ต ดตามผลการค ดกรองผ ส งอาย ตามแบบฟอร ม adl

- เด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการสงสยั ล่าช้าได้รับการติดตาม หมายถึง เด็กแรกเกิด จนถึงอายุ 5 ปี 11 เดือน 29 วันที่

ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามอายุของเด็กในการประเมินพัฒนาการครั้งแรกผ่านไม่ครบ 5 ด้าน เฉพาะ

กลุ่มที่แนะนำใหพ้ ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยภายใน 30 วัน (1B261) แล้วติดตามกลับมาประเมนิ

คดั กรองพัฒนาการครั้งท่ี 2

- เดก็ อายุ 0 - 5 ปี หมายถงึ เดก็ แรกเกิด จนถึงอายุ 5 ปี 11 เดือน 29 วนั

- เด็ก 0-5 ปี สูงดี หมายถึง เด็ก 0-5 ปี ที่มีความยาวหรือส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป (สูงตามเกณฑ์

ค่อนข้างสูง หรือสูง) เมื่อเทียบกับกราฟการเจริญเติบโตความยาว/ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ กรมอนามัย ชุดใหม่ ปี

พ.ศ. 2563 (และประยุกต์จากองค์การอนามัยโลก) โดยมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ -1.5 SD ของความยาว/ส่วนสูง

ตามเกณฑอ์ ายุ

- เด็ก 0-5 ปี สมส่วน หมายถึง เด็กทีม่ นี ้ำหนักอยู่ในระดบั สมส่วน เมื่อเทียบกับกราฟการเจรญิ เติบโตนำ้ หนักตาม

เกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง กรมอนามัย ชุดใหม่ ปี พ.ศ. 2558 (และประยุกต์จากองค์การอนามัยโลก) โดยมีค่าอยู่

ในชว่ ง +1.5 SD ถึง -1.5 SD ของน้ำหนกั ตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสงู

- เดก็ 0-5 ปี สูงดสี มสว่ น หมายถงึ เด็กทมี่ ีความยาวหรือสว่ นสูงอยู่ในระดับสงู ตามเกณฑ์ขนึ้ ไปและมีน้ำหนักอยู่ใน

ระดบั สมสว่ น ในคนเดยี วกนั

เกณฑเ์ ปา้ หมาย :ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานอนามยั แมแ่ ละเดก็

ปงี บประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 ปงี บประมาณ 2566

- รอ้ ยละ 80-84 ร้อยละ 85-89

เกณฑเ์ ป้าหมาย : อัตราส่วนการตายมารดาตอ่ การเกดิ มชี ีพแสนคน ≤17 :แสนการเกิดมีชพี

ปีงบประมาณ 64 ปีงบประมาณ 65 ปีงบประมาณ 66

≤17 :แสนการเกิดมีชพี ≤17 :แสนการเกดิ มชี ีพ ≤17 :แสนการเกิดมชี ีพ

เกณฑเ์ ป้าหมาย : ร้อยละภาวะซดี ในหญงิ ต้ังครรภ์ (HCT1) ไมเ่ กนิ ร้อยละ 14

ปีงบประมาณ 64 ปีงบประมาณ 65 ปงี บประมาณ 66 รอ้ ยละ 14 รอ้ ยละ 16 ร้อยละ 16

เกณฑเ์ ป้าหมาย : รอ้ ยละหญิงหลงั คลอดไดร้ บั การดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์

ปงี บประมาณ 64 ปงี บประมาณ 65 ปีงบประมาณ 66 ร้อยละ 75 ร้อยละ 65 รอ้ ยละ 75

เกณฑเ์ ป้าหมาย : ร้อยละของทารกแรกเกดิ นำ้ หนักน้อยกวา่ 2,500 กรัม

ปงี บประมาณ 64 ปงี บประมาณ 65 ปงี บประมาณ 66

นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 7 นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 7 น้อยกวา่ รอ้ ยละ 7

เกณฑเ์ ปา้ หมาย : เดก็ ปฐมวยั มีพฒั นาการสมวยั รอ้ ยละ 85

ปีงบประมาณ 64 ปงี บประมาณ 65 ปงี บประมาณ 66

รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 85

เกณฑ์เปา้ หมาย : เดก็ อายุ 0-5 ปี ท่ีพบสงสยั ล่าช้าไดร้ บั การตดิ ตามภายใน 30 วนั รอ้ ยละ 90

ปีงบประมาณ 64 ปีงบประมาณ 65 ปงี บประมาณ 66

ร้อยละ 90 ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 90

เกณฑเ์ ป้าหมาย : เดก็ อายุ 0-5ปี สงู ดสี มสว่ น

10

รายละเอยี ดตัวชี้วัดคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปงี บประมาณ 2566

ของ ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และสาธารณสขุ อำเภอ

ปงี บประมาณ 64 ปีงบประมาณ 65 ปงี บประมาณ 66

รอ้ ยละ 62 ร้อยละ 64 ร้อยละ 66

วัตถุประสงค์ 1.พัฒนาระบบบริการของสถานบริการสาธารณสุขทุกระดบั ใหไ้ ดม้ าตรฐานอนามยั แมแ่ ละเดก็ คณุ ภาพ

ประชากร 2.เพือ่ เฝา้ ระวังหญิงช่วงต้ังครรภ์ คลอด และหลงั คลอดเพอื่ ลดการตายของมารดาจากการตัง้ ครรภแ์ ละการคลอด กลุ่มเป้าหมาย อย่างมีประสทิ ธภิ าพ วธิ ีการจัดเกบ็ ข้อมูล 3.เพื่อจดั ระบบการสง่ ตอ่ หญิงตัง้ ครรภภ์ าวะฉุกเฉินอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

แหล่งข้อมลู 4.เพ่ือสง่ เสรมิ เฝา้ ระวงั การเจรญิ เติบโต และภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0 - 5 ปี รายการข้อมูลที่ 1 รายการข้อมลู ท่ี 2 5.เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการใหบ้ ริการสาธารณสขุ และการเฝ้าระวงั ทางโภชนาการในคลนิ ิกฝากครรภ์ (ANC) รายการขอ้ มลู ท่ี 3 รายการข้อมูลที่ 4 คลนิ ิกเดก็ สขุ ภาพดี (WCC) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และโรงเรยี นระดับอนบุ าล รายการข้อมูลที่ 5 รายการข้อมูลท่ี 6 6.เพื่อส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนมีความตระหนกั รู้ เรอ่ื งการเล้ยี งดเู ดก็ อยา่ งมีคณุ ภาพ รายการขอ้ มลู ท่ี 7 รายการข้อมูลที่ 8 1. หญงิ ต้ังครรภ์ คลอด และหลงั คลอดภายใน 42 วัน (Type1 มีช่ืออย่ใู นทะเบยี นบ้าน ตัวอยู่จริงและType3 ที่

อาศยั อย่ใู นเขต แตท่ ะเบียนบ้านอยู่นอกเขต)

2. เดก็ ไทยอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดอื น ทุกคนท่ีอยูอ่ าศยั ในพนื้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ (Type1 มีชือ่ อยใู่ นทะเบยี นบา้ น

ตัวอยู่จริงและType3 ทอ่ี าศยั อยใู่ นเขต แตท่ ะเบยี นบ้านอยูน่ อกเขต)

3. เด็กไทยแรกเกดิ จนถึงอายุ 5 ปี 11 เดอื น 29 วนั ทกุ คนทีอ่ ยู่อาศยั ในพนื้ ท่ีรับผดิ ชอบ (Type1 มีชอ่ื อยูใ่ นทะเบยี น

บ้าน ตวั อยู่จริงและType3 ทอี่ าศัยอยใู่ นเขต แต่ทะเบยี นบ้านอยนู่ อกเขต)

1. สถานบริการสาธารณสุขทกุ ระดับ นำขอ้ มลู การการประเมนิ พฒั นาการเดก็ บันทึกในโปรแกรมหลกั ของสถาน

บรกิ ารฯ HosXP PCU และสง่ ออกข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐาน 43 แฟม้

2. ชัง่ น้ำหนกั วดั ความยาว/สว่ นสงู และบันทกึ ด้วยทศนยิ ม 1 ตำแหนง่

3. โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชมุ ชน PCU ของโรงพยาบาลและ โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบลนำขอ้ มลู

น้ำหนัก ความยาว/ส่วนสูง ของเด็กจากหมู่บ้าน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียนระดับอนุบาล และสถานบริการ

สาธารณสุขของรัฐ (คลินิกสุขภาพเด็กดี) ซึ่งไม่รวมการมารับบริการในกรณีเจ็บป่วย บันทึกในโปรแกรมหลักของ

สถานบรกิ าร HOSxP PCU เพอื่ ส่งออกแฟ้มข้อมลู Nutrition ตามโครงสร้างมาตรฐาน 43 แฟม้

2. สถานบริการสาธารณสขุ แจง้ ขอ้ มูลการตายมารดาแกส่ ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ภายใน 24 ชั่วโมง

3. สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ในระบบ Health Data Center (HDC SERVICE)

กระทรวงสาธารณสขุ วิเคราะห์และจดั ทำสรุปรายงานและประเมนิ ผลตามเกณฑเ์ ปา้ หมายในแตล่ ะรอบของพืน้ ท่ี

รพ.สต./ รพ. / สสอ./ สสจ.

A = จำนวนมารดาตายระหว่างตัง้ ครรภ์ คลอด และหลงั คลอดภายใน 42 วัน ทุกสาเหตุ ยกเว้นอบุ ตั เิ หตุ ในช่วง

เวลาทก่ี ำหนด

B = จำนวนการเกดิ มีชีพทง้ั หมดในช่วงเวลาเดยี วกัน

C = หญิงต้ังครรภ์ทีม่ าฝากครรภ์ เจาะเลือดคร้ังแรก มคี า่ ฮีมาโตครติ ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 33

D = จำนวนของหญิงตง้ั ครรภ์ทมี่ าฝากครรภ์ เจาะเลอื ดคร้งั แรก

E = จำนวนหญงิ หลงั คลอดไดร้ บั การดูแลครบ 3 ครงั้ ตามเกณฑ์

F = จำนวนหญิงหลงั คลอดทง้ั หมดในชว่ งเวลาเดียวกนั

G = จำนวนทารกแรกเกดิ ทมี่ ีน้ำหนักนอ้ ยกวา่ 2,500 กรัม ในช่วงเวลาท่ีกำหนด

H = เด็กไทยอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ทุกคนที่อยู่อาศัยในพื้นที่รับผิดชอบ (Type1 มีชื่ออยู่ในทะเบียน

บา้ น ตัวอยจู่ ริงและType3 ที่อาศัยอยใู่ นเขต แต่ทะเบียนบา้ นอยู่นอกเขต)

11

รายละเอยี ดตัวชี้วดั คำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปีงบประมาณ 2566

ของ ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลชมุ ชน และสาธารณสุขอำเภอ

รายการข้อมลู ที่ 9 I = จำนวนเด็กอายุ 9,18, 30, 42 และ 60 เดือน ทั้งหมดในเขตรับผดิ ชอบทีไ่ ด้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการจริง รายการขอ้ มลู ท่ี 10 รายการข้อมลู ท่ี 11 ในช่วงเวลาท่ีกำหนด รายการขอ้ มูลที่ 12 J = จำนวนเดก็ อายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน มพี ัฒนาการสงสัยล่าชา้ (ตรวจคร้ังแรก)ทง้ั เด็กทีต่ ้องแนะนำให้พอ่ รายการข้อมูลท่ี 13 รายการขอ้ มลู ท่ี 14 แม่ ผปู้ กครอง ส่งเสริมพฒั นาการตามวัย 30 วนั (1B261) แลว้ ตดิ ตามกลบั มาประเมินคดั กรองพัฒนาการครงั้ ท่ี 2 สตู รคำนวณ ตัวชี้วดั K = จำนวนเดก็ อายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า (ตรวจคร้ังแรก) ที่ต้องแนะนำให้พ่อแม่

ระยะเวลาประเมินผล ผ้ปู กครอง ส่งเสรมิ พฒั นาการตามวยั 30 วัน (1B261)

เกณฑ์การประเมิน L = จำนวนเดก็ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดอื น ที่ไดร้ บั การตรวจคดั กรองพัฒนาการโดยใชค้ ู่มอื เฝ้าระวงั และสง่ เสรมิ

พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั (DSPM) แลว้ ผลการตรวจคดั กรอง ผา่ นครบ 5 ดา้ น ในการตรวจคัดกรองพฒั นาการคร้งั แรก

รวมกบั เด็กที่พบพัฒนาการสงสยั ลา่ ช้าและไดร้ ับการตดิ ตามใหไ้ ดร้ บั การกระตุ้นพัฒนาการ และประเมนิ ซำ้ แล้วผล

การประเมิน ผา่ นครบ 5 ด้านภายใน 30 วัน (1B260)

M = จำนวนเดก็ อายุ 0 - 5 ปี สงู ดสี มส่วน

N = จำนวนเดก็ อายุ 0 - 5 ปีที่ชั่งนำ้ หนกั และวดั ส่วนสูงท้ังหมด

1. อัตราส่วนการตายมารดา ≤17 :แสนการเกดิ มชี พี

\= × ,

2. รอ้ ยละภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ (Hct1)

\= ×

3. ร้อยละหญิงหลงั คลอดไดร้ บั การดแู ลครบ 3 คร้งั ตามเกณฑ์

\= ×

4. รอ้ ยละของทารกแรกเกดิ นำ้ หนกั นอ้ ยกวา่ 2,500 กรัม

\= ×

5. ร้อยละของเดก็ อายุ 0-5 ปี ท่ีมีพฒั นาการสงสัยลา่ ชา้ ไดร้ ับการตดิ ตามภายใน30วนั

\= ×

6. รอ้ ยละของเดก็ อายุ 0-5 ปี มพี ฒั นาการสมวยั

\= ×

7. รอ้ ยละของเดก็ อายุ 0-5ปี สงู ดสี มสว่ น

\= ×

ปีละ 2 รอบ รอบที่ 1 (ตค.-มคี .) รอบท่ี 2 (ตค.-มิย.)

กำหนดค่าเป้าหมายท่จี ะทำให้สำเร็จ 8 ตวั ชี้วดั ดงั นี้ รอบท่ี 1 (ตค.-มคี .) รอบท่ี 2 (ตค.-มยิ .)

ตวั ช้วี ัด( ) นำ้ หนกั 1 เกณฑก์ ารให้คะแนน คา่ ค่าคะแนน ( ) 2 34 5 คะแนน เฉล่ยี ถว่ ง

  1. อัตราการตายมารดา<17 : 0.15 มีแม่ตาย = 0 ไมม่ ีแมต่ าย = 5 ทไี่ ด้ น้าหนกั แสนการเกดิ มชี พี ( ) ( )
  1. ร้อยละภาวะโลหิตจางของ 0.15 ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ≤รอ้ ยละ

หญิงตัง้ ครรภ์ (Hct1) 17.1-18 16.1-17 15.1-16 14.1-15 14

  1. ร้อยละหญิงหลังคลอดได้รับ 0.15 <ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ 75

การดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ 60 60-64.9 65-69.9 70-74.9 ขน้ึ ไป

(รอ้ ยละ 75)

12

รายละเอียดตัวชี้วดั คำรบั รองการปฏบิ ัติราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปงี บประมาณ 2566

ของ ผ้อู ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และสาธารณสุขอำเภอ

  1. ร้อยละของทารกแรกเกิด 0.15 มากกว่า ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ≤รอ้ ยละ 7

นำ้ หนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 10 9.1-10 8.1-9 7.1-8

  1. เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย 0.1 <ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ 95

(รอ้ ยละ 85) 80 80-84.9 85-89.9 90-94.9 ข้ึนไป

  1. เด็กอายุ 0-5 ปี ที่สงสัยล่าช้า 0.15 <ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ 90

ได้รับการติดตามภายใน 30 วัน 75 75-79.9 80-84.9 85-89.9 ขึ้นไป

(รอ้ ยละ 90)

  1. เด็กอายุ 0-5ปี สูงดีสมส่วน 0.15 <รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ 66

(ร้อยละ 66) 45-49.9 50-54.9 55-59.9 60-65.9 ข้ึนไป

นำ้ หนกั คะแนนรวมของตวั ชีว้ ัด (∑▒ _ ผลรวมคะแนนเฉลย่ี ถว่ งนำ้ หนกั ∑▒(W_i \= 1) ×SM_i )

หมายเหตุ แปลงน้ำหนักของทกุ ตวั ชีว้ ดั ให้ผลรวมของนำ้ หนักทุกตวั ช้วี ัดเท่ากับ 1(∑▒ _ = 1)

หลักเกณฑก์ ารให้คะแนน : ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานสง่ เสริมสขุ ภาพกล่มุ แมแ่ ละเดก็

โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดงั น้ี

ระดบั คะแนน 1234 5 \>รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละความสำเร็จของการดำเนินงาน < ร้อยละ 75 ร้อยละ ร้อยละ >ร้อยละ สง่ เสริมสุขภาพกล่มุ แม่และเดก็ 75-79 80-84 85-89

