคดี สาขาวิชาประวตั ิศาสตรศ์ ลิ ปะ สาขาวชิ า สันสกฤตศกึ ษา และสาขาวชิ าจารกึ ภาษาไทยและภาษาตะวันออก นอกจากงานด้าน การเรียนการสอนแล้ว ยังด�ำเนินการวิจัยในสาขาที่เก่ียวข้องรวมท้ังเผยแพร่ความรู้ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม โบราณสถานของชาติ และให้บริการด้านวิชาการ อีกด้วย นอกจากน้ีคณะโบราณคดียังมีศูนย์สันสกฤตศึกษา และศูนย์ศึกษาศิลปกรรมโบราณ ในเอเชียอาคเนย์ท่เี ปน็ หนว่ ยงานสนับสนนุ และให้บริการทางวิชาการ คณะโบราณคดี มีปรัชญาและวสิ ัยทัศน์ในการจัดการศึกษา ดังน้ี ปรชั ญา "ศึกษามนษุ ย์ ขุดคน้ ก้าวหน้า ภาษาเชยี่ วชาญ สบื สานศลิ ปวฒั นธรรม" วสิ ยั ทศั น์ คณะโบราณคดีเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และสร้างสรรค์วิทยาการทางด้าน โบราณคดี ภาษา ศิลปะ และวฒั นธรรม 4. คณะมณั ฑนศิลป์ จดั ตั้งเมอ่ื 18 พฤษภาคม 2499 นับเปน็ คณะท่ี 4 ของมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร การจัดการศึกษาในระยะแรกมีเพียงสาขาวิชาศิลปตกแต่งเท่านั้น ปัจจุบันได้ขยายการผลิตบัณฑิตสาขาศิลปะและการออกแบบแขนงต่างๆ ใน ระดับปริญญาตรีรวม 7 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการออกแบบภายใน การ ออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ประยกุ ตศลิ ปศกึ ษา เครอ่ื งเคลอื บ ดินเผา การออกแบบเคร่อื งประดับ และการออกแบบเครอ่ื งแต่งกาย ส�ำหรบั การผลติ บณั ฑติ ในระดบั ปริญญาโทมจี �ำนวน 3 สาขาวิชา คอืิ สาขาวิชาศลิ ปะ

30 I ค่มู ือนกั ศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 2564

การออกแบบ การออกแบบผลิตภณั ฑ์ และการออกแบบเครือ่ งประดบั ระดบั ปรญิ ญาเอก 3 สาขาวชิ า คอื สาขาวชิ าศลิ ปะการออกแบบ (หลกั สตู รนานาชาต)ิ การออกแบบ และศลิ ปะการออกแบบเชงิ วฒั นธรรม นอกจากงานการเรยี นการ สอนแลว้ ยงั ส่งเสริมกิจกรรมพฒั นานกั ศกึ ษา ให้นกั ศกึ ษาไดเ้ ผยแพรผ่ ลงานแก่ สาธารณชน สนบั สนนุ ใหบ้ คุ ลากรด�ำเนนิ การวจิ ยั ใหบ้ รกิ ารทางดา้ นวชิ าการแก่ สงั คม และร่วมมอื กับองคก์ รภายในและภายนอกประเทศเผยแพร่และส่งเสริม งานดา้ นศลิ ปะและการออกแบบท้ังในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ดังปณธิ านคณะมณั ฑนศิลป์ “ สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมดา้ นศลิ ปะและการออกแบบเพอ่ื พฒั นาสงั คม ” 5. กองกิจการนักศึกษา วงั ท่าพระ ต้ังอยู่มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจกรรม นกั ศกึ ษา การบรกิ ารและสวสั ดกิ ารตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั นกั ศกึ ษา อาทโิ ครงการ กองทนุ เงนิ ใหก้ ยู้ มื เพอ่ื การศกึ ษาของรฐั บาล บรกิ ารแนะแนวการศกึ ษาและอาชพี การปรึกษาเชงิ จติ วิทยา การจดั หางาน ทุนการศึกษา การจดั กจิ กรรมนักศึกษา การให้บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพอนามยั การบริการท�ำบตั รทอง 30 บาท กีฬาและ นนั ทนาการ การศกึ ษาวิชาทหาร และโรงอาหาร เป็นต้น

6. กองบริหารงานวชิ าการ ตั้งอยมู่ หาวทิ ยาลยั ศิลปากร วังทา่ พระ รับผิดชอบเก่ียวกับงานพัฒนา หลักสูตรและการสอนของมหาวิทยาลัย งานทะเบียนและสถิติ เชน่ การขนึ้ ทะเบยี นนกั ศกึ ษา การลงทะเบยี นเรยี น การลาพกั การศกึ ษา การขอจบการศกึ ษา การขอรบั ปรญิ ญา การออกหนงั สอื ส�ำคญั ทางการศกึ ษา เชน่ ใบระเบยี นผลการ ศึกษา ใบรับรองการส�ำเร็จการศึกษา ใบแทนปริญญาบัตร และใบรับรองการ เป็นนักศกึ ษา

คู่มอื นักศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 2564 I 31

7. หอสมดุ วังท่าพระ สํานกั หอสมดุ กลาง ต้ังอยู่ด้านประตูแดง ถนนหน้าพระลาน เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้เพื่อ การเรียนรู้และการสร้างสรรค์เพื่อให้บริการทางวิชาการแก่อาจารย์ นักศึกษา บุคลากรของมหาวิทยาลยั และบุคคลทว่ั ไป โดยเน้นการบรกิ ารสารสนเทศดา้ น ศลิ ปะ การออกแบบ สถาปตั ยกรรม และโบราณคดี ใหบ้ รกิ ารสบื คน้ และบรกิ าร ต่าง ๆ ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ และการสืบค้นสารสนเทศออนไลน์บน อินเตอร์เน็ต ตลอดจนพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลเพื่อจัดบริการสารสนเทศ อิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบฐานข้อมูลฉบับเต็ม ฐานข้อมูลภาพ และสารสนเทศ ดิจทิ ลั อื่น ๆ สามารถตดิ ตามรายละเอยี ดในการเปดิ บรกิ าร และรายละเอยี ดอน่ื ๆ ไดท้ ี่ http://www.thapra.lib.su.ac.th/ https://www.facebook.com/SUlibrary 8. หอศลิ ป์ หอศลิ ป์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร ก่อตงั้ ข้นึ ในปี พ.ศ. 2522 เปน็ หน่วยงานสนับสนุนเพ่ือส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปะร่วมสมัย มีพันธกิจหลักใน การเผยแพรศ่ ลิ ปะรว่ มสมยั ผา่ นการจดั นทิ รรศการและกจิ กรรมบรกิ ารวชิ าการ ทางด้านศิลปะแก่สังคม ไม่ว่าจะเป็นการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) การบรรยายและเสวนา และกจิ กรรมตา่ งๆ มพี น้ื ทแี่ กลเลอรต่ี ั้ง อยใู่ น 2 วิทยาเขต คอื มหาวิทยาลยั ศิลปากร วังทา่ พระ กรงุ เทพมหานคร และวทิ ยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จงั หวดั นครปฐม โดยแบง่ พ้นื ท่กี ารใช้งาน ดังนี้ 1. หอศิลป์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร (วังทา่ พระ กรุงเทพมหานคร) ตง้ั อยภู่ ายในมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วงั ทา่ พระ กรงุ เทพมหานคร ในกลมุ่

