เจ าพระยาเทเวศร วงศ ว ว ฒน ม.ร.ว.หลาน ก ญชร

ประวัตินาฏศิลปไทย นาฏศิลปไ ทย เปนศลิ ปวฒั นธรรมทแ่ี สดงถงึ ความเปน ไทย ที่มมี าตั้งแตชา นานและไดร บั อทิ ธิพลแบบแผน ตามแนวคิดจากตา งชาติเขา มาผสมผสานและนาํ มาปรับปรุงเปน เอกลักษณประจําชาติไทย การแสดง นาฏศลิ ปไ ทยเปนการแสดงท่มี ีความวจิ ิตรงดงาม ท้ังเส้อื ผา การแตงกายลีลาทา ราํ ดนตรปี ระกอบและบทรอ ง นอกจากนี้การแสดงนาฏศลิ ปไทยยังเกิดจากการละเลน พื้นบาน วิถีชีวติ ของชาวไทยในแตละภมู ภิ าค นาฏศิลปไทยมีความสําคญั เปนอยางยงิ่ เพราะเปนส่งิ ทบ่ี งบอกถึงความเปนชาตไิ ทย นักเรียนนาฏศลิ ปทกุ คน ตองอดทน และตอ งมคี วามพยายามในการฝก ซอมเพราะตวั ละครในการแสดงนาฏศิลปไ ทยประเภทโขนนั้น มตี า งชนิดกนั จึงตอ งอาศยั ทักษะ การฝกฝนเพื่อความชํานาญไวใ ชใ นการแสดงและเพ่ือทจี่ ะไดร กั ษาศิลปะ ประจําชาตไิ ทยปจ จุบันไดมวี ฒั นธรรมตะวนั ตกเขา มาเปนจาํ นวนมาก ทาํ ใหเ ด็กสมัยใหมน ้ีอาจจะไมค อ ย รจู กั การแสดงนาฏศลิ ป อยางโขน ละครรํา เปน ตน ดังนน้ั กระทนู จ้ี ึงมุง ใหผ คู นรูถึง ความรูเบื้องตนของ นาฏศลิ ปไ ทย เพือ่ ใหคนรุน หลังไดส บื ทอด ไดต ระหนกั ถึงคณุ คา ความสาํ คัญของนาฏศิลปไทยและรกั ษาให คงอยตู อไป เปน ศลิ ปะแหง การละคร ฟอนราํ และดนตรี อนั มคี ุณสมบัติตามคมั ภีรน าฏะหรอื นาฏยะ กําหนดวา ตอ ง ประกอบไปดวย ศลิ ปะ 3 ประการ คือ การฟอ นรํา การดนตรี และการขับรอ ง รวมเขา ดว ยกัน ซึง่ ทง้ั 3 ส่งิ นีเ้ ปน อปุ นสิ ยั ของคนมาแตด ึกดําบรรพ นาฏศลิ ปไทยมีทม่ี าและเกดิ ขน้ึ จากสาเหตตุ ามแนวคดิ ตา ง ๆ เชน เกิดจากความรูสกึ กระทบกระเทอื นทางอารมณ ไมวาจะอารมณแ หง ความสขุ หรือความทุกขแ ลวสะทอ น ออกมาเปน ทาทาง แบบธรรมชาติและประดษิ ฐขนึ้ เปน ทาทางลีลาการฟอ นรํา หรือเกิดจากลทั ธิความเชือ่ ใน การนบั ถือสิ่งศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ เทพเจา โดยแสดงความเคารพบูชาดว ยการเตน รํา ขบั รอ ง ฟอนราํ ใหเกดิ ความพงึ พอใจ เปนตน การฟอ นรํา ทมี่ สี มมตฐิ านมาจากธรรมชาติ แตไดร ับการตกแตง และปรับปรุงใหง ดงามยิ่งข้นึ จนกอใหเกิด อารมณส ะเทือนใจแกผ ูด ผู ูชม โดยแทจ ริงแลว การฟอ นราํ ก็คือ ศิลปะของการเคล่ือนไหวอวัยวะตาง ๆ ของ มนุษย เชน แขน ขา เอว ไหล หนา ตา ฯลฯ ดวยเหตนุ ธ้ี รรมชาตทิ ่ีเปน พ้ืนฐานเบอ้ื งตน ของการฟอ นรําจงึ มา จากอิรยิ าบทตา ง ๆ ของมนษุ ย ไดแก ยนื เดนิ น่ัง นอน ฯลฯ ตามปกตกิ ารเดินของคนเราจะกาวเทา พรอมทง้ั แกวง แขนสลบั กันไปเชน เมือ่ กา วเทาซา ยก็จะแกวง แขนขวาออก และเมอ่ื กา วเทาขวากจ็ ะแกวงแขนซายออก สลับกันเพอื่ เปน หลกั ในการทรงตวั ครั้นเมือ่ นํามาตกแตงเปน ทา รําขนึ้ กก็ ลายเปนทาเดินที่มลี ีลาการกาวเทา และแกวง แขน ใหไดสดั สวนงดงามถกู ตองตามแบบแผนที่กําหนด ตลอดจนทวงทํานองและจังหวะเพลง นาฏศิลปไ ทย เกิดมาจากอากปั กิริยาของสามัญชนเปนพื้นฐาน ซ่ึงโดยท่ัวไปมนษุ ยท กุ คนยอ มมอี ารมณต า งๆ ไดแก รกั โกรธ โศกเศรา เสยี ใจ ดใี จ รองไห ฯลฯ แตท ่ีนาสังเกตก็คอื เมอ่ื มนษุ ยม ีอารมณอ ยา งหน่งึ อยางใด นอกจากจะมีความรสู กึ เกิดขึ้นในจิตใจแลวยงั แสดงปฏิกิรยิ าตอบโตออกมาทางกายในลักษณะตางๆกันเชน รัก - หนาตากิรยิ าท่ีแสดงออก ออ นโยน รจู ักเลาโลม เจาชู โกรธ - หนา ตาบึง้ ตงึ กระทืบเทา ชหี้ นา ดาวาตาง ๆ โศกเศรา,เสยี ใจ - หนา ตากริ ิยาละหอ ยละเหีย่ ตดั พอ ตอวา รองไห สรุปไดว า นาฏศิลปไทย เกิดมาจากกิรยิ าทาทางซึ่งแสดงออกในทางอารมณของมนษุ ยป ุถชุ น อากปั กริ ิยาตาง ๆ เหลา นีเ้ ปน มูลเหตใุ หปรมาจารยท างศิลปะนํามาปรับปรงุ บัญญัตสิ ดั สว นและกาํ หนดวิธีการขึ้น จน กลายเปนทาฟอ นรํา โดยวางแบบแผนลีลาทา รําของมอื เทา ใหง ดงาม รจู ักวิธเี ย้อื ง ยัก และกลอ มตวั ให สอดคลองสัมพนั ธก นั จนเกดิ เปนทา รําขน้ึ และมวี วิ ัฒนาการปรับปรงุ มาตามลําดบั จนดูประณีตงดงาม ออนชอยวจิ ติ รพิสดาร จนถงึ ขั้นเปน ศิลปะได นอกจากน้ี นาฏศิลปไ ทย ยังไดรับอิทธิพลแบบแผนตามแนวคดิ จากตางชาติเขามาผสมผสานดวย เชน วฒั นธรรมอินเดยี เกย่ี วกับวัฒนธรรมทเ่ี ปนเรอื่ งของเทพเจาและตํานานการฟอ นราํ โดยผานเขา สปู ระเทศ ไทย ทงั้ ทางตรงและทางออ ม คอื ผา นชนชาติชวาและเขมร กอนทจี่ ะนํามาปรบั ปรุงใหเ ปนรปู แบบตาม เอกลกั ษณข องไทย เชน ตัวอยา งของเทวรปู ศิวะปางนาฏราช ทส่ี รา งเปนทาการรายราํ ของ พระอศิ วร ซง่ึ มี ทัง้ หมด 108 ทา หรอื 108 กรณะ โดยทรงฟอ นรําคร้งั แรกในโลก ณ ตําบลจิทรัมพรัม เมืองมัทราส อินเดยี ใต ปจจุบันอยใู นรัฐทมิฬนาดู นับเปน คัมภรี สําหรับการฟอ นรํา แตงโดยพระภรตมุนี เรยี กวา คมั ภรี ภ รตนาฏยศาสตร ถอื เปน อิทธิพลสําคญั ตอแบบแผนการสืบสาน และการถา ยทอดนาฏศิลปข องไทย จนเกดิ ขึน้ เปนเอกลกั ษณข องตนเองท่มี ีรปู แบบ แบบแผนการเรยี น การฝก หัด จารีต ขนบธรรมเนยี ม มา จนถึงปจ จบุ ัน อยางไรกต็ าม บรรดาผเู ชี่ยวชาญทศ่ี กึ ษาทางดานนาฏศลิ ปไทยไดส นั นษิ ฐานวา อารยธรรมทางศลิ ปะดา น นาฎศลิ ปของอนิ เดียนี้ไดเ ผยแพรเ ขามาสูป ระเทศไทยต้ังแตสมัยกรงุ ศรีอยุธยาตามประวัติการสรา งเทวาลัย ศวิ ะนาฎราชทีส่ รา งขึน้ ในป พ.ศ. 1800 ซึ่งเปน ระยะท่ไี ทยเรม่ิ กอ ต้ังกรุงสุโขทัย ดังนน้ั ทา รําไทยทีด่ ดั แปลง มาจากอินเดียในครัง้ แรกจงึ เปน ความคดิ ของนักปราชญใ นสมยั กรงุ ศรอี ยุธยา และมกี ารแกไ ข ปรบั ปรุงหรอื ประดิษฐขน้ึ ใหมใ นสมัยกรงุ รัตนโกสนิ ทร จนนํามาสูก ารประดษิ ฐข้ึนใหมใ นสมัยกรงุ รัตนโกสินทรจ น นาํ มาสูการประดิษฐท า ทางการรายรําและละครไทยมาจนถงึ ปจ จุบัน ววิ ฒั นาการนาฏศลิ ปไ ทย นาฏศลิ ปไ ทย เปน ศิลปะประจาํ ชาติท่มี ีววิ ฒั นาการมาต้ังแตสมยั สุโขทัยจนถงึ ปจ จุบนั และมีเอกลกั ษณ แตกตางกันไปตามยุคสมัย จนกระทงั้ พัฒนามาเปนนาฏศิลประดบั มาตรฐานทมี่ แี บบแผน และเปน เอกลักษณข องไทย 1. สมัยสโุ ขทยั เปน การแสดงประเภทระบาํ รํา ฟอน มวี วิ ฒั นาการมาจากการละเลนของชาวบา น เปนการพกั ผอน หยอ นใจหลังจากเสรจ็ งาน หรอื แสดงในงานบญุ งานร่นื เรงิ ประจําป ปรากฏในหนังสอื ไตรภมู ิพระรว งฉบบั พระมหาราชาลไิ ทวา “บางเตน บางราํ บา งฟอ น ระบาํ บันลอื ” แสดงใหเหน็ รปู แบบของนาฏศลิ ปท่ีปรากฏ ในสมัยนี้ คอื เตน ราํ ฟอน และระบํา 2.สมยั อยธุ ยา ไดพฒั นาการแสดงในรปู แบบของละครรํา นบั เปน ตนแบบของละครราํ แบบอน่ื ๆตอมา คือ ละคร ชาตรี ละครนอก และละครใน สาํ หรบั ละครในเปน ละครผหู ญงิ แสดงเฉพาะในราชสํานัก ในราชสมยั พระ เจา อยหู วั บรมโกศนยิ มแสดงเร่อื ง นิเหนา ซึ่งเจาพินทวดีไดสืบทอดทารําตอ มาจนถงึ สมัยธนบรุ ี 3.สมัยธนบุรี มลี ะครรําของหลวงท่มี ผี หู ญงิ และผูช ายแสดง และมีละครผหู ญงิ ของเจานครศรีธรรมราชสว นนาฏศิลปที่ เปน การแสดงเพอ่ื สมโภชพระแกว มรกต มีท้งั โขน ละครรํา ระบํา และมหรสพตางๆ 4.