วิธีการประเมินผล 1.ใชข้ ้อมลู จากระบบ Health Data Center (HDC) ประมวลผลทกุ 30 วนั (ทกุ เดือน) เอกสารสนบั สนนุ : 2. โรงพยาบาลทเ่ี กดิ กรณแี ม่ตายรายงาน สสจ.ภายในเวลา 24 ชว่ั โมง สสจ.รายงานศนู ย์อนามยั ภายใน 7 วนั 3. รายงานสบื สวนการตาย (CE) จาก สสจ. ไปยังศนู ยอ์ นามยั และกรมอนามยั ภายใน 30 วัน 4. รายงานผลการ Conference maternal death case หมายเหตุ : การดึงข้อมูลจาก HDC ต้องรอการบนั ทึกข้อมูลสมบูรณ์ อยา่ งนอ้ ย 45 วัน 1. คมู่ อื มาตรฐานงานอนามัยแมแ่ ละเด็ก กรมอนามยั 2. คู่มือมาตรฐานงานหอ้ งคลอด กรมการแพทย์ 3. มาตรฐานบรกิ ารอนามยั แม่และเดก็ คุณภาพ (Safe Mother hood and Baby Friendly hospital ) 4. สมุดบันทกึ สุขภาพแมแ่ ละเดก็ คมู่ อื มสิ นมแม่ 5. คูม่ อื นักสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กหลักสตู รเร่งรดั ประจำโรงพยาบาล 6. คู่มือ DSPM (ฉบับปรับปรงุ เปน็ ไฟลอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์และ QR Code เชื่อมคลปิ วดี โี อ) และ คูม่ อื DSPM ฉบับพอ่ แม่ (ครอบครวั ) (เป็น ไฟลอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์) 7. คูม่ ือ TEDA4I 8. คู่มือเฝ้าระวงั การควบคุมการสง่ เสริมการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก 9. คู่มอื คลินิกเดก็ ดคี ณุ ภาพ

13

รายละเอียดตัวช้ีวดั คำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปีงบประมาณ 2566

ของ ผ้อู ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชมุ ชน และสาธารณสุขอำเภอ

รายละเอยี ดข้อมูลพ้ืนฐาน

ตัวช้วี ดั Baseline ผลการดำเนนิ งานในรอบปงี บประมาณ พ.ศ. data* 2563 2564 2565

1. อตั ราการตายมารดาตอ่ การเกดิ มีชพี แสนคน <17 :แสนการ 11.91 77.86 51.35

เกิดมชี ีพ (1/5,233) (3/3,853) (2/3,853)

  1. รอ้ ยละภาวะโลหิตจางของหญงิ ต้งั ครรภ์ (Hct1) ≤รอ้ ยละ 14 15.60 17.45 16.09

(488/3,128) (513/2,939) (466/2,792)

3. ร้อยละหญงิ หลังคลอดได้รบั การดแู ลครบ 3 ครง้ั ตามเกณฑ์ รอ้ ยละ 75 70.18 63.38 85.83

(2,356/3,357) (1,795/2,832) (2,514/2,929)

  1. รอ้ ยละของทารกแรกเกดิ นำ้ หนกั นอ้ ยกวา่ 2,500 กรัม ≤ร้อยละ 7 6.13 8.28 8.13

(269/4,386) (314/3,793) (287/3,531)

  1. เดก็ ปฐมวัยมีพฒั นาการสมวยั (รอ้ ยละ 85) ≥รอ้ ยละ 85 88.62 83.34 92.33
  1. เด็กอายุ 0-5 ปี ทสี่ งสยั ลา่ ชา้ ได้รบั การติดตามภายใน 30 วัน (รอ้ ยละ 90) ≥รอ้ ยละ 90 88.37 85.03 90.77
  1. เด็กอายุ 0-5ปี สูงดสี มสว่ น (รอ้ ยละ 66) ร้อยละ 66 47.10 50.49 53.65

ผู้ใหข้ ้อมลู ทาง 1.ดร.กมลเนตร ใฝ่ชำนาญ มอื ถอื 08-1954-2521 E-mail : [email protected]

วชิ าการ/ ผูป้ ระสาน 2.นางวนดิ า เทพอินทร์ โทรศพั ท์ 0969784764 E-Mail : [email protected]

งานตัวชว้ี ดั

กลุ่มงานทจ่ี ัดทำ กลุม่ งานส่งเสรมิ สุขภาพ สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั เลย

ขอ้ มูล

ผู้รบั ผดิ ชอบการ ชอ่ื -สกลุ ผู้รบั ผดิ ชอบ

รายงานผลการ 1. พญ.ระพพี รรณ จันทร์อว้ น รองนายแพทย์สาธารณสุขจงั หวดั เลย (ดา้ นเวชกรรมปอ้ งกนั 3)

ดำเนนิ งาน 2. นางมนฤดี นามวงษ์ หัวหน้ากลมุ่ งานส่งเสรมิ สุขภาพ

มอื ถือ 088-5627966 E-mail : [email protected]

14

รายละเอียดตัวชี้วดั คำรับรองการปฏิบตั ิราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปงี บประมาณ 2566

ของ ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และสาธารณสุขอำเภอ

กลยุทธ์ 1.เสริมสร้างความเข้มแขง็ ของกลไกการขบั เคล่ือน และภาคเี ครอื ขา่ ยผสู้ งู อายทุ กุ ระดบั

2.พัฒนาการสง่ เสริมสุขภาพผ้สู งู อายุ

3.พฒั นาระบบบริหารจดั การและคณุ ภาพตามมาตรฐาน 4.พัฒนาศักยภาพบุคลากรดา้ นผูส้ งู อายุ

ชือ่ ตวั ชี้วดั ความสำเร็จของการดำเนนิ งานส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพท่ีพึงประสงค์ และการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในสถาน

บรกิ ารและในชุมชน

ชอ่ื ตวั ช้วี ดั ย่อย 1) ร้อยละผู้สูงอายุทกุ คนในชุมชนไดร้ ับการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพข้ันพืน้ ฐานตามชุดสิทธิประโยชน์ (ADL

และประเมนิ สุขภาพและคดั ครองกลมุ่ อาการ/ปัญหาผสู้ ูงอายุ 9 ขอ้ (ร้อยละ95/90)

  1. ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบเป็นกลุ่มเสี่ยงหกล้ม และสมองเสื่อม ได้รับการดูแลแก้ไขปัญหา ป้องกัน

ปจั จัยเสี่ยง ส่งเสรมิ สขุ ภาพในระดับปฐมภมู ิ (รอ้ ยละ90)

  1. ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบเป็นกลุ่มเสี่ยงหกล้ม และสมองเสื่อม ได้รับการดูแลแก้ไขปัญหา ป้องกัน

ปจั จัยเสยี่ ง ส่งเสรมิ สขุ ภาพในระดบั ปฐมภมู ิ แล้วไม่ดีข้ึน ไดร้ บั การสง่ ต่อ และการรักษาทเี่ หมาะสม (ร้อยละ90)

  1. ร้อยละผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงที่ผ่านการประเมินคัดกรองและมีปัญหาด้านสขุ ภาพ ได้รับการดูแลและวาง

แผนการสง่ เสรมิ ดูแลสุขภาพรายบุคคล (Care Plan) (ร้อยละ95)

  1. ร้อยละของหน่วยบริการมีการเบิกจ่ายงบประมาณในการดูแลผู้สูงอายุผ่านกองทุน LTC โดยมี % เงินคงเหลือ

<50% ในบัญชีเงินกองทนุ ฯ (รอ้ ยละ 100)

  1. ร้อยละของผู้สูงอายุที่ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) แล้วพบความเสี่ยงอย่างน้อย 1 ประเดน็ มแี ผนส่งเสรมิ สขุ ภาพดี (Wellness Plan) (ร้อยละ50)
  1. ร้อยละประชากรสูงอายทุ ีม่ ีพฤติกรรมสุขภาพทพ่ี งึ ประสงค์ (ร้อยละ52)

คำนยิ าม 1.1 ผู้สงู อายุ หมายถงึ ประชาชนทีม่ ีอายุตั้งแต่ 60 ปีขน้ึ ไป ทงั้ เพศชายและเพศหญงิ ในปที ปี่ ระเมิน โดยสามารถจำแนก

กลุมตามคาคะแนนการประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (Barthel Index for Activities of

Daily Living: ADL) ได 3 กลุม คือ

  1. กลุมติดสงั คม คือ ผสู ูงอายทุ ม่ี คี าคะแนน ADL ตง้ั แต 12 คะแนนข้นึ ไป ซง่ึ เปนผูสูงอายุทพี่ ง่ึ ตนเองได ชวยเหลือผู

อื่น ชุมชนและสงั คมได

  1. กลุมติดบาน คือ ผูสูงอายุที่มีคาคะแนน ADL อยูในชวง 5 – 11 ซึ่งเปนผูสูงอายุที่ดูแลตนเองไดบาง ชวยเหลือ

ตนเองไดบาง

  1. กลุมติดเตยี ง คือ ผูสงู อายุที่มคี าคะแนน ADL อยูในชวง 0 – 4 ซึง่ เปนผูสูงอายทุ พ่ี ึ่งตนเองไมได ชวยเหลือตนเอง

ไมได พกิ าร หรอื ทพุ พลภาพ

การประเมินคดั กรองปัญหาสขุ ภาพขัน้ พ้ืนฐานตามชดุ สทิ ธิประโยชน์ หมายถงึ

- การประเมินผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะพึ่งตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน

(Barthel Activities of Daily Living : ADL) ทุกรายรอบ 9 เดอื น และ 12 เดอื น

ADL (43แฟ้ม SPECIALPP รหัส 1B1280,1B1211,1B1282)

- ประเมินสุขภาพและคัดครองกลุ่มอาการผู้สูงอายุ 9 ข้อ (โดยคณะกรรมการพัฒนาเครื่องมือคัดกรองและ

ประเมนิ สุขภาพผสู้ งู อายุ กระทรวงสาธารณสขุ ) FALL(TUGT) (43แฟ้ม SPECIALPP รหัส 1B1200,1B1201,1B1202,1B1209)

Knee Osteoarthritis (43แฟม้ SPECIALPP รหสั 1B1270,1B1271,1B1272)

Dementia (AMT) (43แฟ้ม SPECIALPP รหสั 1B1220,1B1221,1B1223,1B1229)

BMI (คัดกรอง BMI จากค่านำ้ หนกั สว่ นสูง ของแฟม้ แฟ้ม NCDSCREEN , CHRONICFU)

15

รายละเอยี ดตัวช้ีวัดคำรบั รองการปฏบิ ัตริ าชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปงี บประมาณ 2566

ของ ผ้อู ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชมุ ชน และสาธารณสุขอำเภอ

Depression (คัดกรองซมึ เศรา้ 2Q จากแฟ้ม SPECIALPP รหสั 1B0280,1B0281)

DM (คดั กรอง เบาหวาน จากแฟม้ NCDSCREEN)

Hypertension (คดั กรอง ความดนั โลหติ สูง จากแฟ้ม NCDSCREEN) CVD (คดั กรอง CVD จากแฟม้ CHRONIC , CHRONICFU , LABFU , NCDSCREEN) สุขภาพช่องปาก (คดั กรองสขุ ภาพชอ่ งปาก จากแฟม้ SPECIALPP รหสั 1B1260,1B1261,1B1269)

คำนิยาม 1.2 ภาวะเสี่ยงสมองเสอื่ ม (การคัดกรอง AMT) พบเสี่ยง คือตอบถูกนอ้ ยกวา่ 7 ข้อ สมองเสื่อม (Dementia) เปน็ กลุม่ อาการทเ่ี กดิ จากมีการเสือ่ มถอยของความสามารถสมองไปเร่ือยๆ ทำให้ผู้ป่วย

มีอาการความจำบกพร่อง ซึ่งในช่วงแรกๆ จะทำให้ไม่สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ได้ และเมื่ออาการมากขึ้นจะลืมส่งิ

เก่าๆ ที่เคยรู้หรือเคยทำได้ตามลำดับ ร่วมกับมีอาการอื่นๆ ที่เกิดจากเปลือกสมองสูญเสียหน้า ที่ไป ผู้ป่วยจะมี

ปญั หาในเรอ่ื งการคิดคำนวณสมาธกิ ารรบั รู้ตนเองกับส่งิ แวดล้อม การใชภ้ าษา ความคดิ รเิ ร่ิมความเข้าใจในส่งิ ทเี่ ป็น

นามธรรมรว่ มกับมีอารมณพ์ ฤติกรรมและบุคลกิ ภาพเปลยี่ นไป

ภาวะเส่ยี งหกล้ม (ประเมินดว้ ย TUGT ) พบเสี่ยง ใช้เวลาต้ังแต่ 12 วนิ าทีข้ึนไป

ภาวะหกล้ม (Fall) เหตุการณ์ท่ีทำให้บคุ คลทรดุ ตัวลงกับพน้ื หรอื ระดบั ทต่ี ำ่ กวา่ เดมิ โดยไมต่ ้งั ใจ ท้งั ที่ก่อให้เกิดการ

บาดเจ็บหรือไมท่ ำใหเ้ กิดการบาดเจ็บของรา่ งกาย แต่ไมร่ วมการหกลม้ อนั เกิดจากแรงกระทำภายนอก หรือการหก ล้มท่ีเกดิ จากการเจ็บป่วย

คำนิยาม 2 แผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) หมายถึง แบบการวางแผนการดแู ลช่วยเหลอื ผู้สงู อายุ/ผู้มีภาวะพึ่งพงิ จาก คำนิยาม 3 Care Manager ทีมผู้เชี่ยวชาญ ครอบครัวและผู้ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่โดยผู้สูงอายุ/ผู้มีภาวะพึ่งพิงสามารถรับรู้ถึง ความชว่ ยเหลอื ทีมผใู้ หก้ ารชว่ ยเหลือทเ่ี ก่ียวข้อง คำนิยาม 4 ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง คือผู้สูงอายุกลุ่มตดิ บา้ น(ADL 5-11 คะแนน) กลุ่มติดเตยี ง(ADL 0-4 คะแนน) ได้รับการ ดูแลโดยบคุ ลากรสาธารณสขุ ทีมสหวชิ าชพี ตามแผนการดูแลผสู้ ูงอายุรายบคุ คล ผู้มีภาวะพึ่งพิง คือผู้มีอายุต่ำกว่า 60 ปี กลุ่มติดบ้าน(ADL 5-11 คะแนน) กลุ่มติดเตียง(ADL 0-4 คะแนน) ได้รบั การดูแลโดยบคุ ลากรสาธารณสุข ทีมสหวชิ าชพี ตามแผนการดแู ลผู้มีภาวะพ่ึงพงิ รายบุคคล การบรกิ ารดูแลระยะยาวด้านสาธารณสขุ สำหรบั ผสู้ ูงอายุท่ีมภี าวะพ่ึงพิง หมายความวา่ การบริการตามชุดสิทธิ ประโยชน์ในเอกสารแนบท้าย ที่เป็นการให้บริการ ณ ครัวเรือน หรือที่ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน หรือที่หน่วยบริการ หรือที่สถานบริการ ที่ให้บริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข สำหรับผู้สูงอายทุ ี่มภี าวะพึ่งพิง โดยบคุ ลากรสาธารณสขุ หรือผู้ชว่ ยเหลือดูแลผสู้ งู อายทุ ่ีมภี าวะพึ่งพงิ เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ หมายถึง เงินค่าใช้จ่าย สนับสนุนและส่งเสริมการบริการ ดแู ลระยะยาวตา้ นสาธารณสขุ สำหรบั ผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี าวะพ่ึงพิง ตามชุดสิทธปิ ระโยชน์ และอัตราการซดเชยค่าบรกิ าร ทกี่ ำหนด ทกี่ ารโอนลงสู่หน่วยบรกิ าร หรือสถานบริการ ทจี่ ดั บรกิ ารดแู ลระยะยาวด้านสาธารณสขุ สำหรับผสู้ งู อายุ ที่มภี าวะพง่ึ พงิ ตามท่คี ณะอนุกรรมการเห็นชอบ เพื่อจดั บริการตามชดุ สิทธิประโยชน์แกผ่ ู้สงู อายใุ นชุมซน สถานบริการ หมายความว่า สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ของเอกชน และของสภากาชาดไทย หน่วยบริการ คารประกอบโรคศิลปะสาขาต่างๆ และสถานบริการสาธารณสุขอื่นที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กำหนดเพิ่มเตมิ หน่วยบริการ หมายความวา่ สถานบริการท่ีไดข้ นึ้ ทะเบยี นไวต้ ามพระราชบญั ญตั หิ ลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2545 1.แผนสงเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) หมายถึง เครื่องมือในการสรางความรอบรูดานสุขภาพ (Health Literacy) แกผสู งู อายุ ซึง่ องคการอนามัยโลกไดใหความหมายของความรอบรูดานสุขภาพ วาหมายถงึ “ทกั ษะทาง ปญญาและสังคม ซ่ึงเปนตวั กำหนดแรงจูงใจ และความสามารถของปจเจกในการแสวงหา ทำความเขาใจ และการใช้

16

รายละเอียดตัวช้ีวัดคำรับรองการปฏิบตั ิราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปงี บประมาณ 2566