32 I คมู่ อื นักศกึ ษา มหาวิทยาลัยศิลปากร 2564

อาคารอนุรักษ์วังตะวันตกหรือวังท่าพระ เป็นหอศิลป์หลักของมหาวิทยาลัย ศลิ ปากร ใชเ้ ปน็ สถานทที่ �ำการและจดั กจิ กรรมทางศลิ ปะตา่ งๆ ประกอบไปดว้ ย ทอ้ งพระโรง ซงึ่ สรา้ งขนึ้ ภายหลงั จากทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก มหาราช รัชกาลที่ 1 ทรงสถาปนากรงุ เทพฯเป็นราชธานี ต�ำหนักกลาง และ ต�ำหนักพรรณราย สร้างภายหลัง เป็นอาคารรูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตก เช่ือมต่อในด้านหลังและด้านข้าง โดยปัจจุบันท้องพระโรงใช้เป็นพ้ืนท่ีกิจกรรม วชิ าการและศลิ ปะดา้ นตา่ งๆ พนื้ ทต่ี �ำหนกั กลางทง้ั ชน้ั ลา่ งและชนั้ บนใชเ้ ปน็ พนื้ ที่ แกลเลอรจ่ี ดั แสดงนทิ รรศการศลิ ปะรว่ มสมยั ของหอศลิ ปม์ หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ต�ำหนักพรรณรายซ่ึงเป็นอาคารสองชั้น ช้ันล่างเป็นท่ีท�ำการของส�ำนักงาน เลขานุการหอศิลป์ และร้านค้าศิลปะ ส่วนพื้นท่ีด้านบนเป็นพ้ืนท่ีแกลเลอร่ี ส�ำหรบั จัดกิจกรรมและจัดแสดงนิทรรศการ 2. หอศิลป์สนามจันทร์ (วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัด นครปฐม) หอศลิ ปม์ หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ไดข้ ยายหอศลิ ปไ์ ปยงั วทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร์ จงั หวดั นครปฐม เนอ่ื งจากเลง็ เหน็ ความส�ำคญั ของการเพมิ่ โอกาส ต่อผู้ที่สนใจศิลปะ รวมไปถึงรองรับการให้บริการศิลปะแก่สังคม ทาง มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรไดก้ ราบบงั คมทลู ขอพระราชทานนามหอศลิ ปจ์ ากสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานนามว่า “หอศิลป์สนามจันทร์” ประกอบดว้ ยพนื้ ทจ่ี ดั แสดงผลงานเครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาฝพี ระหตั ถส์ มเดจ็ พระกนษิ ฐา ธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี และเกบ็ รกั ษา และจัดแสดงคลังสะสมของมหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งเชื่อมโยงกับสวน ประตมิ ากรรมดา้ นนอกอาคาร รวมถงึ มพี น้ื ทกี่ จิ กรรมการเรยี นรหู้ มนุ เวยี น และ

ค่มู ือนกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร 2564 I 33

พื้นที่สืบค้นข้อมูลศิลปกรรมร่วมสมัย นอกจากนี้ยังมีพ้ืนที่ช้ัน 1 ศูนย์ศิลป วัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา จัดแสดงนิทรรศการ หมนุ เวียน และกจิ กรรมทางด้านวิชาการและศลิ ปวัฒนธรรม วนั เวลาท�ำการ ส�ำนักงานหอศลิ ป์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร จันทร์ – ศุกร์ เวลา 8.30-16.30 น. ส่วนนทิ รรศการ หอศิลปม์ หาวทิ ยาลยั ศิลปากร วังทา่ พระ จนั ทร์ – เสาร์ เวลา 9.00 - 18.00 น. สามารถตดิ ตามขา่ วสารได้ที่ Facebook: Art Centre Silpakorn University Youtube:Art Centre Silpakorn University instagram:artcentresilpakorn E-mail : [email protected] Website : www.art-centre.su.ac.th Line : @su.artcentre

9. ส�ำนกั งานบรกิ ารวิชาการ มหาวิทยาลยั ศิลปากร ส�ำนกั งานบรกิ ารวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เดมิ ใชช้ อื่ ส�ำนกั บรกิ าร วิชาการ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร จดั ตงั้ ข้นึ โดยอาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 16 (2) และ 16 (11) แหง่ พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร พ.ศ. 2530 โดยสภามหาวทิ ยาลยั ไดว้ างระเบยี บมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรวา่ ดว้ ยการจดั ตง้ั และ บรหิ ารงานของส�ำนกั บรกิ ารวชิ าการ พ.ศ. 2538 เมอื่ วนั ที่ 2 พฤษภาคม 2538 และต่อมาได้มีการปรับปรุงโดยออกระเบียบมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยการ บริหารงานของส�ำนักบรกิ ารวิชาการ พ.ศ. 2547 เพ่ือใหม้ คี วามเหมาะสมย่งิ ขนึ้ จนกระทงั่ มหาวทิ ยาลยั มกี ารเปลย่ี นแปลงเปน็ มหาวทิ ยาลยั ในก�ำกบั ของรฐั ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2559 จึงมีการพิจารณา

