ลาออกมาเก น 6 เด อนเเล ว จะสม คร ม.39 mepyw

การจ่ายประกันสังคม อาจจะเคยเป็นเรื่องน่าปวดหัวสำหรับผู้ประกันตนหลายคน เพราะอาจจะต้องเสียเวลา ไปจ่ายด้วยตนเองที่สำนักงาน หรือช่องทางการชำระอื่น ๆ ที่อาจจะไม่สะดวกมากนัก แต่เดี๋ยวนี้ ด้วยการพัฒนาของเทคโนโลยีที่ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของคนในสมัยนี้มากขึ้น ปัจจุบันมีการพัฒนาช่องทางการจ่ายประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 39 ในวันที่ 15 ของทุกเดือน มีการเพิ่มความสะดวกให้กับผู้ประกันตนมากขึ้นกว่าเดิม ลองรับสถานการณ์และไลฟ์สไตล์ที่เปลี่ยนไป แน่นอนว่าบทความฉบับนี้ เราจะพาทุกคนไปรู้จักวิธีจ่ายประกันสังคมออนไลน์ที่จะช่วยอำนวยความสะดวกมากขึ้นกว่าเดิม

ลาออกมาเก น 6 เด อนเเล ว จะสม คร ม.39 mepyw

เลือกดูสินค้า โทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์ไอที คลิก

ประกันสังคม คืออะไร ?

ก่อนที่เราจะไปดูวิธีการ จ่ายประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 39 เรามาทำความรู้จักกับ กองทุนประกันสังคมกันก่อนซักนิด ประกันสังคม คือ กองทุนที่ให้หลักประกันแก่ผู้ประกันตน จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นหลักประกัน ที่สร้างความมั่นคงในชีวิตของลูกจ้างและแรงงานไทย เพื่อให้ได้รับผลประโยชน์ทดแทน จากการเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ เสียชีวิต ชราภาพ รวมถึงกรณีว่างงาน

ลาออกมาเก น 6 เด อนเเล ว จะสม คร ม.39 mepyw

โดยเงินสมทบที่จะต้องส่งเข้ากองทุนประกันสังคมทุกเดือน จะคำนวณจากค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับจริง และนายจ้างสมทบอีก 5% ซึ่งปัจจุบันขั้นต่ำ จะอยู่ที่เดือนละ 83 บาท ไม่เกิน 750 บาท ผู้ประกันตนจะได้รับสิทธิการรักษา ต้องได้รับการขึ้นทะเบียนและส่งเงินสมทบครบ 3 เดือน สามารถเลือกสถานพยาบาลที่ต้องการเข้ารับการรักษาได้

ซึ่งความคุ้มครองของกองทุนประกันสังคม ได้แบ่งกลุ่มผู้ประกันตนออกเป็น 3 แบบด้วยกัน ได้แก่ มาตรา 33 หรือกลุ่มที่เป็นพนักงานบริษัท, มาตรา 39 หรือ กลุ่มที่เคยเป็นลูกจ้างหรือพนักงานบริษัทที่ออกมาแล้ว มีความประสงค์จะส่งเงินสมทบต่อเนื่อง , มาตรา 40 หรือกลุ่มที่มีอาชีพอิสระ

ลาออกมาเก น 6 เด อนเเล ว จะสม คร ม.39 mepyw

ก่อนหน้านี้ การจ่ายประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 39 ในวันที่ 15 ของทุกเดือน ของกลุ่มผู้ที่เคยเป็นลูกจ้างหรือพนักงานบริษัท ซึ่งสมัครใจจะส่งเงินสมทบต่อและใช้สิทธิประกันสังคม หลังจากออกจากการเป็นผู้ประกันตน มาตรา 33 จะต้องไปจ่ายที่ สำนักงานประกันสังคม เคาน์เตอร์ธนาคาร หรือจ่ายที่เคาน์เตอร์เซอร์วิสส ก็ถือว่าอำนวยความสะดวกให้กับผู้ประกันตนได้ระดับหนึ่ง เพราะมีหลากหลายช่องทางให้เลือก แต่ก็ยังพบว่า หลายคนอาจจะยังลืมจ่ายบ้าง ไม่สะดวกบ้าง ต้องไปทำเรื่อง จ่ายประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 39 ย้อนหลัง