คำนิยาม 5 ของ ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชมุ ชน และสาธารณสุขอำเภอ

ขอมูลเพื่อสงเสริมและธำรงไวซึง่ การมีสุขภาพดี” แผนสงเสริมสขุ ภาพดี (Wellness Plan) มีองคประกอบการสงเสรมิ สขุ ภาพและจัดการปจจัยเสย่ี ง 6 ประเด็น ไดแก

1.1 ประเดน็ โภชนาการสำหรับผสู ูงอายุ 1.2 ประเดน็ การเคลือ่ นไหวของผสู งู อายุ 1.3 ประเด็นสุขภาพชองปากของผสู งู อายุ 1.4 ประเด็นผูสงู อายสุ มองดี 1.5 ประเด็นความสุขของผูสูงอายุ 1.6 ประเดน็ สงิ่ แวดลอมที่ปลอดภัยสำหรบั ผูสูงอายุ 2. ผูสงู อายุมีแผนสงเสริมสขุ ภาพดี (Wellness Plan) หมายถงึ ผูสงู อายุทมี่ ีคาคะแนน ADL ต้งั แต 12 คะแนนขน้ึ ไป (กลุมตดิ สังคม) ไดรบั การประเมนิ ความเสยี่ งดานสุขภาพ และจดั ทำแผนเพอ่ื การสงเสริมสขุ ภาพ โดยการจัดทำแผน สงเสรมิ สุขภาพดี (Wellness Plan) มีข้ันตอนดังนี้ 2.1 ผสู ูงอายุเขาสูกระบวนการดวยความสมคั รใจ และไดรบั การถายทอดองคความรู 2.2 ผสู ูงอายุประเมนิ ตนเองตามแนวทางการประเมนิ เพือ่ รับรูสถานการณสุขภาพ และความเสี่ยงดานสุขภาพ 2.3 จัดทำแผนสงเสรมิ สุขภาพดี (Wellness Plan) ผานโปรแกรมท่กี รมอนามยั พัฒนาขนึ้ หรือผานรปู แบบอื่นๆ 2.4 นำแผนสงเสรมิ สุขภาพดี(Wellness Plan) สกู ารปฏบิ ตั จิ ริง 2.5 หลังจากปฏิบตั ิตามแผนฯแลวผสู งู อายดุ ำเนินการประเมนิ ภาวะสุขภาพดวยตนเอง หรอื รวมกับเจาหนาที่ 2.6 ปรบั ปรุง /พฒั นาแผนฯ และนำไปปฏิบัติเพ่ือใหบรรลตุ ามเปาหมาย 2.7 แลกเปลีย่ นเรยี นรูและบอกตอแกเพือ่ นสมาชกิ ชมรม /กลมุ ทางสงั คมของผูสูงอายุในชุมชน หรอื ผูทีส่ นใจ 2.8 เสร็จส้ินกระบวนการ และปฏิบตั ิอยางตอเน่อื ง สมำ่ เสมอ เพือ่ การมสี ุขภาพดี ผูสูงอายุ หมายถึง ประชาชนทม่ี ีอายตุ ง้ั แต 60 ปขนึ้ ไป ผสู้ งู อายุ หมายถงึ ประชาชนที่มีอายุตง้ั แต่ 60 ปีขนึ้ ไป ทมี่ ี ADL ≥ 12 คะแนน ทัง้ เพศชายและเพศหญิง พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ หมายถึง การกระทำหรือพฤติกรรมของบุคคลที่ปฏิบัติแล้วส่งผลดีต่อสุขภาพของ บคุ คลน้นั ๆ เอง (ร่างกาย จิตใจ และสังคม) พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูส้ ูงอายุ ประกอบด้วย ด้านการบริโภคอาหาร ด้านการออกกำลังกาย ดา้ นการ จดั การความเครียด ด้านการจัดการอนามัยส่งิ แวดล้อม และดา้ นการดแู ลตนเองในภาวะเจบ็ ป่วย 1. มีกิจกรรมทางกายที่ระดับปานกลาง (เดิน/ปั่นจักรยาน/ทำงานบ้าน/ทำไร่/ทำสวน/ทำนา/ออกกำลังกาย) สะสม 150 นาท/ี สปั ดาห์ 2. กินผกั และผลไม้ไดว้ ันละ 5 กำมือ เปน็ ประจำ (6 – 7 วนั ตอ่ สปั ดาห์) 3. ดืม่ นำ้ เปลา่ อย่างน้อยวนั ละ 8 แก้ว 4. ไม่สบู บุหร่ี /ไมส่ บู ยาเสน้ 5. ไมด่ ื่มเครื่องดื่มทม่ี ีสว่ นผสมของแอลกอฮอล์ (เชน่ สุรา เบียร์ ยาดองเหล้า) 6. มกี ารดแู ลตนเองเมือ่ เจบ็ ปว่ ย (เม่อื ไมเ่ จบ็ ป่วยมีการดแู ลตนเอง, เม่อื มโี รคประจำตัว มกี ารรับประทานยาต่อเน่ือง) 7. มกี ารนอนหลับอยา่ งเพียงพอ อย่างนอ้ ยวนั ละ 7 – 8 ช่วั โมง 8. ด้านทนั ตกรรม/การดูแลสขุ ภาพช่องปาก หมายเหตุ: 1. ประเมินผ่าน Blue Book Application กรมอนามัย 2. ผ่านการประเมนิ ท้ัง 8 ดา้ น ถอื วา่ ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมสขุ ภาพทพี่ ึงประสงค์

17

รายละเอยี ดตัวช้ีวัดคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปงี บประมาณ 2566

ของ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเลย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชมุ ชน และสาธารณสุขอำเภอ

3. กิจกรรมทางกาย คือ การเคลื่อนไหวของร่างกายเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อ และทำให้ร่างกายมีการใช้

พลงั งานเพม่ิ ข้ึนจากขณะพัก ประกอบด้วย การทำกิจกรรมในชีวิต ประจำวนั เช่น การทำงานบ้าน การทำงานอาชีพท่ี

ต้องใช้แรงกาย การเดินทางดว้ ยจักรยานหรือเดินทางเดินข้ึนบนั ได และกิจกรรมยามวา่ ง เช่น ออกกำลังกาย เล่นกีฬา วิ่ง ปน่ั จกั รยานและการท่องเทย่ี ว(ท่มี า : แผนการสง่ เสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ.2561 –2573) 4. กินผกั และผลไม้ได้วันละ 5 กำมอื เป็นประจำ (6 – 7 วันต่อสปั ดาห)์

5. อ้างอิงดัชนีท่ี 8 ตามแผนปฏบิ ตั ิการด้านผสู้ ูงอายุ ระยะท่ี 2 (พ.ศ.2545 – 2565) ฉบับปรบั ปรงุ ครงั้ ที่ 2 พ.ศ.2561

เกณฑ์เป้าหมาย : ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานส่งเสรมิ พฤติกรรมสขุ ภาพที่พึงประสงค์ และการดูแลสขุ ภาพผูส้ งู อายใุ น

สถานบริการและในชุมชน

ปงี บประมาณ 2564 ปงี บประมาณ 2565 ปีงบประมาณ 2566

รอ้ ยละ 80 รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 90

เกณฑเ์ ปา้ หมาย : ปงี บประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 ปีงบประมาณ 2566 ตัวชี้วดั ร้อยละ 90 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95/90

1. ร้อยละผสู้ งู อายทุ กุ คนในชุมชนไดร้ บั การประเมนิ คดั ร้อยละ 90 ร้อยละ 90 ร้อยละ 90 กรองปัญหาสุขภาพข้ันพ้ืนฐานตามชุดสทิ ธิประโยชน์ (ADL และประเมนิ สุขภาพและคัดครองกล่มุ อาการ/ รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 90 ร้อยละ 90 ปญั หาผสู้ ูงอายุ 9 ขอ้ 2. ผูส้ ูงอายุทไ่ี ดร้ บั การคดั กรองแลว้ พบเปน็ กล่มุ เส่ยี ง รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 หกลม้ และสมองเส่ือม ได้รับการดูแลแก้ไขปัญหา ป้องกนั ปัจจยั เส่ียง ส่งเสริมสุขภาพในระดบั ปฐมภมู ิ - - (ใหม่) 100 ตำบล/141 การส่งตอ่ และการรักษาที่เหมาะสม - - หน่วยบริการ 3. ผูส้ ูงอายทุ ่ีได้รบั การคดั กรองแลว้ พบเปน็ กลุ่มเส่ยี ง รอ้ ยละ 50 รอ้ ยละ 50 รอ้ ยละ 100 หกล้ม และสมองเส่ือม ได้รับการดูแลแกไ้ ขปญั หา ปอ้ งกนั ปัจจยั เสี่ยง สง่ เสรมิ สขุ ภาพในระดับปฐมภมู ิ (ใหม)่ รอ้ ยละ 50 แล้วไม่ดขี ึ้น ไดร้ บั การสง่ ต่อ และการรักษาท่เี หมาะสม 4. รอ้ ยละผ้สู งู อายแุ ละผู้มภี าวะพงึ่ พิงทีผ่ า่ นการ รอ้ ยละ 52 ประเมนิ คัดกรองและมีปัญหาดา้ นสขุ ภาพ ได้รับการ ดูแลและวางแผนการส่งเสรมิ ดแู ลสขุ ภาพรายบคุ คล (Care Plan) 5.ร้อยละของหนว่ ยบริการมีการเบิกจา่ ยงบประมาณใน การดูแลผสู้ งู อายผุ า่ นกองทุน LTC โดยม%ี เงินคงเหลอื <50%

6.รอ้ ยละของผูส้ ูงอายทุ ีป่ ระเมนิ ความรอบร้ดู า้ นสุขภาพ (Health Literacy) แล้วพบความเส่ยี งอยา่ งน้อย 1 ประเด็น มแี ผนส่งเสริมสขุ ภาพดี (Wellness Plan) 7.รอ้ ยละของประชากรสูงอายทุ ่มี ีพฤติกรรมสขุ ภาพท่ี พงึ ประสงค์

18

รายละเอยี ดตัวช้ีวดั คำรบั รองการปฏบิ ัติราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปงี บประมาณ 2566

ของ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเลย ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลชมุ ชน และสาธารณสุขอำเภอ

วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ใหผ้ ูส้ ูงอายุไดร้ ับการดูแลส่งเสริม ปอ้ งกนั ฟน้ื ฟูด้านสุขภาพ จากทมี สหสาขาวิชาชีพ ของหน่วยบริการด้าน

สขุ ภาพทเี่ กย่ี วข้อง

2. เพอ่ื ให้ภาคเี ครือขา่ ยมกี ารสนับสนุนและขบั เคลื่อนการจดั บริการการดแู ลด้านสาธารณสขุ จากหนว่ ยบรกิ ารเช่อื มโยง ถึงทบ่ี ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอตามปญั หาสุขภาพ และตามชดุ สิทธปิ ระโยชน์ โดยการมสี ว่ นร่วมของครอบครวั ชุมชน และท้องถิ่น ใหผ้ สู้ งู อายมุ ีคณุ ภาพชีวิตท่ีดอี ย่ใู นสังคมอยา่ งมศี ักดศิ์ รเี ข้าถงึ บรกิ ารอย่างถ้วนหน้าและเทา่ เทยี ม

เป็นการสร้างสังคมแห่งความเอ้ืออาทรและสมานฉันท์

3. สามารถลดภาระงบประมาณคา่ ใช้จ่ายด้านสุขภาพภาครฐั อย่างยั่งยืน ลดความแออัดในหน่วยบรกิ าร เพ่มิ ทักษะใน

การจัดการดูแลสขุ ภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน โดยการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคีเครือขา่ ยในระดับชุมชน

4. เพอ่ื ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ขบั เคลือ่ นการจดั กจิ กรรมทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ดา้ นการสง่ เสริมสุขภาพ ฟนื้ ฟูและป้องกันในผู้สงู อายุ

และผมู้ ีภาวะพงึ่ พิงทุกคนต้ังแตร่ ะดับชุมชน ตำบล โดยภาคเี ครือข่ายในระดบั พืน้ ท่ที กุ ภาคส่วน

ประชากร 1. ประชาชนทม่ี อี ายุ 60 ปขี ้ึนไปทกุ คน ในจงั หวดั เลย

กลุม่ เปา้ หมาย 2. ผู้สงู อายทุ มี่ ีภาวะพ่ึงพงิ และมี ADL < 11 ทกุ สิทธ์ิการรกั ษา

3. ผทู้ ่มี ีภาวะพ่งึ พงิ และมี ADL < 11 ทุกสิทธก์ิ ารรักษา

4. ประชาชนท่มี อี ายุต้ังแต่ 60 ปีขึ้นไป ทมี่ ี ADL ≥ 12 คะแนน ร้อยละ 5 ของประชากรสูงอายุทง้ั หมดของพนื้ ท่ี

วธิ ีการจดั เก็บ ขอ้ มลู 1 : LTC

ขอ้ มูล ขอ้ มูลการคดั กรอง : - มีการประเมินความสามารถในการดำเนนิ ชีวิตประจำวัน (ADL) และบนั ทกึ ใน HosXP PCU ,Special pp - ประเมินสขุ ภาพและคัดครองกลมุ่ อาการผู้สงู อายุ 9 ขอ้ (โดยคณะกรรมการพัฒนาเครื่องมอื คดั กรองและ

ประเมนิ สขุ ภาพผ้สู งู อายุ กระทรวงสาธารณสขุ ) HosXP PCU ,Special pp ,NCD Screen ,Cockpit

- กลุ่มผสู้ ูงอายุและผทู้ ่ีมภี าวะพึ่งพิง : ได้รบั การประเมินความสามารถในการดำเนินชวี ติ ประจำวนั (ADL)

ประเมินตามรอบ 9 เดอื น และรอบ 12 เดอื น เพ่อื ดูการเปลย่ี นแปลงและคุณภาพของ Care Plan ในโปรแกรม LTC

สปสช.

ข้อมลู บริการสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั ดแู ลสขุ ภาพผู้สงู อายุในระดับตำบล : - การดูแลสง่ เสรมิ ดา้ นสุขภาพกาย สุขภาพจติ และทนั ตสุขภาพในผ้สู งู อายุ - มีระบบการส่งเสรมิ สุขภาพเชิงปอ้ งกันตามสถานการณ์การระบาด และควบคุมโรคในกลุ่มผสู้ งู อายแุ ละผู้มี

ภาวะพ่งึ พงิ ในระดับตำบล

- การประเมนิ ด้านสิง่ แวดลอ้ ม เชน่ ทีอ่ ยู่อาศยั ระบบสาธารณูปโภค ที่เอื้อต่อการดำรงชวี ติ ของกลมุ่ ผู้สูงอายุ และ

ผู้มีภาวะพ่ึงพงิ ในระดบั ตำบล เป็นต้น

ขอ้ มูลการจดั ทำ Care Plan ผู้สงู อายุ และผ้มู ภี าวะพงึ่ พิงรายบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดย

จัดทำเฉพาะกลมุ่ ผ้สู งู อายุ และผมู้ ภี าวะพงึ่ พงิ ที่มี ADL < 11 ) :

- หน่วยบรกิ ารมกี ารจดั ทำ Care Plan รายบุคคลผ่านระบบโปรแกรม Long Term Care (3C)

- มี Caregiver อาสาสมัครบรบิ าลทอ้ งถนิ่ อาสาสมคั รดูแลผสู้ งู อายุ และอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมบู่ ้าน เข้าเยี่ยมและให้การดแู ลช่วยเหลอื ผู้สูงอายุและผมู้ ภี าวะพง่ึ พิงตาม Care Plan

- พื้นท่หี น่วยบริการมีการบันทกึ ข้อมลู รายงานผลการดูแลผสู้ งู อายแุ ละผู้มีภาวะพง่ึ พงิ

ลงใน Care Plan ผา่ นระบบโปรแกรม Long Term Care (3C)

แหล่งฐานขอ้ มูลทส่ี ามารถสบื ค้น /อ้างอิง :

- ระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) รายงานประจำเดอื นกรมอนามยั

- ระบบโปรแกรม Long Term Care สำนกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ

19

รายละเอียดตัวชี้วัดคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปีงบประมาณ 2566

ของ ผ้อู ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลชมุ ชน และสาธารณสุขอำเภอ

- ระบบโปรแกรม HDC กระทรวงสาธารณสขุ /สสจ.เลย - ระบบโปรแกรม Health KPI กระทรวงสาธารณสขุ - DOH Dashboard กรมอนามยั - Cockpit สสจ.เลย - สสจ.ประมวลผลขอ้ มลู จากฐานขอ้ มูลทเี่ ก่ยี วข้องทั้งหมดในภาพรวม และรายอำเภอ หมายเหตุ : ทุกระบบมาจากแหลง่ ข้อมูลเดียวกันคอื ระบบโปรแกรม Long Term Care (3C)