34 I คมู่ อื นักศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 2564

ก�ำหนดส่วนงานใหม่ และเปลยี่ นสถานะของส�ำนกั งานบริการวชิ าการเป็นศูนย์ ตามภารกิจเฉพาะหรือตามยุทธศาสตร์ของส�ำนักงานอธิการบดี มีฐานะเทียบ เทา่ กอง มรี ะบบบรหิ ารงานทแี่ ยกออกจากระบบการบรหิ ารจดั การของส�ำนกั งาน อธิการบดี เป็นหนว่ ยงานทมี่ ีการด�ำเนินงานในลักษณะวสิ าหกจิ มหี นา้ ทค่ี วาม รบั ผดิ ชอบในการใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการแกส่ งั คมในแบบตา่ ง ๆ เพอื่ เผยแพรอ่ งค์ ความรขู้ องมหาวทิ ยาลยั สสู่ งั คม และสามารถหารายไดใ้ หก้ บั มหาวทิ ยาลยั โดย ท�ำหน้าที่ในด้านการติดต่อเจรจาเชิงธุรกิจ จัดการเก่ียวกับเง่ือนไขของสัญญา และขอ้ ตกลงในการรบั ท�ำโครงการ การบรหิ ารโครงการ และดูแลผลประโยชน์ ท่ีมหาวิทยาลัยพึงได้จากการด�ำเนินงานโครงการบริการทางวิชาการในรูปแบบ ต่าง ๆ กิจกรรมทไ่ี ดด้ �ำเนนิ การ ได้แก่ การจดั ฝกึ อบรม ประชุม สัมมนา หรือ ประชุมเชิงปฏบิ ัติการ การวจิ ยั การค้นคว้า การศกึ ษา ส�ำรวจ วางแผน ทไ่ี ด้ รบั เงนิ สนบั สนนุ จาก แหลง่ ทนุ ภายนอก ฯลฯ อกี ทง้ั ยงั ใหบ้ รกิ ารในฐานะทป่ี รกึ ษา ท่ีมีการข้ึนทะเบียนกับศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย กระทรวงการคลัง ประเภท นติ บิ ุคคล หมายเลข 856 ระดับ 1 ในสาขาการเกษตรและการพฒั นาชนบท สาขาการศึกษา สาขาพลังงาน สาขาส่ิงแวดล้อม สาขาอุตสาหกรรม สาขา เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร สาขาการทอ่ งเทย่ี ว และสาขาการบรหิ าร และพฒั นาองค์กร ปจั จุบันส�ำนกั งานบริการวิชาการ มหาวิทยาลยั ศิลปากร มสี ถานทต่ี ั้ง อยู่ 2 แหง่ ได้แก่ ส�ำนักงานหลัก ต้ังอยู่ที่ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง สนามจนั ทร์ เลขที่ 6 ถนนราชมรรคาใน ต.พระปฐมเจดีย์ อ.เมอื งนครปฐม จ.นครปฐม 73000 โทร. 034-300518 Website : www.suas.su.ac.th ส�ำนักงานสาขา (งานด้านฝึกอบรม) ตั้งอยู่ที่ มหาวิทยาลัยศิลปากร ส�ำนกั งานอธกิ ารบดี ตลง่ิ ชนั เลขที่ 22 ถนนบรมราชชนนี เขตตลง่ิ ชนั กรงุ เทพฯ 10170 โทร. 0-2849-7500 ตอ่ 31208 Website : www.thailocalsu.com

q

คู่มือนกั ศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร 2564 I 35

คณะวิชาและหน่วยงานที่อยใู่ น

สำ�นักงานอธิการบดี ตลง่ิ ชัน

If you can’t fly then run, if you can’t run then walk, if you can’t walk then crawl, but whatever you do you have to keep moving forward.” “ถา้ คุณบินไม่ได้ก็วิ่ง วิ่งไมไ่ ด้กเ็ ดิน เดินไม่ไดก้ ็คลาน… ทำ� อย่างไรกไ็ ดใ้ ห้เคล่อื นไปขา้ งหน้า.”

ดร. มารต์ ิน ลเู ธอร์ คิง จูเนยี ร์ (นักคดิ นักปฏริ ูปคนส�ำคญั ของโลก)

1. คณะดุรยิ างคศาสตร์

จดั ตงั้ เปน็ คณะท่ี 10 ของมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เปดิ รบั นกั ศกึ ษาตง้ั แต่ ปกี ารศึกษา 2542 ถึงปัจจบุ นั เปิดสอนจ�ำนวน 6 หลกั สูตร แบง่ เป็นระดับ ปรญิ ญาตรี 4 หลกั สตู ร ดงั นี้ (1) หลกั สตู รดรุ ยิ างคศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการ แสดงดนตรี (2) หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีแจ๊ส (3) หลกั สตู รดรุ ยิ างคศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าดนตรเี ชงิ พาณชิ ย์ และ (4) หลกั สตู ร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจดนตรีและบันเทิง ระดับปริญญาโท 1 หลักสูตร คือ หลกั สตู รดรุ ิยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าสังคีตวจิ ยั และ พฒั นา และระดับปริญญาเอก 1 หลกั สตู ร คือ หลักสูตรปรัชญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาสังคีตวิจัยและพัฒนา คณะดุริยางคศาสตร์ได้จัดการเรียนการสอนควบคู่ ไปกับการให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์จริงในวิชาที่เรียนทั้งภาคทฤษฎีและ ปฏบิ ตั สิ ง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมดนตรี เปดิ โอกาสใหน้ กั ศกึ ษาไดอ้ อก แสดงดนตรตี อ่ หนา้ สาธารณชนเกบ็ เกยี่ วประสบการณ์ และเรยี นรจู้ ากการท�ำงาน ในสถานการณ์จรงิ เพอ่ื ความเปน็ เลศิ ทางวชิ าชีพ

คมู่ อื นักศึกษา มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 2564 I 37