ซึ่งที่ผ่านมากลุ่มผู้ประกันตนมาตรา 39 มักจะโดนตัดสิทธิอยู่บ่อยครั้ง จากการขาดชำระเงินสมทบติดต่อกัน 3 เดือน และด้วยสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เปลี่ยนไป เช่น การแพร่ระบาดของโควิด หรือความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่มีบทบาทมากขึ้น เป็นสาเหตุให้ปัจจุบัน สำนักงานประกันสังคม มีการเพิ่มช่องทางการชำระเบี้ยประกันตน ให้ประชาชนสามารถ จ่ายประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 39 ได้ผ่านทางการตัดบัญชีธนาคารอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มความสะดวกให้กับผู้ประกันตนมากขึ้น ไม่ต้องเดินทางไปจ่ายด้วยตนเอง ซึ่งอาจจะทำให้เกิดการตัดสิทธิได้ และยังเป็นวิธีที่สามารถช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค สอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปได้ดีอีกด้วย

ลาออกมาเก น 6 เด อนเเล ว จะสม คร ม.39 mepyw

สิทธิความคุ้มครอง ของผู้ประกันตน มาตรา 39

สำหรับสิทธิความคุ้มครอง ของผู้ประกันตน มาตรา 39 จะจ่ายเงินประกันสังคม เดือนละ 432 บาท หากชำระเบี้ยประกันต่อเนื่อง ผู้ประกันตนจะได้รับการคุ้มครองครอบคลุม ดังนี้

1. เจ็บป่วย

2. คลอดบุตร

3. ทุพพลภาพ

4. เสียชีวิต

5. สงเคราะห์บุตร

6. ชราภาพ

ถึงแม้ว่าปัจจุบันยังไม่สามารถ จ่ายประกันสังคม มาตรา 39 ผ่านแอป ได้แต่ก็มีรูปแบบจ่ายประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 39 ผ่านการหักบัญชีธนาคารที่เข้าร่วมโครงการอัตโนมัติทุกเดือน โดยก่อนจะเริ่มหักบัญชีได้นั้นนั้น ผู้ประกันตนจะต้องไปทำเรื่องด้วยตนเองที่สำนักงานประกันสังคมก่อน หลังจากนั้นจึงสามารถตัดบัญชีได้ ซึ่งจะตัดบัญชีในทุก ๆ วันที่ 15 ของเดือน

ธนาคารที่สามารถชำระได้คือ

ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

นอกจากจะสามารถ จ่ายประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 39 ผ่านธนาคารแล้ว ผู้ประกันตนสามารถเลือกชำระได้ผ่านทั้งช่องทางอื่น

จ่ายผ่าน เคาน์เตอร์เซอร์วิส 7-11

จ่ายผ่านเคาน์เตอร์ไปรษณีย์ไทย Pay at Post

จ่ายทางธนาณัติ ณ ไปรษณีย์ แล้วแนบแบบส่งเงิน (สป.1-11) ให้สำนักงานประกันสังคม

จ่ายผ่านเคาน์เตอร์ห้างเซนทรัล Cen Pay

จ่ายผ่านเคาน์เตอร์ Big C หรือ Tesco Lotus ใกล้บ้าน

จ่ายผ่านเคาน์เตอร์ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน), ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) และ ธนาคารธนชาต จำกัด(มหาชน)