สมยั รัตนโกสนิ ทร สมัยรัตนโกสนิ ทร ระบําและรํามีความสําคญั ตอราชพธิ ีตา งๆ ในรปู แบบของพิธกี รรม โดยถอื ปฏบิ ัติ เปน กฎมณเฑยี รบาลมาจนถงึ สมยั รตั นโกสนิ ทรตอนตน (สมัยรัชกาลที่1 – รชั กาลที่ 4 ) รชั สมัยพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลก โปรดรวบรวมตาํ ราฟอ นราํ และเขียนภาพทา ราํ แมบทบันทึกไวเปน หลกั ฐาน มีการพัฒนาโขนเปน รูปแบบละครใน มีการปรับปรุงระบาํ สี่บท ซ่ึงเปน ระบํา มาตรฐานตัง้ แตส ุโขทัย ในสมยั นี้ไดเกดิ นาฏศลิ ปข น้ึ มาหลายชดุ เชน ระบาํ เมขลา-รามสูร ในราชนิพนธ รามเกยี รต์ิ ราชสมยั สมเด็จพระพทุ ธเลิศหลานภาลัย เปนยุคของนาฏศลิ ปไทย เนอ่ื งจากพระมหากษตั ริยทรง โปรดละครรํา ทา รํางดงามตามประณีตแบบราชสาํ นกั มีการฝกหัดท้ังโขน ละครใน ละครนอกโดยไดฝก ผหู ญิงใหแ สดงละครนอกของหลวงและมกี ารปรบั ปรงุ เครอ่ื งแตง กายยืนเครอ่ื งแบบละครใน รชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลาเจา อยหู วั โปรดใหย กเลกิ ละครหลวง ทําใหนาฏศลิ ปไ ทยเปน ท่ี นยิ มแพรห ลายในหมปู ระชาชน และเกดิ การแสดงของเอกชนขึน้ หลายคณะ ศิลปน ทีม่ คี วามสามารถสบื ทอด การแสดงนาฏศลิ ปไ ทยท่เี ปน แบบแผนกนั ตอมา รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยหู วั โปรดใหม ลี ะครราํ ผูหญิงในราชสาํ นักตามเดิมและใน เอกชนมกี ารแสดงละครผหู ญิงและผูชาย ในสมยั น้ีมบี รมครูทางนาฏศลิ ป ไดช าํ ระพิธีโขนละคร ทูลเกลา ถวายตราไวเ ปน ฉบับหลวง และมกี ารดัดแปลงการําเบิกโรงชุดประเรงิ มาเปน ราํ ดอกไมเ งนิ ทอง รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยหู ัว ในสมยั น้ีมีทัง้ อนุรกั ษแ ละพัฒนานาฏศิลปไ ทยเพ่อื ทันสมัย เชน มกี ารพัฒนาละครในละครดึกดําบรรพ พฒั นาละครราํ ท่ีมอี ยเู ดิมมาเปน ละครพนั ทางและ ละครเสภา และไดก ําหนดนาฏศลิ ปเปนท่บี ทระบาํ แทรกอยูในละครเร่ืองตา งๆ เชน ระบําเทวดา- นางฟา ใน เร่ืองกรุงพาณชมทวีป ระบําตอนนางบษุ บากบั นางกํานนั ชมสารในเร่อื งนเิ หนา ระบาํ ไก เปนตน รชั สมยั พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจาอยหู วั เปน ศิลปะดานนาฏศิลป เจริญรงุ เรืองมาก พระองค โปรดใหตง้ั กรมมหรสพขน้ึ มีการทาํ นบุ าํ รงุ ศิลปะทางโขน ละคร และดนตรปี พาทย ทาํ ใหศ ิลปะทาํ ใหมกี าร ฝก หดั อยา งมีระเบยี บแบบแผน และโปรดต้ังโรงเรยี นฝกหดั นาฏศลิ ปใ นกรมมหรสพ นอกจากน้ี ยงั ไดม กี าร ปรับปรุงวธิ ีการแสดงโขนเปน ละครดกึ ดําบรรพเรอื่ งรามเกยี รตแ์ิ ละไดเ กิดโขนบรรดาศักด์ิท่ีมหาดเลก็ แสดง คกู บั โขนเชลยศักด์ทิ เี่ อกชนแสดง รชั สมัยสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูห วั โปรดใหม กี ารจัดต้ังศลิ ปากรขึ้นแทนกรมมหรสพทถ่ี ูกยุบไป ทาํ ให ศิลปะโขน ละคร ระบาํ ราํ ฟอ น ยงั คงปรากฏอยู เพ่อื เปน แนวทางในการอนรุ ักษและพัฒนาสืบตอไป รชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั อานนั ทมหิดล หลวงวจิ ติ รวาทการ อธิบดีของกรมศิลปาการ ไดกอต้ังโรงเรียนนาฏดรุ ิยางคศาสตรข ้ึนมา เพือ่ ปกกนั ไมใหศิลปะทางดา นนาฏศิลปสูญหายไป ในสมยั นีไ้ ดเกิดละครวจิ ติ ร ซง่ึ เปนละครปลกุ ใจใหรักชาติ และเปนการสรา งแรงจูงใจใหคนไทยหันมาสนใจ นาฏศลิ ปไ ทย และไดมกี ารตั้งโรงเรยี นนาฏศลิ ปแ ทนโรงเรยี นนาฏดุรยิ างคศาสตร ซึ่งถูกทาํ ลายตอน สงครามโลกครง้ั ที่ 2 เพอ่ื เปนสถานศึกษานาฏศิลปและดรุ ิยางคศลิ ปข องทางราชการ และเปน การทบุ ํารงุ เผยแพรน าฏศลิ ปไ ทยใหเ ปน ทย่ี กยอ งนานาอารยประเทศ รัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช นาฏศลิ ป ละคร ฟอ น ราํ ไดอยใู นความ รบั ผิดชอบของรฐั บาล ไดม กี ารสง เสรมิ ใหผ ูเ ช่ียวชาญนาฏศิลปไทยคดิ ประดษิ ฐท าราํ ระบาํ ชุดใหม ไดแ ก ระบําพมาไทยอธิษฐาน ปจ จุบันไดมกี ารนํานาฏศิลปนานาชาติมาประยกุ ตใชในการประดษิ ฐทาราํ รปู แบบของการแสดง มกี ารนํา เทคนคิ แสง สี เสยี ง เขา มาเปนองคประกอบในการแสดงชุดตา งๆ ปรบั ปรงุ ลลี าทาราํ ใหเ หมาะสมกบั ฉาก บน เวทกี ารแสดงมีการตดิ ต้ังอปุ กรณท ีท่ ันสมยั ทัง้ ระบบมา น ฉาก แสง ควบคมุ ดว ยระบบคอมพิวเตอร มรี ะบบ เสยี งทส่ี มบรู ณ มีเคร่อื งฉายภาพยนตรประกอบการแสดง และเผยแพรศ ลิ ปกรรมทกุ สาขานาฏศิลป และ สรา งนกั วชิ าการและนักวจิ ัยในระบบสูง โดยมกี ารเปดสอนนาฏศลิ ปไทยในระดบั ปรญิ ญาเอกอีกหลายแหง ประเภทของนาฏศิลปไทย โขน เปนการแสดงนาฏศลิ ปชั้นสงู ของไทยที่มเี อกลกั ษณ คอื ผูแสดงจะตองสวมหัวทเี่ รียกวา หวั โขน และ ใชลลี าทาทางการแสดงดวยการเตนไปตามบทพากย การเจรจาของผพู ากยแ ละตามทาํ นองเพลงหนา พาทยท่ี บรรเลงดวยวงปพ าทย เร่อื งทนี่ ิยมนาํ มาแสดง คอื พระราชนิพนธบทละครเรอื่ งรามเกียรติ แตงการเลยี นแบบ เครอ่ื งทรงของพระมหากษตั ริยทเี่ ปน เครอ่ื งตน เรยี กวา การแตง กายแบบ “ย่ืนเครื่อง” มีจารีตขน้ั ตอนการ แสดงทเี่ ปน แบบแผน นิยมจัดแสดงเฉพาะพธิ สี ําคญั ไดแก งานพระราชพิธีตา ง ๆ โขน คือการแสดงทา รํา เตนกบั จงั หวะดนตรปี ระกอบดวย ตวั ละครทเ่ี ปน ยักษ ลงิ มนุษย และเทวดา ผแู สดงสวมหวั โขนไมร อ งและ เจรจาเอง แตปจจุบนั ผูแสดงเปนมนุษยกบั เทวดาไมสวมหวั โขน และเพ่ิมการขับรอ งประกอบการแสดงแบบ ละครใน ท่ีมาของคาํ วาโขน โขน เปนมหานาฏกรรมทีม่ ศี ลิ ปะเปน แบบฉบบั หนึ่งของไทย ซง่ึ ไมปรากฏคาํ นแ้ี นชดั ในจารกึ หรือเอกสาร ยุคโบราณของไทย แตคําวา โขนปรากฏกลา วไวใ นหนังสอื ของชาวตา งประเทศ ซึ่งกลา วถงึ ศลิ ปะแหง การ เลน ของไทยใน รชั สมยั สมเดจ็ พระนารายณม หาราช ดูจะเปน ศลิ ปะการเลน ท่นี ิยมและยึดถอื เปน แบบแผน กนั มาแลวจงึ เช่ือวา นาฏกรรมชนดิ น้นี า จะมากอ นสมัยน้นั เปนเวลานาน สว นทางดานภาษานั้น คําวา โขน อาจเปนคําซ่งึ บัญญตั ใิ ชข น้ึ ในภาษาไทย หรอื ยมื จากภาษาอน่ื ๆ ก็ยังไมพ บ หลกั ฐานแตอยา งใด แตภ ายหลังไดค น พบหลักฐานท่อี างองิ ไดบางวา จะเปน คําท่มี รี ากฐานมาจากภาษาอืน่ จึง มลี กั ษณะหรอื ความหมายคลายคลึงกับคําวา โขน ซง่ึ เปน นาฏศิลป ช้ันสูงของไทยอยางนอ ยก็มคี วามหมาย ตางกัน ๓ ทาง คือ ๑. คาํ วา โขละ หรือ โขล ในภาษาเบงกาลหี มายถงึ เคร่อื งดนตรชี นิดหน่งึ ขงึ ดวยหนังและใชตีไดดี ซึ่งมรี ปู รา ง คลายตะโพนของไทย ๒. คาํ วา โกล หรอื โกลมั ในภาษาทมฬิ มคี วามหมายถึง การแตง ตัว หรือตกแตง ประดบั ประดารางกายผู แสดงใหท ราบถึงเพศวาเปน เครื่องแตง กายของผูห ญงิ หรือผูชาย ๓. คาํ วา ควาน หรอื โขน ในภาษาอหิ รา น หรอื เปอรเซีย หมายถึง ผูอา นหรอื หรอื ผขู บั รองแทนตัวตุก ตาหรอื หุนหรอื หมายถึง ผูพากย ผเู จรจา แทนหรอื ตกุ ตา ท่ีมาของศิลปะแหงการเลน โขน โขน เปนศลิ ปะการแสดงท่ีรวมเอาลักษณะเอกลกั ษณแ หงการแสดงที่ พัฒนาการเลน ตา ง ๆ เขา มารวมกันไวไ ดอยา งเหมาะสมกลมกลืน สนั นษิ ฐานวามา จากการเลน ๓ อยางดวยกัน ๑.ชักนาคนกึ ดําบรรพ การทาํ พธิ ีกรรมในเรอื่ งพระนารายณกวนนาํ้ อมฤตประกอบดว ยฝา ยเทวดา อสูร วานร มีอทิ ธิพลทางดา นการแตงกาย แตง หนา การสรา งหวั โขน การกําหนดสถานทแี่ สดงท่เี ปนรูปแบบของโขน กลางแปลง ๒. หนั งใหญ ศิลปะการแสดงทป่ี ระกอบดวยตวั หนั งท่ที าํ มาจากหนั งววั แกะสลกั เปน ภาพในเรอ่ื งรามเกยี รติ์ ผูเ ชิดหนั งจะตองแสดงลีลาการเตน ประกอบดนตรีที่ หนาจอ โดยใชแ สงไฟฟ าสองจากดานหลังจอ ทําใหเกดิ เงาภาพหนา จอหนั ง มคี น พากย และเจรจา มีอทิ ธพิ ลตอโขนในดา นของเรอื่ งที่ใชแ สดง บทพากยเ จรจา ทา เตน ทาเชิด ดนตรี สถานท่ีแสดงทเี่ ปนตน กําเนดิ ของการแสดงโขนหนา จอ ๓.