2. บัณฑิตวทิ ยาลัย จดั ตงั้ เมอื่ พ.ศ. 2515 ปัจจบุ นั มฐี านะเป็นคณะท�ำหนา้ ทดี่ �ำเนนิ การ จัดการศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรีของทุกคณะในมหาวิทยาลัย เปิดสอนทั้ง ภาคปกติ (เรยี นวนั เวลาราชการ) และโครงการพเิ ศษ (เรยี นนอกเวลาราชการ และ/หรือวันเสาร์-อาทติ ย์) ส�ำนักงานบณั ฑิตวทิ ยาลัย มี 3 แห่ง คือ ชั้น 2 ส�ำนักงานอธกิ ารบดี มศก.ตลิ่งชัน กรงุ เทพฯ ชน้ั 7 อาคาร 50 ปี มศก. พระราชวังสนามจันทร์ นครปฐม ห้อง ร 1220 ชนั้ 2 อาคารเรียนรวม 1 มศก. สารสนเทศเพชรบรุ ี หลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาทไี่ ดร้ บั อนมุ ตั จิ ากสภามหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ปจั จุบันมจี �ำนวน 109 หลักสตู ร โดยแบ่งเปน็ หลักสูตรระดับปริญญาเอก 44 หลกั สูตร และระดบั ปริญญาโท 65 หลักสูตร โดยมีท้งั หลกั สูตรภาษาไทยและ หลักสูตรนานาชาติ สามารถตดิ ตามรายละเอียดของบณั ฑิตวิทยาลยั ไดท้ ี่ http://www.graduate.su.ac.th facebook : https://www.facebook.com/graduatesu e-mail : [email protected] Line Id : gradclinic.student

3. กองกลาง กองกลางเป็นหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ มีหน้าที่รับผิดชอบการ บริหารงานทวั่ ไปของมหาวทิ ยาลยั ต้ังอยู่ที่อาคารส�ำนักงานอธกิ ารบดี ตลง่ิ ชัน ชน้ั 6 และอาคารส�ำนักงานอธกิ ารบดี วงั ทา่ พระ ช้นั 2 โดยแบ่งออกเป็น 2 งาน ไดแ้ ก่ งานบรกิ ารกลาง งานบริหารท่ัวไป ซ่ึงในแตล่ ะงานมีขอบขา่ ยภาระ หน้าท่รี ับผดิ ชอบโดยตรง ในการด�ำเนินงานไดก้ �ำหนดปณธิ านและวตั ถุประสงค์ ดังน้ี ปณิธาน กองกลางเปน็ หนว่ ยงานสนบั สนนุ ผลกั ดนั มหาวทิ ยาลยั ใหก้ า้ วไกลทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง มงุ่ เนน้ ความเปน็ เลศิ ในการใหบ้ รกิ าร โดยมกี ารบรหิ ารจดั การ ที่ดี โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีระบบการบริการที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประสทิ ธผิ ล สะดวก รวดเรว็ ถูกต้อง มอี าคารสถานท่ี สง่ิ อ�ำนวยความ สะดวกและสภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสมและปลอดภยั เพอื่ ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารมคี วาม พึงพอใจ โดยความสอดคล้องกับปณิธานของส�ำนักงานอธิการบดี “มุ่งม่ัน สนับสนุนการด�ำเนินงานตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยด้วยหลักการบริหาร จดั การทดี่ ี เพ่ือน�ำไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชน้ั น�ำแห่งการสร้างสรรค์” จงึ ได้ ก�ำหนดค�ำขวญั ไวว้ ่า “เต็มใจให้บริการ ท�ำงานให้มคี ณุ ภาพ พฒั นาศกั ยภาพ ใหก้ า้ วไกล”

38 I ค่มู ือนกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 2564

วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือเป็นหน่วยงานกลางท่ีสนับสนุนภารกิจของมหาวิทยาลัยในการ ใหบ้ รกิ ารดา้ นการจดั ประชมุ ดา้ นสารบรรณ ดา้ นอาคาร สถานทแ่ี ละยานพาหนะ แก่คณะวิชาและส่วนงาน ตลอดจนบคุ คลภายในและภายนอก 2. เพอื่ เพมิ่ ความสามารถในการบรหิ ารจดั การทดี่ มี ปี ระสทิ ธภิ าพ โปรง่ ใส และตรวจสอบได้ โดยน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาระบบการท�ำงานเพื่อ ความเป็นเลศิ ในการให้บริการ 3. เพือ่ พฒั นาบคุ ลากรกองกลางให้มีศักยภาพ สามารถปฏิบัตงิ านตาม หน้าที่ความรับผิดชอบได้อย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานท่ีพึงประสงค์ ซ่ึง สอดคลอ้ งกบั การบรหิ ารงานที่ก้าวไกล ทันต่อการเปลีย่ นแปลง 4. เพอ่ื สรา้ งสภาพแวดลอ้ มและสรา้ งขวญั ก�ำลงั ใจแกบ่ คุ ลากรภายในให้ มคี ณุ ภาพชวี ิตและสวัสดิการทีด่ ี เพ่ือปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 4. กองทรัพยากรมนุษย์ กองทรัพยากรมนุษย์ เป็นหน่วยงานสนับสนุนด้านการบริหารจัดการ ทรัพยากรบคุ คลของมหาวิทยาลัย ตง้ั อยบู่ นชน้ั 7 อาคารส�ำนักงานอธิการบดี ตลิ่งชัน มีหน้าท่ีรับผิดชอบควบคุมดูแลงานการบริหารงานบุคคล โดยมีการ ด�ำเนินงานตามนโยบายของมหาวิทยาลัย การจัดสรรอัตราก�ำลัง การสรรหา การธ�ำรงรักษาบุคลากร การประเมินผลการปฏิบัติงาน และมีการจัดท�ำฐาน ข้อมูลบุคลากรด้วยระบบสารสนเทศทั้งมหาวิทยาลัย ด�ำเนินงานเกี่ยวกับ ทะเบยี นประวตั ิบคุ ลากรทัง้ มหาวิทยาลัย ดแู ลระบบฐานข้อมูลบคุ ลากร (MIS และ SU-ERP HRM) การขอพระราชทานเครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์ การท�ำบัตร ประจ�ำตวั บุคลากร รวบรวมสถิตวิ ันลาของบคุ ลากร การพฒั นาบคุ ลากร การ ลาศกึ ษา ฝกึ อบรม การดงู านทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ และการปฏบิ ตั กิ าร วิจยั ณ ต่างประเทศ การลาปฏบิ ัติงานเพอ่ื เพิม่ พนู ความรทู้ างวิชาการ/เขยี น ต�ำรา ตลอดจนดา้ นทนุ การศกึ ษาของบคุ ลากรในมหาวทิ ยาลยั ทไ่ี ดร้ บั การจดั สรร จากรฐั บาล การก�ำหนดต�ำแหนง่ ใหส้ งู ขนึ้ ของบคุ ลากรสายวชิ าการและบคุ ลากร สายสนับสนุน รวมท้งั ตดิ ตามและรายงานมาตรฐานภาระงานทางวชิ าการของ บคุ ลากรในมหาวิทยาลัย ตลอดจนด�ำเนนิ การเกยี่ วกับการตอ่ เวลาราชการของ ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา และการต่อการจ้างของพนักงาน มหาวิทยาลยั สายวชิ าการ นอกจากนี้ เปน็ หน่วยงานด�ำเนินการเกย่ี วกับการ ประชุม ก.บ.ม. มหาวิทยาลัย ดา้ นการบรหิ ารงานบคุ คล