จ่ายผ่านสำนักงานประกันสังคมโดยตรง

ลาออกมาเก น 6 เด อนเเล ว จะสม คร ม.39 mepyw

จากข้อมูลการ จ่ายประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 39 ที่เรานำมาฝากในวันนี้ เห็นได้ว่ากองทุนประกันสังคม เป็นกองทุนที่จัดตั้งมาเพื่อเป็นหลักประกันให้กับผู้ประกันตน มายาวนานหลายปี ซึ่งความแตกต่างของกลุ่มประกันสังคมก็จะแตกต่างออกไปตามลักษณะของผู้ประกันตน ไม่ว่าจะเป็น กลุ่มพนักงานบริษัท กลุ่มที่เคยเป็นลูกจ้างหรือพนักงานบริษัท และกลุ่มอาชีพอิสระ ทุกคนก็สามารถมีหลักประกันตน เพื่อให้สามารถได้รับผลทดแทน จากสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้น

ซึ่งการจ่ายประกันสังคมอย่างต่อเนื่องจึงเป็นเรื่องที่ควรให้ความสำคัญ เพื่อเป็นการรักษาสถานภาพสิทธิเหล่านี้ไว้ ปัจจุบันสำนักงานประกันสังคมก็ได้มีการเพิ่มช่องทางการจ่ายประกันสังคมออนไลน์ มาตรา 39 เพื่อรองรับการใช้บริการและอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ประกันตน เช่น การหักผ่านบัญชีธนาคาร จ่าย ประกันสังคม ออนไลน์ K-Bank จ่ายประกันสังคมออนไลน์ กรุงไทย หรือจ่ายผ่านธนาคารอื่น ๆที่เข้าร่วมโครงการ ก็เป็นการเพิ่มความสะดวกในการจ่าย ลดการขาดส่ง และสามารถช่วยรักษาสิทธิการประกันตนไว้ได้

ลาออกจากประกันสังคม ม.39 ได้อะไรบ้าง

สิทธิประโยชน์ มาตรา 39 ได้รับความคุ้มครอง ดังนี้ กรณีเจ็บป่วยหรืออุบัติเหตุ กรณีทุพพลภาพ กรณีเสียชีวิต กรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะห์บุตร และ กรณีชราภาพ อ่าน : เลือกตั้งบอร์ดประกันสังคมเพื่ออะไร

ลาออกจากงานเกิน6เดือนสมัคม.39ได้ไหม

ใครสามารถสมัคร ม.39 ได้บ้าง ผู้ที่สามารถสมัครประกันสัง ม.39 ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ เคยเป็นผู้ประกันตน ม. 33 ซึ่งส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน ลาออกจากงานมาแล้วไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วันที่ออกจากงาน

ประกันสังคมมาตรา39ขาดส่งได้กี่เดือน

นายอาทิตย์ กล่าวต่อว่า ในส่วนของผู้ประกันตนมาตรา 39 ที่ขาดส่งเงินสมทบ 3 เดือน หรือภายใน 12 เดือน ส่งเงินสมทบไม่ครบ 9 เดือน ทำให้ผู้ประกันตนสิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตนนั้น ตั้งแต่วันที่ 5 มี.ค. 2564 ถึงวันที่ 15 ม.ค. 2566 พบว่า มีผู้ประกันตนมาตรา 39 ขาดส่งเงินสมทบและสิ้นสภาพผู้ประกันตนจำนวน 888 ราย

ลาออกจากงานใช้สิทธิประกันสังคมได้กี่เดือน

- กรณีลาออก หรือ สิ้นสุดสัญญาจ้าง จะได้รับเงินว่างงานในอัตรา 30% ของค่าจ้าง คำนวณจากฐานเงินเดือนจริงไม่เกิน 15,000 บาท เป็นเวลาไม่เกิน 90 วันใน 1 ปีปฏิทิน ตัวอย่าง ผู้ประกันตนมีฐานเงินเดือน 10,000 บาท ก็จะได้เงินชดเชยเดือนละ 3,000 บาท เป็นเวลาสูงสุด 3 เดือน