กระบ่กี ระบอง ศิลปะการตอ สูของคนไทยโบราณที่มีการหลบหลีกยวั่ ยคุ ูตอสู ดวยการชงิ ไหวชิงพริบโดยใชอ าวุธทําเลียนแบบอาวุธจรงิ เปนไม โลหะหนงั สัตว มีทง้ั อาวุธสั้นเชน ดาบ โล และอาวธุ ยาว เชน พลอง กระบอง หอก เปน ตน ไดใ หรปู แบบวธิ กี ารรําใชอาวุธ ทา ตอ สู กระบวนลลี า ทารบตา ง ๆ ในการแสดงโขนซง่ึ การละเลนทั้ง ๓ นี้ ลวนมมี าตง้ั แตสมยั โบราณ ทั้งกอ นและรวมยคุ สมยั กบั การแสดงโขนของไทยมาในอดตี รปู แบบและลักษณะของการแสดงโขน โขน เปน นาฏศิลป ชน้ั สงู อยา งหนงึ่ ของไทย เดมิ ผแู สดงโขนทุกตวั จะตอ งสวมหัวโขนปดหนาท้ังหมด จงึ ตอ งมีผทู าํ หนาทพ่ี ากยเจรจา แทนเรยี กวาคนพากยโ ขน ตอ มาไดว ิวฒั นาการดานการแตง หนา นยิ มใหต ัวพระ และตวั นางใชก ารแตงหนาอยา งละครแทนการสวมหวั โขนปดหนา ทัง หมด แตถึงอยา งนั น กไ็ มพดู สง เสยี ง เจรจาดวยตัวเองและทน่ี าสังเกตคือ โขนจะเปน ศลิ ปะการแสดงที่เนน รูปแบบของการเตนเปน หลัก นยิ มจดั แสดงเฉพาะงานพิธสี าํ คัญ รปู แบบท่เี ปนเฉพาะตัวอยางหน่ึงกค็ ือ การแตงกายเลยี นแบบเครื่องทรงของพระ มหากษั ตรยิ  หรือที่เรยี กวา แตง กายยนื เคร่อื ง มีระเบยี บธรรมเนียมในการแสดงที่เครง ครั ด ดําเนินเรอื่ ง คอนขา งชา ประเภทของโขน ศิลปะแหงการแสดงโขนนั้น เขาใจวาเดมิ คงจะแสดงกันกลางสนามหญาจงึ เรียกกันวาโขกลางแปลง ครัน้ ตอ มาจึงวิวฒั นาการขึน้ โดยมกี ารยกพ้นื ทําเวทีปลกู โรงสําหรับเลนขึน้ และพัฒนามาเปนลําดับ ซึ่งววิ ัฒนาการ ของโขนจากอดตี จนถึงปจ จบุ ันน้ี สามารถจาํ แนกประเภทของการแสดงโขนออกเปน ๕ ประเภท ดว ยกัน ๑. โขนกลางแปลงโขนกลางแปลง คือ การแสดงโขนบนพืน้ ดนิ กลางสนามหญานิยมแสดงกลางแจง ไมมี เวที เชอื่ วา ในรั ชกาลท่ี ๑ แหงกรงุ รตั นโกสนิ ทรไดจัดใหมีการแสดงโขนกลางแปลงขน้ึ เนอ่ื งในงานฉลอง พระบรมอฐั ิสมเดจ็ พระปฐมบรมชนกาธิราช และมกี ารสนั นฐิ านวา โขนกลางแปลงคงจะมีแตการยกทพั และ การรบกันเปนพ้นื พลงดนตรีกม็ แี ตเ พลงหนาพาทย และมบี ทพาทยเจรจาเทานั น ไมมีการขบั รอง ๓. โขนโรงในเกดิ ข้นึ เม่ือมีผูน ําการแสดงโขนกบั ละครในเขา ผสมกนั มที ง้ั การแสดงออกทา ราํ เตนและการ ฟอ นรําตามแบบละครในการดาํ เนนิ เรอื่ งมีพากยเจรจาตามแบบโขน และมีเพลงรอ งเพลงระบาํ ตามแบบ ละครในผสมผสานกนั ไป และในตอนนคี้ งเปนตอนทีก่ ําหนดใหผแู สดงดขนเปน ตวั เทพบุตร เทพธิดา และ มนุษยช ายหญิงท่เี คยสวมหัวโขนปดหนาท้ังหมด เปล่ียนมาสวมเคร่ืองประดับศีรษะ เชนมงกฎุ รัดเกลา ฯลฯ ตามแบบละครใน โดยเฉพาะในตอนทน่ี ิยมนาํ เรือ่ งรามเกยี รต์ิไปแสดงเปนละครใน ดังเชน บทพระราชนพิ นธเร่ืองรามเกียรต์ิ ในรชั กาลท่ี ๑ และรชั กาลท่ี ๒ แสดงใหเห็นวา โขนกบั ละครในคลกุ เคลา ปะปนกนั มาต้ังแตส มยั น้ันทัง้ ไดม ี การปรบั ปรุงขัดเกลา บทพากยเจรจาใหไ พเราะสละสลวยขึ้นอกี จึงทาํ ใหศลิ ปะการแสดงโขนภายใน พระราชสํานกั งดงามยิง่ ขนึ้ และภายหลังนํามาแสดงในโรงอยา งละครในจึงเรียกวาโขนโรงใน ๔. โขนหนา จอ คือโขนทีแ่ สดงตรงหนา จอ ซ่ึงแตเดมิ ขึงไวส ําหรับแสดงหนงั ใหญท าํ ดว ยผา โปรงสีขาวสอง ขางท้ังซายและขวาเจาะชอ งทาํ เปน ประตูสําหรบั ผแู สดงเขา ออก ตอ จากประตูออกไปทางขวาของเวทเี ขยี น เปนภาพพลับพลาของพระรามทางดา นซายของเวทเี ปน ภาพปราสาทราชวงั สมมุติเปนกรงุ ลงกาหรือเมอื ง ยักษป พาทยประกอบการแสดงใชป พ าทยเคร่อื งใหญ หรือเครอ่ื งคู มพี ากยเ จรจาและขับรอ ง ในปจจบุ นั จะ เปนโขนที่แสดงตามงานตา ง ๆ เชน ท่สี นามหลวงกรงุ เทพมหานคร หรอื ตามงานวดั ทัว่ ไป การแสดงโขน หนา จอนาํ เอาศลิ ปะแบบโขนโรงในไปแสดง คอื การขบั รองและการจดั ระบํารําฟอนแทรกอยบู างตอน เชน ตอนศกึ พรหมาสตร เปนตน ๕. โขนฉาก สันนิษฐานวา โขนฉากเกิดข้ึนในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั รัชกาลท่ี ๕ โดยมีผูคิดสรางฉากประกอบการแสดงโขนบนเวทีขนึ้ คลายกับละครดกึ ดําบรรพผทู ่เี ปนตน คิดนั้นเขาใจวา จะเปน สมเด็จพระเจา บรมวงศเ ธอ เจาฟากรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศวิธีแสดงแบงฉากแสดงแบบละคร ดกึ ดาํ บรรพ ใชศิลปะการแสดงแบบโขนโรงในมพี ากยเจรจาและขบั รอ ง แตป รับปรุงบทใหกระชับขึ้น อาจจะตัดทอนเร่ืองราวลงบา งเปนบางตอนเพ่ือใหพ อเหมาะกบั ฉากและเวลาแสดงโขนทกี่ รมศิลปากรจัด แสดง ณ โรงละครแหงชาติ เชนทาวมาลรี าชวา ความ ชุดพาลีสอนนอง ฯลฯ กเ็ ปน การแสดงแบบโขนฉาก ทง้ั สิน้ โขนฉากยังรวมไปถงึ โขนทางโทรทศั นอ ีกดว ย เพราะการแสดงโขนทางโทรทศั นมฉี ากประกอบตาม ทองเร่อื ง ละคร เปนศิลปะการรา ยราํ ท่เี ลน เปนเรอื่ งราว มพี ฒั นาการมาจากการเลานทิ านละครมีเอกลกั ษณในการ แสดงและการดาํ เนินเร่อื งดว ยกระบวนลลี าทา รํา เขา บทรอ ง ทาํ นองเพลงและเพลงหนาพาทยท บี่ รรเลงดว ย วงปพาทย มีแบบแผนการเลน ที่เปนท้ังของชาวบานและของหลวงท่ีเรียกวา ละครโนราชาตรี ละครนอก ละครใน เรือ่ งทน่ี ยิ มนํามาแสดงคือ พระสธุ น สงั ขทอง คาวี อิเหนา อุณรทุ นอกจากนย้ี งั มลี ะครท่ปี รบั ปรุงขน้ึ ใหมอกี หลายชนิด การแตง กายของละครจะเลยี นแบบเครื่องทรงของพระมหากษัตรยิ  เรยี กวา การแตง การ แบบยืนเครอ่ื งนิยมเลนในงานพิธีสาํ คัญและงานพระราชพธิ ขี องพระมหากษัตริย ละคร ๑. ละครรําแบบมาตรฐานดั้งเดมิ มี ๓ ชนดิ คือ - ละครชาตรี เปนรปู แบบละครราํ ทีเ่ กา แกของไทยท่ไี ดรับการฟน ฟจู นถึงทกุ วันน้ี เร่อื งของละครชาตรมี ี กําเนิดมาจากเรอ่ื งมโนราห ซึ่งมักหาดูไดในงานแกบนละครชาตรี แตเ ดิมผแู สดงเปน ชายลว นมีเพยี ง ๓ คน เทาน้นั ไดแก นายโรง ซ่ึงแสดงเปน ตวั พระ อีก๒ คน คอื ตัวนาง และตัวจําอวด ซึ่งแสดงตลก และเปนตวั เบ็ดเตลด็ ตาง ๆ เชน ฤาษี พราน สัตว แตเดิมนยิ มแสดงเพียงไมกีเ่ ร่ือง เชน เรอื่ งมโนราห นายโรงจะแสดงเปน ตัวพระสธุ น ตวั นางเปน มโนราห และตวั จําอวดเปน พรานบุญ และอีกเร่อื งหนง่ึ ทน่ี ยิ มแสดงไมแ พกัน คือ เรือ่ งพระรถเสนนายโรงเปนตัวพระรถ ตวั นางเปน เมรี และตัวจําอวดเปน มา พระรถเสนในสมัยหลงั ละคร ชาตรี เพม่ิ ผแู สดงใหม ากข้ึนและใชผ หู ญิงรว มแสดงดวย - ละครนอก มกี ารดําเนนิ ทอ งเรอื่ งท่ีรวดเร็ว กระชับ สนกุ การแสดงมีชวี ติ ชวี าสว นมากใชผูชายแสดง และมี มาตั้งแตสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา เขา ใจวาละครนอกมวี ิวัฒนาการมาจากละครชาตรี เพราะมุง ทจี่ ะใหคนดเู กดิ ความ ขบขัน ผแู สดงละครนอกแตเดมิ มผี ูแสดงอยูเพยี ง ๒-๓ คน เชน เดียวกบั ละครชาตรี ละครนอกไม คาํ นงึ ถึงขนบธรรมเนียมประเพณเี กยี่ วกับยศศกั ด์ิและฐานะของตวั ละครแตอ ยางใดตวั ละครท่ีเปนทาวพระ ยามหากษัตริยกส็ ามารถโตต อบตลกกับเสนากํานลั หรือไพรพ ลได ละครนอกที่นิยมเลน ไดแกเรื่อง สงั ขทอง ไกรทอง สวุ รรณหงสพ ระอภัยมณี เปนตน - ละครใน จากรปู แบบของละครนอกท่ไี ดร ับการพฒั นาข้นึ มาเปน ตวั ละครในวงั ผแู สดงหญิงลวน แบบอยาง ละครในนไี้ ดส งวนไวเฉพาะในวงั หลวงเทานนั้ เพราะวา ผูช ายน้นั จะถกู หามใหเขาไปในพระราชฐานช้ันใน บรเิ วณตาํ หนักของพระมหากษตั ริย ซงึ่ จะประกอบไปดวยดนตรที ี่มีเสยี งไพเราะออนหวาน ใชบทรอยกรอง ไดอ ยางวิจิตรบรรจง ท้ังดนตรีทน่ี าํ มาผสมผสานอยา งไพเราะ รวมท้ังจะมีทาทางสงา งาม ไมม กี ารสอดแทรก หยาบโลนหรือตลก และอนรุ กั ษว ฒั นธรรมและคณุ ลักษณะท่เี ปน ประเพณสี ืบทอดกันมา เร่อื งทใ่ี ชแสดง ละครในนน้ั มอี ยู ๔ เรื่อง ไดแ ก รามเกยี รต์ิ อุณรทุ อเิ หนา และดาหลงั ๒. ละครทป่ี รบั ปรุงข้นึ ใหม มี ๓ ชนดิ คือ - ละครดกึ ดาํ บรรพ เปนการแสดงละครแบบหน่งึ ในประเภทละครรําเกิดข้นึ ในสมยั รัชกาลท่ี ๕ เนอ่ื งมาจาก ในสมัยรชั กาลท่ี ๕ เจานายชาวตางชาตเิ ขาเขาเฝาอยหู ลายคร้ัง จงึ โปรดใหมกี ารละเลนใหแขกบา นแขกเมอื ง ไดร บั ชม โดยเจา พระยาเทเวศรวงศววิ ัฒน (ม.