คมู่ อื นักศึกษา มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 2564 I 39

5. กองคลงั กองคลัง ส�ำนักงานอธิการบดี เป็นหน่วยงานหลักที่มีภารกิจดูแลรับ ผดิ ชอบการบรหิ ารจดั การดา้ นการเงนิ การคลงั บรหิ ารงบประมาณ และพสั ดขุ อง มหาวทิ ยาลยั โดยปฏบิ ตั งิ านใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั และมติ ของคณะรัฐมนตรี รวมถึงการติดต่อประสานงานและให้บริการกับหน่วยงานท่ี เกย่ี วขอ้ งทงั้ ภายในและภายนอก เชน่ กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม ส�ำนกั งบประมาณ กระทรวงการคลงั กรมสรรพากร ส�ำนกั งาน ประกนั สงั คม ธนาคารตา่ ง ๆ อาจารย์ ขา้ ราชการ พนกั งานมหาว่ ทิ ยาลยั นกั ศกึ ษา และบคุ คลทวั่ ไป และเปน็ ศนู ยก์ ลางขอ้ มลู ขา่ วสารทางดา้ นการเงนิ การคลงั และ พสั ดุ แกห่ นว่ ยงานภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั ตลอดจนใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ขา่ วสารผา่ นเวบ็ ไซต์ http://www.presiden.su.ac.th/finance กองคลงั ส�ำนกั งานอธกิ ารบดี มพี นื้ ทกี่ ารบรหิ ารจดั การทงั้ 3 แหง่ 1. กองคลงั ส�ำนกั งานอธกิ ารบดี ตลง่ิ ชนั ตงั้ อยทู่ ่ี ชนั้ 6 อาคารส�ำนกั งาน อธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ถนนบรมราชชนนี กรงุ เทพมหานคร 2. อาคารส�ำนกั งานอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร์ ถนนราชมรรคาใน จงั หวดั นครปฐม 3. กองคลงั ส�ำนกั งานอธกิ ารบดี วทิ ยาเขตพระราชวงั สารสนเทศเพชรบรุ ี ตงั้ อยทู่ ช่ี นั้ 1 อาคารบรหิ าร มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบรุ ี ถนนชะอ�ำ-ปราณบรุ ี จงั หวดั เพชรบรุ ี

6. กองแผนงาน กองแผนงาน เดิมมีฐานะเป็นหน่วยวิจัยสถาบัน ต่อมาได้ยกฐานะข้ึน เปน็ หนว่ ยงานระดบั กอง สงั กดั ส�ำนกั งานอธกิ ารบดี (ไดร้ บั การอนมุ ตั จิ ากทบวง มหาวิทยาลยั เม่อื พ.ศ. 2536) และในปัจจบุ นั ส�ำนักงานอธกิ ารบดี ได้มกี าร แบง่ หนว่ ยงานภายในใหม่ ออกเปน็ 10 กอง ตามประกาศมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เรอื่ ง การแบ่งหนว่ ยงานภายในของสว่ นงานของมหาวทิ ยาลัยศิลปากร (ฉบบั ท่ี 4) ลงวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2561 โดยกองแผนงาน เป็นหนว่ ยงาน ภายในของส�ำนกั งานอธกิ ารบดี เปน็ หนว่ ยงานสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การดา้ น แผน งบประมาณ และบรหิ ารจดั การทางกายภาพ มภี ารกจิ หลกั ในการวเิ คราะห์ จัดท�ำงบประมาณเงินแผ่นดินและงบประมาณเงินรายได้ จัดท�ำแผนกลยุทธ์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ระยะยาว ปานกลาง และระยะ 1 ปี และแผนอืน่ ๆ ใน ระดับสถาบัน เช่น แผนบริหารความเส่ียง แผนอัตราก�ำลัง แผนปฏิบัติการ ประจ�ำปี แผนบริหารความต่อเน่ืองในสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan : BCP) มหาวิทยาลยั ศิลปากร เปน็ ต้น รวมทง้ั วิเคราะห์และจัดท�ำขอ้ มลู สารสนเทศเชิงยุทธศาสตร์ เพ่ือการวางแผนและพัฒนามหาวิทยาลัย ด�ำเนิน

40 I คูม่ อื นกั ศึกษา มหาวิทยาลยั ศิลปากร 2564

การวิจัยสถาบันและติดตามประเมินผล และงานนโยบายอื่นๆ เช่น โครงการ ปฏริ ปู มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร การตดิ ตามและประเมนิ ผลหลงั การปรบั โครงสรา้ ง คณะ/ส่วนงานและหนว่ ยงานภายในของคณะ/สว่ นงาน โครงการ Reinventing มหาวทิ ยาลยั เปน็ ตน้ ตลอดจนบรหิ ารจดั การดา้ นวางแผนและพฒั นากายภาพ ออกแบบและการควบคมุ ประสานงานกอ่ สรา้ ง 7. กองกฎหมาย

กองกฎหมาย ส�ำนกั งานอธกิ ารบดี เปน็ หนว่ ยงานกลางทป่ี ฏบิ ตั งิ านดา้ น

กฎหมาย ธรรมาภบิ าล ความโปรง่ ใส ความเปน็ ธรรมของมหาวทิ ยาลยั ด�ำเนนิ การดา้ นการสอบสวนวนิ ยั อทุ ธรณ์และการรอ้ งทุกข์ การด�ำเนนิ คดีอาญา คดี แพง่ และคดปี กครอง การจดั ท�ำสญั ญาประเภทตา่ ง ๆ รวมถงึ การบรหิ ารจดั การ และการปฏิบัติงานด้านกฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ท�ำ หน้าที่กลัน่ กรองเรอ่ื งทางกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คับ และกฎหมายอืน่ ๆ เพอื่ ประกอบการพจิ ารณาของผบู้ รหิ ารและองคก์ รบรหิ ารระดบั มหาวทิ ยาลยั มี การเผยแพรข่ อ้ มลู ดา้ นกฎหมายผา่ นแอปพลเิ คชนั www.lawapp.su.ac.th และ เว็บไซต์ www.president.su.ac.th/legal กองกฎหมาย ส�ำนักงานอธิการบดี ต้ังอยู่ท่ีช้ัน 7 อาคารส�ำนักงาน อธิการบดี ตลิ่งชัน มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ถนนบรมราชชนนี กรุงเทพมหานคร