ขอ้ มลู 2 : พฤติกรรมสขุ ภาพทพี่ ึงประสงค์ 1. สำรวจข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงคข์ องผู้สงู อายใุ นพื้นทต่ี ามระเบยี บวิธีวิจัย (สสจ.จะดำเนนิ การกำหนด จำนวนกล่มุ เปา้ หมายให้) 2. ทกุ หน่วยบรกิ าร(รพ./รพ.สต.) บันทกึ ขอ้ มูลใน Blue Book Application 3. สสจ.ประมวลผลในภาพรวมจังหวดั และจำแนกรายอำเภอ, สสอ.ตดิ ตาม และประมวลผลระดบั อำเภอ

แหลง่ ขอ้ มลู ข้อมลู 3 : แผนส่งเสริมสขุ ภาพดี 1. ประเมินความเสย่ี งดานสขุ ภาพ 6 องคป์ ระกอบ และจดั ทำแผนเพ่อื การสงเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) โดย รายการขอ้ มลู 1 สสจ.จะดำเนินการกำหนดจำนวนกลุ่มเปา้ หมายให้ รอ้ ยละ 5 ของจำนวนประชากรกลมุ่ ตดิ สังคม รายการข้อมลู 2 2. ทุกหน่วยบริการ(รพ./รพ.สต.) บันทึกข้อมูลใน Wellness Plan Application 3. สสจ.ประมวลผลในภาพรวมจังหวดั และจำแนกรายอำเภอ, สสอ.ตดิ ตาม และประมวลผลระดบั อำเภอ 1. รพ.สต./ รพ. / สสอ./ สสจ. 2. ฐานขอ้ มลู /โปรแกรม/Application

- Blue Book Application กรมอนามัย - Wellness Plan Application กรมอนามยั - ระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) กรมอนามัย - ระบบโปรแกรม Long Term Care สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ปรบั ปรุงใหมป่ ีงบประมาณ66) - ระบบโปรแกรม HDC กระทรวงสาธารณสุข - ระบบโปรแกรม Health KPI กระทรวงสาธารณสุข - DOH Dashboard กรมอนามัย 3. รายงานการโอนงบประมาณกองทุน LTC รายเดือน โดย สปสช. A = ประชาชนที่มอี ายุตั้งแต่ 60 ปขี ้นึ ไป ในพืน้ ท่ีรับผดิ ชอบทุกคน ในปีที่ประเมนิ B = ประชาชนที่มีอายุตัง้ แต่ 60 ปีขึ้นไป ในพื้นท่ีรับผดิ ชอบทุกคน ทไ่ี ด้รบั การคดั กรองปัญหาสุขภาพขั้นพนื้ ฐานตาม ชดุ สทิ ธิประโยชน์ (ADL) และประเมินสุขภาพ/คดั ครองกลมุ่ อาการ/ปญั หา ผสู้ ูงอายุ 9 ข้อ) B1 = ADL (43แฟม้ SPECIALPP รหัส 1B1280,1B1211,1B1282) B2 = FALL(TUGT) (43แฟ้ม SPECIALPP รหัส 1B1200,1B1201,1B1202,1B1209) B3 = Dementia (AMT) (43แฟม้ SPECIALPP รหสั 1B1220,1B1221,1B1223,1B1229) B4 = BMI (คดั กรอง BMI จากค่าน้ำหนักสว่ นสงู ของแฟม้ แฟม้ NCDSCREEN , CHRONICFU) B5 = Knee Osteoarthritis (43แฟม้ SPECIALPP รหสั 1B1270,1B1271,1B1272) B6 = Depression (คัดกรองซมึ เศรา้ 2Q จากแฟม้ SPECIALPP รหสั 1B0280,1B0281) B7 = DM (คัดกรอง เบาหวาน จากแฟ้ม NCDSCREEN) B8 = Hypertension (คดั กรอง ความดนั โลหิตสงู จากแฟ้ม NCDSCREEN)

20

รายละเอยี ดตัวช้ีวัดคำรับรองการปฏบิ ตั ริ าชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปงี บประมาณ 2566

ของ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเลย ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และสาธารณสขุ อำเภอ

รายการขอ้ มลู 3 B9 = CVD (คดั กรอง CVD จากแฟ้ม CHRONIC , CHRONICFU , LABFU , NCDSCREEN) รายการข้อมลู 4 B10 = สุขภาพชอ่ งปาก (คดั กรองสขุ ภาพช่องปาก จากแฟ้ม SPECIALPP รหสั 1B1260,1B1261,1B1269) (หมายเหตุ :ใชใ้ นการประเมนิ ตวั ชี้วัด MOU B1-4 แตเ่ ขต monitor ทุกตัว) C = ผู้สูงอายุที่ไดร้ บั การคดั กรองแล้วพบเปน็ กลมุ่ เสย่ี งหกลม้ และสมองเสื่อม ไดร้ ับการดูแลแก้ไขปญั หา ปอ้ งกนั ปัจจัยเสีย่ ง สง่ เสรมิ สขุ ภาพในระดบั ปฐมภูมิ (43แฟม้ SPECIALPP รหสั 1B1201(หกลม้ ) รหัส 1B1221(สมองเสอื่ ม AMT)) D = ผู้สูงอายทุ ไ่ี ดร้ ับการคัดกรองแลว้ พบเป็นกลมุ่ เสยี่ งหกล้ม(ประเมินดว้ ยTUGT) และสมองเสือ่ ม(AMT) ทกุ คน (43แฟ้ม SPECIALPP รหสั 1B1201+1B1202+1B1209 (หกลม้ ) +รหสั 1B1221+1B1223 (สมองเส่ือมAMT) )

รายการข้อมลู 5 E = ผสู้ งู อายทุ ีไ่ ดร้ บั การคัดกรองแลว้ พบเปน็ กลมุ่ เสย่ี งหกล้ม และสมองเสื่อม ไดร้ ับการดูแลแกไ้ ขปัญหา ป้องกัน รายการขอ้ มูล 6 ปจั จยั เสย่ี ง สง่ เสรมิ สขุ ภาพในระดบั ปฐมภมู ิแล้วไม่ดขี ้ึน ไดร้ ับการส่งต่อและ/หรอื ดแู ลในคลินิกผสู้ ูงอายุระดับทตุ ิยภมู ิ รายการข้อมูล 7 และตติยภมู ิ (43แฟม้ SPECIALPP รหัส 1B1202(หกล้ม) รหัส 1B1223(สมองเสอ่ื มAMT) ) จะดูวา่ ไปรพ.หรอื ไม่ ให้ ดูรหสั R29.6) F = ผสู้ งู อายทุ ี่เสย่ี งหกลม้ และสมองเสอ่ื ม ไดร้ บั การดแู ลแกไ้ ขปญั หา ป้องกนั ปัจจยั เสยี่ ง สง่ เสรมิ สขุ ภาพในระดับ ปฐมภมู ิแลว้ ไมด่ ขี ้นึ ท้งั หมด ( 43แฟม้ SPECIALPP รหสั 1B1202(หกลม้ ) รหสั 1B1223(สมองเสื่อมAMT) ) จะดูวา่ ไปรพ.หรือไม่ ให้ดรู หสั R29.6) G = ผู้สูงอายุและผมู้ ภี าวะพ่ึงพิงทีผ่ ่านการประเมินคัดกรองและมปี ัญหาด้านสุขภาพ ไดร้ บั การดูแลและวางแผนการ ส่งเสรมิ ดูแลสขุ ภาพรายบคุ คล (Care plan)

รายการข้อมลู 8 H = ผสู้ ูงอายแุ ละผมู้ ีภาวะพงึ่ พงิ จากการประเมนิ คดั กรองและมีปญั หาดา้ นสุขภาพ และบนั ทึกในโปรแกรม LTC3C ทุกคน

รายการข้อมลู 9 I = จำนวนหน่วยบรกิ าร/สถานบรกิ าร ทมี่ กี ารเบิกจา่ ยงบกองทุน LTC โดยพิจารณาจาก 1) การโอนงบกองทุนลงสู่ หนว่ ยบรกิ าร/สถานบริการ และ2) รอ้ ยละเงนิ คงเหลอื ในบญั ชีกองทนุ <50% รายการขอ้ มลู ที่ 10 J = จำนวนหน่วยบรกิ าร/สถานบรกิ าร ทัง้ หมด

รายการข้อมลู ท่ี 11 K = ผูส้ งู อายุตดิ สงั คมทป่ี ระเมินปจั จยั เสยี่ งดา้ นสุขภาพ แลว้ พบความเสีย่ งอย่างนอ้ ย 1 ประเดน็ มีแผนส่งเสรมิ สุขภาพดี (Wellness Plan)

รายการข้อมลู ที่ 12 L = ผูส้ ูงอายุกลมุ่ ตดิ สังคมทไ่ี ด้รับการประเมนิ ปัจจยั เสี่ยงด้านสุขภาพ รายการขอ้ มูลที่ 13 M = ประชาชนทมี่ ีอายตุ ัง้ แต่ 60 ปีข้ึนไป ที่มี ADL ≥ 12 คะแนน รอ้ ยละ 5 ของประชากรสูงอายทุ ้งั หมดของพ้ืนท่ี ที่มีพฤติกรรมสขุ ภาพท่ีพึงประสงค์ รายการข้อมลู ที่ 14 N = ประชาชนทม่ี ีอายตุ ั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ที่มี ADL ≥ 12 คะแนน รอ้ ยละ 5 ของประชากรสูงอายุทั้งหมดของพนื้ ท่ี

สตู รคำนวณ 1. ร้อยละผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพขั้นพื้นฐานตามชุดสิทธิประโยชน์ (ADL ตวั ชว้ี ัด และประเมินสขุ ภาพและคัดครองกลุม่ อาการผ้สู งู อายุ 9 ขอ้ (รอ้ ยละ 90)

\= B1 × 100 , B2 × 100, B3 × 100, B4 × 100 ........... , B10 × 100 A AAA A 2. ผู้สงู อายุทีไ่ ดร้ บั การคดั กรองแลว้ พบเปน็ กลุ่มเสย่ี งหกลม้ และสมองเสอื่ ม ไดร้ บั การดูแลแก้ไขปัญหา ปอ้ งกันปัจจยั

เสี่ยง ส่งเสริมสุขภาพในระดับปฐมภูมิ

\= C × 100 D

3. ผู้สงู อายทุ ไี่ ด้รับการคดั กรองแล้วพบเปน็ กลมุ่ เสย่ี งหกลม้ และสมองเสื่อม ได้รบั การดแู ลแกไ้ ขปัญหา ปอ้ งกนั ปจั จัย เสย่ี ง สง่ เสรมิ สุขภาพในระดบั ปฐมภมู ิแลว้ ไมด่ ขี ึน้ ไดร้ ับการสง่ ต่อ และการรกั ษาท่เี หมาะสม

\= E × 100 F

21

รายละเอยี ดตัวช้ีวัดคำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปีงบประมาณ 2566

ของ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเลย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชมุ ชน และสาธารณสุขอำเภอ

4. ร้อยละผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงที่ผ่านการประเมินคัดกรองและมีปัญหาด้านสุขภาพ ได้รับการดูแลและวาง แผนการสง่ เสริมดูแลสขุ ภาพรายบุคคล (Care Plan) (ร้อยละ 95)

\= G × 100 H

5. ร้อยละของหน่วยบริการมีการเบิกจ่ายงบประมาณในการดูแลผู้สูงอายุผ่านกองทุน LTC โดยมี%เงินคงเหลือ <50% (รอ้ ยละ 100)

\= I × 100 J

6. ร้อยละของผสู้ ูงอายทุ ี่ประเมินปจั จัยเสยี่ งดา้ นสขุ ภาพ แลว้ พบความเสีย่ งอย่างน้อย 1 ประเด็น มีแผนส่งเสรมิ สขุ ภาพดี (Wellness Plan)

\= × 100

7. รอ้ ยละของประชากรสูงอายทุ ่มี พี ฤตกิ รรมสุขภาพทีพ่ ึงประสงค์ (รอ้ ยละ 52)

\= × 100

ระยะเวลาประเมินผล ปีละ 2 รอบ รอบท่ี 1 (ตค.-มคี .) รอบที่ 2 (เม.ย.-ก.ย.)

เกณฑ์การประเมนิ กำหนดค่าเป้าหมายทจี่ ะทำใหส้ ำเร็จ รอบที่1 (ตค.-มีค.) 12 ตัวช้ีวดั ย่อย และ รอบท2ี่ (เม.ย.-ก.ย.) 13 ตัวช้ีวดั ยอ่ ย

กำหนดค่าเปา้ หมายทจ่ี ะทำใหส้ ำเรจ็ 12 ตวั ชว้ี ัดยอย ดังน้ี รอบที่ 1 (ตค.-มีค.)

ตัวช้ีวดั ( ) น้ำหนกั 1 เกณฑก์ ารให้คะแนน 5 ค่า คา่ คะแนน 234 คะแนน เฉลี่ยถว่ ง ( ) ท่ีได้ น้าหนกั

1. ร้อยละผู้สูงอายุทุกคนในชุมชน ( ) ( )

ได้รับการประเมินคัดกรองปัญหา

สุขภาพขั้นพื้นฐานตามชุดสิทธิ

ปร ะโย ชน ์ ( ADL แ ละปร ะเ มิน

สุขภาพและคัดครองกลุ่มอาการ/

ปัญหาผสู้ ูงอายุ 9 ขอ้ (ร้อยละ 90)

1.1 ADL 0.05 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95

1.2 Fall 0.02 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95

1.3 Dementia (AMT) 0.02 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95

1.4 BMI 0.02 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95 1.5 Knee OA 0.02 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95

1.6 Depression 0.02 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95

1.7 DM 0.01 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95

1.8 HT 0.01 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95

1.9 CVD 0.01 <45 45-49 50-54 55-59 ≥95

1.10 สขุ ภาพชอ่ งปาก 0.02 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95

2. ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้ว 0.025 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95 พบเป็นกลุ่มเสี่ยงหกล้ม สมองเสื่อม ได้รับการดูแลแก้ไขปัญหา ป้องกัน ปัจจัยเสี่ยง ส่งเสริมสุขภาพในระดับ ปฐมภูมิ (รอ้ ยละ 90) 2.1 Fall

22

รายละเอยี ดตัวชี้วดั คำรับรองการปฏบิ ัติราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปีงบประมาณ 2566

ของ ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชมุ ชน และสาธารณสุขอำเภอ

2.2 Dementia (AMT) 0.025 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95

3. ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแลว้ พบเป็นกลุ่มเสี่ยงหกล้ม สมองเสื่อม ได้รับการดูแลแก้ไขปัญหา ป้องกัน ปัจจัยเสีย่ ง ส่งเสริมสุขภาพในระดบั ปฐมภูมิแล้วไม่ดีขึ้น ได้รับการส่งต่อ และการรักษาที่เหมาะสม (ร้อยละ

90)

3.1 Fall 0.025 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95

3.2 Dementia (AMT) 0.025 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95

4. ร้อยละผู้สูงอายุและผู้มีภาวะ 0.15 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95

พึ่งพิงที่ผ่านการประเมินคัดกรอง

และมีปัญหาด้านสุขภาพ ได้รับ

การดูแลและวางแผนการส่งเสริม

ดูแลสุขภาพรายบุคคล (Care

Plan) (รอ้ ยละ 95)

5.ร้อยละของหน่วยบริการมีการ 0.15 <85 85-89 90-94 95-99 100

เบิกจ่ายงบประมาณในการดูแล

ผู้สูงอายุผ่านกองทุน LTC โดย

มี%เงินคงเหลือ <50% (ร้อยละ

100)

6.มีการบันทึกข้อมูลประเมิน 0.1 <30 30-39 40-49 50-59 ≥60

ปจั จยั เสยี่ งด้านสุขภาพ 6 ด้านใน

โปรแกรม IWP (ไม่น้อยกว่าร้อย

ละ 50 ของกลุม่ เป้าหมาย)

6.1 ร ้ อ ย ล ะ ข อ ง ผู สู ง อ า ย ุท่ี 0.1 <30 30-39 40-49 50-59 ≥60

ประเมินปัจจยั เสีย่ ง แล้วพบความ

เสี่ยงอย่างนอ้ ย 1 ประเด็น มแี ผน

ส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness

Plan)

7.มีการบันทึกข้อมูลพฤติกรรม 0.1 <30 30-39 40-49 50-59 ≥60

สุขภาพที่พึงประสงค์ในโปรแกรม

IWP หรือ BBA (ไม่น้อยกว่าร้อย

ละ 50 ของกล่มุ เปา้ หมาย)

7.1 ร้อยละของประชากรสูงอายุ 0.1 <30 30-39 40-49 50-59 ≥60

ท ี ่ ม ี พ ฤ ต ิ ก ร ร ม ส ุ ข ภ า พ ท ี ่ พึ ง

ประสงค์ร้อยละของประชากร

สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พงึ

ประสงค์

นำ้ หนักคะแนนรวมของตวั ช้ีวัด (∑ ผลรวมคะแนนเฉลีย่ ถ่วงนำ้ หนัก ∑( )

\= 1)

หมายเหตุ แปลงน้ำหนักของทกุ ตวั ชว้ี ัดให้ผลรวมของน้ำหนกั ทกุ ตวั ชีว้ ดั เท่ากับ 1(∑ = 1)

23

รายละเอยี ดตัวชี้วัดคำรบั รองการปฏบิ ัติราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปีงบประมาณ 2566

ของ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเลย ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และสาธารณสุขอำเภอ

จากนน้ั คำนวณคะแนนทไ่ี ดจ้ ากฐานคะแนนเตม็ 100 เพ่อื ปรับคา่ คะแนนเฉลย่ี ถว่ งนำ้ หนักใหเ้ ป็นรอ้ ยละ = (คะแนน

รวมหรือผลรวมคะแนนเฉล่ียถ่วงน้ำหนัก x100/5) ได้ค่าเท่าไรนำไปเทยี บหลกั เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนร้อยละ

ความสำเร็จของการดำเนนิ งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพผสู้ งู อายใุ นสถานบริการและในชุมชน

กำหนดคา่ เป้าหมายท่จี ะทำใหส้ ำเรจ็ 13 ตัวชว้ี ัดย่อย ดังน้ี รอบท่ี 2 (เม.ย.-ก.ย.)