ร.ว.หลาน กญุ ชร) ไดคดิ การแสดงในรปู แบบคอนเสิรต โดยเน้ือเรอ่ื งตดั ตอนมาจากวรรณคดไี ทย โดยมสี มเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอเจา ฟา กรมพระยานรศิ รานวุ ัดติ วงศ ทรงเลอื กเพลงและอํานวยการซอ ม จึงถอื วา การแสดงในครัง้ นั้นนับวา เปน จุดเร่ิมตน ของละครดึกดํา บรรพ ตอ มาภายหลังเจา พระยาเทเวศรวงศว ิวฒั นไ ดม ีโอกาสชมละครโอเปรา จึงเกิดความชอบใจและนํา ปรบั ปรุงใหเ ขา กับละครดกึ ดําบรรพของไทย ละครดึกดาํ บรรพท นี่ ิยมเลน ไดแ กเ รอ่ื ง สังขท อง คาวี ฯลฯ - ละครพนั ทาง หมายถงึ ละครแบบผสม คอื การนาํ เอาลลี าทาทขี องชนตางชาตเิ ขามาปรบั ปรุงกับทา ราํ แบบ ไทย ๆ การแสดงละครชนิดนีแ้ ตเดมิ เปนการริเรมิ่ ของเจา พระยามหนิ ทรศักด์ิธํารง เปนผคู ิดคน นาํ เอาเร่อื ง ของพงศาวดารของชาตติ า ง ๆมาแตงเปน บทละครสาํ หรบั แสดง บทท่ใี ชม ักเปนบทที่กลา วถงึ ตัวละครท่มี ีเชื้อ ชาติตาง ๆ เชน พมา มอญ จีน ลาว บททน่ี ิยมนํามาเลน ในปจ จบุ ันมีเรอ่ื งพระลอและราชาธิราชตอนสมิง พระรามอาสา- ละครเสภา คอื ละครท่มี ลี ักษณะการแสดงคลายละครนอก รวมทั้งเพลงรองนํา ทํานองดนตรี และการแตงกายของตวั ละคร แตมีขอบังคบั อยอู ยางหนึง่ คือตองมีขับเสภาแทรกอยดู ว ยจึงจะเปน ละครเสภา ละครเสภาท่นี ยิ มเลน กันมาก คือ ขุนชา งขุนแผน ตอนพลายเพชรพลายบัวออกศึก ,พระวัยแตกทัพ ,ขนุ แผนเขาหอ งนางแกว กิริยา เปนตน ๓. ละครรอง คือละครทใี่ ชศลิ ปะการรองดําเนนิ เรือ่ ง เปน ละครแบบใหมท ่ีไดร บั อิทธิพลมาจากตะวันตก แบง ไดเปน ๒ ประเภท คอื - ละครรองลว น ๆ - ละครรอ งสลบั พดู ๔. ละครพูด คือละครทใี่ ชศ ิลปะการพูดในการดําเนินเรื่อง เปนละครแบบใหมท ี่ ไดรับอทิ ธิพลจากตะวนั ตก แบง ไดเ ปน ๒ ประเภท คอื - ละครพดู ลวน ๆ - ละครพดู สลบั รํา ๕. ละครสังคีต เปน ละครทใี่ ชศิลปะการพูดและการรอ งดาํ เนนิ เรื่องเสมอกัน รํา และ ระบํา เปนศลิ ปะแหง การรายราํ ประกอบเพลงดนตรแี ละบทขับรอ งโดยไม เลน เปน เร่อื งราว ในที่นี้หมายถึงรําและระบําท่มี ีลักษณะเปนการแสดงแบบมาตรฐาน ซ่ึงมีความหมายทจ่ี ะ อธบิ ายไดพอสังเขป ดงั นี้ ราํ หมายถงึ ศิลปะแหงการรายราํ ท่มี ีผูแสดง ตงั  แต ๑-๒ คน เชน การราํ เดยี่ ว การรําคู การราํ อาวุธ เปน ตน มลี ักษณะการแตง การตามรปู แบบของการ แสดง ไมเลนเปนเรือ่ งราวอาจมีบทขบั รองประกอบการรําเขา กับทํานองเพลง ดนตรี มกี ระบวนทา รํา โดยเฉพาะการรําคูจะตางกับระบาํ เน่อื งจากทา รําจะมคี วาม เช่ือมโยงสอดคลองตอ เนื่องกัน และเปนบทเฉพาะสาํ หรบั ผแู สดงนั้น ๆ เชน ราํ เพลงชาเพลงเรว็ รําแมบท รําเมขลา –รามสูร เปนตน สวนประเภทของการราํ การรําจะแบงออกเปน ประเภทใหญ ๒ประเภท คือ แบง ตามลักษณะของการแสดงโขน - ละคร ๑. การราํ หนาพาทย เปน การราํ ประกอบเพลงแบบหน่ึง ซง่ึ ไดม ีผูใ หค วามหมายของคาํ วา \"หนาพาทย \" ไว ดังนี้\"การรําหนา พาทย คอื การรําตามทํานองเพลงดนตรีปพาทย บรรเลงประกอบการแสดงโขน ละคร และ อ่นื ๆ ผูแ สดงจะตอ งเตน หรอื รําไปตามจงั หวะ และทาํ นองเพลงทบ่ี ญั ญตั ไิ วโ ดยเฉพาะหรือถอื หลกั การ บรรเลงเปนสําคญั \" ๒. การรําบท เปนการรําอกี ประเภทหนึ่งซึ่งไดม ผี ใู หค วามหมายตา งๆดังนี้การรําบท คอื การแสดงทา ทาง แทนคาํ พูดใหม ีความหมายตางไป รวมท้ังแสดงอารมณดวย หรอื การแสดงทา ทางไปตามบท และไมใชเ สยี ง ประกอบการพดู ฉะนนั้ จงึ หมายถงึ การแสดงในความหมายของนาฏศลิ ป โดยใชภ าษาทาทางสอ่ื ความหมาย ประเภททแี่ บงตามลกั ษณะของการรํา ๑. รําเดยี่ ว คือ การแสดงการรําที่ใชผแู สดงเพียงคนเดยี ว ไดแก การราํ ฉุยฉาย ตา งๆ เชน ฉยุ ฉายวันทอง ฉุยฉายเบญกาย เปนตน ๒. ราํ คู คือการแสดงท่นี ยิ มใชเบิกโรงอาจจะเกย่ี วขอ งกับการแสดงหรอื ไมก็ได เชน ราํ ประเลง ราํ แมบท ราํ อวยพร หรือเปนการรําคทู ต่ี ัดตอนมาจากการแสดงละคร ๓. รําหมู คือ การแสดงที่ใชผ ูแสดงมากกวา ๒คนขน้ึ ไป มุง ความงามของทา รําและความพรอมเพรยี งของผู แสดง เชน ราํ วงมาตรฐาน ราํ พัด รําโคมราํ สนี วล ระบาํ หมายถึง ศิลปะแหงการรายรําทมี่ ีผูเ ลน ตงั แต ๒ คนข้นึ ไป มีลกั ษณะการ แตงกายคลายคลึงกนั กระบวนทารายราํ คลา คลึงกัน ไมเ ลน เปนเรื่องราว อาจมีบทขับรองประกอบการราํ เขา ทาํ นองเพลงดนตรี ซ่ึงระบาํ แบบมาตรฐานมกั บรรเลงดว ยวงปพ าทย การแตงการนยิ มแตงกายยนื เครือ่ งพระ นาง-หรือแตง แบบนางในราชสาํ นัก เชน ระบาํ สี่บท ระบาํ กฤดาภินหิ าร ระบําฉงิ่ เปนตน โดยประเภทของ ระบาํ เราจะจําแนกออกเปน ๒ประเภท คือ ๑. ระบํามาตรฐาน เปน ระบาํ แบบด้ังเดมิ ทมี่ ีมาแตโ บราณกาล ไมส ามารถนาํ มาเปล่ียนแปลงทา รําได เพราะ ถอื วา เปน การรายรําที่เปนแบบฉบบั บรมครูนาฏศิลปไดค ิดประดษิ ฐไว และนยิ มนํามาเปนแบบแผนในการ รําทเ่ี ครงครัด การแตงกายของระบาํ ประเภทนี้ มกั แตง กายในลักษณะทีเ่ รียกวา \"ยนื เคร่อื ง\" ๒. ระบําท่ปี รับปรงุ ข้นึ ใหม เปนลักษณะระบําท่ีปรับปรุงหรอื ประดษิ ฐข ึ้นใหม โดยคาํ นึงถึงความเหมาะสม ของผูแสดง และการนําไปใชใ นโอกาสตางๆกัน จาํ แนกออกเปน -ปรบั ปรุงมาจากพ้ืนบาน หมายถงึ ระบาํ ท่ีคดิ ประดิษฐส รา งสรรคขึ้นมาจาก แนวทางความเปน อยขู องคนพืน้ บาน การทํามาหากนิ อตุ สาหกรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณีในแตละทอ งถิ่นออกมาในรปู ระบํา เพือ่ เปนเอกลกั ษณ ประจาํ ถนิ่ ของตน เชน เซิ้งบัง ไฟ เตน กําราํ เคยี ว ระบํางอบ ระบํากะลา ฯลฯ -ปรับปรงุ มาจากทาทางของสัตว หมายถึง ระบําที่คิดประดิษฐขน้ึ ใหมต ามลกั ษณะลลี าทาทางของสตั วช นิด ตา งๆ บางครั้งอาจนาํ มาใชป ระกอบการแสดงโขน – ละครบางคร้ังก็นํามาใชเ ปนการแสดงเบ็ดเตลด็ เชน ระบํานกยงู ระบาํ นกเขา ระบํามฤครําเรงิ ระบาํ ตกั๊ แตน ฯลฯ -ปรับปรุงมาจากตามเหตุการณ หมายถงึ ระบาํ ทีค่ ดิ ประดษิ ฐข ึ้นใชตามโอกาสท่เี หมาะสม เชน ระบําพระ ประทีป ระบาํ โคมไฟ ประดษิ ฐข นึ้ รําในวนั นักขัตฤกษล อยกระทงในเดือนสิบสอง ระบาํ ทีเ่ ก่ียวกับการอวย พรตา งๆสาํ หรับเปน การตอนรบั และแสดงความยนิ ดี -ปรบั ปรุงขึน้ ใชเปนสือ่ การเรียนการสอน ระบําประเภทนี้เปนระบาํ ประดษิ ฐ และสรางสรรคขนึ้ เพอื่ เปน แนวทางสื่อนาํ สบู ทเรยี น เหมาะสาํ หรับเดก็ ๆ เปน ระบาํ งา ยๆเพ่ือเรา ความสนใจประกอบบทเรียนตางๆ เชน ระบาํ สูตรคูณ ระบําวรรณยุกตระบําเลขไทย ฯลฯ ๔. การแสดงพน้ื เมอื ง เปน ศลิ ปะแหง