8. กองประกนั คณุ ภาพการศึกษา กองประกันคุณภาพการศึกษา มีภาระหน้าที่รับผิดชอบในการรักษา มาตรฐานการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั โดยเนน้ หลกั การของการใหม้ หาวทิ ยาลยั มีระบบการควบคุมคุณภาพทางวิชาการ (Internal Quality Control) และ ปรับปรุงการปฏบิ ัติภารกจิ ทกุ ๆ ดา้ นอยา่ งตอ่ เนื่อง (Continuous Improve- ment) บนพ้ืนฐานของความมีเสรีภาพทางวิชาการและอิสรภาพในการด�ำเนิน งานทีส่ ังคมหรอื หนว่ ยงานภายนอกสามารถเข้าตรวจสอบได้ โดยมกี ารด�ำเนิน งานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน การประเมิน คณุ ภาพการศกึ ษาภายนอก การจดั ท�ำแผนพฒั นาคณุ ภาพ QA จากผลการ ประเมิน งานวางแผนพฒั นาและภารกิจเฉพาะ ภารกิจการพฒั นาคณุ ภาพการ จัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย ที่มุ่งเน้นให้มีการสร้างระบบและกลไกการ ควบคุมคุณภาพการศึกษา ให้ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานภายนอกอย่าง กว้างขวาง ซึ่งมหาวิทยาลัยมีระบบและกลไกการตรวจสอบและประเมินผล ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาทัง้ ระดับหลักสูตร โดยมาตรฐาน ASEAN University Network Quality Assurance : AUNQA คณะวชิ า ส่วนงาน และ สถาบัน โดยเกณฑ์มาตรฐาน Education Criteria for Performance Excel-

คู่มอื นักศึกษา มหาวิทยาลยั ศิลปากร 2564 I 41

lence : EdPEx ส่วนงานการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบเทคโนโลยี สารสนเทศทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การประกนั คณุ ภาพ การสรา้ งเครอื ขา่ ยดา้ นการประกนั คุณภาพ ภารกิจตามนโยบาย เช่น การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส Integrity and Transparency Assessment : ITA งานด้านการพฒั นา Uni- versity Rankings รวมท้งั การเพิม่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการหน่วยงาน บนพ้นื ฐานการจดั การความรู้ ตง้ั อยูท่ ่ีช้ัน 3 ส�ำนักงานอธกิ ารบดี ตลง่ิ ชัน เว็บไซต์ http//www.qa.su.ac.th โทรศัพท์ 0-2849-7506 ภายใน 31322-26 9. สำ� นกั งานตรวจสอบภายใน ส�ำนักงานตรวจสอบภายใน เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งข้ึนเพ่ือให้บริการต่อ ฝา่ ยบรหิ าร เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความมนั่ ใจตอ่ ความมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ลของการ ด�ำเนนิ งานและความคมุ้ คา่ ของการใชจ้ า่ ยเงนิ รวมทง้ั ความถกู ตอ้ งเชอ่ื ถอื ไดข้ อง ข้อมลู ทางการเงิน โดยค�ำนงึ ถงึ ระบบการควบคุมภายใน การบรหิ ารความเสย่ี ง ความส�ำคญั ของเรือ่ งทตี่ รวจสอบอย่างเป็นอสิ ระและเทีย่ งธรรม และบรกิ ารให้ ค�ำปรึกษาแก่บุคลากรของคณะวชิ าและหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ภายในมหาวทิ ยาลยั ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั และมตขิ องคณะรฐั มนตรที เ่ี กยี่ วขอ้ ง ส�ำนักงานตรวจสอบภายในปฏิบัติงานตามแผนการตรวจสอบประจ�ำปี ท่ีได้รับอนุมัติ โดยพิจารณาจากการประเมินความเส่ียงในแต่ละกิจกรรมและมี อ�ำนาจในการเข้าถึงข้อมูล ระบบงาน เอกสาร ทรัพย์สิน และเจ้าหน้าท่ีท่ี เกีย่ วข้องกบั งานตรวจสอบทกุ หน่วยงานภายในมหาวิทยาลยั โดยขอบเขตการ ตรวจสอบจะครอบคลุมทง้ั การตรวจสอบดา้ นการเงิน การบญั ชี การตรวจสอบ การด�ำเนินงาน รวมทั้งการสอบทานและประเมินผลการควบคุมภายใน และ รายงานผลการตรวจสอบให้ข้อมูลเชงิ วเิ คราะห์ ประเมนิ ผล ข้อเสนอแนะ ตาม แนวทางท่ีมาตรฐานการตรวจสอบภายในก�ำหนดไว้ เสนอต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบประจ�ำมหาวทิ ยาลยั เพอื่ พจิ ารณาและอธกิ ารบดเี พอ่ื สงั่ การตอ่ ไป รวม ทัง้ ตอ้ งประสานงานกับส�ำนกั งานการตรวจเงินแผ่นดินและหนว่ ยงานต่าง ๆ ที่ เก่ยี วขอ้ ง เพอื่ ใหเ้ กดิ ผลงานร่วมท่เี ปน็ ประโยชนส์ งู สุดตอ่ มหาวิทยาลัย ส�ำนกั งานตรวจสอบภายใน ตงั้ อยทู่ ชี่ น้ั 7 ตกึ ส�ำนกั งานอธกิ ารบดี ตลงิ่ ชนั เวบ็ ไซด์ http://www.audit.su.ac.th