ตัวช้ีวัด( ) นำ้ หนกั 1 เกณฑ์การใหค้ ะแนน 5 คา่ คา่ คะแนน 234 คะแนน เฉล่ียถว่ ง ( ) ท่ีได้ น้าหนกั

1. ร้อยละผู้สูงอายุทุกคนในชุมชน ( ) ( ) ได้รับการประเมินคัดกรองปัญหา สุขภาพขั้นพื้นฐานตามชุดสิทธิ ปร ะโย ชน ์ ( ADL แ ละปร ะเ มิน สุขภาพและคัดครองกลุ่มอาการ/ ปัญหาผูส้ ูงอายุ 9 ขอ้ (รอ้ ยละ 90)

1.1 ADL 0.05 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95 80-84 85-89 90-94 ≥95 1.2 Fall 0.02 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95 80-84 85-89 90-94 ≥95 1.3 Dementia (AMT) 0.02 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95 80-84 85-89 90-94 ≥95 1.4 BMI 0.02 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95 80-84 85-89 90-94 ≥95 1.5 Knee OA 0.02 <80 45-49 50-54 55-59 ≥95 80-84 85-89 90-94 ≥95 1.6 Depression 0.02 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95 1.7 DM 0.01 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95

1.8 HT 0.01 <80 80-84 85-89 90-94 ≥95 80-84 85-89 90-94 ≥95 1.9 CVD 0.01 <45 80-84 85-89 90-94 ≥95

1.10 สุขภาพชอ่ งปาก 0.02 <80

2. ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้ว พบเป็นกลุ่มเสี่ยงหกล้ม สมองเสื่อม ได้รับการดูแลแก้ไขปัญหา ป้องกัน ปัจจัยเสีย่ ง ส่งเสริมสุขภาพในระดบั ปฐมภูมิ (รอ้ ยละ 90)

2.1 Fall 0.025 <80

2.2 Dementia (AMT) 0.025 <80

3. ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้ว พบเป็นกลุ่มเสี่ยงหกล้ม สมองเสื่อม ได้รับการดูแลแก้ไขปัญหา ป้องกัน ปัจจัยเสี่ยง ส่งเสริมสุขภาพในระดบั ปฐมภูมิแล้วไม่ดีขึ้น ได้รับการส่งต่อ และการรักษาที่เหมาะสม (ร้อยละ 90)

3.1 Fall 0.025 <80

3.2 Dementia (AMT) 0.025 <80

4. ร้อยละผู้สูงอายุและผู้มีภาวะ 0.15 <80

พึ่งพิงที่ผ่านการประเมินคัดกรอง

24

รายละเอยี ดตัวช้ีวดั คำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปงี บประมาณ 2566

ของ ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และสาธารณสขุ อำเภอ

และมีปัญหาด้านสุขภาพ ได้รับ 85-89 90-94 95-99 100 การดูแลและวางแผนการส่งเสรมิ 85-89 90-94 95-99 ≥100 ดูแลสุขภาพรายบุคคล (Care 30-39 40-49 50-59 ≥60 Plan) (รอ้ ยละ 95) 85-89 90-94 95-99 100 30-39 40-49 50-59 ≥60 5.ร้อยละของหน่วยบริการมีการ 0.15 <85 ผลรวมคะแนนเฉล่ยี ถว่ งน้ำหนกั ∑( ) เบิกจ่ายงบประมาณในการดูแล ผู้สูงอายุผ่านกองทุน LTC โดย มี%เงินคงเหลือ <50% (ร้อยละ 100)

6.มีการบันทึกข้อมูลประเมิน 0.1 <85

ปจั จัยเสย่ี งด้านสุขภาพ 6 ด้านใน โปรแกรม IWP (ไม่น้อยกว่าร้อย ละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย)

6.1 ร ้ อ ย ล ะ ข อ ง ผู สู ง อ า ย ุท่ี 0.1 <30

ประเมนิ ปจั จัยเสยี่ ง แล้วพบความ เสย่ี งอย่างน้อย 1 ประเดน็ มแี ผน ส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan)

7.มีการบันทึกข้อมูลพฤติกรรม 0.1 <85

สุขภาพที่พงึ ประสงค์ในโปรแกรม IWP หรือ BBA (ไม่น้อยกว่าร้อย ละ 100 ของกลมุ่ เปา้ หมาย)

7.1 ร้อยละของประชากรสูงอายุ 0.1 <30

ท ี ่ ม ี พ ฤ ต ิ ก ร ร ม ส ุ ข ภ า พ ท ี ่ พึ ง ประสงค์ร้อยละของประชากร สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พงึ ประสงค์

น้ำหนกั คะแนนรวมของตัวช้ีวัด (∑

\= 1)

หมายเหตุ แปลงนำ้ หนักของทุกตวั ช้ีวดั ให้ผลรวมของน้ำหนักทุกตวั ช้วี ดั เท่ากับ 1(∑ = 1)

จากนัน้ คำนวณคะแนนทไ่ี ดจ้ ากฐานคะแนนเตม็ 100 เพื่อปรับค่าคะแนนเฉลี่ยถ่วงนำ้ หนักใหเ้ ปน็ ร้อยละ = (คะแนน รวมหรือผลรวมคะแนนเฉล่ียถว่ งน้ำหนกั x100/5) ไดค้ ่าเทา่ ไรนำไปเทียบหลักเกณฑก์ ารให้คะแนนรอ้ ยละ ความสำเร็จของการดำเนินงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพผสู้ ูงอายใุ นสถานบรกิ ารและในชมุ ชน

หลักเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงานสง่ เสริมสขุ ภาพผสู้ งู อายใุ นสถานบรกิ ารและใน

ชุมชน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดงั น้ี

ระดบั คะแนน 12345

ความสำเร็จของการดำเนนิ งาน <60 60-69 70--79 80-89 ≥90

สง่ เสริมสุขภาพผสู้ ูงอายุใน

สถานบรกิ ารและในชุมชน

25

รายละเอยี ดตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบตั ิราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปีงบประมาณ 2566

ของ ผ้อู ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และสาธารณสขุ อำเภอ

วธิ ีการประเมินผล 1.ใชข้ ้อมลู จากระบบ Health Data Center (HDC) ประมวลผลทกุ 30 วนั (ทุกเดอื น) 2.ใช้ข้อมลู จากระบบ Cockpit ประมวลผลทกุ 30 วนั (ทกุ เดอื น) 3.ใช้ขอ้ มลู จากระบบ Blue Book Application ประมวลผลทกุ 30 วัน (ทกุ เดือน) 4.ใช้ข้อมลู จากระบบ Wellness Plan ประมวลผลทุก 30 วนั (ทุกเดือน) 5.ใช้ขอ้ มูลจากระบบ LTC3C ประมวลผลทกุ 30 วนั (ทกุ เดอื น)

เอกสารสนับสนุน 1. สมดุ บันทกึ สุขภาพผสู้ งู อายุ Blue Book Application 2. คู่มือ Blue Book Application และเอกสารแนะนำการใชง้ าน Blue Book App V1.2 3. คู่มือแนวทางการส่งเสริมสขุ ภาพดี ชะลอชรา ชวี ายนื ยาว (Health Promotion & Prevention Individual Wellness Plan) สำหรับเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ และผสู้ ูงอายุ 4. คมู่ อื พฤติกรรมสุขภาพทพ่ี ึงประสงคผ์ สู้ ูงอายุ2565 5. เกณฑบ์ ุคคลและองคก์ รต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผสู้ ูงอายุ 6 ด้าน 6. คู่มอื ประเมินมาตรฐานคลินิกผสู้ งู อาย(ุ กรมการแพทย์) 7. คู่มอื คดั กรอง GS 8. คู่มือดแู ลรกั ษา GS 9. คู่มือการดแู ลผสู้ ูงอายแุ ละครอบครวั แบบองค์รวม 10. คมู่ อื แนวทางการสง่ เสรมิ สุขภาพดี ชะลอชรา ชวี ายืนยาว 11. คูม่ อื ใช้งานโปรแกรม Wellness Plan

ช่องทางดาวโหลดเอกสารวิชาการ และขอ้ มูลสำหรบั การดำเนนิ งาน กลุม่ งานสง่ เสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2566

รายละเอยี ดข้อมลู พืน้ ฐาน Baseline ผลการดำเนนิ งานในรอบปงี บประมาณ พ.ศ. data*66 ตวั ชวี้ ัด 2563 2564 2565 95 1. ร้อยละผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับการประเมินคัดกรองปัญหา 90 95.01 96.88 96.01 สุขภาพขั้นพื้นฐานตามชุดสิทธิประโยชน์ (ADL และประเมินสุขภาพ 90 90.04 93.38 94.99 และคัดครองกลมุ่ อาการผ้สู งู อายุ 9 ขอ้ 90 1.1 ADL 90 90.42 93.75 93.74 1.2 Fall 90 1.3 Dementia (AMT) 90 94.91 75.01 97.78 1.4 BMI 90 1.5 Knee OA 90 88.51 93.12 94.56 1.6 Depression 90 1.7 DM 91.21 92.66 94.49 1.8 HT 1.9 CVD (ตัวต้งั ใช้จำนวนทีไ่ ด้รับการคดั กรองของDM,HT) 89.84 89.12 88.37 1.10 สุขภาพชอ่ งปาก 94.63 92.55 91.90

36.75 35.88 61/46.11

86.34 91.35 93.03

26

รายละเอียดตัวช้ีวดั คำรบั รองการปฏบิ ัติราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปงี บประมาณ 2566

ของ ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และสาธารณสุขอำเภอ

2. ผูส้ งู อายุท่ไี ดร้ ับการคดั กรองแลว้ พบเปน็ กลมุ่ เสยี่ งหกลม้ สมองเสื่อม

ไดร้ ับการดูแลแกไ้ ขปัญหา ปอ้ งกนั ปัจจยั เส่ยี ง สง่ เสริมสุขภาพในระดบั

ปฐมภูมิ

2.1 Fall 90 86.71 100 90.40

2.3 Dementia (AMT) 90 77.02 100 96.26

3. ผ้สู งู อายุทไ่ี ดร้ บั การคดั กรองแลว้ พบเป็นกลุม่ เสี่ยงหกล้ม สมองเสอื่ ม

ได้รับการดูแลแก้ไขปญั หา ปอ้ งกันปจั จยั เสย่ี ง ส่งเสริมสขุ ภาพในระดับ

ปฐมภมู ิแลว้ ไม่ดีขน้ึ ได้รับการส่งตอ่ และการรกั ษาท่เี หมาะสม

3.1 Fall 90 100 100 100

3.2 Dementia (AMT) 90 100 100 100

4. รอ้ ยละผู้สูงอายแุ ละผมู้ ีภาวะพ่งึ พิงท่ีผ่านการประเมินคดั กรองและมี 95 92.68 95.52 93.79 ปัญหาดา้ นสุขภาพ ได้รับการดแู ลและวางแผนการส่งเสรมิ ดูแลสขุ ภาพ รายบุคคล (Care Plan) 100 82 83 85 5. ร้อยละของหนว่ ยบรกิ ารมีการเบิกจ่ายงบประมาณในการดแู ล ผู้สูงอายผุ ่านกองทนุ LTC โดยม%ี เงนิ คงเหลือ <50% (ร้อยละ 100) 50 ดำเนนิ การปีงบประมาณ 2566 เป็นปแี รก 6. รอ้ ยละของผสู ูงอายทุ ่ีประเมินปจั จยั เสย่ี ง แลว้ พบความเสีย่ งอย่าง น้อย 1 ประเด็น มแี ผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan)

7. รอ้ ยละของประชากรสงู อายทุ ม่ี พี ฤตกิ รรมสุขภาพทพี่ งึ ประสงค์ 52 13.22 8.04 78.36

ผู้ใหข้ ้อมลู ทาง ดร.จรุ รี ตั น์ ประวาลลญั ฉกร ตำแหนง่ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ วชิ าการ/ โทรศัพท์มอื ถือ 09-6721-2666 ผปู้ ระสานงาน E-mail : [email protected] ตัวชี้วัด Line : Dr.JU or 0967212666 กลุม่ งานท่จี ดั ทำ กลุ่มงานส่งเสรมิ สขุ ภาพ สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั เลย ขอ้ มลู เวบ็ ไซต์ : https://healthpromotionloei.blogspot.com/ E-Mail : [email protected] ผ้รู บั ผดิ ชอบการ ชือ่ -สกลุ ผู้รับผิดชอบ รายงานผลการ 1. นางสาวระพีพรรณ จนั ทรอ์ ว้ น รองนายแพทย์สาธารณสขุ จงั หวัดเลย (ดา้ นเวชกรรมปอ้ งกนั 3) ดำเนนิ งาน 2. นางมนฤดี นามวงษ์ หวั หน้ากลมุ่ งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ โทรศพั ท์ 08-1708-3113 มือถือ 088-5627966 E-mail : [email protected]

รายละเอียดตัวช้ีวดั คำรบั รองการปฏบิ ัติราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปีงบประมาณ 2566 27

ของ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเลย ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และสาธารณสขุ อำเภอ

หมวด 2.ดานบรกิ ารเปน็ เลศิ (Service Excellence)

แผนท่ี 6.การพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (Service Plan)

โครงการท่ี 7. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสขุ ภาพจติ และจติ เวช

ระดับการแสดงผล อำเภอ

ช่ือตวั ชว้ี ัด 27. รอ้ ยละของผปู้ ่วยโรคซึมเศราเขาถงึ บรกิ ารสุขภาพจติ

คำนยิ าม ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า หมายถึง ประชาชนไทยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค Depressive

Disorder ของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน ฉบับที่ 5 (DSM 5 : Diagnostic and Statistical

Manual of Mental disorders 5) และบันทกึ รหัสตามมาตรฐานการจำแนกโรคระหว่างประเทศ

ขององค์การอนามัยโลกฉบับที่ 10 (ICD-10 : International Classification of Diseases and

Health Related Problems - 10) หมวด F32.x, F33.x, F34.1, F38.x และ F39.x

เข้าถึงบริการสุขภาพจิต หมายถึง การที่ประชาชนผู้ซึ่งได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น

โรคซึมเศร้า ได้รบั การบริการตามแนวทางการดูแลเฝา้ ระวงั โรคซึมเศร้าระดับจังหวัด และแนวทางการ

จัดการโรคซึมเศร้าสำหรับแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป (CPG MDD GP) หรือได้รับการช่วยเหลือตาม

แนวทางมาตรฐานอย่างเหมาะสมจากหน่วยบริการทุกสถานบริการของประเทศไทย

เกณฑ์เปา้ หมาย :

ปีงบประมาณ 66 ปีงบประมาณ 67 ปงี บประมาณ 68 ปงี บประมาณ 69 ปีงบประมาณ 70

≥รอ้ ยละ 80 ≥รอ้ ยละ 83 ≥รอ้ ยละ 86 ≥รอ้ ยละ 89 ≥รอ้ ยละ 89

.

วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ใหผ้ปู ว่ ยโรคซมึ เศราไดร้ บั การดูแลรกั ษา มมี าตรฐานตอ่ เนื่อง ลดความรนุ แรง

ประชากรกลุ่มเปา้ หมาย ประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ที่มีภูมิลำเนาตามทะเบียนบ้านในจังหวัดของประเทศ ไทย ณ วันรับบริการ ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค Depressive Disorder ของสมาคม วิธีการจัดเกบ็ ข้อมูล จิตแพทย์อเมริกัน ฉบับที่ 5 (DSM 5 : Diagnostic and Statistical Manual of Mental แหลง่ ข้อมูล disorders 5) และบันทึกรหัสตามมาตรฐานการจำแนกโรคระหว่างประเทศขององค์การอนามัย รายการข้อมูล 1 โลกฉบับที่ 10 (ICD-10 : International Classification of Diseases and Health Related Problems - 10) หมวด F32.x, F33.x, F34.1, F38.x และ F39.x รวบรวมข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่เข้ารับบริการในหน่วยบริการสาธารณสุข โดยแยก ตามรายจังหวัดในเขตสุขภาพ จากระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (HDC) กระทรวงสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสขุ ท่วั ประเทศ A = จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่เข้าถึงบริการสะสมตั้งแต่ปีงบประมาณ 2552 จนถึง ปีประมาณ 2566 ทม่ี ีภมู ลิ ำเนาตามทะเบยี นบ้านของจงั หวัดที่รับผิดชอบในเขตสุขภาพ

รายการข้อมูล 2 B = จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าคาดประมาณของจังหวัดที่รับผิดชอบในเขตสุขภาพ28

จากความชุกท่ไี ดจ้ ากการสำรวจระบาดวิทยาโรคซมึ เศรา้ ปี 2551 โดยกรมสขุ ภาพจิต

สตู รคำนวณตัวชีว้ ดั (A/B) x 100

ระยะเวลาประเมินผล ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

เกณฑ์การประเมิน :

ปี 2566:

รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดอื น

- ร้อยละ 40 รอ้ ยละ 60 รอ้ ยละ 80

เกณฑก์ ารประเมนิ PA :ปีงบประมาณ 2566 สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั เลย เกณฑ์ให้คะแนน ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศราเขาถึงบริการสุขภาพจิต

เกณฑการประเมินใหค้ ะแนน 1 คะแนน < ร้อยละ 50

2 คะแนน ร้อยละ 50-60

. 3 คะแนน รอ้ ยละ 61-70 วิธกี ารประเมนิ ผล : 4 คะแนน เอกสารสนับสนุน : ร้อยละ 71-80

5 คะแนน \> รอ้ ยละ 80

กรมสุขภาพจิต โดยโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จะประมวลผลข้อมูลจำนวนผู้ป่วย โรคซึมเศร้าที่เข้ารับบรกิ ารในหน่วยบริการสาธารณสุข โดยแยกตามรายจังหวัดในเขตสุขภาพ จากระบบคลงั ขอ้ มูลดา้ นการแพทยแ์ ละสุขภาพ (HDC) กระทรวงสาธารณสุข ระบบคลังข้อมลู ด้านการแพทยแ์ ละสขุ ภาพ (HDC) กระทรวงสาธารณสขุ

รายละเอยี ดข้อมูลพน้ื ฐาน Baseline data หน่วยวัด ผลการดำเนินงานในรอบปงี บประมาณ พ.ศ. 29 ระดบั จงั หวัด รอ้ ยละ ร้อยละการเขา้ ถึง 2563 2564 2565 ผู้ใหข้ ้อมูลทางวิชาการ / บริการผู้ปว่ ยโรค ผปู้ ระสานงานตวั ชี้วดั ซมึ เศร้าระดับจงั หวดั 83.13 90.26 92.85

สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั เลย

1.นายเสกสรร อรรควาไสย์ พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ

โทรศัพทท์ ่ที ำงาน : 08 1708 3113 ต่อ 301 โทรศัพท์มอื ถือ : 06 4863 8404

โทรสาร : 0 4281 1702

E-mail : [email protected] สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดเลย

หน่วยงานประมวลผลและ งานสุขภาพจิตและจติ เวช กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ตดิ ต่อ สขุ ภาพจิตและยาเสพตดิ จดั ทำข้อมูล สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั เลย (ระดับจังหวดั )

ผ้รู ับผิดชอบการรายงานผล 1. นางนวลลออ พุทธสมิ า นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการพเิ ศษ การดำเนินงาน โทรศพั ท์ที่ทำงาน : 08 1708 3113 ต่อ 301 โทรศพั ท์มอื ถือ : : 08 4517 4705

โทรสาร : 0 4281 1702 E-mail : [email protected]

หวั หนา้ กลุ่มงานควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ สุขภาพจติ และยาเสพตดิ

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

รายละเอียดตัวชี้วดั คำรับรองการปฏิบตั ิราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปงี บประมาณ 256630

ของ ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผ้อู ำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และสาธารณสขุ อำเภอ

หมวด 2.ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)

แผนที่ 6. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)

โครงการท่ี 7. โครงการพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ สาขาสุขภาพจติ และจติ เวช

ระดบั การแสดงผล อำเภอ

ช่ือตวั ชี้วัด 1อัตราการฆา่ ตัวตายสำเรจ็

1.1 อัตราการฆ่าตัวตายสำเรจ็

1.2 ร้อยละของผพู้ ยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี

คำนยิ าม การฆ่าตัวตายสำเร็จ คือ การเสียชีวิตจากพฤติกรรมที่มุ่งทำร้ายตนเองโดยตั้งใจจะ

ให้ตายจากพฤติกรรมน้ัน

ผู้พยายามฆ่าตัวตาย หมายถึง ผู้ที่มีพฤติกรรมมุ่งทำร้ายตนเองแต่ไม่ถึงกับเสียชีวิต

โดยตั้งใจจะให้ตายจากพฤติกรรมนั้นและผลของการพยายามฆ่าตัวตายอาจบาดเจ็บหรือ

ไม่บาดเจ็บ ซงึ่ วิธีการท่ีใช้มลี ักษณะสอดคล้องตามมาตรฐานการจำแนกโรคระหว่างประเทศ

ขององคก์ ารอนามยั โลกฉบับที่ 10 (ICD - 10 : International Classification of Diseases

and Health Related Problems - 10) หมวด Intentional self-harm (X60-X84) หรอื

เทียบเคียงในกลุ่มโรคเดียวกันกับการวินิจฉัยตามเกณฑ์วินิจฉัยโรคของสมาคมจิตแพทย์

อเมรกิ นั ฉบบั ท่ี 5 (DSM-5: Diagnostic and Statistical Manual of Mental disorders 5)

ไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา1ปี หมายถึง ผู้ท่ีเคยพยายามฆ่าตัวตายในช่วง ปีงบประมาณได้รับการช่วยเหลืออย่างถูกต้องเหมาะสมและติดตามเฝ้าระวังจนไม่เกิด พฤติกรรมทำร้ายตนเองอีกครั้งในรอบปีงบประมาณเดียวกัน (ปีงบประมาณนับตั้งแต่ วันท่ี 1 ตุลาคม 2565-วันท่ี 30 กนั ยายน 2566)

ซง่ึ การชว่ ยเหลอื อย่างถูกต้องเหมาะสมจะประกอบด้วย 7 กจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ได้รับ การช่วยชีวิตและยบั ยั้งพฤติกรรมฆา่ ตัวตายรวมทั้งสง่ ต่อหน่วยบริการสาธารณสุขได้ทันทว่ งที

  1. ได้รับการวินจิ ฉัยตามเกณฑว์ นิ ิจฉัยโรคหมวด Intentional self-harm (X60-X84) 3) ไดร้ ับ การสอบสวนโรคกรณีฆ่าตัวตายและกระทำรุนแรงต่อตนเองเพื่อค้นหาและรวบรวมข้อมูล ปัจจัยกระตุ้น ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยปกป้อง และด่านกั้น รวมทั้งประเมินการเฝ้าระวัง การฆ่าตัวตายในครอบครัวและชุมชน 4) ได้รับการช่วยเหลือขจัดหรือบรรเทาปัจจัยกระตุ้น ปัจจัยเสี่ยง 5) ได้รับการสร้างเสริมปัจจัยปกป้อง และด่านกั้นการเข้าถึงวัสดุอุปกรณ์หรือ สารพิษที่ใช้ฆ่าตัวตาย 6) ญาติหรือผู้ดูแลใกล้ชิดได้รับการพัฒนาทักษะสังเกตสัญญาณเตือน และมีช่องทางติดต่อที่สะดวกกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่รับผิดชอบเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย ในพื้นที่ 7) ได้รับการเฝ้าระวังติดตามประเมินความคิดและการกระทำฆ่าตัวตายอย่าง สม่ำเสมอ เพื่อปอ้ งกนั ไม่ให้กระทำซ้ำ

เกณฑเ์ ป้าหมาย : อตั ราการฆ่าตัวตายสำเรจ็ 31

ปีงบประมาณ 66 ปงี บประมาณ 67 ปีงบประมาณ 68 ปงี บประมาณ 69 ปงี บประมาณ 70

≤ 8.0 ตอ่ ประชากร ≤ 8.0 ต่อประชากร ≤ 8.0 ตอ่ ประชากร ≤ 8.0 ตอ่ ประชากร ≤ 8.0 ต่อประชากร

แสนคน แสนคน แสนคน แสนคน แสนคน

เกณฑเ์ ป้าหมายย่อย : ร้อยละของผพู้ ยายามฆ่าตวั ตายไม่กลับมาทําร้ายตัวเองซำ้ ในระยะเวลา 1 ปี

ปงี บประมาณ 66 ปงี บประมาณ 67 ปีงบประมาณ 68 ปีงบประมาณ 69 ปีงบประมาณ 70

รอ้ ยละ 80 รอ้ ยละ 82 ร้อยละ 85 ร้อยละ 88 รอ้ ยละ 90

วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ใช้แสดงและติดตามภาวะสขุ ภาพอนามยั ทสี่ ำคัญด้านสุขภาพจิตของประชาชน

2. เพื่อใช้วัดผลลัพธ์ของมาตรการเฝ้าระวังป้องกันฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยงโดยเฉพาะกลุ่ม

ผพู้ ยายามฆ่าตวั ตาย

ประชากรกลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมายหลกั : ผู้ทเี่ ปน็ กลุม่ เส่ียงตอ่ การฆ่าตวั ตายท่วั ประเทศ

เป้าหมายย่อย : ผู้พยายามฆ่าตัวตายที่วิธีการที่ใช้มีลักษณะสอดคล้องตามมาตรฐาน

การจำแนกโรคระหว่างประเทศขององค์การอนามัยโลกฉบับที่ 10 ในช่วงเวลา

1 ปงี บประมาณ ( วันท่ี 1 เดือนตลุ าคม 2565 - กันยายน 2566 )

วิธีการจัดเกบ็ ข้อมลู ตัวชี้วัดหลัก : จำนวนผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จ รวบรวมจาก 1) ข้อมูลการแจ้งตายจาก

ฐานข้อมูลการตายทะเบียนราษฎร์ของกระทรวงมหาดไทย โดยกองยุทธศาสตร์และ

แผนงาน กระทรวงสาธารณสุข 2) รายงานการเฝ้าระวังการพยายามฆ่าตัวตาย รง 506S

  1. รายงานการสอบสวนโรคกรณฆี ่าตวั ตายหรอื การกระทำรุนแรงต่อตนเองโดยทีมสอบสวน

ของแต่ละจงั หวดั โดยบูรณาการ 3 ฐาน และตรวจสอบความซ้ำซอ้ นขอ้ มูล

ตัวช้ีวดั ยอ่ ย : จำนวนผพู้ ยายามฆา่ ตวั ตาย และฆา่ ตัวตายซ้ำ รวบรวมจาก 1) ข้อมูลสขุ ภาพ

Health Data Center (HDC) สำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2) รายงานการเฝ้าระวงั

การพยายามฆ่าตัวตาย รง 506 S และ 3)รายงานการสอบสวนโรคกรณีฆ่าตัวตาย หรือ

การกระทำรุนแรงต่อตนเอง (Self-Directed Violence, SDV) โดยบูรณาการข้อมูลจาก

3 ฐาน มกี ารตรวจสอบความซ้ำซอ้ นของข้อมลู

แหล่งข้อมลู เป้าหมายหลัก :

  1. ข้อมูลการแจ้งตายจากฐานข้อมูลการตายทะเบียนราษฎร์ของกระทรวงมหาดไทย โดย

กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข

  1. รายงานการเฝา้ ระวงั การพยายามฆา่ ตัวตาย รง 506 S
  1. รายงานการสอบสวนโรคกรณีฆ่าตวั ตายหรือการกระทำรุนแรงต่อตนเองโดยทีมสอบสวน

ของแตล่ ะจงั หวดั

เป้าหมายย่อย :

  1. ขอ้ มลู สุขภาพ Health Data Center (HDC) สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ
  1. รายงานการเฝ้าระวังการพยายามฆ่าตัวตาย รง 506 S

รายการขอ้ มูล 1 3) รายงานการสอบสวนโรคกรณีฆ่าตัวตาย หรือ การกระทำรุนแรงต่อตนเอง (S3e2lf- รายการข้อมูล 2 Directed Violence, SDV)

รายการขอ้ มูล 3 A = จำนวนผฆู้ า่ ตวั ตายสำเร็จ B = จำนวนประชากรกลางปี 2566 รายการขอ้ มูล 4 **หมายเหตุ สำหรบั ไตรมาส 2 ใช้ประชากรปลายปี 2565 สูตรคำนวณตวั ชี้วัด สำหรบั ไตรมาส 3 และ 4 ใช้ประชากรกลางปี 2566 ระยะเวลาประเมินผล C = จำนวนผู้พยายามฆ่าตวั ตายไม่กลับมาทำรา้ ยตวั เองซำ้ = จำนวนผ้พู ยายามฆ่าตัวตายทง้ั หมด ในปีงบประมาณ – จำนวนผู้พยายามฆ่าตวั ตายมากกว่า 1 ครั้งในปงี บประมาณ เกณฑก์ ารประเมิน : ปี 2566: D = จำนวนผ้พู ยายามฆา่ ตวั ตายทัง้ หมด ปีงบประมาณ 2566

รอบ 3 เดือน ตวั ชว้ี ดั หลัก : (A/B) x 100,000 - ตวั ชีว้ ดั ยอ่ ย : (C/D) x 100 - ตัวชี้วดั หลัก : ไตรมาส 4 ตัวชวี้ ดั ยอ่ ย : ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดอื น - - ≤ 8.0 ต่อประชากรแสนคน

ร้อยละ 50 รอ้ ยละ 70 ร้อยละ 90

เกณฑ์การประเมนิ PA :ปีงบประมาณ 2566 สำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั เลย เกณฑ์ให้คะแนน ประเมิน 1. อัตราการฆ่าตวั ตายสำเรจ็

ประเมนิ 1.1 ร้อยละของผู้พยายามฆา่ ตัวตายไมก่ ลับมาทําร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี 1คะแนน :

ประเมนิ 1.1 ประเมิน 1

<รอ้ ยละ60 >10.0 ต่อแสนประชากร

2 คะแนน :

ประเมนิ 1.1 ประเมิน 1

ร้อยละ61-70 9.0-10.0 ตอ่ แสนประชากร

3 คะแนน:

ประเมนิ 1.1 ประเมิน 1

ร้อยละ71-80 7.0-8.0 ตอ่ แสนประชากร

4 คะแนน : 33

ประเมิน 1.1 ประเมนิ 1

ร้อยละ81-90 6.0 ต่อแสนประชากร

5 คะแนน :

ประเมนิ 1.1 ประเมนิ 1

\>รอ้ ยละ90 <6.0 ต่อแสนประชากร

วิธกี ารประเมนิ ผล : นำข้อมลู ที่ได้มาวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิตใิ นรูปแบบของอัตราต่อประชากรแสนคน

เอกสารสนับสนนุ : 1. ชุดข้อมูลรายงานการตายที่รวบรวมจากใบมรณะบัตร กระทรวงมหาดไทย โดย

กองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ

2. ข้อมูลของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน ,ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

(HDC) สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ

3. รายงานการสอบสวนโรคกรณีฆ่าตัวตาย หรือ การกระทำรุนแรงต่อตนเอง

(Self-Directed Violence, SDV) (กรณีเสียชีวิต และไม่เสียชีวิต) และสำนักเทคโนโลยี

สารสนเทศ (Data Center) กรมสุขภาพจติ

รายละเอียดขอ้ มลู พน้ื ฐานระดบั Baseline data หน่วยวดั ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

จังหวดั 2563 2564 2565

การฆา่ ตัวตาย อตั ราต่อ 7.54 7.72 8.99(ข้อมูล

สำเรจ็ ประชากร ตรวจราชการ

แสนคน ปี2565)

ผู้พยายาม รอ้ ยละ 95.75 96.36 99.13

ฆ่าตัวตายไม่

กลับมาทําร้าย

ตวั เองซำ้ ใน

ระยะเวลา1 ปี

ผ้ใู ห้ข้อมูลทางวิชาการ / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

ผปู้ ระสานงานตัวช้ีวดั 1.นายเสกสรร อรรควาไสย์ พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ

โทรศัพทท์ ท่ี ำงาน : 08 1708 3113 ต่อ 301 โทรศัพท์มอื ถอื : 06 4863 8404

โทรสาร : 0 4281 1702 E-mail :

[email protected] สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

หน่วยงานประมวลผลและ งานสุขภาพจติ และจติ เวช กลมุ่ งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจติ และยาเสพตดิ 34

จดั ทำข้อมูล สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดเลย

(ระดับจังหวัด)

ผรู้ ับผิดชอบการรายงานผลการ 1. นางนวลลออ พุทธสิมา นกั วิชาการสาธารณสุขชำนาญการพเิ ศษ

ดำเนนิ งาน โทรศัพทท์ ี่ทำงาน : 08 1708 3113 ต่อ 301 โทรศัพท์มือถือ : : 08 4517 4705

โทรสาร : 0 4281 1702 E-mail : [email protected]

หัวหน้ากลมุ่ งานควบคุมโรคไม่ตดิ ต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดเลย

35

รายละเอยี ดตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบตั ิราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปีงบประมาณ 2566

ของ ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชมุ ชน และสาธารณสขุ อำเภอ

ประเด็นยุทธศาสตร์ พฒั นาสุขภาพตามกลุ่มวัยและเฝา้ ระวงั ภยั สุขภาพ

เป้าประสงค์ สรา้ งเสริมประชาชนทุกกลมุ่ วัย มีสุขภาพดี

ระดบั การแสดงผล รพ. /รพ.สต./ศสม.