การรา ยรําท่มี ที ้ังรํา ระบาํ หรอื การละเลน ที่เปน เอกลกั ษณข องกลุม ชน ตามวัฒนธรรมในแตล ะภูมภิ าค การแตงกาย การแสดงนาฏศิลปไทยโดยเฉพาะการแสดงโขนนั้นไดจ าํ แนกผูแสดงออกเปน 4 ประเภทตามลักษณะของ บทบาทและการฝก หดั คอื ตวั พระตัวนางตัวยกั ษแ ละตัวลิงซ่งึ ในแตล ะตัวน้ันนอกจากบคุ ลิกลักษณะท่ี ถายทอดออกมาใหผูชมทราบจากการแสดงแลวเคร่ืองแตงกายของผแู สดงกย็ ังเปนสัญลักษณท ส่ี ําคัญอยาง หนึง่ ท่บี งบอกวา ผูน ั้นรับบทบาทแสดงเปนตวั ใด เครอื่ งแตงกายนาฏศิลปไทยมคี วามงดงามและมกี รรมวิธกี ารประดิษฐท ี่วิจิตรบรรจงเปน อยางยง่ิ ท้งั นเี้ พราะ ทีม่ าของเคร่อื งแตง กายนาฏศลิ ปไ ทยน้นั จําลองแบบมาจากเคร่ืองทรงของพระมหากษัตริย (เคร่อื งตน ) แลว นาํ มาพฒั นาใหเหมาะสมตอการแสดงซึ่งจําแนกออกเปน 4 ฝา ยดังนี้ - เครอ่ื งแตง ตัวพระ - เคร่อื งแตง ตัวนาง -เครอ่ื งแตงตัวยักษ - เครือ่ งแตง ตัวลิง สําหรบั เคร่ืองแตงตวั พระและตวั นางดังกลาวนี้จะใชแ ตงกายสาํ หรับผูรําในระบํามาตรฐานเชน ระบาํ ส่ีบท ระบาํ ดาวดึงสระบาํ พรหมมาสตรร ําบาํ ยอ งหงิดและระบาํ กฤดาภินิหารเปน ตน และยงั ใชแตง กายสาํ หรบั ตวั ละครในการแสดงละครนอกและละครในดวยสวนในระบาํ เบด็ เตลด็ เชน ระบํานพรัตนระบําตรีลลี าระบาํ ไตรภาครี ะบําไกรลาสสาํ เริงระบําโบราณคดชี ดุ ตางๆหรือระบาํ สัตวต า งๆจะใชเครื่องแตงกายใหถกู ตองตรง ตามรูปแบบของระบาํ น้นั ๆเชนระบาํ โบราณคดกี ็ตองแตง กายใหถูกตอ งตรงตามหลกั ฐานทปี่ รากฏในรปู ปน หรือภาพจําหลักตามโบราณสถานในยุคสมัยน้นั เปนตนนอกจากน้ียงั มกี ารแสดงที่เปนนาฏศิลปพื้นเมอื งของ ทองถนิ่ ตางๆซ่ึงจําเปน ตอ งแตง กายใหสวยงามถูกตองตามวฒั นธรรมของทองถ่ินนอกจากนย้ี ังมีเคร่ืองแตง กายประกอบการแสดงโขนท่เี ห็นไดชดั เจนคอื การแตงกายชุดยกั ษช ุดลงิ (หนมุ าน) และหัวโขนทใ่ี ชใ นการ แสดงโขนเร่อื งรามเกยี รตเิ์ ปน ตน (แขนขวา - แสดงเส้ือแขนส้นั ไมม อี นิ ทรธนูแขนซา ย - แสดงเส้ือแขนยาวมอี ินทรธน)ู 1. กาํ ไลเทา 2. สนบั เพลา 3. ผา นุง ในวรรณคดีเรียกวา ภษู าหรอื พระภษู า 4. หอ ยขา งหรือเจยี ระบาดหรอื ชาย แครง 5. เสื้อในวรรณคดีเรยี กวา ฉลององค 6. รัดสะเอวหรอื รดั องค 7. หอ ยหนา หรอื ชายไหว 8. สวุ รรณกระถอบ 9. เขม็ ขดั หรอื ปนเหนง 10. กรองคอหรอื นวมคอในวรรณคดีเรยี กวากรองศอ 11. ตาบหนาหรือตาบทบั ใน วรรณคดีเรียกวาทบั ทรวง 12.อินทรธนู 13. พาหรุ ดั 14.สังวาล 15. ตาบทศิ 16. ชฎา 17. ดอกไมเ พชร (ซาย) 18. จอนหใู นวรรณคดเี รยี กวา กรรเจยี กหรือกรรเจยี กจร 19.ดอกไมท ัด(ขวา) 20. อบุ ะหรอื พวงดอกไม(ขวา) 21. ธํามรงค 22. แหวนรอบ 23.ปะวะหล่าํ 24. กาํ ไลแผงในวรรณคดีเรียกวา ทองกร เครือ่ งแตงตวั นาง 1. กําไลเทา 2. เสื้อในนาง 3. ผานุงในวรรณคดีเรียกวา ภษู าหรอื พระภูษา 4. เขม็ ขัด 5. สะอ้งิ 6. ผา หม นาง 7. นวมนางในวรรณคดีเรยี กวา กรองศอหรอื สรอ ยนวม 8. จีน้ างหรอื ตาบทบั ในวรรณคดเี รยี กวา ทบั ทรวง 9. พาหุรัด 10. แหวนรอบ 11. ปะวะหลํ่า 12. กาํ ไลตะขาบ 13. กําไลสวมในวรรณคดเี รียกวา ทองกร 14. ธํามรงค 15. มงกุฎ 16. จอนหูในวรรณคดีเรยี กวากรรเจียกหรือกรรเจียกจร 17. ดอกไมท ัด (ซา ย) 18. อุบะหรอื พวงดอกไม (ซา ย) ยักษ (ทศกณั ฐ) คือเครื่องแตง กายของผูแสดงเปนตวั ยกั ษป ระกอบดวยสว นประกอบของเคร่อื งแตง กายดงั ภาพนอกจากนย้ี งั มีเครื่องแตงกายประกอบการแสดงโขนทีเ่ ห็นไดช ัดเจนคอื การแตงกายชุดยักษชุดลงิ (หนุมาน) และหวั โขนที่ใชในการ แสดงโขนเร่อื งรางเกียรตเ์ิ ปน ตน ดงั นั้นเครอื่ งแตงการประกอบการแสดงจงึ มีความสาํ คัญตอ การแสดงนาฎศิลปไทยประเภทตา งๆทีท่ ําใหก าร แสดงนาฎศลิ ปม คี วามสวยงามและยงั สามารถบง ยอกอปุ นิสัยตาํ แหนง และฐานะของตัวละครในเร่ืองดวย สําหรับเครื่องแตง ตวั พระและตวั นางดังกลาวนจ้ี ะใชแ ตงกายสาํ หรับผูร าํ ในระบํามาตรฐานเชนระบําส่บี ท ระบาํ ดาวดงึ สระบาํ พรหมมาสตรราํ บาํ ยองหงดิ และระบํากฤดาภนิ ิหารเปน ตน และยงั ใชแ ตง กายสําหรับตวั ละครในการแสดงละครนอกและละครในดวยสว นในระบําเบด็ เตล็ดเชน ระบํานพรัตนร ะบําตรีลีลาระบาํ ไตรภาครี ะบําไกรลาสสาํ เรงิ ระบําโบราณคดีชดุ ตา งๆหรือระบาํ สตั วตางๆจะใชเ ครื่องแตง กายใหถูกตองตรง ตามรูปแบบของระบาํ นั้นๆเชนระบําโบราณคดกี ต็ อ งแตงกายใหถ กู ตอ งตรงตามหลักฐานท่ีปรากฏในรูปปน หรอื ภาพจาํ หลักตามโบราณสถานในยุคสมยั นัน้ เปน ตน นอกจากน้ยี งั มีการแสดงท่เี ปนนาฏศิลปพ้นื เมืองของ ทอ งถ่นิ ตา งๆซ่ึงจาํ เปนตอ งแตงกายใหสวยงามถกู ตองตามวฒั นธรรมของทองถิน่ ดว ยนอกจากนย้ี ังมีเครื่อง แตง กายประกอบการแสดงโขน การแตง กายนาฏศลิ ป 4 ภาค การแตงกายของภาคกลาง การแตงกายของภาคอีสาน การแตงกายประจาํ ภาคอสี าน การแตง กายประจําภาคอสี าน ลกั ษณะการแตงกาย ผูชายสวนใหญน ิยมสวมเสอ้ื แขนส้นั สีเขม ๆท่ีเราเรยี กวา “มอ หอม”สวมกางเกงสีเดยี วกบั เส้ือจรดเขา นิยมใช ผา คาดเอวดวยผา ขาวมา ผูห ญิงการแตงกายสวนใหญนิยมสวมใสผา ซิ่นแบบทอท้งั ตวั สวมเส้ือคอเปดเลน สสี ันหมผา สไบเฉียงสวม เครื่องประดบั ตามขอ มอื ขอเทา และคอ ผาพืน้ เมอื งอสี าน ชาวอีสานถือวา การทอผาเปนกิจกรรมยามวางหลงั จากฤดกู ารทํานาหรอื วางจากงานประจําอน่ื ๆใตถ ุนบา น แตล ะบา นจะกางหกู ทอผา กันแทบทกุ ครวั เรอื นโดยผูห ญงิ ในวัยตางๆจะสบื ทอดกนั มาผานการจดจําและ ปฏบิ ตั ิจากวยั เดก็ ทัง้ ลวดลายสีสันการยอมและการทอผาท่ีทอดวยมอื จะนาํ ไปใชต ดั เยบ็ ทาํ เปนเคร่ืองนงุ หม หมอนท่นี อนผา หมและการทอผายังเปน การเตรยี มผาสําหรบั การออกเรือนสาํ หรับหญิงวัยสาวท้ังการเตรียม สาํ หรบั ตนเองและเจา บา วทงั้ ยังเปน การวัดถึงความเปนกุลสตรเี ปน แมเ หยา แมเรือนของหญิงชาวอีสานอีก ดว ยผาทที่ อขึน้ จาํ แนกออกเปน 2 ชนดิ คือ 1. ผา ทอสําหรบั ใชในชวี ิตประจําวันจะเปนผา พ้นื ไมมลี วดลายเพราะตอ งการความทนทานจงึ ทอดว ยฝาย ยอมสตี ามตองการ 2. ผา ทอสาํ หรบั โอกาสพเิ ศษเชนใชในงานบุญประเพณีตางๆงานแตง งานงานฟอ นราํ ผาทท่ี อจึงมักมลี วดลาย ท่ีสวยงามวิจิตรพิสดารมหี ลากหลายสีสัน การนําดนตรพี ้นื บานอยา งพิณแคนโหวตมาบรรเลงจายผญาโตต อบกนั เนอื่ งจากอีสานมีชนอยูหลายกลุมวัฒนธรรมการผลติ ผา พ้ืนเมอื งจึงแตกตางกันไปตามกลมุ วฒั นธรรม กลมุ อีสานเหนอื เปนกลุมชนเชือ้ สายลาวท่มี ีกาํ เนิดในบริเวณลมุ แมน าํ้ โขงและยงั มีกลมุ ชนเผาตางๆเชน ขาผูไ ทโสแสก กระเลงิ ยอ ซงึ่ กลมุ ไทยลาวน้มี ีความสําคัญบิ่งในการผลิตผา พื้นเมืองของอสี านสวนใหญเปน ผลผลิตจากฝาย และไหมแมวา ในปจ จบุ ันจะมกี ารนาํ เอาเสน ใยสงั เคราะหมาทอรว มดว ยผา ท่ีนิยมทอกยั ในแถบอีสานเหนอื คอื ผา มัดหมีผ่ าขิดและผา แพรวา ผามัดหม่เี ปน ศลิ ปะการทอผาพ้นื เมอื งทีใ่ ชกรรมวิธใี นการยอ มสที เี่ รยี กวา การมดั ยอ ม (tie dye) เพื่อทําใหผา ที่ ทอเกดิ เปนลวดลายสีสนั ตางๆเอกลกั ษณอันโดดเดน ก็อยูต รงที่รอยซมึ ของสีท่วี ง่ิ ไปตามบรเิ วณของลวดลาย ทผ่ี กู มดั และการเหลอ่ื มลาํ้ ในตําแหนงตา งๆของเสนดายเมือ่ ถกู นําขน้ึ กี่ในขณะทที่ อลวดลายสสี ันอนั วจิ ิตรจะ ไดมาจากความชาํ นาญของการผูกมดั และยอมหลายครงั้ ในสีที่แตกตา งซ่งึ สืบทอดมาจากบรรพบุรษุ การทอ ผา มดั หมี่จะมแี มล ายพืน้ ฐาน 7 ลายคอื หมีข่ อหม่โี คมหมี่บกั จนั หมก่ี งนอ ยหมด่ี อกแกวหมี่ขอและหมี่ใบไผซง่ึ แมล ายพื้นฐานเหลา นดี้ ดั แปลงมาจากธรรมชาตเิ ชนจากลายใบไมด อกไมช นดิ ตางๆสัตวเปน ตน ผามดั หมี่ที่มี ชอ่ื เสยี งไดแกเขตอําเภอชนบทจังหวัดขอนแกนอาํ เภอบา นเขวาจังหวัดชยั ภูมเิ ปน ตน ผา ขิดหมายถงึ ผาที่ทอโดยวธิ ใี ชไมเ ขย่ี หรอื สะกิดซอนเสนยืนขน้ึ ตามจังหวะที่ตอ งการเวน แลว สอดเสน ดาย พงุ ใหเ ดินตลอดการเวน เสนยนื ถี่หา งไมเ ทากันจะทาํ ใหเกิดลวดลายตางๆทาํ นองเดยี วกบั การทําลวดลายของ เครอ่ื งจักสานจากกรรมวิธีทต่ี องใชไมเก็บน้ีจึงเรียกวาการเก็บขิดมากกวาทจี่ ะเรยี กการทอขดิ ผาขิดท่ีนิยมทอ กนั มีอยู 3ชนิดตามลกั ษณะประโยชนใ ชสอยเปน หลกั คอื ผา ตีนซนิ่ เปนผา ขดิ ทีท่ อเพื่อใชตอชายดานลา งของผาซ่นิ เนอ่ื งจากผาทอพ้นื เมอื งจะมขี อ จาํ กัดในเรอ่ื งของ ขนาดผืนผาดงั นัน้ เวลานุงผา ซิ่นผา จะสนั้ จงึ ตอชายผา ทเ่ี ปนตีนซ่นิ และหวั ซิน่ เพอื่ ใหย าวพอเหมาะ ผา หวั ซ่ินก็เชน เดยี วกันเปนผา ขิดท่ีใชต อชายบนของผา ซน่ิ ผาแพรวามีลกั ษณะการทอเชน เดียวกบั ผาจกแพรวามีความหมายวา ผาไหมหรอื ผาฝายทท่ี อเปน ผืนมีความ ยาวประมาณวาหนึ่งของผูทอซ่ึงยาวประมาณ 1.5-2 เมตร ผาแพรมนมลี ักษณะเชนเดยี วกบั แพรวาแตม ขี นาดเล็กกวา เปน รปู สีเ่ หล่ียมจตั ุรสั นิยมใชเชน เดียวกับ ผาเช็ดหนา และหญิงสาวผไู ทนยิ มใชโ พกผม ผาลายนํา้ ไหลผาลายนํ้าไหลนท้ี มี่ ชี อื่ เสียงคอื ซ่นิ นาน (ของภาคเหนอื ) มีลกั ษณะการทอลวดลายเปนริ้วใหญๆ สลับสีประมาณ 3 หรือ 4 สแี ตล ะชวงอาจค่นั ลวดลายใหดูงดงามยิง่ ขึ้นผาลายน้ําไหลของอีสานก็คงจะได แบบอยา งมาจากทางเหนอื โดยทอเปน ลายขนานกบั ลาํ ตวั และจะสลับดวยลายขิดเปนชว งๆ ผาโสรง เปน ผานงุ สําหรับผูช ายลักษณะของผาโสรงจะทอดว ยไหมหรือฝา ยมีลวดลายเปนตาหมากรุกสลบั เสน เลก็ 1 คแู ละตาหมากรุกใหญส ลับกนั กวางประมาณ 1 เมตรยาว 2 เมตรเย็บตอ กันเปนผนื กลุม อสี านใต คอื กลุม คนไทยเช้อื สายเขมรที่กระจัดกระจายตัง้ ถ่นิ ฐานอยูในแถบจงั หวดั สุรินทรศรสี ะเกษและบรุ รี ัมยเปน กลมุ ที่มีการทอผา ทีม่ ีเอกลกั ษณโ ดยเฉพาะของตนเองมสี สี ันท่ีแตกตางจากกลมุ ไทยลาว ผา มัดหมใ่ี นกลุม อีสานใตกม็ กี ารทอเชนเดียวกันนิยมใชสที ที่ ําเองจากธรรมชาตเิ พยี งไมก ี่สีทาํ ใหสขี อง ลวดลายไมเ ดนชัดเหมอื นกลุม ไทยลาวแตท่เี หน็ เดนชดั ในกลุม นี้คอื การทอผาแบบอน่ื ๆเพอื่ การใชส อยกัน มากเชน ผา หางกระรอกจะมีสีเลื่อมงดงามดวยการใชเ สน ไหมตางสสี องเสนควนั่ ทบกนั ทอแทรก ผา ปูมเปน ผา ท่ีมลี กั ษณะการมดั หมี่ทพี่ เิ ศษเปนเอกลกั ษณตางจากถนิ่ อน่ื ผา เซียม (ลยุ เซยี ม) ผาไหมท่ีนยิ มใชในกลมุ ผสู งู อายุ ผาขดิ การทอผาขิดในกลุมอีสานใตม ที ้งั การทอดว ยผาฝายและผาไหมแตสวนมากมกั จะใชตอเปนตีนซ่ินใน หมูคนท่มี ฐี านะทางเศรษฐกิจและสงั คมดเี พราะชาวบา นทวั่ ไปไมนิยมใชก นั ลกั ษระการตอ ตนี ซิ่นของกลุม นี้ นิยมใชเชิงตอ จากตัวซนิ่ กอนแลว จึงใชต นี ซ่ินตอจากเชิงอีกทีหน่ึงซ่ึงแตกตางจากกลมุ ไทยลาวอยางเดน ชดั ลักษณะผาพนื้ เมอื งอสี าน ลวดลายผา พ้นื เมอื งอสี านทงั้ สองกลุมนิยมใชล ายขนานกบั ตวั ซงึ่ ตางจากผาซ่นิ ลานนาที่นิยมลายขวางตวั และ นุง ยาวกรอมเทาในขณะท่ชี าวไทยลาวนยิ มนงุ ผาซนิ่ สงู ระดับเขาแตไมส น้ั เหมอื นผูหญิงเวยี งจันทรและหลวง พระบางการตอ หัวซ่นิ และตนี ซ่นิ จะตอดว ยผา ชนดิ เดยี วกันสวนหัวซิ่นนยิ มดว ยผา ไหมชิน้ เดียวทอเกบ็ ขดิ เปน ลายโบคว่าํ และโบหงายมีสีแดงเปนพนื้ สว นการตอ ตะเข็บและลกั ษณะการนุงจะมลี ักษณะเฉพาะ แตกตางไปจากภาคอน่ื คอื การนุงซิน่ จะนุง ปายหนาเกบ็ ซอ นตะเข็บยกเวน กลมุ ไทยเช้อื สายเขมรในอีสานใต ซ่ึงมักจะทอริมผา เปน รวิ้ ๆตา งสตี ามแนวตะเขบ็ ซ่ินจนดูกลมกลืนกบั ตะเขบ็ และเวลานงุ จะใหตะเข็บอยขู าง สะโพก การใชผ าสาํ หรับสตรีชาวอสี าน ผา ซ่ินสําหรบั ใชเ ปน ผา นุงของชาวอีสานนัน้ จะมีลักษณะการใชแ บงออกเปน 2 ประเภทคือ ผาซน่ิ สาํ หรับผูห ญิงที่มีสามแี ลวจะใชผ าสามชิน้ มาตอกันโดยแบงเปนผา หวั ซิน่ ผาตัวซ่นิ และผา ตีนซิ่นผา แต ละช้ินมีขนาดและลวดลายตางกัน ผาหวั ซนิ่ จะมีขนาดกวางประมาณ 20 ซม. ยาวเทา กับผา ซน่ิ มีลวดลายเฉพาะตัวคอื ทอเปนลายขวางสลับเสน ไหมแทรกเลก็ ๆสลบั สสี วยงาม สวนตัวซิน่ คือสวนกลางของผาซน่ิ มคี วามกวางมากกวา สว นอน่ื ซงึ่ สว นใหญมขี นาดเทาฟม ท่ีใชทอซึง่ นิยม ทอเปน ลายมัดหมี่ สว นตนี ซน่ิ คือสว นลางของผาซนิ่ จะมคี วามกวา งเพียง 10 ซม. และยาวเทา กบั ความยาวของผา ซน่ิ เมื่อตอ เขา กบั ตัวซน่ิ แลวลายจะเปนตรงกนั ขามกบั ผาหัวซ่ินความงามอยทู ี่การสลบั สสี วนใหญจ ะเลียนแบบจาก ลวดลายของสตั วเชน ลายงทู ําเปน ลายปลอ งสีเหลืองและดาํ ผา ซนิ่ สําหรับหญิงสาวจะเปนผา ซิน่ มดั หมีเ่ หมือนกันแตเปน ผืนเดยี วกันตลอดใชวธิ กี ารมัดหมีเ่ ปนดอกและ ลวดลายตดิ ตอ แลวทอเปน ผนื เดยี วกนั ตลอดในผนื ซิ่นจะมลี ายท่รี ิมขอบดา นลา งในลักษณะเชงิ ซิน่ ลวดลาย สว นใหญท ง้ั ตวั ซิน่ และเชิงนยิ มใชล ายรูปสตั วเชนไกฟาหงษทอง ภาษาภาคนส้ี าํ เนยี งคลายภาษาลาวซ่ึงเรามกั จะเรียกวาเปนภาษาอสี าน ภาษาอสี านเชนเวา (พูด) แซบ (อรอย) เคียด (โกรธ) นาํ (ดวย) การแตงกายสวนใหญใ ชผ า ทอมือซ่งึ ทาํ จากเสนใยธรรมชาตเิ ชน ผา ฝา ยและผาไหม ผา พื้นเมอื งอีสาน ชาวอีสานถอื วาการทอผา เปนกจิ กรรมยามวางหลังจากฤดูการทาํ นาหรอื วา งจากงานประจาํ อ่ืนๆใตถ ุนบาน แตละบา นจะกางหกู ทอผากนั แทบทกุ ครวั เรอื นโดยผูห ญงิ ในวัยตา งๆจะสบื ทอดกันมาผานการจดจําและ ปฏบิ ัติจากวัยเด็กทั้งลวดลายสสี ันการยอมและการทอผา ท่ที อดวยมือจะนําไปใชต ดั เยบ็ ทําเปน เคร่อื งนุงหม หมอนทน่ี อนผา หม และการทอผายังเปน การเตรียมผาสาํ หรบั การออกเรอื นสาํ หรับหญงิ วยั สาวท้ังการเตรยี ม สําหรบั ตนเองและเจาบาวท้งั ยงั เปน การวัดถึงความเปน กุลสตรเี ปนแมเ หยา แมเ รือนของหญงิ ชาวอีสานอีก ดวยผา ที่ทอขึน้ จําแนกออกเปน 2 ชนดิ คอื ผาทอสําหรับใชในชีวติ ประจาํ วนั จะเปนผา พน้ื ไมมีลวดลายเพราะตอ งการความทนทานจึงทอดว ยฝายยอ มสี ตามตองการ 1. ผา ทอสาํ หรับโอกาสพิเศษเชนใชใ นงานบญุ ประเพณตี า งๆงานแตง งานงานฟอ นรําผา ท่ีทอจงึ มกั มี ลวดลายท่สี วยงามวิจติ รพิสดารมีหลากหลายสีสนั ประเพณีทค่ี กู นั มากับการทอผา คือการลงขวงโดย บรรดาสาวๆในหมบู านจะพากันมารวมกลมุ กอ กองไฟบา งก็สาวไหมบางก็ปน ฝา ยกรอฝา ยฝายชายก็ ถอื โอกาสมาเกี้ยวพาราสีและน่งั คุยเปน เพอ่ื นบางครัง้ ก็มีการนําดนตรพี ้นื บา นอยางพณิ แคนโหวตมา บรรเลงจายผญาโตต อบกันเน่อื งจากอีสานมีชนอยหู ลายกลมุ วัฒนธรรมการผลิตผาพนื้ เมอื งจงึ แตกตางกนั ไปตามกลุม วัฒนธรรมกลมุ อสี านใตค อื กลุมคนไทยเชอ้ื สายเขมรท่ีกระจดั กระจายตัง้ ถนิ่ ฐานอยใู นแถบจงั หวัดสุรินทรศรสี ะเกษและบุรีรัมยเปน กลมุ ที่มีการทอผา ท่มี เี อกลักษณโ ดยเฉพาะ ของตนเองมสี ีสนั ท่ีแตกตา งจากกลมุ ไทยลาว