q

42 I คูม่ อื นักศึกษา มหาวิทยาลัยศลิ ปากร 2564

วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร บางรกั กรงุ เทพฯ

วทิ ยาลัยนานาชาติ กอ่ ตง้ั มาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2546 โดยปจั จบุ นั เปดิ รบั สมคั รนกั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรี ทกุ หลกั สตู รเปน็ หลกั สตู รนานาชาตสิ องปรญิ ญา (Double-Degree Programmes) ท่ีเนน้ ดา้ น “Business” และ “Art & Design” ซ่งึ มดี ว้ ยกนั 3 หลักสูตร ไดแ้ ก่ (1) หลักสตู รบรหิ ารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจดั การโรงแรม (BBA in Hotel Management) ร่วมมือกบั Vatel Hotel and Tourism Busi- ness School ประเทศฝรัง่ เศส (2) หลกั สูตรบริหารธรุ กิจบัณฑติ สาขาวชิ า การจดั การตราสนิ คา้ หรหู รา (BBA in Luxury Brand Management) รว่ มมอื กบั Paris School of Business ประเทศฝรั่งเศส และ (3) หลกั สตู รศลิ ปบณั ฑติ สาขาวิชาการออกแบบสื่อสารดิจทิ ัล (BFA Digital Communication Design) ร่วมมือกบั Birmingham City University ประเทศองั กฤษ โดยทุกหลกั สตู ร นอกจากจะสอนโดยใชภ้ าษาองั กฤษเปน็ สอื่ กลางแลว้ ยงั มอบประสบการณน์ อก ช้ันเรียน และมอบโอกาสของการพัฒนาตนเองสู่สากลโดยการฝึกงานต่าง ประเทศ เพ่ือบ่มเพาะให้นักศึกษาก้าวเข้าสู่โลกของการแข่งขันได้อย่างมี คณุ ลกั ษณะตามมาตรฐานสากล ดงั นน้ั วทิ ยาลยั นานาชาติ จงึ ใหค้ วามส�ำคญั กบั การสรา้ งและพฒั นาหลกั สตู รทม่ี คี ณุ ลกั ษณะดงั กลา่ วขา้ งตน้ ทส่ี อดรบั กบั ความ ตอ้ งการของประเทศ และขณะเดยี วกนั กส็ อดคลอ้ งกบั จดุ เดน่ ของมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ซ่งึ เปน็ มหาวิทยาลัยแห่งการสรา้ งสรรค์

เลขที่ 72 ช้นั 8-9 อาคารกสท โทรคมนาคม ถนนเจริญกรงุ แขวงบางรัก เขตบางรกั กรุงเทพมหานคร 10500 โทร 02 639 7521-3 Email: [email protected]

คมู่ ือนกั ศึกษา มหาวิทยาลยั ศิลปากร 2564 I 43

คณะวชิ าและหนว่ ยงานทอ่ี ยู่ใน

วทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร์

1. คณะอกั ษรศาสตร์ จัดตั้งเมื่อพ.ศ. 2511 เป็น คณะแรกของวิทยาเขตพระราชวัง สนามจันทร์ และเปน็ คณะท่ี 5 ของ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยมี ศาสตราจารย์ ม.ล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ เป็นคณบดีคนแรก ปจั จบุ นั มภี าควชิ าตา่ ง ๆ 11 ภาควชิ า คือ นาฏยสังคีต บรรณารกั ษศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ภาษาไทย ภาษาปัจจุบันตะวันออก ภาษา ฝรงั่ เศส ภาษาเยอรมนั ภาษาองั กฤษ ภมู ิศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ นอกจากการเรียนการสอน แลว้ คณะอักษรศาสตร์ยังด�ำเนนิ การ วจิ ยั บรกิ ารทางวชิ าการแก่สงั คมและท�ำนบุ �ำรุงศิลปวฒั นธรรมอกี ด้วย 2. คณะศึกษาศาสตร์ ไดส้ ถาปนาข้ึนเม่ือวันท่ี 18 มิถุนายน พ.ศ. 2513 นบั เป็นคณะท่ี 6 ของมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร และเปน็ คณะที่ 2 ของวทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร์ ด�ำเนนิ การสอนเพอ่ื ผลติ บณั ฑติ สาขาศกึ ษาศาสตรแ์ ละสาขาทเี่ กย่ี วขอ้ ง ปจั จบุ นั มหี นว่ ยงาน 10 หนว่ ยงาน ประกอบดว้ ย ส�ำนกั งานคณบดี ภาควชิ า 7 ภาควชิ า และโรงเรียนสาธิต 2 ระดับ จัดการเรียนการสอนทั้งในระดับอนุบาล ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา และระดับปรญิ ญา ซ่ึงมรี ะดบั ปรญิ ญาบณั ฑติ และ ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา (ระดบั มหาบณั ฑติ และระดบั ดษุ ฎบี ณั ฑติ ) นอกจากการจดั การ เรยี นการสอนแลว้ ยงั ด�ำเนนิ งานดา้ นการวจิ ยั ในสาขาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง การใหบ้ รกิ าร วิชาการแก่ชมุ ชนและการท�ำนุบ�ำรงุ ศิลปวฒั นธรรมด้วย

คู่มอื นักศึกษา มหาวิทยาลยั ศิลปากร 2564 I 45

3. คณะวทิ ยาศาสตร์ จดั ตง้ั เมอื่ พ.ศ. 2515 เปน็ คณะท่ี 7 ของมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ปจั จบุ นั จดั การสอนในระดบั ปรญิ ญาตรี 12 สาขา ไดแ้ ก่ คณติ ศาสตร์ สถติ ิ เคมี ชวี วทิ ยา ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม วิทยาการคอมพิวเตอร์ จุลชีววิทยา คณิตศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาการข้อมูล และฟิสิกส์ (ศษ.บ.) ในระดบั ปริญญาโท 11 สาขา ได้แก่ เคมีศึกษา เคมี สถิติประยกุ ต์ ชีววิทยา ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ศึกษา วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม จุลชีววทิ ยา เทคโนโลยีสารสนเทศและนวตั กรรมดิจิทลั นิติวทิ ยาศาสตร์ และ ในระดบั ปรญิ ญาเอก 7 สาขา คอื เคมี คณติ ศาสตร์ ฟสิ กิ ส์ ชวี วทิ ยา จลุ ชวี วทิ ยา เทคโนโลยสี ารสนเทศและนวตั กรรมดจิ ทิ ลั และนติ วิ ทิ ยาศาสตรแ์ ละงานยตุ ธิ รรม นอกจากการเรยี นการสอนแล้ว ยังด�ำเนินการวจิ ยั ในสาขาที่เก่ยี วข้องตลอดจน ให้บริการด้านต่าง ๆ แก่ชมุ ชนดว้ ย

46 I คู่มอื นักศกึ ษา มหาวิทยาลัยศิลปากร 2564

4. คณะเภสัชศาสตร์

จดั ตง้ั เมอ่ื พ.ศ. 2528 เปน็ คณะท่ี 8 ของมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ด�ำเนนิ