ชื่อตัวชีว้ ดั KPI: ร้อยละเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟนั ผุ

เกณฑ์เปา้ หมาย

ปงี บประมาณ 2566 ปีงบประมาณ 2567 ปงี บประมาณ 2568 ร้อยละ 75 รอ้ ยละ 76 รอ้ ยละ 77

ระดบั จงั หวดั : ร้อยละ 75 ของเด็กอายุ 3 ปี

ระดับอำเภอ : ร้อยละ 75 ของเดก็ อายุ 3 ปี

วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อควบคุมโรคฟนั ผใุ นเดก็ ก่อนวัยเรยี น

ประชากรกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มอายุ 3 ปี

วิธกี ารจัดเก็บขอ้ มูล รวบรวมจากข้อมูลตามโครงสรา้ งมาตรฐานข้อมูลด้านสขุ ภาพ(43 แฟม้ )

รายงาน ระบบ Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข

แหล่งข้อมลู ฐานขอ้ มูลในระบบ HIS

รายการข้อมูล 1 A = นบั จำนวนจากรายการข้อมลู 2 (B) ท่ีได้รบั การตรวจสขุ ภาพช่องปาก และปราศจากฟัน

นำ้ นมผุ หมายถึง ในช่องปากเด็กปราศจากฟนั ผุ (caries free) โดยไมม่ รี ผู ุ (cavity) ฟันถอน

(missing) และอุด(filling)

รายการขอ้ มูล 2 B = จำนวนเด็กอายุ 3 ปี เตม็ ถงึ 3 ปี 11 เดือน 29 วัน ณ วนั ที่ 1 ม.ค .ทอ่ี าศัยอยใู่ นเขต

พ้ืนท่ีรบั ผดิ ชอบ มารับบริการตรวจช่องปาก และแฟ้ม Dental มี provider type = 02,06

โดยมเี งื่อนไขคณุ ภาพของแฟ้ม

(dcaries + dfilling + dextract ≤ 20 dteeth = 1-20 และ dcaries + dfilling

≤ dteeth)

สูตรคำนวณตัวชีว้ ดั (A/B) x 100

ระยะเวลาประเมินผล ไตรมาส 4

เกณฑก์ ารประเมนิ :

เกณฑ์การให้คะแนนประเมิน รพ. /รพ.สต./ศสม. รอบ 12 เดอื น

โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้

รพ.สต./ศสม./รพ. ทุกแห่ง มีการตรวจสขุ ภาพช่องปากเด็กอายุ 3 ปี และปราศจากฟันน้ำนมผุ < ร้อยละ 66 1 คะแนน

รพ.สต./ศสม./รพ. ทุกแหง่ มีการตรวจสขุ ภาพชอ่ งปากเด็กอายุ 3 ปี และปราศจากฟนั น้ำนมผุ รอ้ ยละ 66-68 2 คะแนน

รพ.สต./ศสม./รพ. ทกุ แห่ง มกี ารตรวจสุขภาพชอ่ งปากเดก็ อายุ 3 ปี และปราศจากฟนั นำ้ นมผุ รอ้ ยละ 69-71 3 คะแนน

รพ.สต./ศสม./รพ. ทุกแหง่ มีการตรวจสุขภาพชอ่ งปากเดก็ อายุ 3 ปี และปราศจากฟนั น้ำนมผุ รอ้ ยละ 72-74 4 คะแนน

รพ.สต./ศสม./รพ. ทุกแห่ง มีการตรวจสขุ ภาพชอ่ งปากเด็กอายุ 3 ปี และปราศจากฟนั น้ำนมผุ ≥รอ้ ยละ 75 5 คะแนน

36

ปี 2566: รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน รอบ 3 เดือน - ตรวจ รอ้ ยละ ≥28 ตรวจ ร้อยละ ≥42 ตรวจ ร้อยละ ≥ 55 (เป้าหมายร้อยละ ≥ 75) (เป้าหมายรอ้ ยละ ≥75) (รอ้ ยละ ≥75) ปี 2567: รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน ร้อยละ 76 ปี 2568: รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 3 เดือน รอบ 12 เดือน ร้อยละ 77

วิธกี ารประเมินผล เปรยี บเทียบผลการดำเนินงานกับค่าเปา้ หมาย เอกสารสนับสนนุ -HDC ของจงั หวดั

-มกี ารบนั ทกึ ผลการดำเนินงานของกลุม่ เป้าหมายรอ้ ยละ ≥55 จงึ นำมาพจิ ารณาคะแนน

- อืน่ ๆ (ถา้ มี)

รายละเอียด Baseline หน่วยวัด ผลการดำเนนิ งานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. ข้อมูลพืน้ ฐาน data ร้อยละ 2562 2563 2564 2565 60.23 68.10 70.66 72.20 (ท่ีมา:HDC) (ตรวจร้อย (ตรวจรอ้ ย (ตรวจรอ้ ย ละ48.18) ละ41.47) ละ35.08)

ผู้ใหข้ อ้ มลู ทางวิชาการ/ ผรู้ ับผิดชอบงาน ทนั ตแพทย์ปฏิบตั กิ าร ผู้ประสานงานตัวช้ีวดั นางสาวฑิตยา โอชาพันธุ์ นกั วชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ นางปทุมวัน ประสงค์ทรพั ย์ กลมุ่ งานทจี่ ดั ทำข้อมูล กลมุ่ งานทันตสาธารณสุข ผู้รบั ผิดชอบการรายงาน หัวหน้ากลมุ่ งาน ผลการดำเนินงาน นางกรณั ฑชา สธุ าวา

37

รายละเอยี ดตัวช้ีวดั คำรบั รองการปฏบิ ัติราชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปีงบประมาณ 2566

ของ ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลชมุ ชน และสาธารณสุขอำเภอ

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ พฒั นาสขุ ภาพตามกลุ่มวัยและเฝา้ ระวงั ภยั สขุ ภาพ

เป้าประสงค์ สร้างเสริมประชาชนทุกกลุ่มวัย มีสขุ ภาพดี

ระดบั การแสดงผล รพ./ รพ.สต./ศสม.

ชือ่ ตวั ช้วี ัด KPI: รอ้ ยละ คปสอ. มี รพ. /รพ.สต./ศสม.จัดบรกิ ารสขุ ภาพช่องปากที่มีคุณภาพและมีการใช้

บริการทนั ตกรรมรวมทุกสทิ ธ์ิตามเกณฑ์

เกณฑเ์ ปา้ หมาย

ปีงบประมาณ 2566 ปีงบประมาณ 2567 ปงี บประมาณ 2568 รอ้ ยละ 65 ร้อยละ 70 ร้อยละ 75

วัตถุประสงค์ เพ่ือการบรกิ ารด้านทันตกรรมท่ีครอบคลุมอย่างมีคณุ ภาพ

ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ระดบั จังหวัด : คปสอ.มี รพ./ รพ.สต./ศสม. จดั บริการสขุ ภาพชอ่ งปากที่มีคณุ ภาพ

และมกี ารใช้บริการทันตกรรมรวมทุกสิทธ์ติ ามเกณฑ์

ระดบั อำเภอ : รพ./ รพ.สต./ศสม. จัดบรกิ ารสขุ ภาพชอ่ งปากที่มคี ณุ ภาพและมีการ

ใช้บริการทันตกรรมรวมทุกสิทธต์ิ ามเกณฑ์

วธิ กี ารจดั เก็บขอ้ มลู รวบรวมจากขอ้ มลู ตามโครงสรา้ งมาตรฐานข้อมลู ดา้ นสุขภาพ(43 แฟม้ )

รายงาน ระบบ Health Data Center กระทรวงสาธารณสขุ

แหล่งข้อมูล ฐานข้อมลู ในระบบ HIS

รายการขอ้ มูล 1 ระดับจงั หวดั

A = จำนวน คปสอ. ทม่ี ี รพ./ รพ.สต./ศสม. จดั บริการสุขภาพช่องปากท่ีมีคณุ ภาพและมีการ

ใชบ้ รกิ ารทนั ตกรรมรวมทุกสิทธิผ์ ่านเกณฑ์ คือ มผี ลการประเมนิ ≥ 140 คะแนนขึน้ ไป

ระดบั อำเภอ

A = จำนวน รพ./ รพ.สต./ศสม. จัดใหบ้ ริการสุขภาพช่องปากท่มี ีคุณภาพและมกี ารใชบ้ ริการ

ทันตกรรมรวมทุกสิทธผิ์ ่านเกณฑ์ คือ มีผลการประเมิน≥ 140 คะแนนขนึ้ ไป

รายการขอ้ มูล 2 ระดับจงั หวดั

B = จำนวน คปสอ. ทง้ั หมด

ระดับอำเภอ

B = จำนวน รพ./ รพ.สต./ศสม.ท้งั หมด

สูตรคำนวณตวั ชว้ี ดั (A/B) x 100

ระยะเวลาประเมินผล ไตรมาส 4

เกณฑ์การประเมนิ :ระดบั จงั หวดั : คปสอ.มี รพ./ รพ.สต./ศสม. จดั บริการสุขภาพช่องปากและมกี ารใชบ้ รกิ ารทนั ตกรรมรวมทุก

สทิ ธผิ์ า่ นเกณฑ์ คือ มผี ลการประเมนิ ≥ 140 คะแนนขน้ึ ไป เปา้ หมายไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 65 ของ คปสอ. ระดบั อำเภอ : รพ./

รพ.สต./ศสม. จัดบริการสขุ ภาพชอ่ งปากและมกี ารใช้บรกิ ารทนั ตกรรมรวมทกุ สิทธิ์ผ่านเกณฑ์ คือ มีผลการประเมนิ ≥ 140

คะแนนข้นึ ไป เปา้ หมายไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 65 ของรพ./ รพ.สต./ศสม.

38

(1.)จัดบริการสุขภาพช่องปาก หมายถึง การใหบ้ รกิ ารส่งเสรมิ ทนั ตสุขภาพ ทนั ตกรรมป้องกนั และบริการ

ทนั ตกรรมพนื้ ฐาน ทงั้ ในสถานบรกิ ารสุขภาพ และนอกสถานบริการสขุ ภาพ 14 กจิ กรรม ดังนี้

ตัวชว้ี ัดการดำเนนิ งาน เกณฑ์การใหค้ ะแนน แหล่งข้อมูล คะแนนท่ไี ด้

1.หญิงตง้ั ครรภ์ได้รบั การตรวจสขุ ภาพชอ่ ง - ≥ ร้อยละ 75 (5 คะแนน) HDC จงั หวัด

ปากอย่างนอ้ ย 1 คร้งั (5) - รอ้ ยละ 70-74 (4 คะแนน)

- รอ้ ยละ 65-69 (3 คะแนน)

- รอ้ ยละ 60-64 (2 คะแนน)

หมายเหตุ : รายงาน HDC ขอ้ 19.1 - < รอ้ ยละ 60 (1 คะแนน)

2.หญิงตงั้ ครรภ์ไดร้ บั การตรวจสขุ ภาพช่อง - ≥ ร้อยละ 40 (10 คะแนน) HDC จังหวัด

ปากและขัดทำความสะอาดฟัน(10) - รอ้ ยละ 35-39 (8 คะแนน)

- รอ้ ยละ 30-34 (6 คะแนน)

- ร้อยละ 25-29 (4 คะแนน)

- รอ้ ยละ 20-24 (2 คะแนน)

หมายเหตุ : รายงาน HDC ข้อ 19.1 - < ร้อยละ 20 (0 คะแนน)

3.เดก็ 0-2 ปี ไดร้ ับการตรวจสุขภาพช่อง - ≥ รอ้ ยละ 70 (7 คะแนน) HDC จังหวัด

ปาก(7) - ร้อยละ 65-69 (6 คะแนน)

- ร้อยละ 60-64 (5 คะแนน)

- ร้อยละ 55-59 (4 คะแนน)

- รอ้ ยละ 50-54 (3 คะแนน)

- ร้อยละ 45-49 (2 คะแนน)

หมายเหตุ : รายงาน HDC ขอ้ 17.4 - < รอ้ ยละ 45 (1 คะแนน)

4.เดก็ 0-2 ปี ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลง - ≥ ร้อยละ 70 (5 คะแนน) HDC จังหวัด

มอื ปฏบิ ัติ(5) - รอ้ ยละ 65-69 (4 คะแนน)

- รอ้ ยละ 60-64 (3 คะแนน)

- รอ้ ยละ 55-59 (2 คะแนน)

หมายเหตุ : รายงาน HDC ขอ้ 17.5 - < รอ้ ยละ 55 (1 คะแนน)

5.เดก็ 0-2 ปี เคลือบฟลอู อไรดเ์ ฉพาะท่ี(3) - ≥ รอ้ ยละ 50 (3 คะแนน) HDC จงั หวดั

- ร้อยละ 40-49 (2 คะแนน)

หมายเหตุ : รายงาน HDC ข้อ 17.6 - < ร้อยละ 40 (1 คะแนน)

6.เด็กอายุ 3-5 ปีไดร้ บั การตรวจสุขภาพ - ≥ รอ้ ยละ 80 (5 คะแนน) HDC จังหวดั

ชอ่ งปาก(5) - ร้อยละ 75-79 (4 คะแนน)

- ร้อยละ 70-74 (3 คะแนน)

- รอ้ ยละ 65-69 (2 คะแนน)

หมายเหตุ : รายงาน HDC ข้อ 17.8 - < ร้อยละ 65 (1 คะแนน)

39

ตวั ช้ีวดั การดำเนินงาน เกณฑก์ ารให้คะแนน แหล่งข้อมลู คะแนนท่ไี ด้ 7.เดก็ อายุ 3-5 ปี ได้รบั การเคลอื บ/ทา - ≥ รอ้ ยละ 70 (5 คะแนน) HDC จังหวดั ฟลอู อไรดเ์ ฉพาะที่(5) - ร้อยละ 65-69 (4 คะแนน) HDC จงั หวดั - ร้อยละ 60-64 (3 คะแนน) HDC จงั หวดั หมายเหตุ : รายงาน HDC ข้อ 17.9 - ร้อยละ 55-59 (2 คะแนน) 8.เดก็ อายุ 4-12 ปี ไดร้ บั การเคลือบ/ทา - < รอ้ ยละ 55 (1 คะแนน) HDC จงั หวดั ฟลูออไรด์เฉพาะที่(5) - ≥ ร้อยละ 50 (5 คะแนน) - รอ้ ยละ 45-49 (4 คะแนน) HDC จงั หวดั หมายเหตุ : รายงาน HDC ขอ้ 19.2 - ร้อยละ 30-44 (3 คะแนน) HDC จังหวดั 9.เด็กอายุ 6-12 ปี ไดร้ ับการตรวจสขุ ภาพ - รอ้ ยละ 35-39 (2 คะแนน) ช่องปาก(10) - < รอ้ ยละ 35 (1 คะแนน) - ≥ ร้อยละ 80 (10 คะแนน) หมายเหตุ : รายงาน HDC ข้อ 17.11 - รอ้ ยละ 75-79 (8 คะแนน) 10.เดก็ อายุ 6-12 ปี ไดร้ ับบริการเคลอื บ - ร้อยละ 70-74 (6 คะแนน) หลมุ รอ่ งฟันแท(้ 10) - ร้อยละ 65-69 (4 คะแนน) - รอ้ ยละ 60-64 (2 คะแนน) หมายเหตุ : รายงาน HDC ขอ้ 19.3 - < ร้อยละ 60 (0 คะแนน) 11.ผู้ปว่ ยเบาหวานได้รบั การตรวจสขุ ภาพ - ≥ รอ้ ยละ 30 (10 คะแนน) ชอ่ งปาก(5) - ร้อยละ 25-29 (8 คะแนน) - ร้อยละ 20-24 (6 คะแนน) หมายเหตุ : รายงาน HDC ขอ้ 17.14 - ร้อยละ 15-19 (4 คะแนน) 12.ผมู้ อี ายุ 15 -59 ปไี ด้รบั บริการทันตก - ร้อยละ 10-14 (2 คะแนน) รรม(10) - < ร้อยละ 10 (0 คะแนน) - ≥ ร้อยละ 70 (5 คะแนน) หมายเหตุ : รายงาน HDC ข้อ 17.20 - ร้อยละ 60-69 (4 คะแนน) - ร้อยละ 50-59 (3 คะแนน) - ร้อยละ 40-49 (2 คะแนน) - < ร้อยละ 40 (1 คะแนน) - ≥ รอ้ ยละ 25 (10 คะแนน) - รอ้ ยละ 20-24 (8 คะแนน) - ร้อยละ 15-19 (6 คะแนน) - ร้อยละ 10-14 (4 คะแนน) - ร้อยละ 5-9 (2 คะแนน) - < ร้อยละ 5 (0 คะแนน)