การแตง กายของภาคกลาง ในปจจุบันการแตงกายของแตล ะภาคไดรับความกลมกลนื กันไปหมดเน่อื งมาจากถกู ครอบคลุมสิง่ ที่เรยี กวา แฟช่นั จงึ ทาํ ใหก ารแตงกายมีความคลา ยคลงึ กนั ไปหมดจนแยกแยะไมคอยออกวาบคุ คล ไหนอาศยั อยใู นภาคใดเราลองไปร้ือฟน กันดูวา ในสมยั รุน กอ นๆสมยั คณุ ปูย าตายายมีการแตง กาย กันแบบใดบา งโดยแยกแยะในแตละภาคดังตอ ไปนี้ ความหมายของเครอ่ื งแตง กาย คําวา “ เคร่อื งแตง กาย “ หมายถึงสิง่ ทม่ี นุษยน าํ มาใชเ ปน เคร่ืองหอ หุมรา งกายการแตง กายของมนุษย แตล ะเผาพนั ธุส ามารถคนควาไดจ ากหลกั ฐานทางวรรณคดีและประวตั ิศาสตรเ พื่อใหเ ปน เคร่ืองชว ย ช้นี ําใหรแู ละเขาใจถงึ แนวทางการแตง กายซง่ึ สะทอ นใหเห็นถงึ สภาพของการดํารงชวี ิตของมนษุ ย ในยคุ สมยั นน้ั ประวตั ขิ องเครื่องแตง กาย ในยคุ กอนประวัตศิ าสตรม นุษยใชเครอ่ื งหอหุมรางกายจากสง่ิ ทไ่ี ดมาจากธรรมชาตเิ ชนใบไมใบ หญาหนังสตั วขนนกดินสตี างๆฯลฯมนุษยบางเผา พนั ธุร ูจกั การใชสที ท่ี าํ มาจากตน พืชโดยนาํ มา เขยี นหรือสกั ตามรา งกายเพอ่ื ใชเ ปน เครอ่ื งตกแตงแทนการใชเ ครอ่ื งหอ หมุ รา งกายตอมามนษุ ยมีการ เรยี นรูถ งึ วธิ ีท่จี ะดดั แปลงการใชเ ครอื่ งหอหุมรางกายจากธรรมชาตใิ หม คี วามเหมาะสมและสะดวก ตอ การแตงกายเชนมีการผูกมัดสานถกั ทออดั ฯลฯและมีการวิวฒั นาการเรื่อยมาจนถึงการรูจักใชวิธี ตัดและเย็บจนในทีส่ ุดไดก ลายมาเปน เทคโนโลยีจนกระทง่ั ถงึ ปจจุบนั น้ี ความแตกตา งในการแตงกาย มนษุ ยเ ปน สัตวโ ลกทอี่ อ นแอท่สี ุดในทางฟส ิกสเพราะผวิ หนังของมนษุ ยมคี วามบอบบางจงึ จําเปนตองมสี งิ่ ปกคลุมรา งกายเพ่อื สามารถที่จะดํารงชีวติ อยไู ดจากความจําเปนนจ้ี งึ เปน แรงกระตุน ท่สี าํ คญั ในอันที่จะแตง กายเพ่ือสนองความตองการของมนุษยเ องโดยมีสงั คมและส่ิงอืน่ ๆประกอบ กนั และเคร่ืองแตง กายก็มีรูปแบบทแ่ี ตกตา งกนั ไปตามสาเหตุนน้ั ๆ ดนตรแี ละเพลงประกอบการแสดงนาฏศิลป ดนตรี เพลง และการขบั รอ งเพลงไทยสําหรับประกอบการแสดง สามารถแบงออกเปน 2 กลุม คอื ดนตรที ่ี ใชประกอบการแสดงนาฏศลิ ปไทย และเพลงสาํ หรับประกอบการแสดงนาฏศลิ ปไทย 1. ดนตรที ่ใี ชประกอบการแสดงนาฏศิลปไทย ประกอบดว ย 1.1 ดนตรปี ระกอบการแสดงโขน – ละคร วงดนตรีทีใ่ ชป ระกอบการแสดงโขนและละครของไทยคอื วงปพาทย ซ่งึ มีขนาดของวงเปนแบบวงประเภท ใดนน้ั ขนอยุก ับลักษณะของการแสดงนั้น ๆ ดวย เชน การแสดงโขนนงั่ ราวใชว งปพ าทยเ ครอ่ื งหา 2 วง การ แสดงละครในอาจใชวงปพ าทยเคร่อื งคู หรอื การแสดงดกึ ดําบรรพตอ งใชว งปพ าทยด ึกดาํ บรรพเปน ตน 1.2ดนตรปี ระกอบการแสดงรําและระบาํ มาตรฐาน การแสดงรําและระบําท่เี ปนชดุ การแสดงทเ่ี รยี กวา ราํ มาตราฐานและระบาํ มาตราฐานนน้ั เคร่อื งดนตรที ใี ช ประกอบการแสดงอาจมีการนาํ เครื่องดนตรบี างชนิดเขามาประกอบการแสดง จะใชว งปพาทยบ รรเลง เชน ระบาํ กฤดาภินหิ าร อาจนําเคร่ืองดนตรี ขมิ หรือซอดว ง มา ลอ กลองตอก และกลองแดว มาบรรเลงในชวง ทา ยของการราํ ท่เี ปนเพลงเชดิ จนี ก็ได 1.3 ดนตรปี ระกอบการแสดงพื้นเมือง ดนตรีพน้ื บา นเปนดนตรชี าวบา นสรา งสรรคข้นึ ดว นการรอ งหรอื บรรเลงโดยชาว บานและชาวบานดวนกนั เปน ผูฟง ดนตรีพืน้ บานมีลักษณะดังน้ี 1.เปน ดนตรีของชาวบาน สวนมากเกิดขึน้ และพัฒนาในสังคมเกษตรกรรม มลี ักษณะทีไ่ มม รี ะบบกฎเกณฑ ชดั เจนตายตัว ประกอบกบั ใชว ิธถี า ยทอดดวนปากและการจดจํา จึงเปน เหตใุ หไ มมใี ครเอาใจใสศึกษาหรือ จดบนั ทึกไวเ ปน หลักฐานดังเชน ดนตรสี ากล 2.เปนดนตรีทีม่ ีเอกลักษณเฉพาะถนิ่ แตละทองถน่ิ จะมดี นตรีทีม่ สี ําเนียง ทํานอง และจังหวะลลี าของตนเอง ดนตรีพนื้ บา นสว นใหญมีทาํ นองทปี่ ระดิษฐดดั แปลงมาจากทํานองของเสียงธรรมชาติ ตัวอยางเชน ซอของ ดนตรีภาคเหนือ คอื เพลงจะปุ มที ํานองออ นหวานตามสําเนยี งพูดของคนไทยชาวเมืองจะปุในแควน สบิ สอง ปนนาหรอื ซอลองนาน ของจงั หวัดนา นมีทาํ นองเหมือนกระแสนาํ้ ไหล มีขอสังเกตวา เครอื่ งดนตรีพ้ืนบา นผลติ ดวยฝม อื ชางชาวบาน ดนตรีท่ใี ชป ระกอบการแสดงพ้ืนเมืองภาคตาง ๆ ของไทยจะเปน วงดนตรพี ้นื บา น ซง่ึ นบั เปน เอกลักษณทม่ี ีคณุ คา ของแตล ะภมู ิภาค ไดแก - ดนตรพี ื้นบา นภาคเหนอื มีเครอื่ งดนตรี เชน พณิ เปย ะ ซึง สะลอ ปแ น ปก ลาง ปกอย ปตัด ปเ ล็ก ปา ดไม (ระนาดไม) ปาดเหล็ก (ระนาดเหลก็ ) ปา ดฆอ ง (ฆอ งวงใหญ) ฆอ งหุย ฆองเหมง กลองหลวง กลองแอว กลองปเู จ กลองปจู า กลอง สะบัดไชย กลองมองเซิง กลองเตงทิ้ง กลองมาน และกลองตะโลด โปด เมือ่ นาํ มารวมเปนวง จะไดว งตา ง ๆ คอื วงสะลอ ซอ ซึง วงปจู า วงกลองแอว วงกลองมา น วงปจมุ วงเติง่ ทง้ิ วงกลองปูจาและวงกลองสะบัด ไชย -ดนตรีพืน้ เมอื งภาคกลาง เปน เครอื่ งดนตรปี ระเภทเดียวกับวงดนตรีหลักของไทยคอื วงปพาทยแ ละเครอื่ งสาย ซงึ่ ลกั ษณะในการ นาํ มาใชอ าํ นาจนํามาเปนบางสวนหรือบางประเภท เชน กลองตะโพนและเครอื่ งประกอบจงั หวะนํามาใชใ น การเลนเพลงอแี ซว เพลงเก่ียวขาว กลองรํามะนาใชเ ลนเพลงลําตดั กลองยาวใชเ ลนราํ เถิดเทิง กลองโทนใช เลนราํ วงและราํ โทน สวนเคร่ืองเดนิ ทาํ นองกน็ ยิ มใชร ะนาด ซอหรอื ป เปนตน -ดนตรพี ืน้ เมอื งภาคอีสาน มีเครอื่ งดนตรีสาํ คญั ไดแ ก พิณ อาจเรยี กตางกนั ไปตามทอ งถ่นิ เชน ซงุ หมากจับป หมากตบั แตงและ หมากตด โตง ซอ โปงลาง แคน โหวด กลองยาวอีสาน กลองกันตรึม ซอกนั ตรมึ ซอดว ง ซอตรัวเอก ปออ ปราเตรยี ง ปสไล เมอื่ นาํ มาประสมวงแลวจะไดวงดนตรพี ้ืนเมือง คือ วงโปงลาง วงแคน วงมโหรีอีสานใต วงทมุ โหมง และวงเจรียงเมรนิ • ดนตรพี ้ืนเมืองภาคใต มีเครอ่ื งดนตรที ส่ี าํ คัญ ไดแก กลองโนรา กลองชาตรีหรอื กลองตกุ กลองโพน กลองปด โทน กลองทับ ราํ มะนา โหมง ฆองคู ปก าหลอ ปไ หน กรบั พวงภาคใต แกระ และนาํ เครื่องดนตรีสากลเขามาผสม ไดแ ก ไวโอลนิ กีตา ร เบนโจ อคั คอรเ ดียน ลูกแซ็ก สวนการประสมวงน้ัน เปน การประสมวงตามประเภทขดนตรี พืน้ เมืองภาคอสี าน มเี ครอ่ื งดนตรสี ําคญั ไดแ ก พณิ อาจเรียกตางกันไปตามทอ งถนิ่ เชน ซุง หมากจบั ป หมากตบั แตงและหมากตดโตง ซอ โปงลาง แคน โหวด กลองยาวอสี าน กลองกนั ตรึม ซอกันตรมึ ซอดว ง ซอตรวั เอก ปออ ปราเตรยี ง ปส ไล เมื่อนํามาประสมวงแลวจะไดว งดนตรีพน้ื เมือง คอื วงโปงลาง วงแคน วง มโหรอี ีสานใต วงทุมโหมง และวงเจรียงเมรนิ 2.เพลงไทยสําหรบั ประกอบการแสดงนาฏศิลปไ ทย 2.1 เพลงไทยประกอบการแสดงโขน ละคร รํา และระบํามาตราฐาน เพลงไทยที่ใชบรรเลงและขับรองประกอบการแสดงนาฏศิลปไทย โขน ละคร รําและระบาํ มาตราฐาน นั้นแบงไดเปน 2 ประเภทดงั น้ี 1.