การสอนเพ่ือผลิตบัณฑิตทางเภสัชศาสตร์ (เภสัชกร) ปัจจุบันจัดการสอนใน ระดบั ปรญิ ญาตรี 1 สาขา คอื หลักสตู รเภสชั ศาสตรบัณฑติ สาขาเภสชั ศาสตร์ (หลักสตู ร 6 ปี) ระดับปริญญาโท จ�ำนวน 4 สาขา คือ หลกั สตู รเภสชั ศาสตร มหาบณั ฑติ สาขาเภสชั กรรมคลนิ กิ สาขาการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคดา้ นสาธารณสขุ สาขาวทิ ยาการทางเภสัชศาสตร์ สาขาเภสชั ศาสตร์สังคมและการบรหิ าร และ สาขาสารสนเทศศาสตร์ทางสุขภาพ ระดับปริญญาเอก 5 สาขา คือ สาขา เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร สาขาเทคโนโลยีทางเภสัชกรรม (หลักสูตร นานาชาต)ิ สาขาวิทยาการทางเภสชั ศาสตร์ (หลกั สตู รนานาชาต)ิ สาขาวศิ ว เภสัชกรรม (หลกั สตู รนานาชาติ) และ สาขาเภสชั กรรมคลนิ ิก นอกจากการ เรียนการสอนแล้วยงั ด�ำเนินการวิจัยและให้บริการทางวิชาการอน่ื ๆ ทางดา้ น เภสัชศาสตร์แก่ชุมชนทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มีศูนย์เครือข่ายเภสัชสนเทศ “ประชานาถ” ศูนยภ์ ูมิปัญญาทางเภสชั ศาสตร์ “ประโชติ เปลง่ วิทยา” และศูนย์ บริการสขุ ภาพคณะเภสชั ศาสตร์ ตลอดจนการคุ้มครองผู้บรโิ ภคดา้ นยา อาหาร เครอ่ื งส�ำอาง และการพฒั นาระบบสาธารณสุขของประเทศ

ค่มู ือนักศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 2564 I 47

5. คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม จดั ตง้ั เม่อื พ.ศ. 2534 นบั เปน็ คณะท่ี 9 ของมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ปจั จบุ นั ประกอบดว้ ยภาควชิ าตา่ ง ๆ 7 ภาควชิ า ดาํ เนนิ การสอนเพอ่ื ผลติ บณั ฑติ ในระดบั ปรญิ ญาตรี จาํ นวน 12 สาขาวชิ า โดยมที างดา้ นวศิ วกรรมศาสตร์ ไดแ้ ก่ สาขาวิชาปิโตรเคมีและวัสดุพอลิเมอร์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ สาขา วิชาวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี สาขาวิชาวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส์และระบบคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการและ โลจิสติกส์ สาขาวิชาวิศวกรรมวัสดุและนาโนเทคโนโลยี สาขาวิชาวิศวกรรม กระบวนการชีวภาพ และสาขาวิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล (หลักสูตรนานาชาติ) ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ตแ์ ละเทคโนโลยี ไดแ้ ก่ สาขาวชิ าเทคโนโลยอี าหาร และสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ สว่ นทางดา้ นเทคโนโลยี ได้แก่ สาขาวชิ าธุรกิจ วศิ วกรรม ในระดับปรญิ ญาโท จาํ นวน 8 สาขาวชิ า ได้แก่ สาขาวชิ าวิทยาการ และวศิ วกรรมพอลเิ มอร์ สาขาวชิ าเทคโนโลยอี าหาร สาขาวชิ าเทคโนโลยชี วี ภาพ สาขาวชิ าวศิ วกรรมเคมี สาขาวชิ าการจดั การงานวศิ วกรรม สาขาวชิ าวศิ วกรรม พลังงาน สาขาวิชาธุรกิจวิศวกรรม และสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและ คอมพิวเตอร์ ในระดับปริญญาเอก จํานวน 6 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชา วทิ ยาการและวศิ วกรรมพอลเิ มอร(์ หลกั สตู รนานาชาต)ิ สาขาวชิ าวศิ วกรรมเคมี สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาวิชาวิศวกรรม พลังงาน และสาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม นอกจากการเรียนการสอน แลว้ ยงั ดาํ เนนิ การวจิ ยั ในสาขาทเ่ี กย่ี วขอ้ งตลอดจนใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการแกช่ มุ ชน อกี ดว้ ย

48 I คูม่ ือนักศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร 2564

คณะไหนเรียนที่วังท่าพระ

1. วังท่าพระ ตั้งอยู่ที่วังท่าพระ ถนนหน้าพระลาน เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 จัดการเรียนการสอน 4 คณะ วิชาคือ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะโบราณคดี และคณะมัณฑนศิลป์

ม.ศิลปากร เด่นเรื่องอะไร

มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นมหาวิทยาลัยที่ดึงดูดผู้คนผู้มีใจรักในศิลปะแขนงต่างๆให้มาเข้าที่นี่กันเยอะแยะ เพราะมีชื่อเสียงด้าน ศิลปะแขนงต่าง ๆ สถาปัตย์ ดนตรี นาฎศิลป์ ภาษา โบราณคดี และทุกอย่างที่เกี่ยวกับข้องกับศิลปะ

ศิลปากรมีคณะและสาขาอะไรบ้าง

1. คณะจิตกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ หลักสูตรศิลปะบัณฑิต (5 ปี) ... .

2. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ... .

3. คณะโบราณคดี หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ... .

4. คณะมัณฑนศิลป์ หลักสูตรศิลปบัณฑิต ... .

5. คณะอักษรศาสตร์ หลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต ... .

6. คณะศึกษาศาสตร์ ... .

7. คณะวิทยาศาสตร์ ... .

8. คณะเภสัชศาสตร์.

ICT ศิลปากร มีกี่สาขา

ICT ศิลปากรมุ่งเน้นการสอนแบบลงมือทำ ไม่ว่าจะเป็นการทำงานด้านข้อมูลข่าวสาร ที่วิเคราะห์เชิงลึกสาระบันเทิง หรือ บันเทิงงานสร้างสรรค์เพื่อความสำเร็จทางธุรกิจ และการตลาด ตลอดจนงานออกแบบที่ใช้ไอที เพื่อการพาณิชย์ และสาธารณประโยชน์ ทั้งหมดคือส่วนผสมของศาสตร์ด้านศิลปะ เทคโนโลยี และการสื่อสาร กลายมา เป็น 3 สาขาวิชา ได้แก่