ตัวช้ีวดั การดำเนนิ งาน เกณฑ์การให้คะแนน แหลง่ ข้อมูล 40 13.ผสู้ งู อายุ ได้รับการตรวจสุขภาพช่อง - ≥ รอ้ ยละ 60 (15 คะแนน) HDC จังหวัด ปาก(15) - รอ้ ยละ 55-59 (13 คะแนน) คะแนนที่ได้ - ร้อยละ 50-54 (11 คะแนน) HDC จังหวัด หมายเหตุ : รายงาน HDC ข้อ 17.23 - รอ้ ยละ 45-49 (9 คะแนน) 14. ผูส้ ูงอายุ ท่ีตดิ บ้าน ตดิ เตียง ได้รับการ - รอ้ ยละ 40-44 (7 คะแนน) ตรวจสขุ ภาพช่องปาก(5) - ร้อยละ 35-39 (5 คะแนน) - รอ้ ยละ 30-34 (3 คะแนน) หมายเหตุ : รายงาน HDC ข้อ 17.26 - < ร้อยละ 30 (0 คะแนน) รวม (1) - ≥ รอ้ ยละ 40 (5 คะแนน) - รอ้ ยละ 35-39 (4 คะแนน) - รอ้ ยละ 30-34 (3 คะแนน) - ร้อยละ 25-29 (2 คะแนน) - < ร้อยละ 25 (1 คะแนน)

100 คะแนน

(2.)การใชบ้ ริการสขุ ภาพช่องปากของประชาชนในพ้นื ท่ี หมายถึง การใช้บริการสง่ เสริมสขุ ภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกัน

บริการรกั ษาทนั ตกรรมพน้ื ฐาน บรกิ ารทนั ตกรรมเฉพาะทางและบรกิ ารฟ้นื ฟสู ภาพช่องปาก ทงั้ ในหนว่ ยบรกิ ารและบริการ

เชิงรกุ ในชมุ ชนของประชาชนในพ้นื ที่

ตวั ชี้วัดการดำเนนิ งาน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน แหลง่ ข้อมูล คะแนนทไี่ ด้

ประชากรในพืน้ ท่ีมีการใช้บริการ - ≥ ร้อยละ 40 (100 คะแนน) HDC จังหวดั

สขุ ภาพชอ่ งปาก(100) - รอ้ ยละ 38-39 (95 คะแนน)

- ร้อยละ 36-37 (85 คะแนน)

- ร้อยละ 34-35 (75 คะแนน)

- ร้อยละ 32-33 (65 คะแนน)

หมายเหตุ : รายงาน HDC ขอ้ 1 - < รอ้ ยละ 32 (60 คะแนน)

วธิ กี ารจดั เกบ็ ข้อมลู รวบรวมจากรายงาน ระบบ Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข

รายการขอ้ มูล 1 จำนวนคนใหมท่ ่รี บั บริการสขุ ภาพช่องปากในรอบปี (คนต่อสถานบริการ)

จากกลมุ่ รายงานมาตรฐาน →การเข้าถงึ บริการ →ทันตกรรม(บริการ) →ข้อ 1.

ผ้ปู ่วยนอกทีไ่ ดร้ ับบรกิ ารทนั ตกรรมรวมทุกสิทธิ์ (คนต่อสถานบริการ)

รายการข้อมูล 2 ประชากรในพ้นื ท่ี

จากกลุ่มรายงานมาตรฐาน →ข้อมลู เพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาสุขภาพชอ่ ง

ปาก→ข้อ 1 OHSP อตั รา (ร้อยละ) การใช้บริการ ทนั ตกรรมรวมทุกสิทธิ เฉพาะเขต

รบั ผิดชอบ(คน) (ใชแ้ บบความครอบคลุม) →คอลัมน์ B (ประชากรในเขตรับผดิ ชอบ

ทั้งหมด(คน))

41

ตวั ชีว้ ัดการดำเนินงาน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน แหลง่ ข้อมูล คะแนนท่ไี ด้ สตู รการคำนวณตัวชว้ี ดั รายการข้อมูล 1 /รายการข้อมลู 2 x 100 รวม(2) รวมทั้งหมด (1)+(2) 100 คะแนน

200 คะแนน

ระดบั อำเภอ เกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั นี้ : ประเมนิ รพ./รพ.สต./ศสม. รอบ 12 เดือน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังน้ี

รพ./รพ.สต./ศสม. มีการจดั ให้บริการสขุ ภาพชอ่ งปากและมกี ารใชบ้ ริการทนั ตกรรมรวมทุกสทิ ธติ์ ามเกณฑ์ 1 คะแนน < 100 คะแนน 2 คะแนน รพ./รพ.สต./ศสม. มกี ารจดั ใหบ้ ริการสขุ ภาพชอ่ งปากและมีการใช้บรกิ ารทนั ตกรรมรวมทุกสิทธติ์ ามเกณฑ์ 3 คะแนน 100-119 คะแนน 4 คะแนน รพ./รพ.สต./ศสม. มีการจดั ให้บริการสขุ ภาพชอ่ งปากและมีการใชบ้ รกิ ารทนั ตกรรมรวมทกุ สทิ ธ์ิตามเกณฑ์ 5 คะแนน 120-139 คะแนน รพ./รพ.สต./ศสม. มีการจัดให้บริการสุขภาพช่องปากและมีการใชบ้ ริการทันตกรรมรวมทุกสทิ ธ์ิตามเกณฑ์ 140-159 คะแนน รพ./รพ.สต./ศสม. มีการจัดให้บรกิ ารสขุ ภาพชอ่ งปากและมกี ารใช้บรกิ ารทนั ตกรรมรวมทกุ สิทธ์ิตามเกณฑ์ ≥ 160 คะแนน

ระดบั จังหวัด 1 คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนนประเมนิ คปสอ. รอบ 12 เดือน 2 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั นี้ 3 คะแนน 4 คะแนน คปสอ. มีรพ./รพ.สต./ศสม. มกี ารจัดให้บรกิ ารสขุ ภาพชอ่ งปากและมีการใช้บรกิ ารทนั ตกรรมรวมทกุ สทิ ธ์ิ 5 คะแนน ตามเกณฑ์ และผลการประเมนิ ≥ 140 คะแนน < รอ้ ยละ 50 คปสอ. มีรพ./รพ.สต./ศสม. มีการจัดใหบ้ ริการสุขภาพชอ่ งปากและมกี ารใช้บริการทนั ตกรรมรวมทกุ สทิ ธ์ิ ตามเกณฑ์ และผลการประเมนิ ≥ 140 คะแนน รอ้ ยละ 50-54 คปสอ. มีรพ./รพ.สต./ศสม. มีการจดั ใหบ้ ริการสขุ ภาพชอ่ งปากและมีการใช้บริการทนั ตกรรมรวมทกุ สิทธิ์ ตามเกณฑ์ และผลการประเมนิ ≥ 140 คะแนน รอ้ ยละ 55-59 คปสอ. มีรพ./รพ.สต./ศสม. มีการจดั ให้บรกิ ารสขุ ภาพชอ่ งปากและมกี ารใช้บริการทนั ตกรรมรวมทกุ สิทธิ์ ตามเกณฑ์ และผลการประเมนิ ≥ 140 คะแนน รอ้ ยละ 60-64 คปสอ. มีรพ./รพ.สต./ศสม. มกี ารจัดให้บรกิ ารสุขภาพช่องปากและมกี ารใชบ้ รกิ ารทนั ตกรรมรวมทุกสทิ ธ์ิ ตามเกณฑ์ และผลการประเมนิ ≥ 140 คะแนน ≥ รอ้ ยละ 65

42

ปี 2566: รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน รอบ 3 เดือน ร้อยละ ≥35 รอ้ ยละ ≥50 ร้อยละ ≥65

ปี 2567: รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดอื น รอบ 3 เดือน 70

ปี 2568: รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน รอบ 3 เดือน 75

วิธีการประเมินผล เปรยี บเทยี บผลการดำเนนิ งานกบั ค่าเป้าหมาย -HDC ของจังหวัด เอกสารสนบั สนนุ - แบบรายงาน - อื่นๆ (ถ้ามี) รายละเอยี ด ขอ้ มูลพ้นื ฐาน Baseline หนว่ ยวดั ผลการดำเนนิ งานในรอบปงี บประมาณ พ.ศ. data 2562 2563 2564 2565

- 35.71 14.28 7.14 (5แหง่ ) (2แหง่ ) (1แห่ง)

ผูใ้ ห้ข้อมลู ทางวิชาการ/ ผู้รับผิดชอบงาน นักวชิ าการสาธารณสขุ ปฎบิ ตั ิการ ผู้ประสานงานตัวชี้วัด นางระวีวรรณ ศรวี ัฒนา นักวชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ นางปทุมวนั ประสงค์ทรัพย์ กลมุ่ งานทจี่ ัดทำข้อมลู กลมุ่ งานทันตสาธารณสขุ ผู้รับผดิ ชอบการรายงาน หวั หน้ากลุม่ งาน ผลการดำเนนิ งาน นางกรณั ฑชา สธุ าวา

รายละเอยี ดตัวช้ีวัดคำรบั รองการปฏิบัตริ าชการ (Performance Agreement : PA) ประจำปงี บประมาณ 2566 43

ของ ผ้อู ำนวยการโรงพยาบาลเลย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน และสาธารณสขุ อำเภอ

หมวด ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคมุ้ ครองผู้บริโภคเปน็ เลิศ (PP&P Excellence)

แผนงาน การป้องกนั ควบคุมโรคและลดปัจจยั เส่ยี งดา้ นสุขภาพ

โครงการ โครงการพฒั นาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ และภยั สขุ ภาพ

ระดับการแสดงผล อำเภอ

ชื่อตวั ช้วี ัด อำเภอมีการจัดการภาวะฉกุ เฉินทางการแพทย์และสาธารณสขุ ผา่ นเกณฑ์ระดบั 4ขึ้นไป

คำนิยาม การจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข หมายถึง การดำเนินงานเพื่อจัดการ ภาวะฉุกเฉนิ ทางการแพทย์และสาธารณสุข ครบท้งั 4 กระบวนการ คือ

  1. มกี ารเตรยี มความพร้อมเพื่อตอบโต้ภาวะฉกุ เฉนิ โดย

1.1 มีโครงสร้างและคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) ดา้ นการแพทย์และสาธารณสุขสำหรบั ทกุ โรคและภยั สุขภาพ (All Hazards) ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident command System : ICS) สำหรับรองรับ

ทุกภัย (All Hazards) หมายถึง ระบบการบริหารจัดการท่ีใชเ้ พื่อการบัญชาการ สั่งการ ควบคมุ และประสานความรว่ มมือระหว่างหน่วยงานในสถานการณ์เฉพาะ โดยอาศัยระบบบริหารจดั การ ขอ้ มูลสารสนเทศ และทรพั ยากรท่แี มน่ ยำและรวดเรว็

1.2 มีผลการประเมินตนเองตามแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉนิ สำหรับหน่วยงานสาธารณสขุ ระดับอำเภอ (EOC assessment) ซึง่ ประกอบดว้ ย 10 หมวด คอื

หมวดที่ 1 : บรบิ ท หมวดที่ 2 : ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารภาวะฉกุ เฉนิ หมวดท่ี 3 : กรอบโครงสร้างการทำงาน หมวดท่ี 4 : ระบบขอ้ มูล หมวดที่ 5 : Critical Information หมวดที่ 6 : Incident management and response หมวดท่ี 7 : การสอื่ สารความเส่ยี ง (Risk communication) และการเตือนภัย หมวดท่ี 8 : การส่อื สารภายใน (หมายถึง การส่ือสารภายในระบบ ICS) หมวดท่ี 9 : Coordination and logistical support of field operations หมวดที่ 10 : Training, Exercise and Evaluation

  1. มีการประเมนิ ความเส่ียงของโรคและสาธารณภยั (Risk Assessment) โดยมกี ารวเิ คราะห์ ความเส่ยี งของโรคและภยั สุขภาพทส่ี ำคัญของพน้ื ที่ พร้อมทั้งจดั ลำดับความเสี่ยงของโรคท่สี ำคัญ และสาธารณภยั ทีส่ ำคัญ 3 ลำดบั แรกของอำเภอ

สาธารณภัย หมายถึง สถานการณ์ สภาวการณ์หรือเหตุการณ์สาธารณภัยที่เกิดขึ้นและ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ การเสียชีวิต การบาดเจ็บ หรือการเจ็บป่วย หมายรวมถึงเกิด

ความเสียหายแก่ทรัพย์สิน กระทบกระเทือนตอ่ ขีดความสามารถในการปฏิบัติงานตามปกตขิ อง44 บุคคล

2.1 ความเสี่ยงของโรคและสาธารณภัย หมายถึง โอกาสหรือความเป็นไปได้ ที่เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งจะเกิดขึ้นและนำมาซึ่งผลกระทบต่าง ๆ ในบริบทของ สาธารณภัยจึงหมายความถึง “โอกาส หรือความเป็นไปได้ ในการได้รับผลกระทบ ทางลบ จากการเกิดโรคและสาธารณภัยโดยผลกระทบสามารถเกิดขึ้นกับชีวิต สุขภาพ การประกอบอาชีพ ทรัพย์สิน และบริการต่าง ๆ ในระดับบุคคล ชุมชน สังคม หรือ ประเทศ”

2.2 การประเมินความเสย่ี งของโรคและสาธารณภยั หมายถึง เป็นกระบวนการท่ีช่วย ตรวจสอบระดบั ของความเสยี่ งทีช่ ุมชนหรอื สังคมมตี ่อโรคและสาธารณภัยโดยการวเิ คราะห์ ปัจจัยเสี่ยงในด้านที่เกี่ยวกับภัย ความล่อแหลม และความเปราะบาง ที่จะก่อให้เกิด อันตรายตอ่ มนุษยท์ รพั ย์สนิ การบริการ การดำรงชีพ และสิง่ แวดลอ้ ม

  1. อำเภอมคี วามพรอ้ มในการเผชญิ เหตเุ พ่ือรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข โดยมี

3.1 แผนปฏิบัติการเฉพาะโรคหรือภัย (Hazard Specific Plan : HSP) หมายถึง แผนที่เตรยี มไวล้ ว่ งหน้าสำหรบั การตอบโต้สถานการณ์โรค หรือภัยสุขภาพที่จำเพาะทีเ่ ป็น ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข รองรับโรคและสาธารณภัย 3 ภัยที่สำคญั จาก การวิเคราะหค์ วามเสี่ยงของโรคและภยั สขุ ภาพท่สี ำคัญของอำเภอ

3.2 แผนเผชิญเหตุ (Incident Action Plan: IAP) หมายถึง แผนเผชิญเหตุที่ถูก จัดทำในขณะเกิดเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับแต่ละห้วง เวลาปฏิบัติการ ซึ่งประกอบด้วย วัตถุประสงค์ เป้าหมายการปฏิบัติการ ห้วงระยะเวลา ปฏิบัติการ ยุทธศาสตร์ และกลวิธีการปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน รวมทั้งหน่วยงานท่ี นำไปปฏิบตั ิ

3.3 แผนประคองกิจการ (Business Continuity Planning : BCP) หมายถึง แผนเตรียมความพร้อมองค์กรให้สามารถรับมือสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ในการป้องกัน ตรวจค้น และตอบสนองตอ่ สถานการณ์วิกฤติที่ เพื่อลดปัญหาที่ อาจเกิดขึน้ ในการขบั เคลื่อนการดำเนนิ งานตามภารกจิ ขององคก์ ร

  1. การฝึกซ้อมแผนจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข หมายถึง ดำเนินการฝึกซ้อมแผนจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่เป็นการ ตอบสนองต่อเหตุการณ์ในระดับอำเภออย่างน้อย 1 ครั้ง พร้อมทั้งมีการทบทวนสรุป บทเรียนทีไ่ ดจ้ ากการซ้อมแผนดงั กล่าว

เกณฑเ์ ป้าหมาย : อำเภอมกี ารจดั การภาวะฉุกเฉนิ ทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข ผา่ นเกณฑ์ระดบั 4 ข้ึนไป

ปีงบประมาณ 66 ปงี บประมาณ 67 ปีงบประมาณ68 ปีงบประมาณ 69 ปีงบประมาณ 70

รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100 ร้อยละ 100 รอ้ ยละ 100 ร้อยละ 100

(14 อำเภอ) (14 อำเภอ) (14 อำเภอ) (14 อำเภอ) (14 อำเภอ)

วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ยกระดับการพัฒนาระบบปฏบิ ตั ิการภาวะฉกุ เฉนิ ให้สามารถรับมือภาวะฉุกเฉินทาง 45

สาธารณสุขทเี่ กดิ จากโรคและภัยสุขภาพได้

ประชากรกลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการประสานงานสาธารณสขุ ระดับอำเภอ (คปสอ.) จำนวน 14 อำเภอ

วิธีการจดั เกบ็ ข้อมูล กลมุ่ งานควบคุมโรคตดิ ต่อ สำนักงานสาธารณสุขจงั หวัดเลย ประสานและรวบรวมข้อมลู ผล