เพลงหนา พาทย คือ เพลงทีใ่ ชบรรเลงประกอบกริ ยิ า พฤติกรรมตา งๆ และอารมณข องตวั ละคร เชน เพลงโอดสําหรับรอ งไห เสียใจ เพลงกราวรําสําหรับเยาะเยยสนกุ สนาน เพลงเชิดฉานสาํ หรบั พระรามตามกวาง เพลงแผละสําหรับ ครฑุ บนิ เพลงคกุ พาทยสําหรบั ทศกัณฐแ สดงอิทธิฤทธ์ิความโหดรา ย หรอื สาํ หรับหนมุ านแผลงอทิ ธิฤทธ์ิ หาวเปนดาวเปน เดือน เปน ตน นอกจากนัน้ ยังหมายถงึ เพลงท่ีบรรเลงประกอบกริ ิยา สมมุติทแ่ี ลไมเห็น ตัวตน เชน เพลงสาธุการ เพลงตระเชญิ เพลงตระนิมติ เพลงกระบองกัน สําหรับเชญิ เทพยดาใหเสดจ็ มา แต ไมมใี ครมองเห็นการเสดจ็ มาของเทพยดาในเวลานนั้ เชน บรรเลงประกอบพิธีไหวครู ครอบครูดนตรีและ นาฎศลิ ป และยังเปน เพลงท่ีบรรเลงประกอบกิรยิ าทีเ่ ปนอดตี ไมใ ชปจจุบัน เชน เมือ่ พระเทศนมหาชาติ กัณฑมทั รจี บลง ปพ าทยบรรเลงเพลงทยอยโอด คอื บรรเลงเพลงโอดกับเพลงทยอยสลับกนั เพอื่ ประกอบ กิรยิ าคราํ่ ครวญ โศกเศรา เสยี ใจของพระนางมทั รี ตวั เอกของกัณฑน ้ี เมอ่ื ทราบวาพระเวสสนั ดรไดบ รจิ าค 2 กมุ าร กัณหาและชาลีใหแกพราหมณช ูชกไป พระไดเทศนเ ร่อื งน้ีจนจบลงแลว แตป พาทยเพ่ิงจะบรรเลง เพลงประกอบเรอื่ ง อยางนถ้ี ือวาเปน การบรรเลงประกอบกิริยาสมมตุ ิท่ีเปนอดตี เปนตน เพลงหนาพาทย นยิ มบรรเลงดนตรเี พยี งอยางเดยี ว ไมม รี อง เพลงขับรอ งรบั สง คอื เพลงไทยทนี ํามาบรรจไุ วในบทโขน – ละคร อาจนาํ มาจากเพลงตับ เถา หรือเพลงเกรด็ เพอื่ บรรเลงขบั รอ งประกอบการราํ บทหรอื ใชบ ทของตัว โขน ละครหรือเปนบทขบั รองในเพลงสําหรบั การราํ แลระบํา เชน เพลงชาป เพลงขึ้นพลับพลา เพลง นกกระจอกทอง เพลงลมพดั ชายเขา เพลงเวสสกุ รรม เพลงแขกตะเข่ิง เพลงแขกเจาเซ็น เปนตน 2. เพลงขบั รอ งรับสง คือเพลงไทยทีนํามาบรรจไุ วใ นบทโขน – ละคร อาจนํามาจากเพลงตบั เถา หรอื เพลงเกรด็ เพ่ือบรรเลงขบั รองประกอบการรําบทหรอื ใชบ ทของตวั โขน ละครหรือเปน บทขบั รองในเพลงสาํ หรบั การราํ แลระบํา เชน เพลงชาป เพลงข้ึนพลบั พลา เพลงนกกระจอกทอง เพลงลมพัดชายเขา เพลงเวสสกุ รรม เพลงแขกตะเขงิ่ เพลงแขกเจาเซ็น เปนตน 2.2 เพลงไทยประกอบการแสดงพื้นเมอื ง เพลงไทยท่ีใชป ระกอบการแสดงนาฏศิลปพ ืน้ เมือง เปนบทเพลง พนื้ บานที่ใชบรรเลงและขับรอ งประกอบการแสดงนาฏศลิ ปพนื้ เมือง โดยแบง ออกตามภูมิภาคดังน้ี ภาคเหนือ เพลงบรรเลงและขับรองประกอบนาฏศิลปพน้ื เมอื ง จอย เปนเพลงพ้นื บา นท่เี กิดจากประเพณกี ารพบปะพดู คยุ เกีย้ วพาราสีในตอนกลางคนื เรียกวา \"แอวสาว\" ระหวางทีห่ นุม ๆ เดินไปเย่ียมบา นสาวทต่ี นหมายปองเอาไว กเ็ อ้ือนเสียงรอ งจอ ยเทากับเปน การสงสญั ญาณ ใหส าวจาํ เสยี งไดดวย การรองเปนการจาํ บทรอง และทาํ นองสบื ตอ กันมาโดยไมตองฝก หดั อาจมีดนตรี ประกอบหรอื ไมมกี ไ็ ด ซอ เปน เพลงพ้ืนบา นภาคเหนือทชี่ ายหญงิ ขบั รอ งโตตอบกนั ผรู อ งเพลงซอ หรือขบั ซอ เรยี กวา ชา งซอ เร่ิม จากรองโตตอบกนั เพียงสองคน ตอ มา พฒั นาเปน วงหรือคณะ และรบั จางเลน ในงานบุญ มีดนตรปี ระกอบ ไดแ ก ป ซงึ และสะลอ มีเนื้อรองเขา กบั ลักษณะของงานบุญนัน้ ๆ เชน ซอเรียกขวัญ เปน การทาํ ขวัญนาค ซอ ถอง เปน ซอโตต อบเก้ียวพาราสีกนั ซอเกบ็ นก เปนบทชมธรรมชาติ ชมนกชมไม ซอวอ ง เปนซอบทสน้ั ๆ ใช รอ งเลน ซอเบ็ดเตล็ดเรอื่ งตา งๆ เชน ซอแอวสาวปน ฝา ย ซอเงีย้ วเกย้ี วสาว และซอท่เี ลน เปนเรอื่ งนิทาน เชน นอยไจยา เจาสุวัตร-นางบัวคาํ และดาววีไกหนอย สว นทาํ นองทใี่ ชขบั ซอมหี ลายทํานองตามความนิยมในแต ละทองถนิ่ เชน ทาํ นองขึน้ เชียงใหม จะปุ ซอเมืองนาน ละมายเชียงแสน ซอพมา และทํานองเงย้ี ว ภาคกลาง เพลงพนื้ บา นภาคกลางสว นใหญเปน เพลงโตตอบหรอื เพลงปฏพิ ากย เปน เพลงทห่ี นมุ สาวใชร อ ง โตตอบเก้ียวพาราสีกนั มกั รองกนั เปนกลมุ หรือเปน วง ประกอบดวย ผรู องนําเพลงฝายชายและฝายหญงิ ท่ี เรยี กวา พอ เพลง แมเพลง สวนคนอืน่ ๆ เปนลกู คูรองรบั ใหจ งั หวะดวยการปรบมือ หรือใชเ ครือ่ งดนตรี ประกอบจังหวะ เชน กรบั ฉิง่ เพลงโตตอบนี้ ชาวบา นภาคกลางนํามารองเลน ในโอกาสตางๆ ตามเทศกาล หรอื ในเวลาทมี่ ารวมกลุมกนั เพอ่ื ทาํ กจิ กรรมอยางใดอยางหนงึ่ หรือบางเพลงกใ็ ชรอ งเลนไมจ ํากดั เทศกาล เพลงพื้นบา นภาคกลางท่ีแพรหลายไดยินท่ัวๆ ไป และมีพอ เพลงแมเ พลงทย่ี งั จดจาํ รอ งกันได ๘ เพลง คือ ๑. เพลงเรือ ๒. เพลงเตนกาํ ๓. เพลงพษิ ฐาน ๔. เพลงระบาํ บา นไร ๕. เพลงอีแซว ๖. เพลงพวงมาลยั ๗. เพลงเหยอ ย ๘. เพลงฉอย ภาคอสี านภาคอีสานเปนแหลง รวมกลมุ ชนท่มี วี ฒั นธรรมแตกตา งกนั ถงึ ๓ กลุม จงึ มเี พลงพน้ื บา นแบง เปน ๓ ประเภท ดงั นี้ ๑. เพลงพืน้ บา นกลุมวัฒนธรรมไทย-ลาว ๒. เพลงพ้ืนบา นกลุมวัฒนธรรมเขมร-สว ย (กยู ) ๓. เพลงพืน้ บานกลมุ วฒั นธรรมไทยโคราช เพลงพน้ื บานกลุมวัฒนธรรมไทย-ลาว กลุมชนกลุม นี้ ไดแ ก ประชาชนในจงั หวดั หนองคาย อดุ รธานี เลย สกลนคร นครพนม กาฬสนิ ธุ มหาสารคาม รอยเอ็ด ขอนแกน ชัยภมู ิ มุกดาหาร ยโสธร อบุ ลราชธานี บรุ ีรมั ย และบางสวนของจงั หวดั ศรี สะเกษ กลมุ ชนนีใ้ ชภ าษาถิ่น คือ ภาษาอสี าน เพลงพื้นบา นของกลุมวฒั นธรรมไทย- ลาว มี ๒ ประเภท คือ หมอลาํ และเซง้ิ พลงพ้นื บานกลุมวัฒนธรรมเขมร-สว ย (กยู ) เปน กลมุ ประชาชนในจังหวัดสรุ นิ ทร ศรีสะเกษ และบางสว นของจงั หวัดบุรรี มั ย มภี าษาของตนเอง คือ ภาษาเขมร และภาษาสวย(กูย) ซึ่งตางไปจากภาษาถน่ิ อ่ืนๆ นอกจากนี้ ยังมวี ัฒนธรรมเฉพาะถนิ่ โดยเฉพาะ เพลงพ้ืนบา นท่ีเรียกวา \"เจรียง\" ซึง่ แปลวา รอง หรือขบั พลงพ้นื บานกลุม วัฒนธรรมไทยโคราช กลมุ ชนวฒั นธรรมไทยโคราช ไดแก ประชาชนในจังหวดั นครราชสมี า และบางสวนของจังหวดั บรุ รี มั ย เพลงพนื้ บานของชนกลุมนี้ คอื เพลงโคราช ปจจบุ ันพฒั นาจากเพลงพื้นบา นมาเปนคณะหรือเปนวง มกี าร ฝก หดั เปน อาชีพ รบั จางแสดงในงานบุญ งานมงคล งานแกบ นทาวสุรนารี เนื้อรอ งโตต อบระหวา งชาย-หญิง กลอนเพลงมหี ลายแบบ เชน เพลงคสู อง เพลงคูสี่ ใชปรบมือตอนจะลงเพลงแลว รอง \"ไช ยะ\" ภาคใต เพลงพน้ื บานภาคใตมีคอ นขา งนอย เม่อื เทียบกบั ภาคอนื่ ๆ แตย ังรักษารปู แบบพ้ืนเมอื งไดมาก นยิ ม เลน กนั เองตามเทศกาลตา งๆ โดยไมม กี ารรับจา งแสดง และไมถ ือเปนอาชีพ เพลงพ้ืนบานภาคใตท สี่ าํ คญั ๆ ไดแ ก เพลงเรอื เพลงบอก เพลงนา เพลงกลอ มนาคหรือแหน าค และเพลงรอ งเรอื หรอื เพลงชานองซึ่งเปน เพลงกลอ มเด็ก เพลงเรือ เปนเพลงพ้นื บานประเภทหนึ่ง ใชเลนในเรือ นยิ มเลนในเดือนสบิ เอ็ด หรอื เดือนสบิ สองหลังออกพรรษาแลว ภาคใตจะมีงานประเพณชี กั พระหรือแหพระ ผเู ลนเพลงเรอื เปน ชาวบานท่อี ยใู กลแ มน ํ้า ลาํ คลอง หรือ ทะเลสาบ เชน อาํ เภอไชยา อําเภอเกาะสมยุ อาํ เภอทา ชนะ จังหวดั สรุ าษฎรธ านี อาํ เภอหาดใหญ อาํ เภอเมอื งฯ อําเภอรตั ภูมิ จังหวดั สงขลา และจงั หวดั ชุมพร การเลน เพลงเรือ มีเรือเพลงฝา ยชายและฝา ยหญงิ โดยเรมิ่ ตน รอ งกลอนไหวค รูกอน จากนั้นก็วา กลอน ชักชวนเรือเพลงอกี ฝายใหม ารองเลน กัน แลว รอ งโตตอบกนั ดว ย ปฏิภาณไหวพริบ ทั้งในเชิงเกีย้ วพาราสี โตคารมอยางเผ็ดรอ น และกระเซาเยาแหยก ัน มักนาํ เอาเหตกุ ารณ บานเมอื ง หรือสภาพแวดลอ มมาสอดแทรกในเนอ้ื รอ ง เพ่ือใหเ กดิ อารมณข นั หรอื เสียดสีประชดประชนั กนั เพลงนา เพลงพนื้ บา นของชาวชุมพร ใชร องเลน เมอ่ื จบั กลมุ เดนิ ไปนา และรองระหวางเก่ยี วขาว ลักษณะคาํ ประพันธ เปนกลอนสภุ าพ แตว รรคหนงึ่ อาจมี ๙ - ๑๑ คําแลวแตเ น้อื ความทร่ี อง และใชสัมผสั ทายวรรคเปน เสียง เดยี วกนั ทีเ่ รียกวา กลอนอา กลอนอี การรอ งเพลงนาตองมคี ขู บั รองดว ยคนหน่งึ ผรู องนาํ ตน บทเรียกวา แม เพลง คขู บั รอ งเรยี กวา ทา ยไฟ และเมอื่ รอ งจบบทหนง่ึ อาจเปล่ยี นกนั เปน แมเพลง หรือทา ยไฟก็ได